สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of...

96
งานวิจัย การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอ สามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of Staffs in Samchook Hospital , Samchook District , Suphanburi Province กันทิกา หลวงทิพย ดาริณี สีนวล โปรแกรมวิชาสาธารณสุขชุมชน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 2550

Transcript of สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of...

Page 1: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

งานวิจัย การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอ

สามชุก จังหวัดสุพรรณบุร ีThe Study of Exercise Behavior of Staffs in Samchook Hospital ,

Samchook District , Suphanburi Province

กันทิกา หลวงทิพย ดาริณี สีนวล

โปรแกรมวิชาสาธารณสุขชุมชน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

2550

Page 2: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

ใบรับรองงานวิจัย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

วิทยาศาสตรบณัฑิต (สาธารณสุขชุมชน) ปริญญา

สาธารณสุขชุมชน สาธารณสุขชุมชน สาขา โปรแกรม

เร่ือง การศึกษาพฤตกิรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอ สามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี

The Study of Exercise Behavior of Staffs in Samchook Hospital , Samchook District , Suphanburi Province

นามผูวิจยั นางสาว กันทิกา หลวงทิพย นางสาวดาริณ ี สีนวล ไดพิจารณาเหน็ชอบโดย ประธานกรรมการ ……………………………… (นายประพันธ ขันติธีระกุล,กศ.ม.) ประธานโปรแกรมวิชา ………………………………… (นายไพโรจน โจลัตสาหกุล, กศ.ม.)

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม รับรองแลว ......……………………………… (นายพิทักษพงศ ปอมปราณี, Ph.D.) คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี วันท่ี……เดอืน………………… พ.ศ. …………

Page 3: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

ชื่อเร่ืองวิจัย การศึกษาพฤตกิรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี

The Study of Exercise Behavior of Staffs in Samchook Hospital, Samchook District , Suphanburi Province

สาขา สาธารณสุขชุมชน คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ท่ีปรึกษา อาจารยประพันธ ขันติธีระกุล ปท่ีทําวิจัย ปพุทธศักราช 2550

บทคัดยอ

การวิจยัคร้ังนีมี้วัตถุประสงค คือ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี และเพื่อศึกษาขอมูลสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรีตัวอยางท่ีใชในการวจิัยคร้ังนี้ ประกอบดวยบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก จํานวน 111 คน ซ่ึง

ไดมาโดยวิธีการเลือกตัวอยางจากการสุมตัวอยางแบบอยางงาย ( Stratified random sampling)

โดยใชสูตรของ Taro Yamane เคร่ืองมือทีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามท่ี

ผูวิจัยสรางข้ึน สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ความถ่ี รอยละ (%) คาเฉล่ีย (Mean) สวน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D.) การทดสอบคา t-test และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว ( One -Way Anova ) ผลการวิจัย พบวา บุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี สวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชายท่ีมีการออกกําลังกาย มีอายุ 40-49 ป รอยละ 38.73 มีสถานภาพสมรส รอยละ 55.0 ระดับการศึกษาปริญญาตรี รอยละ 43.2 มีตําแหนงหนาท่ีเปนพยาบาล รอยละ 36.0 มีรายไดมากกวา 10,000 บาทข้ึนไป รอยละ 55.4 และพักอาศัยอยูบานของตนเอง รอยละ 50.4 และสวนพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี สวนใหญมีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูระดับปานกลาง สวนขอมูลสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษาและตําแหนงหนาท่ีท่ีแตกตางกนัมีผลทําใหมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางนอย 1 คู อยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05

Page 4: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

ขอเสนอแนะ ควรจดักิจกรรมหรือกระตุนใหบุคลากรเพศหญิงมีพฤติกรรมการออกําลังกายท่ีถูกตองและเหมาะสม เนื่องจากพบวาบุคลากรในจังหวัดสุพรรณบุรีสวนใหญเปนกลุมวัยทํางาน ดังนั้นกจิกรรมการสงเสริมพฤติกรรมการออกําลังกายของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ควรเปนกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับกลุมอายุวยันี ้ ควรสงเสริมใหบุคลากรมีความพรอมในทุก ๆ ดานใหเพยีงพอและตอเนือ่งและเพื่อใหสามารถเปนผูนําท่ีดี และควรมีการสงเสริมในเร่ืองการรับรูเกี่ยวกับประโยชน ความรูเกี่ยวกับหลักและวิธีการออกกําลังกายในกลุมบุคลากรท่ีมีระดับการศึกษาตํ่ากวาปริญญาตรี

…………………… …………………. ………………… …..../….…/….… ลายช่ือนักศึกษา ลายช่ือนักศึกษา ลายช่ือประธานกรรมการ

Page 5: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

บทคัดยอภาษาอังกฤษ

Page 6: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยัฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดี ผูวิจัยขอขอบพระคุณ อาจารยประพันธ ขันติธีรกุล

อาจารยท่ีปรึกษาท่ีใหคําแนะนําและตรวจสอบความถูกตองของงานวิจยั ทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูอันเปนประสบการณท่ีมีคายิ่ง

ขอขอบพระคุณ ผูอํานวยการโรงพยาบาล ท่ีใหความกรุณาสนับสนุนแกผูวจิัยในทุก ๆ ดาน และขอขอบพระคุณพี่ ๆ นอง ๆ ชาวโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ทุก ๆ ทานท่ีใหกําลังใจและการชวยเหลือแกผูวจิัยอยางดีเสมอมา

ขอขอบพระคุณเจาหนาท่ีโรงพยาบาล ท่ีใหความรวมมือในการตอบ ขอมูลจากแบบสอบถาม ทุกทานท่ีไดสละเวลาชวยเหลือผูวิจัยในการเก็บขอมูลเปนอยางด ี

ขอขอบคุณ อาจารย เพื่อน ๆ เอกสาธารณสุขชุมชนทุกทานท่ีไดใหคําแนะนํา ความชวยเหลือ ความหวงใย และใหกาํลังใจมาโดยตลอด

คุณคาและประโยชนท่ีพงึจะเกดิจากงานวจิัยเลมนี้ ผูวิจยัขอบูชาพระคุณบิดา มารดา และคณาจารยทุกทานท่ีใหโอกาสและมอบส่ิงดี ๆ ใหแกผูวิจยั

ผูจัดทํา กันทิกา หลวงทิพย ดาริณี สีนวล

ตุลาคม 2550

Page 7: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ฉ กิตติกรรมประกาศ ช สารบัญตาราง ญ สารบัญแผนภูมิ ฎ บทท่ี 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงคของการวิจยั 3 สมมติฐานของการวิจยั 4 ปญหา 5 สมมติฐานของการวิจยั 5 ขอบเขตของการวิจัย 5 นิยามศัพทเฉพาะ 6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเกีย่วของ 9 ตอนท่ี 1 แนวคิดเกี่ยวกับการออกกําลังกาย 9 ประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย 10 ความหมายของการออกกําลังกาย 13 ประเภทของการออกกําลังกาย 14 หลักการออกกําลังกาย 15 การเตรียมความพรอมในการออกกําลังกาย 18 ข้ันตอนในการออกกําลังกาย 19 นโยบายออกกาํลังกาย 20 ตอนท่ี 2 การสงเสริมสุขภาพ 23 การสงเสริมพฤติกรรมสุขภาพประเทศไทย 23 การสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของโรงพยาบาลชุมชน

จังหวดัสุพรรณบุรี 25

Page 8: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

สารบัญ ( ตอ )

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเกีย่วของ หนา ตอนท่ี 3 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของการวิจัย 27 แนวคิดเกีย่วกบัพฤติกรรมการออกกําลังกาย 27 แนวคิดเกีย่วกบัปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย 33 บทท่ี 3 วิธีการดําเนินงานวจิัย 44 ประชากรและกลุมตัวอยาง 44 ตัวแปรท่ีศึกษา 46 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 47 การเก็บรวบรวมขอมูล 48 การวิเคราะหขอมูล 49 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 50 ตอนท่ี 1 การศึกษาขอมูลสวนบุคคล 51 ตอนท่ี 2 การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกาย 53 ตอนท่ี 3 การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรม

การออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมูลสวนบุคคล 58 บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ 61 ผลการวิจัยและการอภิปรายผล 61 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยัคร้ังนี ้ 66 ขอเสนอแนะในการทําวจิัยคร้ังตอไป 67 บรรณานุกรม 68 ภาคผนวก 72 ภาคผนวก ก แบบสอบถามท่ีใชในการสํารวจ 73

ภาคผนวก ข ขอมูลท่ีหาจากโปรแกรมสําเร็จรูปทางคอมพิวเตอร 79 ประวัติผูวจิัย 86

Page 9: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา 2.1 รอยละของอัตราการเตนสูงสุดของหัวใจตอนาทีในแตละอายุ (ป) 20 3.1 การหาจํานวนประชากรแตละตําแหนง 46 4.1 การศึกษาขอมูลสวนบุคคลของบุคลากรใน โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี 51

4.2 การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี 53 4.3 ความรูเกีย่วกับหลักและวิธีการออกกาํลังกาย 55 4.4 ทัศนคติเกีย่วกับการออกกําลังกาย 55 4.5 การรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการรออกกําลังกายของตนเอง 56 4.6 ภาพรวมพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร 57 4.7 การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรมการ ออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมูลสวนบุคคลใน โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี 58

Page 10: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

สารบัญแผนภูม ิ

แผนภูมิท่ี หนา 2.1 ข้ันตอนการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรม สุขภาพภายใตกรอบแนวคิดกระบวนการ ( PRECEDE PROCESS FRAMEWORK ) 37 2.2 กรอบแนวคิดของการวิจัย 43

Page 11: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

บทท่ี 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การมีภาวะสุขภาพที่ดีท้ังกายและใจเปนส่ิงท่ีทุกกคนพึ่งปรารถนา โดยท่ีการมีสุขภาพท่ีดีมิไดหมายความเพียงแตการไมเจ็บปวยหรือปราศจากโรคภัยไขเจ็บเทานั้น หากยังครอบคลุมถึงการมีสุขภาพที่สมบูรณ แข็งแรงของรางกาย จติใจ อารมณ และสังคม ( กระทรวงสาธารณสุข , กรมอนามัย ; 2540 ) อยางไรก็ตามเม่ือพิจารณาถึงการดาํเนินชีวิตของมนุษยตั้งแตอดีตจนถึงปจจบัุน พบวาวิถีการดาํเนินชีวิตมีการเปล่ียนแปลงไป เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วของโลกไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ลวนสงผลใหประชาชนสวนใหญครํ่าเครงกับการดําเนินชีวิตประจําวัน สงผลใหพฤติกรรมสุขภาพในดานตาง ๆ เปล่ียนแปลงไปจากเดิมรวมถึงละเลยตอการออกกําลังกายท้ังโดยทางตรงและขาดการเคล่ือนไหวในลักษณะของการออกกําลังกายประจําวนั จึงทําใหเกิดปญหาสุขภาพในดานตาง ๆ ตามมา และเม่ือพิจารณาถึงโรคท่ีเปนปญหาสุขภาพของคนไทยในอดีตและปจจุบันมีความแตกตางกันอยางชัดเจน โดยในอดีตสวนใหญจะเปนลักษณะของโรคติดตอตาง ๆ เชน โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก แตในปจจุบันโรคเหลานี้มีแนวโนมลดลงโดยสวนใหญแลวเปนโรคไมติดตอ โรคท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ ตลอดจนโรคเร้ือรังตาง ๆ

ซ่ึงจากการสํารวจของกระทรวงสาธารณสุข ในป พ.ศ. 2547 (สํานกังานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข : 2547 ) พบวาสาเหตุการตาย 5 ลําดับแรก ไดแก โรคมะเร็งทุกชนิด อัตราตาย ( 81.3 ตอแสนประชากร ) อุบัติเหตุ และการเปนพิษ อัตราตาย (58.9 ตอแสนประชากร ) ความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดในสมอง อัตราตาย (34.8 ตอแสนประชากร) และปอดอักเสบและโรคอ่ืน ๆ ของปอด อัตราตาย (26.3 ตอแสนประชากร) ซ่ึง 3 ใน 5 โรคดังกลาว ประกอบดวย โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดในสมอง และโรคหัวใจเปนโรคท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปวาเกิดจากการดําเนินวิถีชีวิตที่ไมถูกตองหรือมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีไมเหมาะสม โดยอยางยิ่งการขาดการออกกําลังกาย บริโภคอาหารไมถูกตอง ผลของการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีไมเหมาะสมดังกลาวสงผลตอสภาวะสุขภาพไดอยางชัดเจน และจากการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วของโลกไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ท่ีกลาวมาแลวขางตน ทําให

Page 12: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

2

ประเทศไทยไดรับผลกระทบในทุก ๆ ดาน โดยเฉพาะวิกฤตเศรษฐกจิดานการเงินการคลังในป พ.ศ. 2540 ทําใหท้ังภาครัฐและเอกชน ตองจํากัดงบประมาณในดานตาง ๆ ลง ไมเวนแมกระท่ังงบประมาณดานสาธารณสุข

ผลจากการเปล่ียนแปลงท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และภาวะเศรษฐกิจใน ป พ.ศ. 2540 ทําใหระทรวงสาธารณสุขตองกลับทบทวนการลงทุนดานสุขภาพ โดยเฉพาะดานการคนหาสาเหตุและแนวทางการแกปญหาสุขภาพ เพื่อใหสามารถใชงบประมาณท่ีมีอยูอยางจํากัดไดอยางเพียงพอและเกดิประโยชนสูงสุดกับประชาชน โดยพบวาบุคลากรทางการแพทยและทางสาธารณสุข ใหการบริการโดยเนนท่ีตัวปญหาของการเจ็บปวยหรืออีกนัยหนึง่เปนคือการรักษา โรค ไมใชรักษา คน ขาดการเปนองครวม คือขาดการมองทางดานมิติมนุษยและสังคมควบคูกันไป ( ปรีดา แตอารักษ และคณะ , 2543) ซ่ึงไมสอดคลองกับเปาหมายของแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549 ) ท่ีมีแนวคิดหลักท่ียึด คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา ในทุกมิติอยางเปนองครวม ตลอดจนใหความสําคัญกับการพัฒนาท่ีสมดุลท้ังทางดานตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอม โยเฉพาะอยางยิ่งการสรางระบบบริหารจัดการภายในท่ีดีใหเกดิข้ึนทุกระบบ (สํานักนายกรัฐมนตรี , สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2545)

จาการดําเนินงานดานการแพทยและการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุขท่ีผานมาพบวามีการใหบริการท่ีมุงเนนดานการรักษาพยาบาลเปนอันดับแรก ซ่ึงถือวาเปนการดําเนินงานแกไขปญหาสุขภาพท่ีปลายเหตุ ทําใหเสียคาใชจายดานการรักษาพยาบาลเปนจํานวนเงินท่ีสูงมาก ดังจะเห็นไดจากการจัดสรรงบประมาณดานสาธารณสุขท่ีมีมูลคาสูงและเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว โดยมีขอสรุปของการจัดสรรงบประมาณดานสาธารณสุขท่ีใชไปในการรักษาพยาบาลมากกวาใชไปนานของการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ซ่ึงงบประมาณท่ีใชไปเปนคาใชจายดานการรักษาพยาบาลสูงถึงรอยละ 57.7 ในขณะที่ใชเพื่อการปองกันโรคเพียงรอยละ 13.4 และจัดบริการพื้นฐานดานการสงเสริมสุขภาพเพยีงรอยละ 11.4 เทานั้น (วิโรจน ตั้งเจริญเสถียร 2540 : 16-17 )

จากการวิเคราะหปญหาตาง ๆ ท่ีกลาวมาขางตน สามารถประมวลสรุปไดวาพฤติกรรมสุขภาพเปนปจจัยสําคัญท่ีมีความสัมพันธโดยตรงตอปญหาสุขภาพของประเทศ ดวยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุขซ่ึงเปนหนวยงานหลักท่ีดูแลเก่ียวกับเร่ืองการสาธารณสุขของประเทศตลอดจนสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยตรง จึงมีแนวคิดในการดําเนินงานท่ีจะมีผลดีตอการบริหารจัดการงบประมาณและการสงเสริมสุขภาพของประชาชน โดยจัดทําโครงการตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการสงเสริมสุขภาพมาอยางตอเนื่องและไดกําหนดแนวทางอยางเปนรูปธรรมที่ชัดเจน คือ การประกาศใชพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 รองรับการดําเนินงานท่ียั่งยืน ท่ียึดหลัก การสรางสุขภาพ นํา การซอมสุขภาพ โดยรัฐบาลไดประกาศนโยบายใหป พ.ศ.

Page 13: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

3

2545 เปนปเริมตนแหงการรวมพลังสรางสุขภาพตามกรอบการรณรงค 6 อ. ไดแก ออกกําลังกาย อาหาร อารมณ อนามัยชุมชน อโรคยา และอบายมุข หรือการลดโรคท่ีสําคัญ ๆ ซ่ึงกิจกรรมระดับชาติในการรณรงคใหประชาชนหันมาใสใจสรางสุขภาพอยางเปนธรรม (สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ : 2547 ) และในแผนการพัฒนาสาธารณสุขแหงชาติฉบับท่ี 9 (2545-2549) ท่ีเนนเร่ืองการสรางสุขภาพ กลาวคือ ตองมีการสงเสริมใหประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองไดอยางเหมาะสม โดยประกาศใหป พ.ศ. 2545 เปนปแหงการเร่ิมรณรงคสรางสุขภาพท่ัวไทยภายใตยุทธศาสตร รวมพลังสรางสุขภาพ เพื่อใหประชาชนและหนวยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน มีสวนรวมสนับสนุนใหเกิดการสรางสุขภาพมากกวาการซอมสุขภาพ (คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุข 2545 )

ในสวนท่ีเกีย่วของกับการพฒันารวมพลังสรางสุขภาพตามกรอบการรณรงค 6 อ. นั้น อ. ออกกําลังกายเปนพฤติกรรมสุขภาพดานหนึ่งท่ีกระทรวงสาธารณสุขเล็งเห็นถึงความสําคัญและหาแนวทางเพื่อสงเสริมพฤติกรรมดานนี้ใหเหมาะสมและเกดิผลดีตอสุขภาพของประชาชน โดยไดดําเนินงานสงเสริมสุขภาพ ดานการออกกําลังกายและไดมีการกําหนดมาตรฐานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ เพื่อมุงสนบัสนุนใหบุคลากรของหนวยงาน ผูปวยและประชาชนทุกเพศ ทุกวยั ทุกฐานะ และทุกสภาพรางกายไดมีการออกกําลังกายกนัอยางถูกวิธีตอเนื่องและจริงจัง การสรางสุขภาพดวยการออกกําลังกายตามนโยบายของรัฐบาลคือ นโยบายเมืองไทยแข็งแรง ท่ีมีเปาหมายใหคนไทยท่ีมีอายุ 6 ปข้ึนไป ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอเพื่อสุขภาพในทุกหมูบาน ทุกตําบล ทุกชุมชน ทุกหนวยงาน และสถานประกอบการ การสรางสุขภาพดวยการออกกําลังกายตามนโยบายขางตนนั้นจะสัมฤทธ์ิผลหรือไมนั้น ผูวิจยัมีความเหน็วาแนวทางการดําเนินงานและการออกกําลังกายของบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาล หรือหนวยงานของกระทรวงสาธารณสุขนาจะเปนแบบอยางท่ีดีตลอดจนมีผลกระตุนใหประชาชนเกิดความสนใจ และเกิดความต่ืนตัวในการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพมากยิ่งข้ึน

สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีก็เชนเดยีวกนักับสาธารณสุขจังหวัดตาง ๆ ท่ัวประเทศ ท่ีเล็งเหน็ความสําคัญของการสรางสุขภาพใหแกประชาชนตามนโยบายและแนวทางการดําเนินงานของระทรวงสาธารณสุขดังกลาวขางตน โดยเฉพาะอยางยิ่งในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ไดรวมกันสนองตอบนโยบายของรัฐบาลและแนวทางการดําเนินงานตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนด โดยไดรวมลงนามรวมกันเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ท้ังนี้ผูบริหารโรงพยาบาลสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ตางสนับสนุนและถือเปนนโยบายเรงดวนของหนวยงานในการสงเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะการออกกําลังกายเพื่อการมีสุขภาพดี โดยสนับสนนุ

Page 14: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

4

ใหบุคลากรทุกระดับของโรงพยาบาลไดมีการออกกําลังกาย เพื่อเปนแบบอยางท่ีดใีหแกประชาชน โดยเร่ิมดําเนินการพรอมกันตั้งแต ป พ.ศ. 2545 เปนตนมา

ผลการดําเนินงานท่ีผานมานัน้ จากการสรุปผลการดําเนินงานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จงัหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2547 พบวา ยังมีบุคลากรสวนหนึ่งออกกาํลังกายไมผานตามเกณฑท่ีโรงพยาบาลกําหนด ประกอบกบัผลการตรวจสุขภาพ และการทดสอบสรรถภาพของบุคลากรในโรงพยาบาล ประจําป พ.ศ. 2547 พบวามีผลการตรวจท่ี

ผิดปกติดังนี้คือ คา BMI เกินคาปกติ 28 % ระดับไขมันใตผิวหนงัเกินกวาคาปกติ 31% ระดบั

โคเลสเตอรอลในเลือดเกินคาปกติ 26 % ( จากการสรุปผลการดําเนินงานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ จังหวัดสุพรรณบุรี ป พ.ศ. 2547 ) จึงกลาวไดวาบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี มีความเส่ียงตอการเกดิโรคตาง ๆ ท่ีสามารถปองกันไดดวยการออกกําลังกาย เชน โรคความดันเลือดสูง โรคหลอดเลือดในสมอง และโรคหัวใจ เปนตน และหากบุคลากรเหลานี้มีพฤตกิรรมการออกกําลังกายท่ีถูกตองแลว นอกจากจะเพิ่มคุณภาพชีวิตของบุคลากรแลวยังสามารถเปนแบบอยางท่ีดีใหแกบุคคลในครอบครัวและประชาชนท่ัวไปอีกดวย

ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะทําการศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือนําผลการวิจัยมาใชเปนแนวทางในการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกาย สรางกลยุทธเสริมแรงจูงใจรวมถึงการออกแบบการจัดกิจกรรมออกกําลังกายในโรงพยาบาลของผูวิจัยและชุมชนของโรงพยาบาล ผูวิจัยเผยแพรความรูและผลการศึกษาวิจัยแกโรงพยาบาลชุมชนอ่ืน ๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อใหบุคลากรและชุมชนมีสุขภาพดีสนองตอนโยบายเมืองไทยสุขภาพดี มาตรฐานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพรวมถึงแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ และแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติอีกดวย

วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี

2. เพื่อศึกษาขอมูลสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี

Page 15: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

5

ปญหา

บุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี มีพฤติกรรมการออกกําลังกายมากนอยเพยีงใดและมีขอมูลสวนบุคคลใดท่ีสงผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายบาง

สมมุติฐาน

1. บุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ท่ีมีขอมูลสวนบุคคลดานเพศตางกัน จะมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน

2. บุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ท่ีมีขอมูลสวนบุคคลดานอายตุางกัน จะมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน

3. บุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ท่ีมีขอมูลสวนบุคคลดานสถานภาพสมรสตางกนั มีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน

4. บุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ท่ีมีขอมูลสวนบุคคลดานระดับการศึกษาตางกัน จะมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน

5. บุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ท่ีมีขอมูลสวนบุคคลดานตําแหนงหนาท่ีตางกัน จะมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน

6. บุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ท่ีมีขอมูลสวนบุคคลดานรายได / เดือนตางกัน จะ มีพฤตกิรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน

7. บุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ท่ีมีขอมูลสวนบุคคลดานท่ีพักอาศัยตางกนั จะมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน

ขอบเขตของการวิจัย

การศึกษาพฤตกิรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี คร้ังน้ี คณะผูวจิัยกําหนดขอบเขตของการศึกษาดงัตอไปนี ้

ประชากร ประชากรที่ใชศึกษาในคร้ังนี ้ เปนบุคลากรทุกระดับท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสามชุก

อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี จํานวน 154 คน

Page 16: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

6

กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางท่ีใชศึกษาในคร้ังนี้ เปนบุคลากรทุกระดับท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี จํานวน 111 คน

ตัวแปร 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) เปน ขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวย

- เพศ - อาย ุ- สถานภาพสมรส - ระดับการศึกษา - ตําแหนงหนาท่ี - รายได/เดือน - ท่ีพักอาศัย

2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เปน พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร 4 ดาน ประกอบดวย

- การรับรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย - ความรูเกีย่วกับหลักและวธีิการออกกําลังกาย - ทัศนคติเกีย่วการออกกําลังกาย - การรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการออกกาํลังกายของตนเอง

นิยามศัพทเฉพาะ

เพื่อใหเขาใจความหมายของคําท่ีใชในการวิจัยตรงกัน ผูวิจัยจึงไดนิยามความหมายของคําตาง ๆ ไวดังนี ้

พฤติกรรมการออกกําลังกาย หมายถึง การท่ีบุคลากรมีการรับรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย การมีความรูเกี่ยวกับหลักและวิธีการออกกําลังกาย ทัศนคติเกีย่วกับการออกกําลังกาย และการมีความความพรอมเกี่ยวกับการออกกําลังกายของตนเอง ถามีความรูท้ัง 4 ดานนี้กจ็ะมีพฤติกรรมการออกกําลังกายท่ีดี

Page 17: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

7

ความพรอมของบุคลากร หมายถึง เปนลักษณะพื้นฐานท่ีกอใหเกิดแรงจูงใจและใหเหตุผลในการแสดงพฤติกรรมสุขภาพ หรืออีกนัยหนึ่งอาจ หมายถึง เปนความพอใจของบุคคลซ่ึงไดมาจากประสบการณการเรียนรู ความพอใจของบุคคลน้ีอาจมีผลท้ังในทางสนบัสนุนหรือยับยั้งการแสดงพฤตกิรรม ท้ังนี้ข้ึนอยูกับแตละบุคคล ประกอบดวย ความรู ทัศนคติและการรับรูความพรอมของตนเองในการออกกําลังกาย

ความรูเก่ียวกับการออกกําลังกาย หมายถึง ความสามารถของบุคคลท่ีแสดงออกใหเห็นถึงความรูท่ีมีตอ สถานท่ี เหตุการณ ส่ิงของ และบุคคล ซ่ึงไดมาจากการจําระลึก ประสบการณ การสังเกต และการคนควาโดยการรวบรวมสะสมไวเกีย่วกับขอมูลท่ีเปนจริง กฎเกณฑ ทฤษฎี โครงสราง วิธีการตาง ๆ เกีย่วกับการออกกําลังกาย

ทัศนคติเก่ียวกับการออกกําลังกาย หมายถึง ความรูสึกของบุคคลท่ีมีตอส่ิงหนึ่งส่ิงใด เปนองคประกอบหน่ึงท่ีมีอยูในตัวบุคคล ทัศนคติจะเปนแรงผลักดันใหบุคคลเกิดพฤติกรรมตาง ๆ ไปตามทิศทางท่ีกําหนด และจากการที่ทัศนคติเปนส่ิงท่ีมาจากการเรียนรู ดังนั้น สังคม วัฒนธรรม และบุคคลในสังคมจึงมีอิทธิพลตอการสรางทัศนคติของบุคคล สําหรับความพรอมดานทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย แบงองคประกอบของทัศนคติคือ องคประกอบดานความรู องคประกอบดานความรูสึก และองคประกอบดานพฤติกรรม มาใชในงานวิจยันี้ เพื่อทราบถึงทัศนคติท่ีมีตอการออกกําลังกายซ่ึงเปนปจจัยหนึ่งของปจจัยดานความพรอมในการออกกําลังกาย

ความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง หมายถึง กระบวนการทางดานความคิดและจิตใจของคน ท่ีสมองจะตองแปลความหมายจากส่ิงเราท่ีมาสัมผัสกับบุคคลแลวแสดงออกอยางมีจุดมุงหมาย โดยแรงผลักดนัจากการอาศัยความรูเดิมและประสบการณ การท่ีบุคคลจะเขาใจส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงอาจจะมีเหตุผลหรืออาจจะเปนไปในทางลบหรือทางบวกกไ็ด ซ่ึงจะทําใหบุคคลมีแนวโนมท่ีจะปฏิบัติตามแนวคิดหรือการรับรูนั้นดังน้ันการรับรูความพรอมของตนเองในการออกกําลังกาย คือ การรับรูเกี่ยวกับความพรอมทางกาย ไดแกการบรรลุวฒุิภาวะดานรางกายท่ัวไป คือมีการเตรียมของรางกายท่ีจะออกกําลังกาย รางกายมีความแข็งแรงและสมบูรณพรอมท่ีจะออกกําลังกายได โดยรับรูวาไมมีภาวะแทรกซอนกอนและหลังออกกําลังกาย สภาพรางกายพรอมท่ีจะทํากิจกรรมออกกาํลังกายโดยสําเร็จลุลวงและเกิดประโยชนแกตวัเอง

Page 18: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

8

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ทําใหทราบพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก 2. ทําใหทราบถึงขอมูลสวนบุคคลท่ีสงผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี 3. ชวยใหทราบแนวทางพัฒนาของพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี 4. เปนแบบอยางแกประชาชนและโรงพยาบาลอ่ืน ๆ ตอไป

Page 19: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาวิจยัคร้ังนี้ เปนการศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาล

สามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ผูวิจัยไดทําการคนควา แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและ งานวิจยัท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงผูวิจัยไดนํามาใชเพือ่กําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยมีประเด็นท่ีสําคัญ คือ

ตอนท่ี 1 แนวคิดเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ตอนท่ี 2 การสงเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประเทศไทยและการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ตอนท่ี 3 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกีย่วของกับการวจิัย ตอนท่ี 4 งานวิจยัท่ีเกีย่วของ สําหรับรายละเอียดของการศึกษาคนความีดงัตอไปนี ้

ตอนท่ี 1 แนวคิดรวบยอดเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การออกกกําลังกายในประเทศไทยน้ัน มีการจดบันทึกไวเปนหลักฐานนอยมาก แตเช่ือได

วาคนไทยเรามีการออกกําลังกายเพื่อเปนศิลปะปองกันตัวและรักษาโรคมากกวา 750 ป ซ่ึงพรอม ๆ กับการเกดิอาณาจกัรสุโขทัยเปนราชธานี ในยุคนั้นการออกกําลังกายยังคงเปนกิจกรรมท่ีมีเปาหมายเพื่อการเตรียมตัวปองกันประเทศและใชเวลาวางเพื่อการนันทนาการของชุมชน การออกกําลังกายในสมัยกอนนั้น มีแบบแผนอยางไรไมปรากฏจนถึงในสมัยของรัฐกาลท่ี 5 ไดทรงมีการสงเสริมการออกกําลังกายทีมีรูปแบบและเปนแบบแผนมากข้ึน โดยทรงนําแนวคิดตาง ๆ เกี่ยวกับการออกกําลังกายมาจากประเทศตะวันตก ซ่ึงตอมากิจกรรมการออกกําลังกายในรูปแบบใหมนี้เปนท่ีนิยมของประชาชนท่ัวไป และสงเสริมการออกกําลังกายในประเทศไทยไดการพฒันาและมีแบบแผนท่ีชัดเจนมากย่ิงข้ึนโดยในป พ.ศ.2507 ภายใตองคกรสงเสริมกีฬาแหงประเทศไทย ไดสงเสริมใหประชาชนไดออกกําลังกายโดยช้ีใหเห็นถึงประโยชนและคุณคาในการออกกําลังกาย ในสวนของกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย ไดเล็งเหน็ถึงความสําคัญของประโยชนของการออกกําลังกายทีสงผลดีตอสุขภาพ จึงดําเนินโครงการสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพซ่ึงสอดคลองกับ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549 ) ท่ีตั้งเปาหมายใหประชาชน

Page 20: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

10

ออกกําลังกายและเลนกฬีามากข้ึน ( คณะกรรมการอํานวยการ จัดทําแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับท่ี 9 2545 ) จากการสงเสริมการออกกําลังกายนั้นจะสงผลดีในหลาย ๆ ดาน โดยเฉพาะในทางสาธารณสุข พบวา การออกกําลังกายเปนปจจัยท่ีชวยลดอัตราเกิดโรคท่ีเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ เชน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดในสมอง จากความสําคัญดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาแนวคิดรวบยอดเก่ียวกับการออกกําลังกายเพ่ือใชในการศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี

ประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย

การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจะชวยพฒันาองคประกอบของสมรรถภาพทางกายชวยทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงของกระบวนการชีววิทยาในรางกายในหลายดาน และการออกกําลังกายสามารถชวยเพิ่มความแข็งแรงสมบูรณของรางกายและมีผลดีตอจิตใจ สังคม โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี ้

ประโยชนของการออกกําลังกายท่ีมีผลทางดานรางกาย

1. ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เปนการเพิ่มปริมาณของเลือดใหรางกาย ชวยปรับปรุงใหหลอดเลือดทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ไมเปราะมีความยืดหยุนดี เพิ่มปริมาณการนําออกซิเจนในเสนเลือด เพิ่มประสิทธิภาพการสูบฉีดเลือดออกจากหวัใจ การแลกเปล่ียนกาซในหลอดเลือดแดง เพิ่มความจุของหลอดเลือด ดังนั้นผลของการออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจึงเปนกลไกในการปองกนัโรคหัวใจ และชวยทําใหโคเลสเตอรอล

ชนิดท่ีมีความหนาแนนตํ่าลดลง ซ่ึง LDL นี้จะเปนตัวสําคัญท่ีจะเกาะตามผนังหลอดเลือดทําใหเกิดการอุดตันของหลอดเลือด และชวยทําใหโคเลสเตอรอลชนิดท่ีมีความหนาแนนสูงเพิ่มข้ึน ซ่ึง HDL มีจํานวนสูงข้ึน โอกาสที่จะเปนโรคหัวใจและทําใหหวัใจขาดเลือดจึงนอยลง นอกจากนี้การออกกําลังกายอยางตอเนื่องยงัชวยลดนํ้าหนักตัว ลดไขมันท่ีสะสมในรางกายมีผลทําใหความดนัโลหิตลดลง ลดอัตราการเตนของหัวใจขณะหยุดพักหลังออกกําลังกาย

2. ระบบหายใจ การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอทําใหทรวงอกขยายใหญ กลามเนื้อท่ีทําหนาท่ีหายใจมีความแข็งแรงทํางานไดดีข้ึน ทําใหปริมาณอากาศท่ีหายใจเขาหรือหายใจออกแตละคร้ังเพิ่มข้ึน และเพิ่มปริมาตรอากาศท่ีหายใจออกเต็มท่ีภายหลังหายใจเขาเต็มท่ีถึงรอยละ 20 ทําใหอัตราการหายใจชาลง ความลึกของการหายใจเพ่ิมข้ึน นอกจากนั้นยงัทําใหปริมาตรการไหลเวยีนเลือดเขาสูปอดไดดีข้ึน มีการใชออกซิเจนอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน เพิ่มความทนทานและ

Page 21: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

11

ความสามารถในการปฏิบัตกิิจกรรมการออกกําลังกาย และกิจกรรมการทํางานตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

3. ระบบภูมิคุมกันและสารท่ีกอใหเกิดมะเร็ง การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของระบบภูมิคุมกัน ทําใหไปยับยั้งการเจรญิเติบโตของเซลที่ผิดปกติได และเพิ่มการไหลเวียนของเม็ดเลือดขาวชนิดโคไซด ลดปจจยัเส่ียงการเปนมะเร็งเตานม มะเร็งทางระบบอวัยวะสืบพันธุ ชวยลดการเกิดมะเร็งลําไส

4. ระบบตอมไรทอและการเผาผลาญอาหาร การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจะกระตุนใหตอมหมวกไตมีการหล่ังฮอรโมน อีปเนฟรีน และนออีปเนฟรีน มีผลทําใหมีการเปล่ียนแปลงสรี-รภาพคือ หัวใจจะเตนถ่ีและแรงข้ึน เลือดไปสูทางลัดท่ีตองการเลือดมาเล้ียงมาก ๆ เชน กลามเนือ้หัวใจ การสลายตัวของไกลโคเจนเพ่ิมข้ึนในตับ และในกลามเนื้อลายมีการละลายไขมัน การเล่ียนแปลงดังกลาวจะทําใหรางกายมีพลังงานเพิ่มข้ึนใหสมดลุกับพลังงานท่ีตองใชในการออกกําลังกายเพิ่มการเผาผลาญอาหาร และหล่ังแคลทีโคลามีน และกลูคากอนเพิ่มข้ึน ลดระดับอินซูลินในกระแสเลือด ซ่ึงมีผลตอการลดภาวะเส่ียงของโรคเบาหวาน

5. ระบบกลามเนื้อและกระดูก การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอทําใหกระดูก กระดกูออนและขอตาง ๆ แข็งแรงข้ึน ไดแก กลามเนือ้ เอ็นจะมีความสามารถในการยืดและหดตัวไดดี ขอตอจะสามารถเคล่ือนไหวไดตลอดชวงการเคล่ือนไหว หรือเคล่ือนไหวไดมากกวาปกติ เม่ือองคประกอบสําคัญท่ีชวยในการเคล่ือนไหวน้ีแข็งแรง อัตราท่ีบาดเจ็บจากการออกกําลังกายหรืออุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนในชีวิตประจําวนัก็ลดนอยลงและกลับจะทําใหสมรรถภาพทางกายในทุก ๆ ดานดีข้ึนตามไปดวย นอกจากนี้เสนใยกลามเนื้อท่ีมีขนาดใหญ กลามเนื้อแข็งแรงและพลังงานดีข้ึน มีการสะสมสารตาง ๆ เพิ่มข้ึน หลอดเลือดฝอยมีการกระจายในกลามเนื้อมาก ทําใหกลามเนือ้สามารถรับออกซิเจนไดมากข้ึน และขณะท่ีพักกลามเนือ้จะทํางานอยางประหยดั ซ่ึงเปนการเพิม่ความแข็งแรง นอกจากนีก้ารออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจะสามารถชวยปองกนัภาวะโรคกระดูกพรุนได ชะลอความเส่ือมของกระดูก

6. ระบบประสาท การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอทําใหการทํางานของสมองมีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน มีการส่ังงานใหกลามเนื้อตาง ๆ ทํางานประสานกันไดดี และยังทําใหอวัยวะตาง ๆ ท่ีควบคุมดวยประสาทอัตโนมัติทํางานไดดี เพราะการออกกําลังกายจะไปกระตุนใหตอม แอลดรีนั่ล หล่ังสารนอรแอดดรีนาลีน และแอดดรีนาลีน ออกมา สารนี้จะไปกระตุนระบบประสาทอัตโนมัติอีกตอหนึ่ง สงผลใหเหง่ือออกมา ทําใหอุณหภูมิของรางกายลดลง เพ่ิมปริมาณ

Page 22: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

12

เลือดท่ีออกจากหัวใจสงผลใหเพิ่มปริมาณออกซิเจนในสวนตาง ๆ ของรางกาย เพิ่มการถายเทคารบอนไดออกไซด เพิ่มการถายเทของเสียจากการเผาผลาญ และเพิ่มอาหารใหแกกลามเนื้อ

7. ระบบทางเดินอาหาร การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจะชวยลดอาการทองผูกเพราะขณะท่ีมีการออกกําลังกายอาหารจะผานทางเดินลําไสคอนขางเร็ว และทําใหรางกายมีการปลอยสารแมกนีเซียมออกมาในลําไส ซ่ึงแมกนีเซียมมีฤทธ์ิชวยเปนยาระบาย และการออกกําลังกายยังลดความเส่ียงท่ีทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร เพราะวาในขณะทีย่ังออกกําลังกายไมเต็มท่ีนั้นจะชวยลดการหล่ังกรดของกระเพาะอาหารท้ังยังลดการเกิดนิ่วในถุงน้ําดท่ีีเกิดจากโคเลสเตอรอล

ประโยชนของการออกกําลังกายท่ีมีผลทางดานจิตใจและสังคม

การออกกําลังกายนอกเหนือจากมีประโยชนตอรางกาย ดังท่ีกลาวมาแลวยังมีประโยชนตอจิตใจและสังคมอีกดวย ท้ังนี้เนื่องจากการออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอจะมีผลใหรางกายเกิดการหล่ังสารจากตอมใตสมองท่ีเรียกวา เอ็นดอรฟน ซ่ึงสารตัวนี้จะมีฤทธ์ิคลายมอรฟน มีผลทําใหลดอาการเศราซึม ลดความวิตกกังวล และการออกกําลังกายทําใหเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน แจมใส ไมเซ่ืองซึม นอกจากนี้การออกกาํลังกายยังเพิ่มความเช่ือม่ันในตนเอง มีอัตมโนทัศน ท่ีดีตอตัวเองและมีความโนมเอียงท่ีมีพฤติกรรมอ่ืน ๆ ในทางท่ีดีข้ึนดวย โดยเฉพาะการละเวนหรือลดการใชสารเสพติด เชน การสูบบุหร่ี การดื่มสุรา เปนตน การออกกําลังกายทําใหแบบแผนการนอนหลับดีข้ึน โดยเฉพาะผูท่ีนอนไมหลับจากความเครียด การออกกําลังกายหรือเลนกีฬาเปนหมูคณะ จะทําใหเกิดความเขาใจและการเรียนรูพฤติกรรม มีบุคลิกภาพท่ีดี มีความเปนผูนํา มีมนุษยสัมพันธท่ีดี และ สามารถอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

คุณคาและความสําคัญของการออกกําลังกาย

คุณคาและความสําคัญของการออกกําลังกายดังกลาวขางตนประมวลสรุปไดเปน 2 สวนคือ

1. คุณคาตอตนเอง คือ การออกําลังกายทําใหจิตแจมใส ไมเครียด ชะลอความชรา สุขภาพดีข้ึน และเปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน 2. คุณคาตอสังคม คือ การออกําลังกายชวยทําใหคาใชจายในการรักษาพยาบาลเก่ียวกับโรคนั้นลดลง เปนการลดภาระงานดานสาธารณสุขและท้ังในสวนงบประมาณและบุคลากรของประเทศชาติดวย

Page 23: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

13

ความหมายของการออกกําลังกาย

การออกกําลังกายเปนกลไกที่สําคัญในการเสริมสรางสุขภาพ สมบัติ กาญจนิจ (2541 : 5 ) ไดกลาววา การออกกําลังกายเปนการใชแรงกลามเนื้อและแรงกายใหเคล่ือนไหวเพื่อใหรางกายแข็งแรง มีสุขภาพดี โดยจะใชกิจกรรมใดเปนส่ือก็ได เชน การบริหาร เดินเร็ว วิ่ง เหยาะ หรือการฝกท่ีไมมุงการแขงขัน ในขณะท่ีสํานกัสงเสริมสุขภาพ กรมสุขภาพ (2543 : 14-19 ) ไดกลาววา บทบาทของการเคล่ือนไหวของการออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ทําใหเกิดความแข็งแรงสมบูรณของรางกายในดานการปองกันโรค คือ ชวยลดความเส่ียงและปจจยัท่ีกอใหเกิดโรคเร้ือรังท่ีสําคัญ เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหติสูง ความอวน ฯลฯ อันเปนผลมาจากขาดหรือเคล่ือนไหวออกกําลังกายนอย ดังนัน้ในกระทรวงสาธารณสุข จึงเล็งเห็นวาการเคล่ือนไหวออกกําลังกายจึงเปรียบเสมือนเปนวัคซีนปองกันโรคเร้ือรัง นอกจากน้ียังเปนวิธีหนึ่งในการสงเสริมสุขภาพและความสุขสบาย ทําใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่แข็งแรง ทําใหคนเราดูดีข้ึน รูสึกดี และมีความเพลิดเพลินในชีวิต นอกเหนือจากน้ีการออกกําลังกายเปนส่ิงจําเปนสําหรับทุกคนตั้งแตแรกเกิดจนถึงวยัชรา แมในคนปวย ยังตองการการออกกําลังกายเพื่อใหฟนสภาพเร็วยิ่งข้ึน ในวยัชราการออกกําลังกายจะชวยปองกันแลรักษาอาการของโรคท่ีเกิดในวยัชราได เชน อาการปวดเม่ือย

ในสวนท่ีเปนความหมายของการออกกําลังกายนัน้ จากการคนควาเอกสารงานวิจยัพบวามีการใหความหมายในแงมุมท่ีหลากหลายกนัไป อาทิ

อวย เกตุสิงห (2531 : 20 ) ไดกลาวถึงความสําคัญของการออกกําลังกายไววา การออกกําลังกายอยางถูกตองเปนส่ิงจําเปนสําหรับทุกคนต้ังแตแรกเกิดจนถึงวยัชรา แมในคนปวย ยงัตองการการออกกําลังกายเพ่ือใหฟนสภาพเร็วยิ่งข้ึน ในวัยชราการออกกําลังกายจะชวยปองกนัและรักษาอาการของโรคท่ีเกิดในวัยชราได เชน อาการปวดเม่ือย จากความสําคัญของการออกกําลังกาย ดังท่ีไดกลาวมาแลวนัน้เราควรทราบถึงความหมายของการออกกําลังกายดวยเพื่อจะไดมีความเขาใจในความหมายและหลักการออกกําลังกายตอไปดังนี ้

ชูศักดิ์ เวชแพทย (2519 : 1 ) ไดสรุปความหมายของการออกกําลังกายวา หมายถึงการที่กลามเนื้อลายทํางานเพื่อใหรางกายมีการเคล่ือนไหวพรอมกับการไดแรงงานดวย ในขณะเดยีวกนัยังมีการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกาย เพื่อชวยการจัดแผนงาน ควบคุมและปรับปรุงสงเริมใหออกกําลังกายมีประสิทธิภาพและคงอยู

วรศักดิ์ เพยีรชอบ (2533 : 37 ) กลาววาการออกกําลังกายคือ การท่ีทําใหรางกายไดใชพลังงานหรือกาํลังงานท่ีมีอยูในตัวนั้น เพื่อใหรางกายสวนใดสวนหนึ่งของรางกายเกิดการ

Page 24: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

14

เคล่ือนไหวนัน่เอง เชน การเดิน การกระโดด การวิง่ การทํางาน หรือในการเลนกีฬา การออกกําลังกายแตละกิจกรรม รางกายตองใชกาํลังงานมากนอยแตกตางกันไปตามลักษณะของงานน้ันวามากนอยหรือเบาแคไหน

จรวยพร ธรนนิทร (2534 : 71-72 ) ใหความหมายของการออกกําลังกายวา เปนการออกแรงทางกายท่ีทําใหรางกายแข็งแรงท้ังระบบโครงสราง และทําใหกลามเนื้อสามารถรวมกันตอตานและเอาชนะแรงบังคับได

จิตอารี ศรีอาคะ (2543 : 22-25 ) กลาววา การออกกําลังกายเปนกิจกรรมการเคล่ือนไหวของรางกายอยางมีแบบแผน โดยมีการกําหนด ความถ่ี ความนาน ความแรง ระเวลาในการอบอุนรางกายและระยะผอนคลายรางกายท่ีถูกตอง และมีการระทําเปนประจํากอใหเกดิการเสริมสรางสมรรถภาพและคงไวใหมีสุขภาพด ี

จากความหมายดังกลาวผูวิจยัประมวลไดวา การออกกําลังกายหมายถึง การใชแรงกลามเนื้อเพ่ือใหรางกายเกิดการเคล่ือนไหวอยางมีระบบแบบแผน โดยมีการกําหนด ความถ่ีของการออกกําลังกาย ความแรงหรือความหนักของการออกกําลังกาย ความหนาหรือระยะเวลาของการออกําลงกาย ระยะเวลาในการอบอุนรางกายและระยะผอนคลายรางกายท่ีถูกตอง ท้ังนีก้ารออกกําลังการในรูปใดหรือใชกิจกรรมใดเปนส่ือก็ได โดยผลของการออกกําลังกายจะชวยทําใหรางกายเกิดความแข็งแรง ระบบการทํางานตาง ๆ ของรางกายมีประสิทธิภาพดีข้ึน มีสุขภาพด ี

ประเภทการออกกําลังกาย

การจําแนกประเภทการออกกําลังกายเนนไปในแนวทางการสรางความแข็งแรงของกลามเนื้อการเพิ่มประสิทธิภาพของปอดและหัวใจ และการเพ่ิมวามยดืหยุนและการผอนคลายของกลามเนื้อโดยจําแนกประเภทของการออกกําลังกายไดดงันี้

1. การออกกําลังกายแบบไอโซเมตริก ( Isometric of Exercise ) เปนการอกอกําลังกาอยูกับท่ี โดยเกร็งกลามเนื้อ ไมมีการเคล่ือนไหวสวนตาง ๆ ของใด เหมาะสําหรับการออกกําลังกายท่ีสถานท่ีจํากัด เปนตนรางกายเปนการเพิม่ความแข็งแรงของกลามเนือ้ อาจทํารวมกับใชแรงตานดวย เชน การออกแรงดันส่ิงหนึ่งส่ิง

Page 25: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

15

2. การออกกําลังกายแบบไอโซโทนิก ( Isotonic of Exercise ) เปนการออกกําลังกายโดยการเกร็งกลามเนื้อพรอมกับการเคล่ือนไหวอวัยวะแขน ขา หรือขอตาง ๆ เปนการออกกําลังกายแบบตอสูแรงตานทาน และเปนการออกกําลังกายใหกลามเนื้อภายนอก แตกลามเนื้อหวัใจไมไดรับออกกําลังกายดวยเลย เชน การยกนํ้าหนัก กรรเชียงบก ยกดัมเบล เปนตน

3. การออกกําลังกายแบบใชออกซิเจน (Aerobic Exercise) เปนการออกกําลังกายท่ีใชออกซิเจนจํานวนมาก โดยสมํ่าเสมอและติดตอกันทําใหระบบหวัใจและหลอดเลือดทําหนาท่ีดีข้ึน เปนการออกกาํลังกายท่ีมีการเคล่ือนไหวสวนตาง ๆของรางกาย ซ่ึงประกอบดวยกิจกรรมท่ีเพิ่มความยืดหยุนและแข็งแรงของกลามเนื้อกจิกรรมการออกําลังกายประเภทนี้ เชน กิจกรรมการเตนแอโรบิก การวิ่ง การปนจักรยาน การออกกําลังกายฟสเนต เปนตน

4. การออกกําลังกายแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic Exercise) เปนการออกกําลังกายท่ีอาศัยพลังงานจากครีเอตินินฟอสเฟต และอดีโนซินโตรฟอสฟตท่ีสะสมอยูในเซลกลามเนื้อ เปนการออกกําลังกายท่ีไมใชออกซิเจนหรือใชเพียงเล็กนอย ตัวอยางการออกกําลังกายประเภทนี้ คือ การวิ่งระยะส้ัน ยกน้ําหนกั เหมาะสําหรับการฝกนักกฬีา โบวล่ิง เทนนิส วอลเลยบอล กอลฟ

จากประเภทของการออกกําลังกายท่ีกลาวมาแลวนัน้สามารถประมวลไดวา ประเภทของการออกกําลังกายมีท้ังหมด 4 ประเภท โดยการออกกําลังกายแบบไอโซโทนิกและไอโซเมตริก เปนการออกกาํลังกายเพื่อสรางกลามเนื้อและการออกกําลังกายแบบใชออกซิเจนและแบบไมใชออกซิเจนเปนการออกกําลังกายเพื่อใชพลังงาน

หลักการออกกําลังกาย

วิธีการออกกําลังกายของบุคคลนั้น ตองมีความรูความเขาใจในหลักและวิธีการออกกําลังกาย รวมไปถึงการเตรียมความพรอมในตาง ๆ ของตนเอง จากความหมายและประเภทของการออกกําลังกายท่ีกลาวแลวช้ีใหเห็นวาการออกกําลังกายตองเปนไปอยางมีระบบแบบแผน ดังนัน้การออกกําลังกายท่ีถูกตองไดมีการกําหนดหลักการการออกกําลังกายไวดังตอไปนี ้

วรศักดิ์ เพียรชอบ (2533 : 37 ) ไดจําแนก หลักการท่ัวไปของการออกกําลังกายไว 9 ประการ คือ

1. ผูท่ีไมเคยออกกําลังกายมากอนควรจะเร่ิมออกกําลังกายดวยทาทีงาย ๆ และเบา ๆ กอน ในวนัตอไปจึงคอยเพิ่มความหนกัของการออกกําลังกายนัน้ใหมากข้ึนท่ีละนอย ๆ ตามลําดับ ท้ังนี้เพื่อชวยใหรางกายมีโอกาสปรับตัวได

Page 26: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

16

2. ถาหากวาออกกําลังกายแลวทําใหมีอาการผิดปกติอยางใดอยางหน่ึงเกิดข้ึน เชนเวียนศีรษะ ใจส่ัน เหนือ่ยมากผิดปกติ ควรหยุดออกกําลังกายนั้นทันทีและควรไปปรึกษาแพทย

3. ควรออกกําลังกายเพื่อสุขภาพและเพื่อความสนุกสนานมากกวาเพื่อมุงการแขงขัน

4. การเลือกกิจกรรมงายโดยเปนกิจกรรมท่ีตนเองมีความรัก ความถนัด ความชอบ สามารถที่จะออกกําลังกายไดทุกวนั

5.ในการออกกําลังกายทุกคร้ังควรจะปลอยและทําใจใหมีความสนุกสนานในกิจกรรมนั้นดวย ควรหลีกเล่ียงไมนําเอาความเครงเครียดจากการงานเขามาเกี่ยวของดวย

6. การออกกําลังกายแตละครั้งควรทําใหถึงระดับเหนื่อยกวาปกติ เหง่ือเร่ิมออกและมีอัตราการเตนของชีพจรเร็วกวาปกติ

7. ผูท่ีมีอายุ 40 ปข้ึนไป และไมคอยไดออกกําลังกายมากอน ควรจะไดปรึกษาแพทย กอนการออกกําลังกายท่ีหนัก ๆ

8. การออกกําลังกายท่ีมีเคร่ืองผอนแรง ชวยดึง ดัน ส่ันหรืออยางหนึ่งอยางใดอาจจะมีประโยชนนอยมาก ท้ังนี้ก็เพราะความมุงหมายหลักของการออกกําลังกายนั้นก็คือ เพื่อใหรางกายไดมีโอกาสใชแรงงานเอง มิฉะนั้นแลวการออกกําลังกายก็เสียเวลาเปลา

9. การพักผอนนอนหลับท่ีเพียงพอ การรับประทานอาหารที่ไดสัดสวน ตลอดจนการหลีกเล่ียงเคร่ืองดองของมึนเมาตาง ๆ ควรจะไดควบคูกันไปกับการออกกําลังกายดวย ผลท่ีมีตอสุขภาพจึงจะเปนไปไดอยางสมบูรณ

ในขณะท่ี อุดมศักดิ์ ศรีแสงนาม (2538 : 15-20) ไดนําเสนอหลักการท่ัวไปของการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพไว 4 ประการ คือ 1. ไมเครงเครียด แตมีความสนุกสนานและเพลิดเพลิน 2. ตองใชวิธีคอย ๆ เปน คอย ๆ ไป

3. ตองใหทุกสวนของรางกายไดออกกําลังกาย ในแตละสัปดาหควรใชกิจกรรมการออกกําลังกายหลาย ๆ อยางผสมผสาน

4. การออกกําลังกายควรทําอยางสมํ่าเสมอ อยางนอยสัปดาหละ 3 วัน ๆ ละ 20-30 นาทีและเปนเวลาเดียวกัน

Page 27: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

17

อยางไรก็ตาม ( กรมอนามัย 2540 ) ไดกําหนด หลักการเลือกกิจกรรมการออกกําลังกายไวดังนี ้

1. คํานึงถึงเปาหมายสําคัญในการออกกําลังกาย มุงเพื่อสุขภาพของรางกาย 2. ฝกตามหลัก ทํางานใหหนักข้ึนคือคอย ๆ เพิ่มขีดความสามารถในการออกกําลังกายอยางคอยเปนคอยไป จนรางกายสามารถปรับระบบการทํางานไดดีตามไปดวย

3. ฝกอยางสมํ่าเสมอตอเนื่องกันทุกวัน หรืออยางนอยสัปดาหละ 3 วัน คร้ังละ 20-30 นาที เพราะการฝกบางหยุดบาง ทําใหระบบการทํางานของรางกายไมไดรับการกระตุนใหทํางานอยางสมํ่าเสมอ จึงไมไดผลตอสมรรถภาพ

4. ฝกแลวพอใจผอนคลายความเครียด คือ การฝกท่ีมีประโยชน 5. เปล่ียนกิจกรรมใหหลากหลาย เปล่ียนรูปแบบของการออกกําลังกาย เพื่อไมใหเบ่ือหนายและไดออกแรงทุกสวนของรางกาย

6. คํานึงถึงความปลอดภัย การออกกําลังกายที่ดีตองสอดคลองกับความถนัดและภาวะสุขภาพของผูฝก ควรอบอุนและผอนคลายรางกายทุกคร้ัง กิจกรรมไมหนักมากจนเหนื่อยหอบ แตไมเบาจนรูสึกเหมือนไมไดออกแรง

7. เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับจุดประสงคในการฝก เชน ถาตองการยืดเสนยืดสาย ควรใชกายบริหาร ถาฝกความอดทนกิจกรรมควรหนักนอยแตทํานาน เชน วิ่งเหยาะ

8. สรางกําลังใจในการฝก เนื่องจากชวงแรกรางกายอาจปวดเมื่อยจากภารกิจในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะในชวง 6 สัปดาหแรก ถาพยายามจูงใจตนเองใหฝกไดถึง 6 สัปดาห ก็จะมีแนวโนมฝกตอไปไดเร่ือย ๆ

9. เลือกกิจกรรมที่ฝกตามลําพังหรือฝกกับกลุมได ควรมีความยืดหยุนในการเลือกกิจกรรม เชน วายน้ํา กระโดดเชือก เทนนิส ตะกรอ แอโรบิก เปนตน

10. ติดตามความกาวหนา การฝกท่ีดีควรไดผลลัพธท่ีดีตามความคาดหวัง ผูฝกจึงควรช่ังน้ําหนักตัวและสังเกตความรู สึกหรือสุขภาพโดยท่ัวไป ถาฝกแลวตัวเบากระปร้ีกระเปราสบายใจ แสดงวาการฝกนั้นเหมาะสม ถาฝกแลวรูสึกยิ่งอวนข้ึนสําหรับผูท่ีมีน้ําหนักเกินแสดงวาฝกไมถูกวิธีตองแกไข

จากหลักการออกกําลังกายท่ีกลาวมาขางตนสามารถประมวลไดวา หลักการออกกําลังกาย คือ การออกกําลังท่ีเร่ิมออกกําลังกายดวยทาท่ีงาย ๆ และเบา ๆ กอน แลวเพิ่มความหนักของการออกกําลังกายนั้นใหมากข้ึนทีละนอย ๆ ตามลําดับ ควรออกกําลังกายเพ่ือความสนุกสนานมากกวาเพื่อมุงการแขงขัน การเลือกกิจกรรมควรเลือกท่ีความถนัด ความชอบ สามารถท่ีจะออกกําลังกาย

Page 28: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

18

ไดทุกวัน การออกกําลังกายแตละคร้ังควรทําใหถึงระดับ เหนื่อยกวาปกติ เหง่ือเร่ิมออกและมีอัตราการเตนของชีพจรเร็วกวาปกติ การออกกําลังกายควรทําอยางตอเนื่องกันทุกวัน หรืออยางนอยสัปดาหละ 3 วัน คร้ังละ 20-30 นาที

การเตรียมความพรอมในการออกกําลังกาย

1. การออกกําลังกายจะมีการสรางแรงจูงใจอยางไรนั้น ส่ิงแรกคือการสรางแรงจูงใจภายในตนเอง คือ การสํารวจตัวเองวาในทุกวันนี้ไดออกกําลังกายในชีวิตประจําวันหรือไม แลวก็สํารวจสภาวะรางกายวาสภาวะรางกายของเราทุกวันนี้ เวลาทํางานหรือมีกิจกรรมในชีวิตประจําวันเหน่ือยงายไหมกระฉับกระเฉงเพียงพอไหมหรือในเร่ืองของนํ้าหนักตัวมากไปหรือเปลา กลามเนื้อกระดูกแข็งแรงไหมเม่ือเทียบคนท่ีเขาออกกําลังกายเปนประจํา

2. การสรางแรงจูงใจภายนอกดวยชวยเสริมแรงจูงใจภายใน เลือกกิจกรรมการออกกําลังกายท่ีนาสนใจ สนุกสนานแลวก็มีสถานท่ีจูงใจ เชน การเลือกเลนกีฬาบางประเภทที่มีกฎกติกาแขงขัน จะทําใหรูสึกสนุกไปกับกิจกรรมการออกกําลังกาย หรือการออกกําลังกายตามจังหวะดนตรีจะทําใหเพลิดเพลินไปกับกิจกรรมการออกกําลังกาย และทําใหสามารถออกกําลังกายไดสมํ่าเสมอข้ึน ระยะเวลานานข้ึน

3. การวางแผนและสํารวจวากิจกรรมในชีวิตประจําวันชวงไหนบางมีการออกกําลังกายได ถาไมสามารถจะออกกําลังกายอยางมีแบบแผน เชน การไปเตนแอโรบิก การจอกกิ้งในสวนสาธารณะ ถาทําไมไดก็ตองพยายามเพิ่มกิจกรรมในชีวิตประจําวันในการเคล่ือนไหวอิริยาบถตาง ๆ ตองพยายามใชพลังและใชกําลังงานเพ่ิมมากข้ึน

4. ประเมินตัวเองวาสภาพรางกายดีข้ึนไหม หลังจากมีการออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เชน กระฉับกระเฉงข้ึนหรือไม จิตใจเบิกบานข้ึนหรือไม นอนหลับงายข้ึน ส่ิงเหลานี้ชวยจูงใจใหมีการออกกําลังกายมากยิ่งข้ึน

5. ประเมินประเภทของการออกกําลังกาย ใหเหมาะสมกับอายุเพราะกิจกรรมบางกิจกรรมอาจไมเหมาะสมและเกิดอุบัติเหตุได เชน คนท่ีอายุมากจะไปเตนแอโรบิก เตนกับเขาก็ไมไหวเพราะฉะน้ันเร่ืองนี้ เปนเร่ืองสําคัญวาปญหาอุปสรรคของอายุแตละวัย การออกกําลังกายที่เหมาะสมในแตละวัยก็จะแตกตางกัน

6. ประเมินสุขภาพและปญหาสุขภาพ จะพบวาบางคนท่ีไมเคยออกกําลังกายมากอน การที่จะไปเร่ิมออกกําลังกายปานกลางไปถึงหนัก อาจจะเปนปญหาทําไดไมนานก็อาจจะเหนื่อยงายหรือ

Page 29: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

19

บางคนรูสึกหอบเพราะฉะนั้นถาใครท่ีมีปญหาสุขภาพจําเปนท่ีตองตรวจสุขภาพกอนหรือปรึกษาแพทย เพื่อรูวาควรออกกําลังกายแบบไหนถึงจะไมเปนอันตราย แตถาคนท่ีไมเคยออกกําลังกายและไมมีปญหาเร่ืองสุขภาพ ก็ควรท่ีจะตองเร่ิมจากเวลานอย ๆ ออกแรงเบา ๆ ไปกอน เพื่อใหรางกายเคยชินแลวก็เพิ่มความหนักและระยะเวลามากข้ึน

7. การขาดทักษะของการออกกําลังกาย การออกกําลังกายอยางไรจะไมบาดเจ็บและถูกวิธี ท้ังในเร่ืองของการแตงกายใหเหมาะสม เวลาที่จะออกกําลังกายใหพอเหมาะจะไดไมเปนปญหาและอุปสรรค ถาใครยังไมมีทักษะทางดานนี้ก็อาจจะทําใหออกกําลังกายผิดวิธี เกิดการบาดเจ็บกลามเนื้อ บาดเจ็บขอตอตาง ๆ ในรางกาย จะทําใหไมอยากออกกําลังกายอีกตอไป

8. ประเมินสมรรถภาพของตัวเอง สมรรถภาพของคนไมเหมือนกัน คนท่ีไมเคยออกกําลังกายมากอนอยูดี ๆ จะไปวิ่งหรือวาเดินข้ึนบันได 5 ช้ันรวดเดียวอาจจะบาดเจ็บแนนอน เชน อยูดี ๆ อาจไปวิ่ง อาจจะมีปวดเม่ือยกลามเนื้อและทําใหไมอยากมาออกกําลังกายอีก

ขั้นตอนในการออกกําลังกาย

ข้ันตอนในการออกกําลังกายประกอบดวย 3 ข้ันตอน คือ

ข้ันตอนท่ี 1 การอบอุนรางกาย (Warm Up) เปนการเตรียมความพรอมของรางกายกอนการออกกําลังกาย เปนการเพิ่มอุณหภูมิในกลามเนื้อ ทําใหกลามเนื้อสามารถหดตัวไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด การอบอุนรางกายใชเวลาประมาณ 5-10 นาที ไดแก การเหยียด การสะบัดแขงสะบัดขา แกวงแขน วิ่งเหยาะ ๆ

ข้ันตอนท่ี 2 การออกกําลังกายอยางจริงจัง เปนการออกกําลังกายเพ่ือใหรางกายเกิดการเผาไหมอาหารในรางกายโดยใชออกซิเจนในอากาศดวยการหายใจเขาไป เพื่อทําใหเกิดพลังงานระดับหนึ่ง ในขณะออกกําลังกายการเตนของหัวใจจะเพิ่มข้ึนมากนอยเพียงใดจึงจะเกิดประโยชน

แกรางกาย ข้ึนอยูกับอายุของบุคคลนั้น คํานวณจากสูตรของ American College of Sport Medicine คือการใช 220 ลบดวยอายุของบุคคลนั้น อัตราการเตนของหัวใจที่เหมาะสมคือประมาณ รอยละ 65-80 (ดังตารางท่ี 2.1)

Page 30: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

20

ตารางท่ี 2.1 รอยละของอัตราการเตนสูงสุดของหัวใจตอนาทีในแตละอายุ (ป)

อายุ (ป)

อัตราการเตน สูงสุด ตอนาที

รอยละ 65 ตอนาที

รอยละ 70 ตอนาที

รอยละ 75 ตอนาที

รอยละ 80 ตอนาที

20 30 40 50 55 60 65 70

200 190 180 170 165 160 155 150

130 123 117 110 107 104 101 98

140 133 126 119 116 112 109 105

150 142 135 127 124 120 116 112

160 152 144 136 132 128 124 120

ท่ีมา : กระทรวงสาธารณสุข, กรมการแพทย, สถาบันเวชศาสตรผูสูงอายุ, การออกกําลังกายท่ัวไป และเฉพาะโรคผูสูงอายุ (กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย2545) , 5.

ข้ันตอนท่ี 3 การผอนใหเย็นลง (Cool Down) เม่ือไดออกกําลังกายท่ีเหมาะสมตาม

ข้ันตอนท่ี 2 แลว ควรจะคอย ๆ ผอนการออกกําลังกายทีละนอย แทนการหยุดการออกกําลังกายโดยทันที ท้ังนี้เพื่อใหเลือดท่ีค่ังอยูตามกลามเนื้อไดมีโอกาสกลับคืนสูหัวใจ

เม่ือทราบถึงหลักการและข้ันตอนการออกกําลังกายแลวเห็นไดวาการออกกําลังกายสงผลโดยตรงและโดยออมกับตัวบุคคลและสังคมอยางมาก ดังนั้นทางกระทรวงสาธารณสุขซ่ึงเปนหนึ่งในหลายกระทรวงที่รับนโยบายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมของประชาชนใหดียิ่งข้ึน ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการออกกําลังกายจึงจัดทําแผนนโยบายออกกําลังกายเพื่อสุขภาพข้ึนและหวังผลเปนอยางยิ่งใหประชาชนมีสุขภาพดีถวนหนา

นโยบายของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขในการสรางสุขภาพดานการออกกําลังกาย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดกําหนดนโยบายการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพไว

ดังนี้ 1. ใหประชาชนทุกกลุมอายุ ทุกสภาพรางกาย มีการออกกําลังกายอยางถูกตองเหมาะสมตอเนื่องสมํ่าเสมอ โดยถือเอาการออกกําลังกายเปนสวนหนึ่งของชีวิตและปรับเปล่ียนวิถีชีวิต ใหมีการเคลื่อนไหวรางกายในการประกอบกิจวัตรประจําวันมากข้ึน เพื่อสงผลใหอายุยืนยาว และมี

Page 31: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

21

คุณภาพชีวิตท่ีดี ไมเจ็บปวยและตายดวยโรคอันเกิดจากการขาดการออกกําลังกายกอนวัยอันสมควร 2. ใหมีการประยุกตกิจกรรมการละเลนพื้นบานของไทย เพื่อการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพใหสอดคลองกับศิลปวัฒนธรรม ความเปนอยูของประชาชนแตละภาค 3. ใหมีการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางเต็มประสิทธิภาพ ในการสงเสริมการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพโดยพัฒนารูปแบบการบริหารศูนยกีฬา สถานท่ีราชการ สวนสาธารณะ เพื่อเปนแบบอยางในการจัดการเชิงรุกสูประชาชนและเปดโอกาสใหประชาชนใชในการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพอยางท่ัวถึงตอบสนองตอความตองการของประชาชนมากยิ่งข้ึน 4. กระทรวงสาธารณสุขประสานงานกับหนวยงานที่รับผิดชอบ ดานการกีฬา เชน การกีฬาแหงประเทศไทย กรมพลศึกษา ทบวงมหาวิทยาลัย สมาคมกีฬา เพื่อกําหนดบทบาท และทิศทางการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพของประเทศไทยตลอดจนพัฒนาความรวมมือในการสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพทางเลือกอ่ืน ๆ 5. ใหมีการพัฒนาปรับเปล่ียนรูปแบบการบริการในสถานบริการสาธารณสุข ใหเปนแบบองครวมผสมผสานรูปแบบการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ การใหคําแนะปรึกษา ดานการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพเปนสวนหนึ่งของการใหบริการดานสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะอยางยิ่งในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 6. ใหสงเสริมบทบาทผูนําชุมชน อาสาสมัคร องคกรทองถ่ิน องคกรเอกชน ในการเปนผูนํา การสงเสริมการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ ซ่ึงมีหนวยงานของรัฐเปนผูใหการสนับสนุนโดยเฉพาะอยางยิ่งกระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงานหลักในการสรางผูนําการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ 7. ใหมีกิจกรรมสงเสริมคานิยมของครอบครัวในการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของทุกครอบครัว ท่ัวประเทศไทยในโอกาสตาง ๆ 8. ใหหนวยงานตาง ๆ โดยเฉพาะหนวยงานในรัฐ จัดใหบุคลากรในหนวยงานไดออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพในวันราชการ เพื่อเปนแบบอยางแกประชาชน และหนวยงานภาคเอกชน อ่ืน ๆ

Page 32: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

22

จากแนวคิดรวบยอดเกี่ยวกับการออกกําลังกายสรุปไดวา การออกกําลังกายคือการใชแรงกลามเน้ือเพื่อใหรางกายเกิดการเคล่ือนไหว มีการเตรียมความพรอมของตนเองในการออกกําลังกายโดยมีการกําหนด ความถ่ีของการออกกําลังกาย ความแรงหรือความหนักของการออกกําลังกาย ความนานหรือระยะเวลาของการออกกําลังกาย ระยะเวลาในการอบอุนรางกายและระยะผอนคลายรางกายท่ีถูกตอง โดยจะออกกําลังกายในรูปแบบใดหรือใชกิจกรรมใดเปนส่ือก็ได ท้ังนี้การออกกําลังกายยังเกิดประโยชนตอรางกายและจิตใจ ดังนั้นรัฐบาลจึงเห็นความสําคัญของการออกกําลังกายจึงกําหนดแผนและโครงการตาง ๆ เพื่อเปนการสงเสริมใหประชาชนมีพฤติกรรมการออกกําลังกายและใหบุคลากรสาธารณสุขเปนผูนําในการสงเสริมสุขภาพ

Page 33: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

23

ตอนท่ี 2 การสงเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประเทศไทยและการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดราชบุร ี

การสงเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประเทศไทย

จากคําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา วันพุธท่ี 23 มีนาคม 2548 กลาวถึง การเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็ว ในสังคมยุคโลกาภิวัตน ประกอบดวยความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การแขงขันทางธุรกิจ รวมท้ังการเปล่ียนแปลงดานสังคม อันเนื่องมาจากโครงสรางประชากรของโลกที่เขาสูสังคมผูสูงอายุมากข้ึน การระบาดของโรคอุบัติใหม ยาเสพติดในรูปแบบท่ีหลากหลาย รัฐบาลจึงใหความสําคัญแกการปรับโครงสรางเศรษฐกิจและสังคมใหสมดุลข้ึน โดยรัฐบาลจะดําเนินนโยบาย 9 ประการ ดังนี้ 1. นโยบายขจัดความยากจน 2. นโยบายพัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ 3. นโยบายปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและแขงขันได 4. นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 5. นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ 6. นโยบายพัฒนากฎหมายและสงเสริมการบริหารจัดการบานเมืองท่ีดี 7. นโยบายสงเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม 8. นโยบายรักษาความม่ันคงของรัฐ 9. นโยบายตามแนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐ

ในนโยบายขอท่ี 2 คือพัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ เปาหมายของการพัฒนาคือการทําใหคนมีความสุข ซ่ึงจะตองประกอบดวยการมีสุขภาพแข็งแรง ครอบครัวท่ีอบอุน มีสภาพแวดลอมท่ีดีมีสังคมท่ีสันติและเอ้ืออาทร รัฐบาลจึงใหความสําคัญในนโยบายท่ีจะตองพัฒนาคนและสังคมใหมีคุณภาพ รวมถึงอนุรักษสงเสริมทุนทางสังคมท่ีเขมแข็งของประเทศไทย ซ่ึงเปนรากฐานสําคัญท่ีจะทําใหเศรษฐกิจมีความม่ันคงและยั่งยืนได ในดานการพัฒนาสุขภาพของประชาชน รัฐบาลจะปฏิรูประบบบริหารจัดการสาธารณสุขท่ีมีประสิทธิภาพและครบวงจรทั้งการซอม สราง และเสริมสุขภาพ โดยปรับระบบบริการทางการแพทยและสาธารณสุขใหครอบคลุมท้ังการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค ปรับเปล่ียนพฤติกรรมประชาชนให ลด ละ เลิกพฤติกรรมเส่ียงตอสุขภาพ ปฏิรูประบบบริการทางการแพทย

Page 34: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

24

และสาธารณสุขใหมีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อใหประชาชนไดรับบริการอยางเทาเทียมกันรวมท้ังจัดต้ังศูนยศึกษาและวิจัยทางการแพทยเพื่อสรางองคความรูเกี่ยวกับโรคอุบัติใหม กระทรวงสาธารณสุขเปนเจาภาพหลักในการดําเนินการตามนโยบายขอท่ี 2 นโยบายคือพัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ ในดานการพัฒนาสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุขจึงไดกําหนดยุทธศาสตรเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชน ใหมีความต่ืนตัวและปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน รวมถึงการดูแลส่ิงแวดลอม ซ่ึงในการพัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพนั้น กระทรวงสาธารณสุขไดมีการดําเนินงานและมีรูปแบบท่ีชัดเจนในป 2545 คือการรณรงคการเร่ิมตนรณรงคสรางสุขภาพท่ัวไทย ในป พ.ศ. 2545 รัฐบาลจึงไดประกาศใหเปนปแหงการเร่ิมตนรณรงคสรางสุขภาพท่ัวไทย

ภายใตยุทธศาสตร รวมพลังสรางสุขภาพ (Empowerment for Health) เพื่อใหประชาชนและหนวยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน มีสวนรวมสนับสนุนใหเกิดการสรางสุขภาพมากกวาการซอมสุขภาพ และกําหนดเปาหมายการรณรงคดังนี้ พัฒนาศูนยสุขภาพชุมชน พัฒนาใหเกิดโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ รวมถึงการควบคุมและลดโรคท่ีทําใหคนไทยมีอัตราปวยและตายสูง ไดแก โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคมะเร็ง โรคไขเลือดออก และโรคเอดส สนับสนุนใหเกิดชมรมออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ ซ่ึงมีเปาหมายคือการดําเนินงานรวมกับองคกรปกครองทองถ่ินตาง ๆ สนับสนุนใหเกิด “ชมรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ” ท่ีเปนแกนหลัก อยางนอยตําบลหรือเทศบาลละ 1 ชมรม ท่ัวประเทศ เพื่อเปนแกนประสานและสงเสริมใหประชาชนมีพฤติกรรมการออกกําลังกายมากข้ึน

ในป พ.ศ. 2546 ไดเนนการสงเสริมใหประชาชนรวมกลุมทํากิจกรรมในการสงเสริมสุขภาพ ในรูปกลุมหรือชมรมสรางสุขภาพ ซ่ึงไดมีการจัดต้ังชมรมสุขภาพอยางนอยหมูบานละ 1 ชมรม และในป 2545-2546 ไดมีการจัดต้ังชมรมสรางสุขภาพไปแลวจํานวน 35, 184 ชมรมโดยมีจุดมุงหมายใหประชาชนรวมกลุมและมีกิจกรรมรวมกัน เชน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางตอเนื่อง ไมเกี่ยวของกับยาเสพติด เปนตน ในป พ.ศ. 2547 กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายสําคัญและแผนปฏิบัติการประจําป ท่ีเนนเปาหมายการดําเนินงานเร่ืองการสงเสริมสุขภาพ ไว 5 ดาน คือ การออกกําลังกาย อาหารการพัฒนาอารมณ การลดโรค ส่ิงแวดลอม ซ่ึงในการออกกําลังกายนั้น ไดมีเปาหมาย ให คนไทยท่ีมีอายุ 6 ปข้ึนไป ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอเพื่อสุขภาพในทุกหมูบาน ทุกตําบล ทุกชุมชน ทุกหนวยงาน และสถานประกอบการ และในป พ.ศ. 2548 ประเทศไทยไดรับเกียรติจากองคการอนามัยโลกในการเปนเจาภาพรวมจัดประชุมการสงเสริมสุขภาพระดับโลก คร้ังท่ี 6 จึงเปนเร่ืองท่ีประเทศไทยในฐานะเจาภาพจะตอง

Page 35: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

25

รับผิดชอบและจัดเตรียม Model ของการพัฒนา สุขภาพดีในการประชุมดังกลาว ซ่ึงไดใช

เมืองไทยสุขภาพดี (Healthy Thailand) เปนแนวคิดเชิงยุทธศาสตรท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนดข้ึน เพื่อใชเปนแนวทางในการลดปจจัยเส่ียงเชิงพฤติกรรมสุขภาพ และลดโรคท่ีเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญของประเทศ

การสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุพรรณบุรี

ในอดีตโรงพยาบาลตาง ๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี ทําการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายใหผูรับบริการและประชาชน โดยกําหนในแผนการปฏิบัติงานปกติของแตละฝายงาน เชน การออกกําลังกายในแผนกผูปวยใน การออกกําลังกายในแผนกผูปวยนอก ฝายเวชกรรมก็มีกิจกรรมการออกกําลังกายใหกับประชาชน ตลอดจนการใหสุขศึกษาในโรงเรียน แตอาจยังไมมีการรณรงคเกี่ยวกับการออกกําลังกายมากมาย หรือชัดเจนนัก สวนการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลโดยตรงนั้น โรงพยาบาลไมไดกําหนดแผนงานเฉพาะ แตจะเกิดจากความตองการของแตละบุคคล จึงมีบุคลากรในโรงพยาบาลท่ีออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอเปนจํานวนไมมากนัก ตอมาป 2527 โรงพยาบาลสามชุก ไดจัดการแขงขันกีฬาระหวางโรงพยาบาลชุมชน แบบตอเนื่องตลอดป ประเภทของกีฬา ไดแก วิ่งมินิมาราธอน จักรยานเสือภูเขา ฟุตบอลชาย วอลเลยบอลชาย วอลเลยบอลหญิง เปตอง เทเบิลเทนนิส และตะกรอ และไดดําเนินกิจกรรมการออกกําลังกายมาอยางตอเนื่อง ป 2538 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จัดการแขงขันกีฬาระหวาง คปสอ. (คณะกรรมการประสานงานอําเภอ) ข้ึนโดยบุคลากรทางสาธารณสุขทุกระดับโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลท่ัวไป สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ สถานีอนามัย และศูนยวิชาการในจังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 1,000 คน 28 หนวยงาน 11 ทีม โดยมีวัตถุประสงคคือ 1. เพื่อสงเสริมใหบุคลากรสาธารณสุขมีพฤติกรรมออกกําลังกายท่ีดีโดยการเลนกีฬาอยางเหมาะสม 2. เพื่อใหหนวยงานสาธารณสุขสงเสริมการออกกําลังกาย และจัดการแขงขันกีฬาเช่ือมความสามัคคีระหวางหนวยงาน 3. เพื่อเผยแพรกิจกรรมการออกกําลังกายใหเปนแบบอยางท่ีดีแกประชาชน และไดดําเนินกิจกรรมการออกกําลังกายมาอยางตอเนื่อง รวมถึงการเขารวมแขงขันกีฬาสาธารณสุขดวย ตอมาในป พ.ศ. 2545-2546 เมื่อรัฐบาลไดประกาศเปนปแหงการเร่ิมตนรณรงคสรางสุขภาพท่ัวไทยภายใตยุทธศาสตร รวมพลังสรางสุขภาพ เพื่อใหประชาชนและหนวยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนมีสวนรวมสนับสนุนใหเกิดการสรางสุขภาพมากกวาการซอมสุขภาพ ทําใหเกิดชมรมออกกําลังกายเพื่อสุขภาพตามชุมชนตาง ๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยใหประชาชนมีความรูและทักษะการออกกําลังกาย และทํากิจกรรมออกกําลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 คร้ัง ๆ ละ 30

Page 36: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

26

นาที ซ่ึงจังหวัดสุพรรณบุรีไดมีชมรมเกิดข้ึนจํานวนทั้งส้ิน 32 ชมรม และไดดําเนินกิจกรรมการออกกําลังกายมาอยางตอเนื่อง และโรงพยาบาลสามชุก รวมกับโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช และโรงพยาบาลศรีประจันต ในจังหวัดสุพรรณบุรี ไดรวมลงนามแสดงเจตจํานงเขารวมโครงการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ และไดรวมกันดําเนินกิจกรรมตามองคประกอบตาง ๆ ของมาตรฐานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพซ่ึงมี 7 องคประกอบ ดังน้ีคือ 1. การนําองคกร และการบริหาร 2. การจัดสรรทรัพยากร และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3. การจัดการส่ิงแวดลอมท่ีเอ้ือตอการดําเนินงาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ 4. การสงเสริมสุขภาพสําหรับบุคลากรโรงพยาบาล 5. การสงเสริมสุขภาพสําหรับผูรับบริการ และครอบครัวท่ีมารับบริการใน โรงพยาบาล 6. การสงเสริมสุขภาพในชุมชน 7. ผลลัพธของกระบวนการสงเสริมสุขภาพ

มีองคประกอบขอท่ี 4 คือการสงเสริมสุขภาพบุคลากร องคประกอบขอท่ี 5 คือการสงเสริมสุขภาพผูรับบริการ และองคประกอบขอท่ี 6 คือการสงเสริมสุขภาพในชุมชน เปนการดําเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการออกกําลังกาย ทุกโรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี ไดดําเนินกิจกรรมตามองคประกอบตาง ๆ ของมาตรฐานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพอยางตอเนื่อง ป 2547-2548 เม่ือนายกรัฐมนตรีไดประกาศใชนโยบาย และเปาหมาย “เมืองไทยแข็งแรง” เพ่ือใหทุกภาคสวนมีเปาหมายรวมกันในการนําพาทุกชุมชนของประเทศไทยสูการเปน

เมืองไทยแข็งแรงภายในป 2560 เมืองไทยสุขภาพดี (Healthy Thailand) จึงเปนแนวคิดเชิงยุทธศาสตรท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนดขึ้น เพื่อใชเปนแนวทางในการลดปจจัยเส่ียงเชิงพฤติกรรมสุขภาพ และลดโรคท่ีเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญของประเทศ ทุกโรงพยาบาลใน

จังหวัดสุพรรณบุรี ไดดําเนินกิจกรรมตามเปาหมาย 5 ดาน คือ ออกกําลังกาย (Exercise)

อาหาร (Diet) การพัฒนาอารมณ (Emotion) การลดโรค (Disease Reduction) และ

ส่ิงแวดลอม (Environment) ตามกลุม อายุและทุกหมูบาน / ตําบล และทุกอําเภอ โดยเปาหมาย

ประชาชนทุกหมูบาน / ตําบล / อําเภอ / ท่ีอายุ 6 ปข้ึนไป ออกกําลังกายวันละ 30 นาที อยางนอย 3 วันตอสัปดาห มากกวารอยละ 50 ของประชาชน และไดมีการประเมินผลตามตัวช้ีวัดอยางตอเนื่อง

Page 37: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

27

ตอนท่ี 3 แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวของกับการวิจยั

การมีสุขภาพดีนั้นตองมีการสรางและสงเสริมใหประชาชนมีพฤติกรรมท่ีสงเสริมสุขภาพเนื่องจากพฤติกรรมของคนสัมพันธกับปจจัยในสังคม และสภาพแวดลอม ตามหลักการของ กรีนและคณะ พฤติกรรมสุขภาพมีหลายข้ันตอน ตั้งแตการไดรับความรู-เกิดทัศนคติ-เลือกปฏิบัติ

(Knowledge-Attitude-Practice KAP) ซ่ึงสรางข้ึนมาจาก Participatory Learning (PL) 4 ข้ันตอน คือ การรับรู และประสพพบเห็นจริง มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็นหลากหลายจนเกิด

ความคิดรวบยอด (Conceptual Thinking) เลือกเชื่อ ไมเช่ือ เปนทัศนคติ จึงตัดสินใจเลือก

ปฏิบัติในส่ิงท่ีเห็นวา ตนไดประโยชนจนเปนพฤติกรรม พฤติกรรมสุขภาพเปนการกระทําหรือกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับสุขภาพ เชน การรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย เปนตน ดังนั้น ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาพฤติกรมการออกกําลังกายและแนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

แนวคิดเก่ียวกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย การนําเสนอเนื้อหาสาระเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายครั้งนี้ ผูวิจัยจะเร่ิมชี้ใหเห็นถึงแนวคิดท่ีเกี่ยวกับเร่ืองสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพเปนเบ้ืองตน โดยเนื้อหาสาระเปนดังตอไปนี้

ความหมายของสุขภาพ สุขภาพของมนุษยนั้นจะตองพิจารณาทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพราะสุขภาพเปนส่ิงสําคัญและจําเปนสําหรับทุกชีวิตเพื่อการดํารงอยูอยางปกติ หากพิจารณาในแงของสุขภาพจิตก็คือ การทําใหชีวิตมีความสุข มีความพอใจ ความสมหวัง ท้ังของตนเองและของผูอ่ืนซ่ึงสอดคลองกับความหมายท่ีองคการอนามัยโลกไดใหไว ดังนี้ สุขภาพ หมายถึง สภาวะแหงความสมบูรณของรางกายและจิตใจ สุขภาพดีมิไดหมายความเฉพาะเพียงแตปราศจากโรคหรือความเจ็บปวยเทานั้น รวมถึงความสามารถในการดํารงชีวิตอยูในสังคมดวยดี ประเวศ วะสี (2536) ไดขยายแนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพขององคการอนามัยโลก ท่ีทําใหแนวคิดท่ีสะทอนถึงขนบประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพุทธศาสนา ดังน้ี สุขภาพ คือ สุขภาวะทางกายทางจิตวิญญาณ ทางสังคม ทางปญญาและลักษณะของความสุข ซ่ึงก็คือความเปนอิสระหรือการหลุดพนจากความบีบค้ันทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปญญา ประกอบไปดวย

Page 38: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

28

1. อิสระทางกายหรือทางวัตถุ หมายถึง ไมขาดแคลนวัตถุปจจัยเกินไป ไมเปนโรค ปลอดภัยในทรัพยสิน และมีส่ิงแวดลอมท่ีเหมาะสม 2. อิสระทางสังคม หมายถึง การมีสัมพันธภาพท่ีดีตอกันกับบุคคลรอบขาง กับชุมชนมีครอบครัวท่ีอบอุน มีความเสมอภาค 3. อิสระทางจิต คือ มีจิตใจท่ีดี สงบ มีสติ มีสมาธิ หลุดพนจากการครอบงําของกิเลศ 4. อิสระทางปญญา หมายถึง การรับรูโลกท่ีแทจริง เรียนรู และมีทัศนะตอโลกท่ีถูกตอง มีทักษะชีวิตท่ีดี สวนความสุขทางจิตวิญญาณเปนความสุขอันประณีต ดื่มดํ่า ซ่ึงจะเกิดเม่ือเราลดอัตราหรือลดความมีตัวตน ลดความเห็นแกตัว จิตวิญญาณก็จะสูงข้ึน ซ่ึงเปนการพัฒนาการทางคุณคาท่ีสูงสุดของมนุษย สําหรับพฤติกรรมท่ีควรจะเปนแนวคิดนี้ ไดแก 1. ออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยใหรางกายแข็งแรง จิตใจแจมใส และปองกันโรคไดหลายอยาง เชน โรคหัวใจและปลอดเลือด โรคเบาหวานและภูมิแพ เปนตน 2. รับประทานอาหารที่ถูกตอง คือ รับประทานพอประมาณไดสัดสวนครบถวน กินผักผลไมตาง ๆ ชวยปองกัน โรคอวน เบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคสมองเส่ือม 3. หลีกเล่ียงพฤติกรรมเส่ียง อยางนอย 4 อยางคือ การสูบบุหร่ี ดื่มสุรามากเกินไป สําสอนทางเพศ และพฤติกรรมเส่ียงตออุบัติเหตุและภัยอันตราย 4. สรางทักษะในชีวิต เพื่อการอยูรวมกันดวยสันติ มีความสามารถในการเผชิญสถานการณทางสังคมท่ีเปนลบ เชน ความกดดันหรือถูกชักชวนใหมีพฤติกรรมเส่ียง 5. จัดส่ิงแวดลอมใหเกื้อกูลตอสุขภาพ ท้ังทางกายภาพ ทางชีวภาพ และทางสังคม เชน รมเย็น สะอาด ปราศจากมลพิษ มีความปลอดภัยและเอ้ืออาทรตอกัน 6. มีพัฒนาการทางจิตวิญญาณ ซ่ึงมีวิธีการหลากหลายท่ีจะชวยใหบุคคลละความเห็นแกตัวเขาถึงความดี เชน การเลน การเรียนรู การศาสนา การรวมกลุม การเจริญเมตตา การสัมผัสธรรมชาติ ทําใหเขาถึงความสุขทางจิตวิญญาณอันทําใหสุขภาพดียิ่งข้ึน 7. มีการเรียนรูท่ีดี เปนการเรียนรูท่ีสนุก เกิดปญญา มีอิสรภาพทําใหมีความสุขและมีแรงจูงใจอยากเรียนรู

ความหมายของพฤติกรรมสุขภาพ

พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง พฤติกรรมท่ีปฏิบัติหรือแสดงออกของบุคคลท่ีมีผลตอสุขภาพรางกาย ซ่ึงมีสาเหตุจากตัวบุคคล ส่ิงแวดลอม ตัวเช้ือโรค และปจจัยอ่ืน ๆ พฤติกรรมสุขภาพเปนพฤติกรรมอยางหน่ึงของมนุษย ดังท่ี ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2527) กลาววา พฤติกรรมสุขภาพคือ

Page 39: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

29

พฤติกรรมท่ัวไปแตเนนเกี่ยวกับสุขภาพ และจะมีความสัมพันธกับการเกิดโรค หรือภาวะไมสมบูรณของรางกาย คาลส และ คอบบ (Kals and Cobb 1976 อางอิงใน แสงทอง ธีระทองคํา 2538 : 35)กลาววา พฤติกรรมสุขภาพ คือการกระทําใด ๆ ของบุคคลเพ่ือปองกันไมใหเกิด โรคและมีสุขภาพอนามัย

ลักษณะของพฤติกรรม

1) พฤติกรรมท่ีพึงประสงค หรือพฤติกรรมเชิงบวก (Plsitive Behavior) หมายถึงพฤติกรรมท่ีบุคคลปฏิบัติแลว มีผลดีตอสุขภาพของบุคคลนั้นเองและครอบครัว เปนพฤติกรรมท่ีควรสงเสริมใหบุคคลปฏิบัติตอไป และเพ่ิมความถ่ีข้ึน เชนการออกกําลังกาย การรับประทานอาหาร การรับประทานอาหารครบ 5 หมู การจัดการกับความเครียด เปนตน 2) พฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค หรือพฤติกรรมเชิงลบ (Negative Behavior) หมายถึงพฤติกรรมท่ีบุคคลปฏิบัติแลวจะสงผลเสียตอสุขภาพ ทําใหเกิดปญหาสุขภาพหรือโรค เชน การสูบบุร่ี การดื่มสุรา การบริโภคอาหารเกินจําเปน บริโภคอาหารเกินจําเปน สุก ๆ ดิบ ๆ เปนตน จะตองหาสาเหตุท่ีกอใหเกิดพฤติกรรมเพื่อปรับเปล่ียน และควบคุมไวใหบุคคลเปล่ียนไปแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค ในการดําเนินงานสาธารณสุข พฤติกรรมสุขภาพของบุคคลสามารถจําแนกออกได ลักษณะเฉพาะตอไปนี้ คือ (สมบัติ และ สมหวัง 2541 : 28) 1) พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคลท่ีทําใหภาวะสุขภาพของตนเองหรือครอบครัวดีข้ึน 2) พฤติกรรมการปองกันโรค ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคลที่ชวยปองกันตนเอง ครอบครัว ชุมชน มิใหเกิดการเจ็บปวย 3) พฤติกรรมการเจ็บปวย ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคลเมื่อตนเอง หรือ บุคคลในครอบครัวเกิดเจ็บปวยข้ึนมา ในแงของการดูแลการเจ็บปวยหรือการแสวงหาการรักษาพยาบาลจากสถานบริการ 4) พฤติกรรมการรักษาพยาบาล ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคลตามคําแนะนําของแพทย หรือตามขอกําหนดของการรักษาพยาบาลเม่ือตนเองหรือบุคคลในครอบครัวเจ็บปวย 5) พฤติกรรมการมีสวนรวม ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติเพ่ือใหมีผลตอการปองกันปญหา แกไขปญหาสาธารณสุขในชุมชน และปญหาของสวนรวม

Page 40: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

30

6) พฤติกรรมการดูแลพึ่งพาตนเอง ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติเพ่ือชวยเหลือตนเองหรือครอบครัวในดานการรักษาพยาบาลเม่ือเจ็บปวยในดานปองกันโรค และในดานการสงเสริมสุขภาพ ตามระดับขีดความสามารถท่ีจะดูแลพึ่งพาตนเองได

ดังท่ีกลาวมาแลวนั้น ลักษณะของพฤติกรรมมี 2 ลักษณะ คือพฤติกรรมท่ีพึงประสงคและพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค ผูวิจัยไดเลือกศึกษาในพฤติกรรมท่ีพึงประสงคหรือพฤติกรรมเชิงบวกเปนเพราะเปนพฤติกรรมท่ีสงเสริมสุขภาพและมีผลดีตอสุขภาพของบุคคลนั้น คือพฤติกรรมการออกกําลังกาย

พฤติกรรมการออกกําลังกาย

พฤติกรรมการออกกําลังกายเปนสวนหนึ่งของพฤติกรรมสุขภาพ เนื่องจากพฤติกรรมการออกกําลังกายเปนการดูแลตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรง สามารถดํารงชีวิตอยางปกติสุข และหลีกเล่ียงอันตรายตาง ๆ ท่ีสงผลตอสุขภาพ พฤติกรรมการออกกําลังกาย หมายถึง การกระทําใด ๆ ทําใหมีการเคล่ือนไหวสวนตาง ๆ ของรางกาย เพื่อเสริมสรางสุขภาพ โดยใชกิจกรรมงาย ๆ หรือมีกติกาการแขงขันงาย ๆ เปนการปฏิบัติตนในการออกกําลังกาย ท้ังในดานรูปแบบกิจกรรมการออกกําลังกาย โดยมีความบอย (จํานวนคร้ังตอสัปดาห) ระยะเวลาท่ีใชในแตละคร้ัง ชวงเวลาการออกกําลังกายและสถานท่ีท่ีออกกําลังกาย รวมถึงกิจกรรมและระยะเวลาของการบริหารเพื่ออบอุนรางกายและการผอนคลายรางกาย อยางไรก็ตามเม่ือพิจารณา ถึงพฤติกรรมออกกําลังกายใหถูกตองและมีประโยชน ตอรางกายไมกอใหเกิดการบาดเจ็บ และรางกายทุกสวนไดออกกําลังกายนั้น จําเปนตองมีความรู

เกี่ยวกับพฤติกรรมออกกําลังกายท่ีถูกตอง ดังท่ีวิทยาลัยเวชศาสตรการกีฬาแหงสหรัฐอเมริกา (The American College of Sports Medicine < ACSM > 1995) ไดเสนอใหใชพฤติกรรมข้ันพื้นฐานในการออกกําลังกาย โดยมีองคประกอบของการออกกําลังกายตามหลักเกณฑของ “ฟทท”

(Frequency Intersity Time Type < FITT > ดังน้ี

1) หลักของความถ่ีของการออกกําลังกาย (Frequency of Exercise) เปนหลักของการกําหนดความถี่เปนจํานวนคร้ังของการออกกําลังกายในแตละสัปดาห โดยควรออกกําลังกาย 3-5 คร้ังตอสัปดาห และตองกระทําอยางสมํ่าเสมอ จึงจะมีผลในการเพิ่มสมรรถภาพทางรางกาย ทําใหเกิดความทนทานของปอดหัวใจ สําหรับการออกกําลังกายในจํานวนครั้งท่ีนอยกวานี้จะมีผลแคการเผาผลาญพลังงานเทานั้นแตไมมีผลในการเพิ่มสมรรถภาพทางกายภาพทางกาย

Page 41: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

31

2) หลักของความแรงหรือความหนักของการออกกําลังกาย (Interaity of Exercise) : เปนหลักการกําหนดขนาดของการออกกําลังกาย ซ่ึงในแตละบุคคลไมเหมือนกัน การออกกําลังกายโดยใชความแรงมากนอยเพียงใดนั้นข้ึนอยูกับความสามารถเดิม หลักการคํานวณความแรงของการออกกําลังกายท่ีนิยม คือ ใชคาอัตราการเตนของหัวใจเปาหมายหลัก โดยอัตราการเตนของหัวใจเปาหมายสามารถคํานวณไดจากอัตราการเตนสูงสุดของหัวใจเทากับ 220-อายุ (ป) เปนการวัดดูอัตราการเตนของหัวใจขณะออกกําลังกาย ซ่ึงมีความสัมพันธโดยตรงกับการใชออกซิเจนอยางเพียงพอและปลอดภัยโดยแบงขนาดของการออกกําลังกายเปน 3 ระดับ คือ

- ระดับตํ่า (Low Interaity) หมายถึง เม่ือออกกําลังกายแลวหัวใจเตน ประมาณรอยละ 50-60 ของอัตราการเตนของหัวใจสูงสุด

- ระดับปานกลาง ( Moderate Intersity ) หมายถึง เม่ือออกกําลังกายแลว หัวใจเตนประมาณรอยละ 66-85 ของอัตราการเตนของหัวใจสูงสุด

- ระดับสูง ( High Intersity ) หมายถึง เม่ือออกกําลังกายแลวหัวใจเตน มากกวารอยละ 85 ของอัตราการเตนของหัวใจสูงสุด

ท้ังนี้ในสวนของการวัดถึงความแรงหรือความหนักของการออกกําลังกายนี้วิทยาลัยเวชศาสตรการกีฬาแหงสหรัฐ (ACSM 1995) ไดเสนอใหประเมินจากความรูสึกเหนื่อย หัวใจเตนเร็ว ท้ังนี้ในสวนของการวัดถึงความแรงหรือความหนักของการออกกําลังกายนี้วิทยาลัยเวชศาสตรการกีฬาแหงสหรัฐ (ACSM 1995) ไดเสนอใหประเมินจากความรูสึกเหนื่อย หัวใจเตนเร็วจนถึงระดับอัตราการเตนของหัวใจที่เปนเปาหมายของบุคคลนั้น การประเมินโดยใชวิธีการ

ทดสอบการพูด (Talk Test) โดยการประเมินได 3 ระดับคือ 1. ระดับเบา โดยไมทําใหรูสึกเหน่ือยหรืออาจเหน่ือยเล็กนอยหรือสามารถรองเพลงขณะออกกําลังกายได 2. ระดับปานกลาง ทําใหทานรูสึกเหน่ือยเหนื่อยพอประมาณ (หายใจแรงข้ึนกวาปกติเล็กนอยหรือพูดคุยกับคนขางเคียงจนจบประโยค) 3. ระดับหนัก ทําใหทานรูสึกเหนื่อยมากหรือหอบ (หายใจเร็วแลแรงทางปากหรือหายใจทางปากหรือมไมสามารถพูดคุยกับคนขางเคียงไดจนจบประโยค)

3) หลักของระยะเวลาหรือความนานของการออกกําลังกาย (Time or Duration of Exercise) เปนหลักของชวงเวลาในการออกกําลังกาย โดยท่ัวไปควรอยูในระหวาง 20 – 60

นาที และมีความตอเนื่องซ่ึงจําแนกออกเปน 3 ชวงหรือ 3 ข้ันตอนตอเน่ืองดังนี้

Page 42: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

32

1. ระยะอบอุนรางกาย (Warm up Phase) เปนชวงเวลาสําหรับการเตรียมความพรอมของรางกายกอนการออกกําลังกายจริงหรือเต็มท่ี เพื่อใหเกิดคุณภาพสูงสุดเม่ือออกกําลังกายจริง ทําใหการประสานงานระหวางกลามเนื้อหดรัดตัวดีข้ึน การเคล่ือนไหวของขอตาง ๆ คลองแคลวระยะนี้ใชเวลาประมาณ 5 – 10 นาที สําหรับลักษณะของการออกกําลังกายใชอบอุนรางกาย เชน การเดินชา ๆ หรือการออกกําลังกายยืดกลามเนื้อตาง ๆ โดยเฉพาะบริเวณแขน ขา เพื่อลดอาการบาดเจ็บขณะออกกําลังกาย ในการอบอุนรางกายจําเปนตองคํานึงถึงอุณหภูมิของส่ิงแวดลอมดวย ถาสภาพแวดลอมมีอาการรอนอาจใชเวลานอย แตถาอากาศหนาวจําเปนตองใชเวลานานมากข้ึนไปดวย

2. ระยะออกกําลังกาย (Exercise Phase) เปนชวงเวลาท่ีออกกําลังกายจริง หรือเต็มท่ีหลังจากอบอุนรางกายแลว การท่ีจะออกกําลังกายประเภทใดน้ันอยูกับความเหมาะสมของวัย สภาพรางกาย ความชอบ ระยะนี้ใชเวลา 20-30 นาที สวนใหญเปนการออกกําลังกาย เพื่อเสริมสรางความแข็งแรงของกลามเนื้อ

3. ระยะผอนคลายรางกาย (Cool Down Phase or Warm Dhase) เปนระยะหลังออกกําลังกายเต็มท่ีแลว ซ่ึงจะตองมีการผานคลายการออกกําลังกายใหลดลงเปนลําดับ โดยการเดินการบริหาร หรือออกกําลังกายโดยยืดกลามเน้ือ เพื่อปรับอุณหภูมิของรางกาย การหายใจ เพื่อใหรางกายกลับเขาสูภาวะปกติ และชวยลดอาการปวด ระยะนี้ใชเวลาประมาณ 5-10 นาที

ประเภทการออกกําลังกาย (Type of Exercise)

เปนหลักการจําแนกประเภทการออกกําลังกายท่ีเนนสรางความแข็งแรงของกลามเนื้อ การเพิ่มประสิทธิภาพของปอดและหัวใจ และเพิ่มความยืดหยุนและการผอนคลายของกลามเนื้อ ดังนี้

1. การออกกําลังกายแบบไอโซเมตริก (Isometric of Exercise) เปนการออกกําลังกายอยูกับท่ี เปนการเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ

2. การออกกําลังกายแบบไอโซโทนิก (Isotonic of Exercise) เปนการออกกําลังกายโดยการเกร็งกลามเนื้อพรอมกับการเคล่ือนไหวอวัยวะตาง ๆ เปนการออกกําลังกายเพิ่มกลามเนื้อภายนอก

3. การออกกําลังกายแบบใชออกซิเจน (Aerobic Exercise) เปนการออกกําลังกายท่ี

ใชออกซิเจนจํานวนและเปนการออกกําลังกายเพิ่มความยืดหยุนและแข็งแรงของกลามเนื้อ

Page 43: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

33

4. การออกกําลังกายแบบไมใชออกซิเจน (Anaerobic Exercise) เปนการออกกําลัง

กายท่ีอาศัยพลังงานจากครีเอตินินฟอสเฟต (Creatinine Phosphate) และดรีโนซินโตรฟอสเฟต

(Adrenosine Triposphate < ATP >) หรือใชออกซิเจนนอย

ความสมํ่าเสมอในการออกกําลังกาย

คือมีความตอเนื่องในการออกกําลังกายโดยมีพฤติกรรมการออกกําลังกายท่ีถูกตองและมีการออกกําลังกายท่ีสมํ่าเสมอ

จากการท่ีกลาวมาแลวนั้นพฤติกรรมการออกกําลังกายมีองคประกอบหลัก 5 ดาน ผูวิจัยไดปรับใชพฤติกรรมการออกกําลังกายในการวิจัยคร้ังนี้ ดังนี้คือ มีความถ่ีของการออกกําลังกาย

(Frequency of Exercise) โดยควรออกกําลังกาย 3-5 คร้ังตอสัปดาห มีความแรงหรือความ

หนักของการออกกําลังกาย (Intersity of Exercise) โดยการประเมินการทดสอบการพูด (Talk Test) มีความนานหรือระยะเวลาของการออกกําลังกาย (Time or Duration of Exercise) โดยชวงเวลาในการออกกําลังกายควรอยูในระหวาง 20-60 นาที มีประเภทของการออกกําลังกาย

(Type of Exercise) ท่ีเนนสรางความแข็งแรงของกลามเนื้อ การเพ่ิมประสิทธิภาพของปอดและหัวใจและเพิ่มความยืดหยุนและการผอนคลายของกลามเนื้อ คือ การออกกําลังกายแบบใช

ออกซิเจน (Anaerobic Exercise) และมีความสม่ําเสมอในการออกกําลังกาย

แนวคิดเก่ียวกับปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย

จากแนวการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายเห็นไดวา พฤติกรรมการออกกําลังกายเปนสวนหนึ่งของพฤติกรรมสุขภาพ ซ่ึงเปนการดูแลตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรง และหลีกเล่ียงอันตรายตาง ๆ ท่ีจะสงผลตอสุขภาพ แตท้ังนี้ยังมีปจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเปนตัวแปรสําคัญท่ีจะกอใหเกิดพฤติกรรมนั้นได ดังนั้นผูวิจัยจึงไดศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยใชแนวคิดทฤษฎีของ PRECEDE ซ่ึงเปนกระบวนการ วิเคราะหหาปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมสุขภาพโดยตรง

แนวคิด PRECEDE PROCESS FRAMEWORK

กรีน และคณะ (Green et al. 1999 : 4-12) ไดเสนอกรอบแนวคิดเกี่ยวกับปจจัยภายใน

และปจจัยภายนอกที่มีผลตอพฤติกรรมของบุคคลโดยจําแนกปจจัยดังกลาวออกเปน ปจจัยนํา ปจจัยเสริม และปจจัยสนับสนุน ท้ังนี้ได เสนอกรอบแนวคิดเปนรูปแบบท่ีเนนเกี่ยวกับกระบวนการนําปจจัยนํา ปจจัยเสริม และปจจัยสนับสนุนมาใชในการวินิฉัยและประเมินผล

Page 44: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

34

พฤติกรรมสุขภาพของบุคคลโดยตรง ตัวแบบดังกลาวคือ Predisposing Reinforcing and Enabling Causes in Education Diagnosis and Evaluation หรือเรียกยอ ๆ วา PRECEDE PROCESS FRAMEWORK ตัวแบบดังกลาวมีจุดเนนท่ีวาพฤติกรรมของบุคคลมี

สาเหตุจากหลายปจจัย (Multiple Factor) ดังนั้น การดําเนินการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของบุคคลจึงตองมีการดําเนินการหลาย ๆ ดาน ประกอบกับประการสําคัญ โดยท่ัวไปแลวมักเร่ิมศึกษา

จากสาเหตุ หรือปจจัยนําเขา (Input) แลว จึงมาพิจารณาถึงผลลัพธท่ีเกิดข้ึน แตการใชกรอบแนวคิดรวบยอดตามแนวทางของ PRECEDE PROCEESS FRAMEWORK จะพิจารณายอน

กลาวคือจะเร่ิมตนจากสภาพการณท่ีเปนอยูเปนผลลัพธท่ีเกิดข้ึน (Out Put) แลวจึงพิจารณา

ยอนกลับไปยังสาเหตุหรือปจจัยนําเขา (Input) วาผลท่ีเกิดข้ึนนั้นเกิดจากสาเหตุใด นั่นก็หมายความวา กระบวนการศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพตามแนวกรอบแนวคิดของ PRECEDE PROCESS FRAMEWORK จะเปนกิจกรรมของการวิเคราะหยอนกลับวา ส่ิงท่ีเปนอยูนั้นไดมีองคประกอบหรือปจจัยอะไรบางท่ีทําใหเกิดผลลัพธ หรือสภาพที่เปนอยูดังกลาว

(Green et al. 1999 : 12) การดําเนินการตามข้ันตอนของ PRECEDE PROCESS FRAMEWORK นั้น กรีนและคณะไดจําแนกเปน 7 ข้ันตอนท่ีตอเนื่อง ดังนี้

- ข้ันตอนท่ี 1 การวิเคราะหปญหาสังคม (Social Diganosis) เร่ิมจากการพิจารณาคุณภาพชีวิต โดยการประเมินจากปญหาสังคมของประชากรกลุมตาง ๆ ซ่ึงเปนปญหาท่ีประเมินได จะเปนเคร่ืองช้ีวัดระดับคุณภาพชีวิตของประชากร

- ข้ันตอนท่ี 2 การวิเคราะหระบาดวิทยา (Epidemiological Diagnosis) เปนการวิเคราะหปญหาสังคมของกลุมประชากรท่ีศึกษา วามีปญหาสุขภาพอะไรบาง โดยอาศัยขอมูลตาง ๆ ท่ีมีอยูแลว หรือหาขอมูลท่ัวไปที่ไดจากการสืบสวนท่ีควรไดรบการแกไข

- ข้ันตอนท่ี 3 การวิเคราะหพฤติกรรม (Behavioral Diagnosis) เปนการวิเคราะหหาพฤติกรรมท่ีเปนสาเหตุสําคัญของปญหาสุขภาพ ซ่ึงจะตองวิเคราะหถึงปจจัยอ่ืน ๆ ท่ีไมใชปจจัย

ทางพฤติกรรม (Nonbehaviral Factors) เชน สภาวะเศรษฐกิจ พันธุกรรม และส่ิงแวดลอม

เพราะปจจัยเหลานี้ มีอิทธิพลทางออมตอสุขภาพได

- ข้ันตอนท่ี 4 การวิเคราะหปจจัยของพฤติกรรม (Education Factors) เปนการวิเคราะหหาปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมสุขภาพ ซ่ึงจําแนกปจจัยออกเปน 3 กลุมคือ

Page 45: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

35

1) ปจจัยนํา (Predisposing Factors) ปจจัยนําประกอบไปดวยความรู ทัศนคติและการรับรู ซ่ึงจะมีผลตอแรงจูงใจของบุคคลใหมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมหรือไม

2) ปจจัยเอ้ือ (Enabling Factors) ปจจัยสนับสนุนเปนปจจัยท่ีพิจารณาระบบ

หรือขอบังคับขอสังคม ซ่ึงทําใหเกิดขอจํากัดตาง ๆ เชน ไมมีส่ิงอํานวยความสะดวก บุคลากร และทรัพยากรที่เพียงพอ เปนปจจัยท่ีทําใหบุคคลมีความสามารถและมีการปฏิบัติในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งท่ีมีผลตอสุขภาพของตนเอง หรือสุขภาพของบุคคลอ่ืน แลวแตกรณี

3) ปจจยัสนับสนุน (Reinforcing Factors) นั้นเปนปจจยัท่ีแสดงใหเห็นวา พฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปนั้น ไดรับการกระตุน หรือสงเสริมใหมีการเปล่ียนแปลงหรือไม ซ่ึงปจจัยนี้จะสัมพันธกับการประเมินผลจากบุคคลนั้น ๆ เปนแรงกระตุนจากสังคมส่ิงแวดลอม เชน ครอบครัว เพื่อน ครอบครัว ครู พอ แม นายจาง หรือ บุคคลท่ียอมรับหรืออางอิงไดตลอดจนกระแสสังคมในเร่ืองท่ีเกีย่วของ

- ข้ันตอนที่ 5 การวิเคราะหสาเหตุของพฤติกรรม (Education Factors) เปนการหาแนวทางหรือวิธีการที่ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงในปจจัยตาง ๆ โดยการศึกษาคนควาถึงปจจัยท้ัง 3 ประการ ดังกลาวขางตน เพื่อจะไดตัดสินวาเร่ืองใดสําคัญกอนและมีแหลงทรัพยากรใดบางท่ีพอจะชวยใหการดําเนินงานสําเร็จ มีอิทธิพลเหนือปจจัยนั้น เพื่อนําไปสูการแกไข

- ข้ันตอนท่ี 6 การวิเคราะหทางการบริหารจัดการ (Administrative Diganosis) เปนการบริหารเกี่ยวกับการกําหนดกลวิธีและดําเนินการ ตามกลวิธีท่ีไดจัดระบบและพัฒนาโครงการนั้นข้ึนมา ซ่ึงตองคํานึงถึงอยู เสมอถึงทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ขอจํากัดดานเวลา และความสามารถในการผสมผสานปจจัยนํา ปจจัยสนับสนุน และปจจัยเสริมเขาดวยกัน ไมใชเพียงปจจัยใดปจจัยหนึ่งเทานั้น ในขณะเดียวกันตองประเมินปญหาดานบริหารและทรัพยากรดวยวามีสภาวการณเชนใด

- ข้ันตอนท่ี 7 การประเมินผล (Evaluation) เปนการประเมินผลวาในแตละข้ันตอนทําส่ิงใดไมถูกตองบาง โดยตองทําการประเมินอยางตอเนื่องทุกข้ันตอน ตั้งแตข้ันตอนการวางแผนดําเนินงาน

Page 46: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

36

สําหรับการดําเนินงานตามกระบวนการภายใตกรอบแนวคิดของตัวแบบ PRECEDE PROCESS FRAMEWORK ผูใชจําเปนตองมีความรูพื้นฐานในวิทยาการสาขาตาง ๆ ไมวาจะเปนดาน ระบาดวิทยา วิทยาการทางสังคม พฤติกรรมศาสตร วิทยาการบริหารและวิทยาการทางสังคม พฤติกรรมศาสตร วิทยาการบริหารและวิทยาทางการศึกษา โดยตองนําความรูในศาสตรตาง ๆ มาบูรณาการ เพื่อท่ีจะประยุกตใชไดอยางเหมาะสม กลาวคือ ตองเขาใจวาพฤติกรรมมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย (Multiple Factors) การดําเนินงานโดยการบูรณาการศาสตร แขนงตาง ๆ จะสงผลสะทอนตรง ตอพฤติกรรมอยางแทจริงดังแผนภูมิท่ี 2.2

Page 47: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

37

แผนภูมิท่ี 2.1 ขั้นตอนการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมสุขภาพภายใตกรอบแนวคิดกระบวนการ (PRECEDE PROCESS FRAMEWORK)

ท่ีมา : กรีน และคณะ (Green et al. 1999 : 14-15)

ข้ันตอนท่ี 1-2 การวิเคราะห

ทางระบาดวิทยาและสังคม

ข้ันตอนท่ี 3 การวิเคราะห ทางพฤติกรรม

ข้ันตอนท่ี 4-5 การวิเคราะห ทางการศึกษา

ข้ันตอนท่ี 6-7 การวิเคราะห ทางการบริหาร

องคประกอบ ทางสุขศึกษาใน โครงการ สุขภาพ

ปจจัยนํา - ความรู - ทัศนคติ -การรับรู

สาเหตุอื่น ๆ ปญหาอื่น ๆ

คุณภาพชีวิต

ปญหาพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ

ปจจัยเอื้อ - ทรัพยากรที่มีอยูหรือ ทรัพยากรที่หางาย - การเขาถึงทรัพยากร - ทักษะ

ปจจัยสนับสนุน เจตคติและพฤติกรรมทางสุขภาพของบุคคลที่มีอิทธิพล ที่เก่ียวของเชนเพือ่นบานหรือสื่อตาง ๆ

Page 48: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

38

อยางไรก็ตามการใชกรอบแนวคิดกระบวนการตามรูปแบบ PRECEDE PROCESS FRAMEWORK ของกรีนและคณะ ดังกลาวขางตน จะเปนประโยชนตอการดําเนนิงานหรือความตองการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมมากนอยเพียงใดน้ัน ผูวิจยัพิจารณาแลวเห็นวาข้ึนอยูกบัการวิเคราะหปจจยัท่ีเปนสาเหตุของพฤติกรรม เปนเบ้ืองตน ดังนั้นผูวจิยัซ่ึงกําหนดใช การวิเคราะหปจจัยของพฤติกรรม (Education Factors) ข้ันตอนท่ี 4 เปนการวิเคราะหหาปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุพรรณบุรี โดยตรง อยางไรก็ตามแตละสวนประกอบของปจจัยท่ีกําหนดตางก็มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายในลักษณะแตกตางกัน โดยผูวิจัยไดเลือกท่ีจะศึกษาในสวนของปจจัยนํา (Predisposing Factors) ซ่ึงเปนปจจัยพื้นฐานในการวิเคราะหพฤติกรรม โดยผูวิจัยพิจารณาเห็นวาปจจัยนําเปนปจจัยดานความพรอมของบุคลากรประกอบดวย ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายและการรับรูความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง นอกจากนี้ยังรวมถึงสถานภาพทางสังคมเศรษฐกิจ (Socio – Economic Status) อายุ เพศ ขนาด ครอบครัว ซ่ึงปจจัยเหลานี้ จะเปนพื้นฐานของแผนการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยตรงกลาวคือ

ความรูเก่ียวกับการออกกําลังกาย

เนื่องจากความรูเปนปจจัยสําคัญท่ีสงผลโดยตรงตอการแสดงพฤติกรรม การสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร จําเปนตองพัฒนาใหบุคลากรมีความรูท้ังดานประโยชน คุณคาและหลักวิธีการการออกกําลังกาย เพ่ือท่ีจะไดเพิ่มความรูหรือสงเสริมใหบุคลากรนั้นทราบและมีพฤติกรรมการออกกําลังกายท่ีถูกตอง ความรูหมายถึง พฤติกรรมของมนุษยท่ีแสดงออกใหเห็นถึงความรูท่ีมีตอ สถานท่ี เหตุการณส่ิงของและบุคคล ซ่ึงไดมาจากการจํา ระลึก ประสบการณ การสังเกต และ การคนควา โดยการรวบรวมสะสมไวเกี่ยวกับขอมูลท่ีเปนจริง กฎเกณฑ ทฤษฎี โครงสราง วิธีการตาง ๆ ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายหมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงออกใหเห็นวาบุคคลมีการจํา ระลึก สังเกต คนควา และรวบรวมสะสมขอมูลเกี่ยวกับการออกกําลังกายในดานตาง ๆ ไดแกประโยชน คุณคาและหลักวิธีการการออกกําลังกาย

Page 49: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

39

ทัศนคติเก่ียวกับการออกกําลังกาย ทัศนคติ เปนปจจัยนําท่ีสําคัญท่ีสงผลโดยตรงตอการแสดงพฤติกรรม เนื่องจากทัศนคติเปนเร่ืองของความคิดเห็นตอส่ิงหนึ่งส่ิงใดมักเกิดข้ึนจากการรับรูหรือประเมินจากความรูเดิม ความเช่ือเดิมหรือการปฏิบัติ ซ่ึงมีผลตอความคิดและปฏิกิริยาในใจของเรา ดังนั้นการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําเปนตองทราบถึงทัศนคติท่ีมีอยูเพื่อการสงเสริมใหบุคลากรมีพฤติกรรมการออกกําลังกายท่ีถูกตอง ทัศนคติ หมายถึง ความคิดเห็นมีอารมณเปนสวนประกอบ เปนสวนท่ีพรอมจะมีปฏิกิริยาเฉพาะอยางตอสถานการณภายนอก เปนความรูสึกนึกคิดท่ีเกิดจากการประเมินคาของบุคคลตอส่ิงหนึ่งส่ิงใด โดยอาศัยประสบการณและการเรียนรูเปนตัวเรงใหบุคคลแสดงพฤติกรรมหรือตอบสนองตอส่ิงเรานั้นไปในทางบวกหรือลบก็ได ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เปนองคประกอบหนึ่งท่ีมีอยูในตัวบุคคล ทัศนคติจะเปนแรงผลักดันใหบุคคลเกิดพฤติกรรมตาง ๆ ไปตามทิศทางท่ีกําหนด และจากการที่ทัศนคติเปนส่ิงท่ีมาจากการเรียนรู ดังนั้น สังคม วัฒนธรรม และบุคคลในสังคมจึงมีอิทธิพลตอการสรางทัศนคติของบุคคล สําหรับความพรอมดานทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายท่ีใชในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยจําแนกองคประกอบของทัศนคติออกเปน 3 ดาน คือ องคประกอบดานความรู (The Cognitive Component) องคประกอบดานความรูสึก (The Affective Component) และองคประกอบดานพฤติกรรม (The Behavioral Component)

การรับรูความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง การรับรู เปนปจจัยนําท่ีสําคัญท่ีสงผลตอการแสดงพฤติกรรม เนื่องจากการรับรูเปนกระบวนการทางดานความคิดท่ีแปลความหมายจากส่ิงเราท่ีมาสัมผัสกับบุคคลแลวแสดงออกอยางมีจุดมุงหมาย ดังนั้นการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําเปนตองทราบถึงการรับรูท่ีมีอยูเพื่อการสงเสริมใหบุคลากรมีพฤติกรรมการออกกําลังกายท่ีถูกตอง การรับรูความพรอมของตนเองเกี่ยวกับการออกกําลังกาย หมายถึง กระบวนการทางดานความคิดและจิตใจของคน ท่ีสมองจะตองแปลความหมายจากส่ิงเราท่ีมาสัมผัสกับบุคคลแลวแสดงออกอยางมีจุดมุงหมาย โดยมีแรงผลักดันจากการอาศัยความรูเดิมและประสบการณ การที่บุคคลจะเขาใจส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงอาจจะมีเหตุผลหรือไมมีเหตุผล หรืออาจจะเปนไปในทางลบหรือทางบวกก็ได ซ่ึงจะทําใหบุคคลมีแนวโนมท่ีจะปฏิบัติตามแนวคิดหรือการรับรูนั้นดังนั้นการรับรูความพรอมของตนเองในการออกกําลังกายคือ การรับรูเกี่ยวกับความพรอมทางกาย ไดแก การบรรลุวุฒิภาวะดานรางกายท่ัวไป คือมีการเตรียมของรางกายท่ีท่ีจะออกกําลังกาย รางกายมีความ

Page 50: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

40

แข็งแรงและสมบูรณพรอมท่ีจะออกกําลังกายได โดยรับรูวาไมมีภาวะแทรกซอนหลังออกกําลังกาย สภาพรางกายพรอมท่ีจะทํากิจกรรมออกกําลังกายโดยสําเร็จลุลวงและเกิดประโยชนแกตัวเอง จากท่ีกลาวมาแลวขางตนผูวิจัยไดประมวลไดวา ปจจัยดานความพรอมในการออกกําลังกาย จําแนกออกเปน 3 ดาน คือ ความพรอมดานความรูเกี่ยวกับประโยชน, คุณคา, หลักและวิธีการออกกําลังกาย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และ ความพรอมดานการรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง ซ่ึงผูวิจัยจะไดทําการศึกษาถึงปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อเปนแนวทางสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุพรรณบุรี ดังไดนําเสนอไวในกรอบแนวคิดรวบยอดของการวิจัย

Page 51: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

41

ตอนท่ี 4 ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ชาคริต เทพรัตน (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาปจจัยท่ีทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนตน จังหวัดชัยนาท พบวา รอยละ 50 ของกลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการออกกําลังกายเกิน 30 นาที และออกกําลังกายเฉล่ียเพียง 1 คร้ังตอสัปดาหเทานั้น หลังจากการออกกําลังกายในแตละคร้ัง พบวา นักเรียนสวนใหญมีการหายใจแรงและเร็วกวาปกติมากท่ีสุด นอกจากนั้นยังมีเหง่ือออกมากกวาปกติทุกคร้ังท่ีออกกําลังกายจํานวนมากท่ีสุดเชนกัน และพบวาความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายเปนตัวแปรท่ีสามารถทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนตน ประดิษฐ นาทวิชัย (2540:ค) ศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมการออกกําลังกายของครู ในจังหวัดชัยนาท พบวาพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมยังอยูในระดับตํ่า มีจํานวนวันในการออกกําลังกาย 1-2 วัน / สัปดาห ระยะเวลาในการออกกําลังกาย 5-15 นาที / คร้ัง ความหนักในการออกกําลังกายเพียงรูสึกเหง่ือออกเล็กนอย ประเภทกิจกรรมท่ีเลือกใชออกกําลังกายเปนกิจกรรมเบา ๆ เชน เดิน วิ่งเบา ๆ และกายบริหาร ชวงเวลาการออกกําลังกายเปนชวงเวลาเย็นและภาวะสุขภาพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ดานระยะเวลาท่ีใชออกกําลังกายอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .001 มีความสัมพันธกับจํานวนวันท่ีใชออกกําลังกาย และชวงเวลาท่ีใชในการออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .01 ทรงศักดิ์ ไพศาล (2541: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองความรู เจตคติ และการปฏิบัติตนในการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพของบุคลากรในสํานักงานเลขานุการคุรุสภา พบวา บุคลากรในสํานักงาน เลขานุการคุรุสภา มีความรู เจตคติ และการปฏิบัติตนในการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ มีความสัมพันธกันทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 มนูญ ขอเสง่ียม และพิสุทธ์ิ คงขํา (2542 : 70) ศึกษาสภาวะสุขภาพในกลุมประชาชน จังหวัดราชบุรี พบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการออกกําลังกายทุกวัน แตไมไดออกกําลังกายอยางตอเนื่องและเพียงวันละ 1 คร้ัง สวนใหญการออกกําลังกายจะไดมาจากการเคล่ือนไหวรางกายอยางตอเนื่องสะสมนานมากกวา 30 นาทีข้ึนไป เม่ือพิจารณาภาพรวมของพฤติกรรมการออกกําลังกายพบวาอยูในระดับตํ่าจํานวนมากท่ีสุด จึงทําใหเกิดความแตกตางของพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ บรูเนอร (Brunner 1969, quoted in Pender 1987, อางถึงใน สรัลรัตน พลอินทร 2542 : 35) กลาววา บุคคลท่ีมีการรับรูและประโยชนของการออกกําลังกายวาจะเกิดผลดีตอตนเองอยางตอเนื่องเปนเวลานาน พบวา จะมีการปฏิบัติพฤติกรรมการออกกําลังกายไดบอยกวาบุคคลท่ีมีการรับรูประโยชนของการปฏิบัติพฤติกรรมการออกกําลังกายในระยะเวลาส้ัน

Page 52: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

42

สรัลรัตน พลอินทร Z2542 :บทคัดยอ) ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลการรับรูความสามารถของตนเองในการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนของการออกกําลังกายและสภาพแวดลอมของวิทยาลัยกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาล พบวา การรับรูประโยชนของการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ดวงเดือน พันธุโยธี (2539:บทคัดยอ) ศึกษาความสัมพันธระหวางความสําคัญของสุขภาพ การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย และพฤติกรรมการออกกําลังกายของผูสูงอายุ ในจังหวัดเชียงใหม พบวา การรับรูประโยชนของการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของผูสูงอายุและไมสามารถท่ีจะทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของผูสูงอายุได มยุรี นิรัตธราดร (2539 : บทคัดยอ) ศึกษาการรับรูประโยชน การรับรูอุปสรรคของการสงเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของหญิงต้ังครรภวัยรุน ตามแนวคิดการสงเสริมสุขภาพของเพนเดอร พบวา ปจจัยดานการรับรูโดยเฉพาะการรับรูประโยชนของการสงเสริมสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 และรายไดสามารถรวมทํานายพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของหญิงต้ังครรภ วัยรุนไดรอย 34.4 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 สุพัฒนา คําสอน ( 2535 : 66-74 ) ศึกษาผลของการจัดโปรแกรมการออกกําลังกายแบบแอโรบิคตอการปรับตัวของผูสูงอายุในเขตชนบท จังหวัดพิษณุโลก พบวา ผูสูงอายุกลุมตัวอยางมีคาคะแนนเฉล่ีย การปรับตัวตามความตองการดานสรีรวิทยา การปรับตัวดานอัตมโนทัศน และการปรับตัวท้ังสองดานสูงกวากอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .001) และผูสูงอายุกลุมตัวอยางยังมีคาเฉล่ียของคะแนนตามเกณฑการปรับตัวตามความตองการดานสรีรวิทยา, การปรับตัวดานอัตมโนทัศนและการปรับตัวท้ังสองดานสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .001) ซ่ึงกลุมตัวอยางท่ีศึกษาเปนผูสูงอายุ บานเหลาขวัญ ตําบลทอแท อําเภอวัดโบสถ จังหวัดพิษณุโลกท่ีมีอายุระหวาง 60.74 ป โดยเลือกตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑท่ีกาํหนดไว 36 คน ท่ีไดรับการฝกการออกกําลังกายแบบแอโรบิคตามโปรแกรม วันละ 15-20 นาที สัปดาหละ 5 วัน เปนเวลานาน 12 สัปดาห สุพรรณี ธีระเจตกุล (2539) ไดศึกษาความสัมพันธระหวาง การรับรูภาวะสุขภาพ กับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุในชนบท กลุมตัวอยางคือผูสูงอายุในชนบทอําเภอตระกาล พืชผล จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 240 คน ผลการศึกษาพบวา การรับรูภาวะสุขภาพมีความสัมพันธทางบวกในระดับตํ่ากับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูสูงอายุอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 (r=.2007)

Page 53: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

43

แผนภูมิท่ี 2.2 กรอบแนวคิดของการวิจัย จากการศึกษาคนควาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ผูจึงนํามาเปนแนวทางในการวิจัยคร้ัง

นี้ ดังแผนภูมิท่ี 2.3

ตัวแปรตน ขอมูลสวนบุคคล 1. เพศ -ชาย -หญิง 2. อายุ -ต่ํากวา 20 ป -20-29 ป -30-39 ป -40-49 ป -50-59 ป 3.สถานภาพสมรส -โสด - สมรส - หยา/ราง - หมาย 4.ระดับการศึกษา -มัธยมศึกษาตอนปลาย - อนุปริญญา/ปวส. -ปริญญาตรี -สูงกวาปริญญาตรี -อ่ืนๆ 5.ตําแหนงหนาท่ี -แพทย/เภสัช/ทันตแพทย -พยาบาล -เจาหนาท่ีเทคนิค -เจาหนาท่ีท่ัวไป -ลูกจาง/คนงาน 6.รายได/เดือน - ต่ํากวา 10000 บาท/เดือน -สูงกวา 10000 บาท/เดือน 7.ท่ีพักอาศัย -บานตนเอง -บานเชา -พักกับบิดามารดา -พักกับบุคคลอ่ืน -บานพักราชการ

ตัวแปรตาม พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร 1.การรับรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของการออกกาํลังกาย 2.ความรูเกี่ยวกับหลักและวธีิการออกกําลังกาย 3.ทัศคติเกี่ยวกบัการออกกําลังกาย 4.การรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง

Page 54: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

การวิจยัเร่ือง การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี เปนการวิจัยเชิงพรรณนา โดยมีวัตถุประสงคเฉพาะ 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี และเพื่อศึกษาขอมูลสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี โดยผูวจิยัไดใชบุคลากรในโรงพยาบาล เปนสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรีหนวยของการวิเคราะหและเพื่อใหการวิจัยเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีกําหนด ผูวิจัยกําหนดวิธีการดําเนนิการวิจัยไว 5 ประการ คือ

1. ประชากรและการเลือกตวัอยาง 2. ตัวแปรท่ีศึกษา 3. การสรางและพัฒนาเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล

โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี ้

ประชากรและกลุมตัวอยาง

1. ประชากรเปาหมาย ประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ เปน บุคลากรทุกระดับท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาล

สามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ท้ังนี้ผูวิจัยจําแนกประเภทของบุคลากรตามลําดับของขอมูลสวนบุคคลท่ีกําหนด ซ่ึงประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหนงหนาท่ีการงาน รายได ท่ีพักอาศัย ซ่ึงจํานวนบุคลากรท้ังส้ินจํานวน 154 คน

Page 55: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

45

2. กลุมตัวอยาง

ไดมาโดยการสุมตัวอยางเปนแบบแบงช้ัน ( Stralifeid random sampling ) เพื่อใหได

ตัวอยางท่ีเปนตัวแทนของประชากรเปาหมายโดยการคํานวณกลุมตัวอยางใชสูตรการหาจํานวน

ตัวอยางของ Yamane (1973) อางใน (วราภรณ , 2540 ) มีข้ันตอนดังนี ้

1.การคํานวณกลุมตัวอยางทุกระดับ

n = N 1+Ne2

เม่ือ n หมายถึง จํานวนกลุมตัวอยางท่ีใชเปนตัวแทนของประชากร N หมายถึง จํานวนประชากรทั้งหมดเทากับ 1507 ครัวเรือน e หมายถึง คาความคาดเคล่ือนเนื่องจากการสุมตัวอยาง โดยกําหนดใหเทากับ 0.10

แทนคา n = 154 1+154( 0.05 )2

n = 111

ดังนั้นไดตัวอยางท่ีตองการใชสําหรับการศึกษาคร้ังนี้เทากับ 111 คน 2. การสุมจํานวนตัวอยางในแตละตําแหนง

จํานวนตัวอยางในแตละตําแหนง คํานวณใชสูตรกระจายตามสัดสวน ( สุบงกช , 2526 ) ดังตอไปนี้

N1 n1 = n N

เม่ือ n1 หมายถึง จํานวนตัวอยางในแตละตําแหนง n หมายถึง จํานวนตัวอยางท่ีจะศึกษาท้ังหมดซ่ึงทากับ 111 คน N1 หมายถึง จํานวนตําแหนงท้ังหมดของประชากร N หมายถึง จํานวนประชากรทั้งหมดในโรงพยาบาล ซ่ึงเทากับ 154 คน ไดผลการคํานวณหาจํานวนตัวอยางในแตละตําแหนง ไดดังรายละเอียดในตารางท่ี 3.1 ดังนี้

Page 56: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

46

ตารางท่ี 3.1 การหาจํานวนประชากรแตละตําแหนง

ท่ี ตําแหนงหนาท่ี จํานวน จํานวนตัวอยาง สัดสวน

1 แพทย / เภสัช / ทันตแพทย 9 6 111* 9 / 154 2 พยาบาล 55 40 111*55 / 154 3 เจาหนาท่ีเทคนิค 18 13 111*18 / 154 4 เจาหนาท่ีท่ัวไป 20 14 111*20 / 154 5 ลูกจาง / คนงาน 52 38 111*52 / 154 รวม 154 คน 111 คน

ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรตน เปน ขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวย 1. เพศ จําแนกเปน - เพศชาย - เพศหญิง 2. กลุมอายุ จําแนกเปน - ต่ํากวา 20 ป - 20-29 ป - 30-39 ป - 40-49 ป - 50-59 ป 3. สถานภาพสมรส จําแนกเปน -โสด - สมรส - หยา / ราง - หมาย (สามี / ภรรยา เสียชีวิต ) 4. ระดับการศึกษาตอนปลาย หรือ ปวช. - อนุปริญญา หรือ ปวส. - ปริญญาตรี - สูงกวาปริญญาตรี

Page 57: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

47

5. ตําแหนงหนาท่ีการงาน - แพทย / เภสัช / ทันตแพทย - พยาบาล - เจาหนาท่ีเทคนิค - เจาหนาท่ีท่ัวไป - ลูกจาง / คนงาน 6. รายไดรวมเฉล่ียตอเดือน

- ต่ํากวา 10000 บาท - สูงกวา 10000 บาท

7. ท่ีพักอาศัย จําแนกเปน - บานตนเอง - บานเชา - พักอาศัยกับบิดามารดา - พักอาศัยกับบุคคลอ่ืน - บานพักราชการ

ตัวแปรตาม เปนพฤติกรรมการออกกําลังกาย ประกอบดวย 1. การรับรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย 2. ความรูเกี่ยวกับหลักและวิธีการออกกําลังกาย 3. ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย 4. ความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับการศึกษาวิจยัเร่ืองพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ดัดแปลงมาจากนางสาวภาสิตา วินนัท โดยมีสาระครอบคลุมวัตถุประสงคของการวิจยัประกอบดวย 3 สวน คือ

สวนท่ี 1 แบบสํารวจเกีย่วกบัขอมูลสวนบุคคลของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหนงหนาท่ีการงาน รายได และท่ีพกัอาศัย ลักษณะแบบเลือกตอบ จํานวน 7 ขอ

Page 58: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

48

สวนท่ี 2 แบบสํารวจพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี แบงเปน 4 ดาน คือ

1. การรับรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของการออกําลังกาย ลักษณะแบบสํารวจเปนขอคําถามแบบเลือกตอบ จํานวน 15 ขอ

2. ความรูเกี่ยวกับหลักและวธีิการออกกําลังกาย ลักษณะแบบสัมภาษณเปนขอคําถามแบบเลือกตอบ จํานวน 6 ขอ

3. ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ลักษณะแบบสัมภาษณเปนขอคําถามแบบเลือกตอบ จํานวน 14 ขอ

4. การรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง ลักษณะแบบสัมภาษณเปนขอคําถามแบบเลือกตอบ จาํนวน 5 ขอ

เกณฑการแปลความหมายความพรอมดานการรับรูเก่ียวกับความพรอมในการออกกําลังกาย เกณฑการประมาณคา มีรายละเอียดดังนี้ คะแนน ระดับความคดิเห็น 4.51-5.00 เห็นดวยมากท่ีสุด 3.51-4.50 เห็นดวยมาก 2.51-3.50 เห็นดวยปานกลาง 1.51-2.50 เห็นดวยนอย 1.00-1.50 เห็นดวยนอยท่ีสุด การเก็บรวบรวมขอมูล

การศึกษาวิจยัคร้ังนี้ ผูวจิัยเปนผูดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองและมีเจาหนาท่ีในโรงพยาบาลคอยชวยเหลือ โดยข้ันตอนการเก็บรวบรวมขอมูลดังนี้

1. ผูวิจัยนาํแบบสํารวจไปเกบ็ขอมูลจากกลุมตัวอยาง จาํแนกตามกลุมตัวอยางแตละตําแหนงหนาท่ี รวมท้ังส้ินจํานวน 111 คน ในชวงวนัท่ี 10 สิงหาคม-31 สิงหาคม 2550

2. ผูวิจัยตรวจสอบความสมบูรณของขอมูลในแบบสํารวจ

Page 59: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

49

การวิเคราะหขอมูล

การวิจยัคร้ังนี ้ ผูวิจัยทําการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

SPSS และ Ms Excel ดังนี้ 1.การวิเคราะหขอมูลสวนบุคคล อันประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ

การศึกษา ตําแหนงหนาท่ีการงาน รายได และท่ีพกัอาศัย โดยใชการวิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติเชิงพรรณนา ไดแก ความถ่ี รอยละ

2.การวิเคราะหขอมูลทางดานพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี อันประกอบไปดาย 4 สวนคือ การับรูเกี่ยวกบัประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย ความรูเกี่ยวกบัหลักและวิธีการการออกกาํลังกาย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง โดยใชการวิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติพรรณนา ไดแก ความถ่ี รอยละ คาเฉล่ีย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3. การทดสอบสมมติฐาน โดยการเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยใชสถิติในการวิเคราะห ดังนี ้

- การทดสอบแบบ t-test ใชทดสอบความแตกตางพฤติกรรมการออกกําลังกายจําแนกตามเพศและรายได

- การทดสอบแบบ F-test การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียวการทดสอบความแตกตางพฤติกรรมการออกกําลังกายจําแนกตามอายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหนงหนาท่ี ท่ีพักอาศัย

Page 60: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

บทท่ี4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลสําหรับการวิจยัคร้ังนี ้ ผูวิจัยจําแนกรายละเอียดของการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลออกเปน 3 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 การศึกษาขอมูลสวนบุคคลของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี

ตอนท่ี 2 การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ซ่ึงแบงเปน 4 ดาน คือ

1. การรับรูเกี่ยวกบัประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย 2. การรับรูเกี่ยวกับหลักและวิธีการออกกําลังกาย 3. ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย 4. การรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง

ตอนท่ี 3 การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมูลสวนบุคคลในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

ในการวิเคราะหขอมูลและแปลความหมายของการวิเคราะหขอมูล เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกนั ผูวิจัยไดกําหนดสัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ดังนี้ n แทน จํานวนกลุมตัวอยาง

x แทน คาเฉล่ีย (Mean)

s.d แทน คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน % แทนคารอยละ

Page 61: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

51

ตอนท่ี 1 การศึกษาขอมลูสวนบุคคลของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อาํเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุร ี

ตารางท่ี 4.1 การศึกษาขอมูลสวนบุคคลของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี

ขอมูลสวนบุคคล n รอยละ 1.เพศ - ชาย 33 29.7 - หญิง 78 70.3 รวม 111 100.00 2.อายุ (ป) - ต่ํากวา 20 ป 1 0.9 - 20-29 ป 21 18.6 - 30-39 ป 37 33.3 - 40-49 ป 43 38.7 - 50-59 ป 9 8.1 รวม 111 100.00 3.สถานภาพสมรส -โสด 36 32.4 - สมรส 61 55.0 - หยา / ราง 12 10.8 - หมาย 2 1.8 รวม 111 100.00 4.ระดับการศึกษา - มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช 18 16.2 - อนุปริญญา / ปวส. 27 24.3 - ปริญญาตรี 48 43.2 - สูงกวาปริญญาตรี 15 13.5 อ่ืน ๆ 3 2.7 รวม 111 100.0

Page 62: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

52

ตารางท่ี 4.1 การศึกษาขอมูลสวนบุคคลของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี (ตอ)

ขอมูลสวนบุคคล n รอยละ

5. ตําแหนงหนาท่ี - แพทย / เภสัช / ทันตแพทย 6 5.4 - พยาบาล 40 36.0 - เจาหนาท่ีเทคนิค 13 11.7 - เจาหนาท่ีท่ัวไป 14 12.6 - ลูกจาง / คนงาน 38 34.2 รวม 111 100.00 6. รายได (บาท ) -ต่ํากวา 10000 บาท 49 44.1 - สูงกวา 10000 บาท 62 55.9 รวม 111 100.00 7. ท่ีพักอาศัย - บานตนเอง 67 60.4 - บานเชา 7 6.3 - พักกับบิดามารดา 21 8.9 - พักกับบุคคลอ่ืน 3 2.7 - บานพักราชการ 13 11.7 รวม 111 100.00

จากตารางท่ี 4.1 การศึกษาขอมูลสวนบุคคลของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี แสดงใหเห็นวา

1. เพศ บุคลากรสวนใหญในโรงพยาบาลสามชุก สวนใหญพบวา เปนเพศหญิง รอยละ 70.3 และเปนเพศชายเพียง รอยละ 29.7

2. อายุ บุคลากรสวนใหญในโรงพยาบาลสามชุก สวนใหญ พบวา มีอายุอยูในชวง 40-49 ป รอยละ38.7 รองลงมาอยูในชวงอายุ 30-39 ป รอยละ 33.3 , ชวงอายุ 20-29 ป รอยละ 18.6 , ชวงอายุ50-59 ป รอยละ 8.1 และตํ่ากวา 20 ป รอยละ 0.9 ตามลําดับ

Page 63: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

53

3. สถานภาพสมรส บุคลากรสวนใหญในโรงพยาบาลสามชุก สวนใหญพบวา มีสถานภาพสมรส รอยละ 55.0 รองลงมา โสด รอยละ 32.4 , หยา / ราง รอยละ 10.8 และหมาย รอยละ 1.8 ตามลําดับ

4. ระดับการศึกษา บุคลากรสวนใหญในโรงพยาบาลสามชุก สวนใหญพบวา ระดับการศึกษาอยูระดับปริญญาตรี รอยละ 43.2 รองลงมา คือ อนุปริญญา / ปวส. รอยละ24.3 , มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. รอยละ 16.2 , สูงกวาปริญญาตรี รอยละ 13.5 และอ่ืน ๆ รอยละ 2.7 ตามลําดับ

5. ตําแหนงหนาท่ีการงาน บุคลากรสวนใหญในโรงพยาบาลสามชุก สวนใหญ พบวา เปนพยาบาล รอยละ 36.0 รองลงมาคือ ลูกจาง / คนงาน รอยละ 34.2 , เจาหนาท่ีท่ัวไป รอยละ 12.6 , เจาหนาท่ีเทคนิค รอยละ 11.7 และ แพทย / เภสัช / ทันตแพทย รอยละ 5.4 ตามลําดับ

6. รายได บุคลากรสวนใหญในโรงพยาบาลสามชุก สวนใหญ พบวา มีรายไดสูงกวา 10000 บาท รอยละ 55.9 และ ต่ํากวา 10000 บาท รอยละ 44.1 ตามลําดับ

7. ท่ีพักอาศัย บุคลากรสวนใหญในโรงพยาบาลสามชุก สวนใหญ พบวา อาศัยอยูบานตนเอง รอยละ 60.4 รองลงมา คือ พักอาศัยกับบิดามารดา รอยละ 18.9 , อาศัยบานพักราชการ รอยละ 11.7 , อาศัยบานเชา รอยละ 6.3 และอาศัยพักกับบุคคลอ่ืน รอยละ 2.7 ตามลําดับ

ตอนท่ี 2 การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบรุี

ตารางท่ี 4.2 การศึกษาพฤตกิรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี

คําถาม x S.D ระดับ

1. การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวย 3.18 1.14 ปานกลาง ลดไขมันในเสนเลือดได 2. การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยปอง 3.17 1.15 ปานกลาง กันโรคหลอดเลือดหัวใจได 3. การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยให 3.02 1.03 ปานกลาง ระบบการยอยอาหารด ี

Page 64: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

54

ตารางท่ี 4.2 การศึกษาพฤตกิรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี (ตอ)

คําถาม x S.D ระดับ

4. การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอลด 3.52 1.11 มาก ภาวะเส่ียงของโรคเบาหวาน 5. การออกกําลังกายสม่ําเสมอทําให 3.43 0.96 ปานกลาง กลามเนื้อแข็งแรงขึ้น 6. การออกกําลังกายชวยผอนคลายความ 2.97 1.05 ปานกลาง ตึงเครียด 7.การออกกําลังกายชวยใหทานมีสุขภาพ 2.71 1.14 ปานกลาง จิตท่ีด ี8. การออกกําลังกายใหทานหลับงายข้ึน 3.26 1.05 ปานกลาง 9. การออกกําลังกายชวยใหทานมีบุคลิกภาพด ี 2.96 1.11 ปานกลาง 10. การออกกาํลังกายชวยเพิม่ความ 3.45 0.96 ปานกลาง เช่ือม่ันในตนเอง 11. การออกกาํลังกายทําใหทานรูปรางดี 2.83 1.05 ปานกลาง 12. การออกกาํลังกายชวยชะลอความชราได 2.97 1.12 ปานกลาง 13. สําหรับผูท่ีมีโรคประจําตัวการออกกาํลังกาย 3.25 0.96 ปานกลาง มีสวนชวยทําใหอากรของโรคไมรุนแรงข้ึน 14. การออกกาํลังกายเปนการใชเวลาวาง 3.35 0.94 ปานกลาง ใหเกิดประโยชน 15. การออกกาํลังกายทําใหจิตใจแจมใส 2.81 1.10 ปานกลาง รวม 3.12 0.25 ปานกลาง

Page 65: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

55

ตารางท่ี 4.3 ความรูเกีย่วกับหลักและวิธีการออกกําลังกาย

คําถาม x S.D ระดับ

1.กอนออกกําลังกายทานมีการปรับสภาพ 2.96 1.10 ปานกลาง รางกายดวยการอบอุนรางกายอยางถูกตอง 2. ทานออกกําลังกายโดยใชเวลาอยางนอย 2.96 1.18 ปานกลาง 30 นาทีและอยางนอยสัปดาหละ 3 วนั 3. ทานออกกําลังกายจนถึงรูสึกเหนื่อย 3.07 1.10 ปานกลาง พอประมาณ 4. ทานเร่ิมออกกําลังกายโดยเร่ิมตนท่ีเบา ๆ 2.77 1.06 ปานกลาง แลวคอยเพิ่มความหนกัของการออกกําลังกาย 5. ทานออกกําลังกายโดยปฏิบัติตาวิธีการปฏิบัติ 2.82 1.12 ปานกลาง ของอุปกรณนัน้ ๆ 6. ทานสามารถปรับเปล่ียนประเภทของการ 3.38 0.90 ปานกลาง ออกกําลังกายใหเหมาะสมกบัเวลาและสถานที่ รวม 2.99 0.21 ปานกลาง ตารางท่ี 4.4 ทัศนคติเกีย่วกับการออกกําลังกาย

คําถาม x S.D ระดับ

1. การออกกําลังกายทําใหทานเปนโรคหัวใจได 2.72 1.12 ปานกลาง 2. การทํางานภายในบานเปนการออกกําลังกายแลว 2.76 1.08 ปานกลาง เชน กวาด , ถูบาน 3.การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยทําใหสุขภาพจิตดี 3.03 0.97 ปานกลาง 4.คนที่มีสุขภาพที่ดีแลวไมตองออกกําลังกาย 2.58 1.26 ปานกลาง 5. การออกกําลังกายเปนเร่ืองของนักกฬีาเทานั้น 2.15 1.21 นอย 6. การออกกําลังกายสม่ําเสมอทําใหกลามเน้ือด ู 2.27 1.04 นอย ไมสวยงาม 7. การออกกําลังกายเปนเร่ืองนาอายผูอ่ืน 2.24 1.11 นอย

Page 66: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

56

ตารางท่ี 4.4 ทัศนคติเกีย่วกบัการออกกําลังกาย (ตอ)

คําถาม x S.D ระดับ

8. การออกกําลังกายชวยทําใหทานอารมณดี 3.37 0.99 ปานกลาง 9. การออกกําลังกายชวยทําใหทานหายเหงา 3.20 0.95 ปานกลาง 10.การออกกําลังกายเปนภาระท่ีทานตองกระทํา 3.04 1.18 ปานกลาง อยางสมํ่าเสมอ 11.การออกกําลังกายท่ีถูกตองทําใหทานเสียเวลา 3.42 0.93 ปานกลาง 12. การออกกาํลังกายเปนเร่ืองท่ีไมจําเปน 2.25 1.07 นอย 13.การออกกําลังกายทําใหรางกายทรุดโทรม 2.20 1.24 นอย เร็วกวาท่ีควร 14. การออกกาํลังกายชวยลดอาการปวดเมื่อย 3.44 0.97 ปานกลาง กลามเนื้อ รวม 2.76 0.48 ปานกลาง

ตารางท่ี 4.5 ความพรอมในการรออกกําลังกายของตนเอง

คําถาม x S.D ระดับ

1.ทานมีการสํารวจตัวเองสม่ําเสมอวารางกาย 2.84 1.02 ปานกลาง แข็งแรงไมอุปสรรคตอการออกกําลังกาย 2. ทานมีการวางแผนหรือจัดสรรชวงเวลา 2.66 1.07 ปานกลาง ในการออกกําลังกาย 3. ทานเลือกกจิกรรมออกกําลังกายท่ีงาย ถนัด 2.94 0.98 ปานกลาง ชอบเพื่อสรางแรงจูงใจในการออกกําลังกาย 4. ทานเลือกประเภทของการออกกําลังกายตาม 2.43 1.15 นอย ความเหมาะสมของรางกายของทาน 5. ขณะทานออกกําลังกายทานทําจิตใจสนกุสนาน 3.87 1.13 มาก ในกจิกรรมไมเครงเครียดเร่ืองงาน รวม 2.94 0.55 ปานกลาง

Page 67: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

57

ตารางท่ี 4.6 ภาพรวมพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

คําถาม x S.D ระดับ

1.การรับรูเกี่ยวกับประโยชนและ 3.12 0.25 ปานกลาง คุณคาของการออกกําลังกาย 2. ความรูเกี่ยวกับหลักและ 2.99 0.21 ปานกลาง วิธีการออกกําลังกาย 3. ทัศนคติเกี่ยวกับ 2.76 0.48 ปานกลาง การออกกําลังกาย 4.ความพรอมในการออกกําลังกาย 2.94 0.55 ปานกลาง ของตนเอง รวม 2.95 0.14 ปานกลาง

จากตอนท่ี 2 การศึกษาพฤตกิรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี แสดงใหเห็นวา

ภาพรวมพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี มีคาเฉล่ียเทากับ 2.95 ซ่ึงมีพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรอยูในระดบัปานกลาง ( ดงัตารางท่ี 4.6 ) และเม่ือพิจารณาในรายดาน พบวา

1. การรับรูเกี่ยวกับประโยชนและ / คุณคาของการออกกาํลังกาย ของบุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก มีคาเฉล่ียเทากับ 3.12 ซ่ึงมีการรับรูเกี่ยวกับประโยชนและ / คุณคาของการออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง ( ดังตารางท่ี 4.2 )

2. ความรูเกีย่วกับหลักและวิธีการออกกาํลังกาย ของบุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก มีคาเฉล่ียเทากับ 2.99 ซ่ึงมีความรูเกีย่วกับหลักและวธีิการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ( ดงัตารางท่ี 4.3 )

3. ทัศนคติเกีย่วกับการออกกําลังกายของบุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก มีคาเฉล่ียเทากับ 2.76 ซ่ึงมีทัศนคติเกี่ยวกบัการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ( ดงัตารางท่ี 4.4 )

4. ความพรอมในการออกกาํลังกาย ของตนเองของบุคลากรของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก มีคาเฉล่ียเทากับ 2.94 ซ่ึงมีการรับรูเกี่ยวกบัความพรอมในการรออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ( ดังตารางท่ี 4.5)

Page 68: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

58

ตอนท่ี 3 การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมลูสวนบุคคลในโรงพยาบาลสามชุก อาํเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุร ี

ตารางท่ี 4.7 การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมูลสวนบุคคลในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี

1.เพศ -1.66 * - ชาย 0.83 0.04 - หญิง 2.12 0.08 2.อายุ (ป) 2.52 ** - ต่ํากวา 20 ป 0.25 0.05 - 20-29 ป 0.52 0.09 - 30-39 ป 1.01 0.03 - 40-49 ป 1.16 0.04 - 50-59 ป 0.01 0.09 3.สถานภาพสมรส 6.07 - โสด 0.63 0.10 - สมรส 1.52 0.09 - หยา / ราง 0.61 0.04 - หมาย 0.19 0.03 4.ระดับการศึกษา 2.75 ** - มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช 0.45 0.02 - อนุปริญญา / ปวส. 0.74 0.10 - ปริญญาตรี 1.62 0.03 - สูงกวาปริญญาตรี 0.13 0.01 - อ่ืน ๆ 0.11 0.01

* คาสถิติ T-test ** คาสถิติ F-test

ขอมูลสวนบุคคล x S.D P-Value

Page 69: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

59

ตารางท่ี 4.7 การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมูลสวนบุคคลในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี (ตอ) ขอมูลสวนบุคคล x S.D P-Value 5.ตําแหนงหนาท่ีการงาน 2.33 ** - แพทย / เภสัช / ทันตแพทย 0.29 0.01 - พยาบาล 0.92 0.11 - เจาหนาท่ีเทคนิค 0.38 0.02 - เจาหนาท่ีท่ัวไป 0.54 0.05 - ลูกจาง / คนงาน 0.82 0.09 6.รายได (บาท ) 2.89 - ต่ํากวา 10000 บาท 1.10 0.04 - สูงกวา 10000 บาท 1.85 0.06 7.ท่ีพักอาศัย 11.44 - บานตนเอง 0.84 0.12 - บานเชา 1.53 0.06 - พักกับบิดามารดา 0.59 0.10 - พักกับบุคคลอ่ืน 0.31 0.03 - บานพักราชการ 0.32 0.05

* คาสถิติ T-test ** คาสถิติ F-test

จากตอนท่ี 3 การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมูลสวนบุคคลในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี แสดงใหเห็นวา

1. เพศ ท่ีแตกตางกัน มีพฤตกิรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 (ยอมรับสมมติฐาน)

Page 70: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

60

2. อายุ ท่ีแตกตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางนอย 1 คู อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับนยัสําคัญ 0.05 (ยอมรับสมมติฐาน )

3. สถานภาพสมรสไมแตกตางกัน มีพฤตกิรรมการออกกําลังกายไมแตกตางกัน (ไมยอมรับสมมติฐาน)

4. ระดับการศึกษาท่ีแตกตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางนอย 1 คู อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับนยัสําคัญ 0.05 (ยอมรับสมมติฐาน )

5. ตําแหนงหนาท่ีการงานท่ีแตกตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางนอย 1 คู อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 (ยอมรับสมมติฐาน )

6. รายไดไมแตกตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายไมแตกตางกัน (ไมยอมรับสมมติฐาน)

7. ท่ีพักอาศัยไมแตกตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายไมแตกตางกัน (ไมยอมรับสมมติฐาน)

Page 71: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

บทท่ี 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจยัเร่ือง การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก

อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี คร้ังน้ี เปนการวจิัยเชิงพรรณนา โดยมีวัตถุประสงคเฉพาะ 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี และเพื่อศึกษาขอมูลสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ผูวิจัยจําแนกพฤติกรรมการออกกําลังกาย ออกเปน 4 ดาน คือ การรับรูเกี่ยวกบัประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย ความรูเกี่ยวกบัหลักและวิธีการออกกําลังกาย ทัศนคติเกี่ยวกบัการออกกําลังกาย และการรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง

สําหรับประชากรท่ีใชการวจิยัคร้ังนี้ คือ บุคลากรทุกระดับท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ซ่ึงมีจํานวนท้ังส้ินจํานวน 154 คน สวนกลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจยักําหนดใชขนาดกลุมตัวอยางของประชากรทั้งหมด ซ่ึงไดขนาดตัวอยาง 111 คน สําหรับเคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนแบบสํารวจพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ซ่ึงประกอบดวย ขอมูลสวนบุคคล และพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ผลการวิจัยและอภิปราย

ผลการวิจัยไดขอคนพบซ่ึงเปนประเดน็สําคัญดังนี้ ขอคนพบเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ขอมูลสวนบุคคล และพฤติกรรมการออก

กําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ไดขอคนพบดังนี้

Page 72: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

62

1. ขอมูลสวนบุคคล

พบวาบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี สวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ70.3 โดยมีอายุ 40-49 ป มีสถานภาพสมรส รอยละ 55.0 สวนใหญมีระดับการศึกษาอยูท่ีปริญญาตรี รอยละ43.2 ในสวนตําแหนงหนาท่ีการงานของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ท่ีใชในการศึกษาจําแนกได 5 ลักษณะ คือ กลุมพยาบาลมี รอยละ 36.0 เปนกลุมแพทย / เภสัช / ทันตแพทย รอยละ 5.4 และกลุมเจาหนาท่ีท่ัวไปรอยละ 12.6 สวนกลุมท่ีเปนกลุมเจาหนาท่ีเทคนิค รอยละ 11.7 และลูกจางหรือคนงานมีสัดสวนรอยละ 34.2โดยมีรายไดเฉล่ียอยูท่ีสูงกวา 10,000 บาทตอเดือน ในสวนบานพักอาศัยสามารถจําแนกได 3 ลักษณะ คือ พักอาศัยบานตนเองรอยละ 60.4 พักอาศัยกับบิดามารดารอยละ 18.9 และพักอยูบานพักราชการรอยละ 11.7

ขอคนพบดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็นวา

บุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี มีสัดสวนเพศหญิงมากกวาเพศชายเนื่องจากระแสสังคมในปจจุบันเพศหญิงนิยมดแูลเอาใจใสสุขภาพของตัวเองซ่ึงจากการศึกษาของผูวิจัย พบวา เพศหญิงมีพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพดานความรับผิดชอบตอสุขภาพมากกวาเพศชายโดยสวนใหญบุคลากรเปนวยัทํางานซ่ึงคนในวยันี้จะดแูลใสใจในสุขภาพรวมถึงสมรรถภาพทางรางกายยังเอ้ืออํานวยตอการออกกําลังกายหลายรูปแบบซ่ึงจากการสํารวจของการกีฬาแหงประเทศไทย สํานักนายกรัฐมนตรี (2538 : 39) พบวา อัตรารอยละของผูท่ีมาออกกําลังกายสวนใหญจะอยูในวัยทํางาน กลาวคือ ประชากรกลุมอายุ 40-49 ป เปนกลุมอายุท่ีมาออกกําลังกายมากที่สุด รอยละ 38.73 นอกจากนีก้ารออกกําลังกายของบุคลากรในวยันี้ ยังทําใหเกิดมนุษยสัมพนัธกับคนรอบขาง การพบปะสังสรรคแลกเปล่ียนขอมูล ขาวสาร มีสังคมมากข้ึน กลาแสดงออก เพราะจากการศึกษาพบวาบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี สวนใหญมีสถานภาพสมรสนอกจากน้ีการออกกกําลังกายนัน้ยงัเปนกิจกรรมหน่ึงท่ีเกิดข้ึนในครอบครัว ภายในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรีสวนใหญจะเปนผูมีความรูในระดับปริญญาตรีทําใหมีความรูความเขาใจในประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกายรวมถึงการมีโอกาสในการแสวงหาวิธีการท่ีดีจะสรางสุขภาพของตนเองใหสมบูรณแข็งแรงยิ่งข้ึน ในกลุมของพยาบาลจะมีพฤติกรรมการออกกําลังกายมากวากลุมบุคลากรอ่ืนอาจเนื่องมาจากภาระงานท่ีไมเปนเวลาแนนอนทําใหตองทําใหตองพกัอาศัยอยูในโรงพยาบาลจึงมีเวลาสําหรับการออกกําลังกายมากกวาวิชาชีพอ่ืนในโรงพยาบาลและการออกกําลังกายนี้ยังไมตองเสียคาใชจาย สะดวกในการมาออกกําลังกาย ไมตองเดนิทางและไมเสียเวลา บุคคลากรสวนใหญมีรายไดสูงกวา

Page 73: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

63

10,000 บาท จึงทําใหมีพฤติกรรมการออกกําลังกายมากกวาบุคลากรที่มีรายไดต่ํากวา 10,000 บาท เพราะวาผูท่ีมีฐานะดีจะมีโอกาสในการแสวงหาส่ิงท่ีเปนประโยชนในการดูแลสุภาพของตนเอง 2. พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี

พบวาบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จงัหวัดสุพรรณบุรี มีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงปะกอบดวย 4 ดาน คือการรับรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของการออกกาํลังกาย ความรูเกี่ยวกับหลักและวิธีการออกกําลังกาย ทัศนคติเกีย่วกบัการออกกําลังกาย และการรับรูเกี่ยวกับความพรอมในการออกกําลังกาย

ขอคนพบดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็นวา

บุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี นั้นเปนบุคลากรทางดานสุขภาพจึงจําเปนยิ่งท่ีจะตองมีความรูความเขาใจในเร่ืองของสุขภาพไมวาจะเปนทางดานการสงเสริมสุขภาพหรือปองกันโรค (สํานักงานสงเสริมสุขภาพ กรมอนานมัย) การออกกําลังกายก็เปนการสงเสริมสุขภาพอยางหน่ึง ดังนัน้บุคลากรทางดานสาธารณสุขจึงตอง มีการรับรูเกี่ยวกบัประโยชนและคุณคาในการออกกําลังกาย เพื่อสามารถถายทอดและเปนแบบอยางท่ีดีแกประชาชน จากการรับรูเกีย่วกับประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกายท่ีบุคลากรแตละคนมีนั้นยอมสงผลใหบุคลากรมีทัศนคติเกีย่วกบัการออกํากลังกายท่ีดเีพราะวาทัศนคติเปนองคประกอบหน่ึงท่ีมีอยูในตัวบุคคล ทัศนคติเปนลักษณะภายในของบุคคลแตละคนท่ีผลักดันใหบุคคลเกิดพฤติกรรมตาง ๆ ไปตามทิศทางท่ีกําหนดและจากการท่ีทัศนคติเปนส่ิงท่ีไดจากการรับรูโดยกระบวนการเรียนรูทางสังคมซ่ึงมีตัวแทนจากสังกดัเปนผูถายทอด ดังนั้นสังคมตลอดจนวฒันธรรมขององคกรและบุคคลในสังคมจึงมีอิทธิพลตอการสรางทัศนคติของบุคคลนั้น อรุณ รักธรรม (2528 : 320 ) ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของชลธิชา ขระเข่ือน (2545) พบวา ผูสูงอายุมีทัศนคติท่ีดตีอการออกําลังกายแบบ ไท จี๋ ซ่ี กง ท้ังนี้โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ไดมีการรณรงคการออกกําลังกายภายในรูปแบบตาง ๆ ท้ังภายในโรงพยาบาลและระหวางโรงพยาบาลในทุก ๆ เดือน เชน การวิ่งมินิมาราธอน การปนจักรยาน การแขงขันฟุตบอล โดยกิจกรรมดังท่ีกลาวมาแลวนั้นเร่ิมต้ังแตป พ.ศ. 2539 จนถึงปจจุบัน ทําใหบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ความรูความเขาใจในหลักและวิธีการการออกกําลังกาย นอกจากนัน้โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ไดเขารวมในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ซ่ึงมีนโยบายเก่ียวกับการออกกําลังกายคือใหบุคลากรไดมีการสงเสริมสุขภาพโดยมีการจัดสรร เวลา สถานท่ีและอุปกรณ ใหเหมาะสมกบัการออกกําลังกายของแตละบุคคล ดังนั้นบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอ

Page 74: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

64

สามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี จึงมีการรับรูเกี่ยวกับความพรอมของตนเองในการออกกําลังกายคือมีการวางแผนเร่ืองเวลาในการออกกําลังกาย อุปกรณท่ีใชใหเหมาะสม การเตรียมสภาพรางกายใหเหมาะสม เปนตน เพื่อสอดคลองกับนโยบายของโรงพยาบาลและนโยบายของรัฐบาลท่ีใหบุคลากรทางดานสาธารณสุขเปนแกนนําทางดานสุขภาพ ท้ังนี้กลุมตัวอยางเปนบุคลากรทางดานสุขภาพจึงมีความรูความเขาใจในประโยชนและโทษของการออกกําลังกาย มีการสํารวจตัวเองวามี

อุปสรรคหรือความเส่ียงในการออกกําลังกายหรือไม ซ่ึง กรีน และคณะ ( Green et al. 1999 ซ 4-12) ไดเสนอแนวคิดเกีย่วกับการรับรู มีผลตอการเกิดแรงจูงใจใหบุคคลเกิดพฤติกรรมสุขภาพ ซ่ึงถาหากรับรูวาตนเองมีสุขภาพดี ก็มีความโนมเอียงท่ีจะกระทํากิจกรรมสงเสริมสุขภาพบอยกวา และจริงจังกวาบุคคลท่ีรับรูวาสุขภาพของตนเองไมดี ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ พวงเพชร เฟองฟูเกยีรติคุณ (2545) ท่ีพบวา การรับรูความสามารถแหงตนกบัพฤติกรรมการออกกําลังกายของประชาชนกลุมวัยทํางานอยูระดับปานกลาง

3.การทดสอบสมมติฐานในการเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรจําแนกตามขอมูลสวนบุคคลในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี

1. เพศมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ดังนั้นเพศท่ีแตกตางกันทําใหมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน (ยอมรับสมมติฐาน)

ขอคนพบดังกลาวขางตนอภปิรายผลไดวา

เพศเปนขอมูลสวนบุคคลท่ีสงผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย โดยกลาววา เพศเปนตัวกําหนดการแสดง บทบาทในครอบครัว ชุมชน และสังคม แตโดยธรรมชาติแลวในเพศหญิงและเพศชายมีความแตกตางกันหลายดาน ซ่ึงในเพศชายจะมีโครงสรางของรางกาย การเจริญเติบโตของกลามเนื้อ สมรรถภาพทางรางกายท่ีมากกวาเพศหญิง และในเพศหญิงจะมีความออนโยนและนุมนวล เรียบรอย มากกวาเพศชาย ในความแตกตางนี้ทําใหลักษณะของการมีพฤติกรรมการออกกําลังกายของเพศชายและเพศหญิงแตกตางกัน โดยเพศชายจะมีความสามารถออกกําลังกายไดสูงกวาหรือประสิทธิภาพมากวาเพศหญิง โดยระยะเวลา จํานวนวัน และความสมํ่าเสมอในการออกกําลังกายมากกวาซ่ึงสอดคลองกับมนูญ ขอเสง่ียม และพิสุทธ์ิ คงขํา (2542) ท่ีพบวาเพศชายนิยมออกกําลังกายมากกวาเพศหญิงแตในอีกดานหนึ่งของพฤติกรรมการออกกําลังกายพบวาเพศหญิงมีวิธีการเลือกประเภทของการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมและยังสามารถออกกําลังกายในระดับท่ีเหมาะสมกับสภาพของตนเอง แสดงวาเพศหญิงมีความสามารถในการดูแลตนเองไดดีกวาเพศชาย

Page 75: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

65

ซ่ึงสอดคลองกับพวงเพชร เฟองฟูเกียรติคุณ (2545) ท่ีพบวาเพศหญิงมีความสามารถดูแลตนเองดีกวาเพศชาย ดังนั้นจึงเปนปจจัยท่ีสงผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย

2. อายุเปนปจจัยท่ีมีผลตอดานความพรอมของการออกกําลังกายของบุคลากรดังนัน้อายุท่ีแตกตางกันจึงมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน (ยอมรับสมมติฐาน)

ขอคนพบดังกลาวขางตนอภปิรายผลไดวา

อายุท่ีตางกันนั้นยังมีพฤติกรรมออกกําลังกายที่ตางกันเพราะอายุเปนปจจัยพื้นฐานท่ีบงช้ีความแตกตางทางดานรางกาย ความพรอมและความรู สึกนึกคิด อายุยังเปนตัวกําหนดความสามารถ และสมรรถภาพทางรางกายของบุคคลในชวงวัยตาง ๆ การศึกษาคร้ังนี้อายุท่ีอยูในชวง 40-49 ป มีพฤติกรรมการออกกําลังกายมากกวาชวงอายุอ่ืน ๆ ซ่ึงสอดคลองกับการสํารวจของการกีฬาแหงประเทศไทย สํานักนายกรัฐมนตรี(2538 : 39) ท่ีสํารวจการเขารวมกิจกรรม การออกกําลังกาย เลนกีฬาของประชากรในประเทศไทย พ.ศ. 2538 พบวาประชากรกลุมอายุ 40-49 ป เปนผูท่ีมาออกกําลังกายมากท่ีสุดรอยละ 27.4

3. ระดับการศึกษามีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรดังนั้นระดับการศึกษาท่ีแตกตางกันจึงมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน (ยอมรับสมมติฐาน)

ขอคนพบดังกลาวขางตนอภปิรายผลไดวา

ระดับการศึกษาท่ีแตกตางกันและพบวาการศึกษาในระดับปริญญาตรีมีพฤติกรรมการออกกําลังกายมากที่สุด ซ่ึงโดยท่ัวไปแลวบุคลากรท่ีมีระดับการศึกษาสูงสามารถเสาะแสวงหาขอมูลเพือ่นํามาคิดพิจารณาตัดสินการกระทําไดมากกวาผูท่ีมีการศกึษานอยสามารถแยกแยะขาวสารที่ตนเองรับมาและเลือกทําในกิจกรรมตาง ๆ ดีกวา สามารถนําความรูท่ีไดรับไปใชไดมากกวา ทําใหมีการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมกบัตัวเองและเกิดประโยชนสูงสุดกับตัวเอง ซ่ึงสอดคลองกับมนูญ ขอเสง่ียม และพิสุทธิ คงขํา (2542 )ท่ีพบวาประชากรท่ีรับการศึกษาสูงพฤติกรรมการออกกําลังกายมากกวาประชากรท่ีมีระดับการศึกษาตํ่า

4. ตําแหนงหนาท่ีการงานมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรดังนั้นระดับการศึกษาท่ีแตกตางกันจึงมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน (ยอมรับสมมติฐาน)

Page 76: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

66

ขอคนพบดังกลาวขางตนอภปิรายผลไดวา

ตําแหนงหนาท่ีการงานที่ผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย โดยกลาววาบุคลาการสวนใหญ คือ กลุมแพทย พยาบาล และเจาไหนาท่ีเทคนิค ซ่ึงในแตละตําแหนงท่ีกลาวมานั้น ลวนเปนบุคลากรทางดานสาธารณสุขจึงมีความรู ความเขาใจท้ังสวนของกายภาพทางรางกายวาเหมาะสมกับการออกกําลังกายประเภทใดและทราบถึงประโยชนและคุณคาท่ีจะไดรับจากการออกกําลังกาย

สวนสถานภาพสมรส รายได / เดือน และท่ีพักอาศัย ไมมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี

ขอเสนอแนะสําหรับการวจิัยครั้งน้ี

1. โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ควรจัดกิจกรรมหรือกระตุนใหบุคลากรเพศหญิงมีพฤติกรรมการออกําลังกายท่ีถูกตองและเหมาะสมเนื่องจากเพศหญิงมีความใสใจมากกวาเพศชายถาไดรับการสนับสนุนท่ีดีก็สามารถมีพฤติกรรมาการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมและโรงพยาบาลควรจัดกิจกรรมหรือกระตุนใหบุคลากรเพศชายมีพฤติกรรมการออกกําลังกายท่ีตอเนื่องสมํ่าเสมอเพราะเพศชายมีความนิยมในการออกกกําลังกายอยูแลว

2. เนื่องจากพบวาบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี สวนใหญเปนกลุมวัยทํางาน ดังนั้นกิจกรรมการสงเสริมพฤติกรรมการออกําลังกายของโรงพยาบาล ควรเปนกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับกลุมอายุวัยนี้

3. บุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี มีความพรอมในการออกกําลังกายในทุก ๆ ดานอยูในระดับปานกลาง ดังนั้นโรงพยาบาลจึงควรสงเสริมใหบุคลากรมีความพรอมในทุก ๆ ดานใหเพียงพอและตอเนื่องและเพื่อใหสามารถเปนผูนําท่ีดีและสามารถถายทอดความรูเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพดานการออกกําลังกายใหกับประชาชนตอไป

4. ควรมีการสงเสริมในเร่ืองความพรอมดานความรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกายและหลักและวิธีการออกกําลังกายในกลุมบุคลากรท่ีมีระดับการศึกษาตํ่ากวาปริญญาตรี เนื่องจากในบุคลากรกลุมนี้ยังมุงตระหนักถึงความสําคัญหรือมองเห็นความสําคัญของการสงเสริมสุขภาพดานการออกกําลังกาย

Page 77: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

67

ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป

เปนท่ียอมรับกันท่ัวไปวา สาเหตุการตายในอันดับตน ๆ นั้น เปนโรคท่ีเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ ซ่ึงนอกจากจะเกดิจากพฤตกิรรมการออกกําลังกายแลว พฤติกรรมการบริโภคยังเปนสาเหตุหลักของการทําใหเกิดโรคปองกันไดเหลานี้ ดังนั้นเม่ือทราบแนวทางในการสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายของโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวดัสุพรรณบุรี ผูวิจัยเหน็วาควรศึกษาเกีย่วกับพฤติกรรมการบริโภค และแนวทางสงเสริมพฤติกรรมการบริโภค และแนวทางการสงเสริมพฤติกรรมการบริโภคท่ีเหมาะสมของบุคลากรโรงพยาบาลสามชุก เพื่อใหเกดิประโยชนตอบุคลากร โรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรีรวมถึงการมีโอกาสในการเปนตนแบบในการสงเสริมสุขภาพใหกับบุคลากรในโรงพยาบาลอ่ืน ๆ และประชาชนท่ัวไปอยางแทจริง

Page 78: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

68

บรรณานุกรม

ภาษาไทย

กระทรวงสาธารณสุข. การออกกําลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ. พิมพคร้ังท่ี 2 กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก, 2540. . แนวทางการปฏิบตัิงานเมืองไทยสุขภาพด(ีHealthy Thailand), ราชบุรี:ธรรมรักษ การพิมพ,2547. .แผนพฒันาสุขภาพฉบับท่ี 9 ( พ.ศ. 2545-2549). นนทบุรี : กองสาธารณสุขภูมิภาค ,2545. .กรมการแพทย. สถานบันเวชสาสตรผูสูงอายุ. การออกกําลังกายท่ัวไปและเฉพาะโรค ผูสูงอายุ.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2545. . กรมสุขภาพจิต. คูมือการออกกําลังกายเพื่อสงเสริมสุขภาพจิตผูสูงอายุ. กรุงเทพฯ: ศรีเมืองการพิมพ, 2543. .กรมอนามัย. สํานักสงเสริมสุขภาพ. คูมือการสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก,2535. .กองสุขศึกษากรม. สนับสนุนบริการสุขภาพ. รายงานผลการเฝาระวังพฤติกรรมการ ออกกําลังกาย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพการศาสนา สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ, 2546. .สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กองสถิติสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2547.กรุงเทพมหานคร: สํานักนโยบายและแผนสาธารณสุข , 2547. การกีฬาแหงประเทศไทย.การออกกําลังกายแบบแอโรบิค.กรุงเทพมหานคร : นิวไทยมิตรการ พิมพ,2540. .การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ.พิมพคร้ังท่ี9. กรุงเทพมหานคร: นิวไทยมิตรการพิมพ, 2540. คณะกรรมการอํานวยการจัดทําแผนพัฒนาดานการสารณสุข. แผนพัฒนาสาธารณสุขใน แผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. (2544 - 2549).กรุงเทพฯ: โรง พิมพองคการสงเคราะหทหานผานศึก, 2545. จรวยพร ธรณินทร.ออกกําลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพ.กรุงเทพมหานคร: บริษัท เลิฟแอนดลิฟ เพรส,2534.

Page 79: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

69

เจริญ กระบวนรัตน. รางกายกับผลท่ีไดจากการออกกําลังกาย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540. ชิดพงษ ไชยวสุ และคณะ.แอโรบิคดานซ กายบริหารเพื่อสุขภาพ.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ อักษรไทย,2528. ดํารง กิจกุศล.คูมือการออกกําลังกาย.กรุงเทพมหานคร:เอช.เอนสเตช่ันนารีและการพิมพ,2527. .คูมือออกกําลังกายกรุงเทพ.กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพหมอชาวบาน, 2531. ดํารง กิจมั่น.การออกกําลังกาย.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเรือนแกวการพิมพ,2527. นิคม มูลเมือง.การสงเสริม: แนวคิดกาวหนาของผูประกอบวิชาชพีทางสุขภาพ.ชลบุรี: สํานัก บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2541. ประภาเพ็ญ สุวรรณ. ”พฤติกรรมสุขภาพ”. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสุขศึกษา หนวยท่ี 1-7,172-182.กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจาํกัด ป. สัมพันธพาณิชย, 2527. ประภาเพ็ญ สุวรรณ และสวงิ สุวรรณ. ทัศนคติ การวัด การเปล่ียนแปลงอนามัย. กรุงเทพมหานคร: พะพัชนา,2536. ประเวศ วะสี และคณะ. องครวมแหงสุขภาพ ทัศนะใหมเพื่อดุลยภาพแหงชาติ และการ บําบัดรักษา.กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมูลนธิิโมลศรีทอง,2536. ปรีดา แตอารักษ และคณะ.ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดบัตนของไทย ในการปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ และใน (ราง) พระราชบญัญัติสุขภาพแหงชาติ. นนทบุรี:สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข,2543. พินิจ กุลละวณิชย.”การออกกําลังกายเพือ่สุขภาพ”ใน คูมือการสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อ สุขภาพ, 11-13. สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย, บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก,2540. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารประกอบการสอนสุขศึกษาและประชาสัมพนัธ งาน สาธารณสุขหนวยท่ี1-8.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2544. ราชบัณฑิตสถาน. คณะกรรมการชําระพจนานุกรม. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525. พิมพคร้ังท่ี 132.กรุงเทพมหานคร: บริษัทอักษรเจริญทัศน จํากดั,2538. วรศักดิ์ เพียรชอบ.หลักและวิธีการสอน วิชาพลศึกษา.กรุงเทพมหานคร:ไทยวัฒนาพานิช,2533. วิพุธ พูลเจริญ และคณะ.สูการปฏิรูประบบสุขภาพแหงชาติ.กรุงเทพมหานคร:บริษัทดีไซวร จํากัด,2543. วิรุฬ เหลาภัทรเกษม.กีฬาเวชศาสตร.กรุงเทพมหานคร: พีบี. ฟอเรน บุคสื เซนเตอร,2537.

Page 80: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

70

วิโรจน ตั้งเจริญเสถียร.ทุกข สมุทัย ในระบบสาธารณสุขและหลักประกันสุขภาพของคนไทย. พิมพคร้ังท่ี2.กรุงเทพมหานคร:บริษัท ดีไซร จํากัด, 2543. วิศาล คันธารัตนกุล. การออกกําลังกายในวัยทํางาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพกองออกกําลัง กายเพ่ือสุขภาพกรมอนามัย,2547. วุฒิวงษ ปรมัตถาวร.วิทยศาสตรการกีฬา.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพไทยวัฒนาพานชิ,2532. สมเจตน ไวยสการณ.หลักการวิจัย.นครปฐม:โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร,2544. สมบัติ กายจนกิจ และสมหวัง จนัทรุไทย. พฤติกรรมการออกกําลังกาย ทบทวนองคความรู สถานการณและปจจัยท่ีเก่ียวของ ภายใตโครงการสืบวนวัฒนธรรมไทยสูสุขภาพท่ี ยืนยาว.กรุงเทพมหานคร: สํานักพัฒนาวิชาการ กรมการแพทย กระทรวง สาธารณสุข, 2541. สํานักงานหลักประกนัสุขภาพ.คูมือหลักประกันสุขภาพสําหรับประชาชน.นนทบุรี:สํานักงาน หลักประกนัสุขภาพ,2547. สํานักนายกรัฐมนตรี. การกฬีาแหงประเทศไทย. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ. พิมพคร้ังท่ี 6. กรุงเทพมหานคร:หางหุนสวนจาํกัด เจ เอ็น ที, 2533. .สํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแงชาติ.แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2545-2549.กรุงเทพฯ:สํานักนายกรัฐมนตรี,2545. เสก อักษรนุเคราะห. การออกกําลังกายเพื่อชะลอความแก. พิมพคร้ังท่ี 2 .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย,ม.ป.ป. อภิชัย คงเสรีพงศ. กีฬาเวชศาสตร. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพมหาวทิยาลัยธรรมศาสตร,2537. อุดมศักดิ์ ศรีแสงนาม.วิ่งสูวิถีชีวิตใหม. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบาน, 2538.

Page 81: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

71

ภาษาตางประเทศ

American College of Sport Medicine. guildline for Exercisetesting and prescription. Baltimore : William and wikins,1995. American College of Sport Medicine.Exercise and Phisical activity for older adults. Medicine and Science in Sport and Exercise,1998. Green et al. Health Promotion : An Educational and Ecological Approach. ( 3ed ). Californaia:Mayfield,1999.

Page 82: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

ภาคผนวก

Page 83: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

73

ภาคผนวก ก แบบสํารวจพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก

อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุร ี

Page 84: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

74

แบบสํารวจเพื่อการวิจัย เร่ือง การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก

จังหวัดสุพรรณบุรี -----------------

คําชี้แจง

แบบสํารวจชุดนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี และเพ่ือหาขอมูลสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี

แบบสํารวจชุดนี้มี 2 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 เปนขอมูลสวนบุคคล จํานวน 7 ขอ ตอนท่ี 2 เปนคําถามเก่ียวกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย จํานวน 39 ขอ แบงเปน 4 ดาน ดังนี้

- ดานการรับรูเกี่ยวกับประโยชนและคุณคาของ จํานวน 15 ขอ การออกกําลังกาย

- ดานความรูเกี่ยวกับหลักและวิธีการออกกําลังกาย จํานวน 6 ขอ - ดานทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย จํานวน 14 ขอ - ความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง จํานวน 4 ขอ

Page 85: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

75

แบบสํารวจ พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรในโรงพยาบาลสามชุก

อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนบุคคล คําชี้แจง : กรุณาใสเคร่ืองหมาย / ลงใน ( ) หนาขอความที่เปนจริง 1. เพศ ( ) หญิง ( ) ชาย 2. อายุ ( ) ต่ํากวา 20 ป ( ) 20-29 ป ( ) 30-39 ป ( ) 40-49 ป ( ) 50-59 ป 3. สถานภาพสมรส ( ) โสด ( ) สมรส ( ) หยา / ราง ( ) หมาย 4. ระดับการศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ) อนุปริญญา / ปวส. ( ) ปริญญาตรี ( ) สูงกวาปริญญาตรี ( ) อ่ืน ๆ 5. ตําแหนงหนาท่ี ( ) แพทย / เภสัช / ทันตแพทย ( ) พยาบาล ( ) เจาหนาท่ีเทคนิค ( ) เจาหนาท่ีท่ัวไป ( ) ลูกจาง / คนงาน 6. รายได / เดอืน ( ) ต่ํากวา 10,000 บาท / เดอืน ( ) สูงกวา 10,000 บาท / เดือน 7. ท่ีพักอาศัย ( ) บานตนเอง ( ) บานเชา ( ) พักอาศัยกับบิดามารดา ( ) พักกับบุคคลอ่ืน ( ) บานพกัราชการ

Page 86: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

76

ตอนท่ี 2 แบบสํารวจพฤตกิรรมการออกกําลังกาย ตอนท่ี 2.1 การรับรูเก่ียวกับประโยชน และคุณคาของการออกกําลังกาย

คําชี้แจง : กรุณากาเคร่ืองหมาย / ในชองที่ทานเห็นดวยมากท่ีสุด

ระดับความคิดเห็น

ขอคําถาม

5 4 3 2 1

ทานมีความเห็นเก่ียวกับประโยชนของการออกกําลังกายท่ีมีตอรางกายในหัวขอตอไปนีร้ะดับใด 1. การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยลดไขมันในเสนเลือดได

2. การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยปองกนัโรคหลอดเลือดหัวใจได 3. การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยใหระบบการยอยอาหารด ี 4. การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอลดภาวะเส่ียงของโรคเบาหวาน 5. การออกกําลังกายสม่ําเสมอทําใหกลามเน้ือแข็งแรงข้ึน ความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชนของการออกกําลังกายท่ีมีตอจิตใจ 6. การออกกําลังกายชวยผอนคลายวามตึงเครียด

7. การออกกําลังกายชวยใหทานมีสุขภาพจิตท่ีด ี 8. การออกกําลังกายชวยใหทานหลับงายข้ึน 9. การออกกําลังกายชวยใหทานมีบุคลิกภาพท่ีด ี 10. การออกกาํลังกายชวยเพิม่ความเช่ือม่ันในตนเอง ความเห็นเก่ียวกับคุณคาของการออกกําลังกาย 11. การออกกาํลังกายทําใหรูปรางดีข้ึน

12. การออกกาํลังกายชวยชะลอความชราได 13. สําหรับผูท่ีมีโรคประจําตัวการออกกาํลังกายมีสวนชวยทําใหอาการของโรคไมรุนแรงข้ึน

14. การออกกาํลังกายเปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน 15. การออกกาํลังกายทําใหจิตใจแจมใจ

Page 87: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

77

ตอนท่ี 2.2 ความรูเก่ียวกับหลักและวิธีการออกกําลังกาย

ระดับการปฏิบัต ิขอคําถาม

5 4 3 2 1 1. กอนออกกําลังกายทานมีการปรับสภาพรางกายดวย การอบอุนรางกายอยางถูกตอง

2. ทานออกกําลังกายโดยใชเวลาออกกําลังกายอยางนอย 30 นาที และสัปดาหละ 3 วัน

3.ทานออกกําลังกายจนรูสึกเหนื่อยเล็กนอย

4. ทานเร่ิมออกกําลังกายโดยเร่ิมตนท่ีเบา ๆ แลวคอยเพิม่ความ หนักของการออกกําลังกาย

5. ทานออกกําลังกายโดยปฏิบัติตามวิธีการปฏิบัติของอุปกรณนัน้

6.ทานสามารถปรับเปล่ียนประเภทของการออกกกําลังกายให เหมาะสมกับเวลาและสถานท่ี

ตอนท่ี 2.3 ทัศนคติเก่ียวกับการออกกําลังกาย

ระดับความคดิเห็น ขอคําถาม

5 4 3 2 1 องคประกอบดานความรู 1. การออกกําลังกายทําใหทานเปนโรคหัวใจได

2. การทํางานภายในบานเปนการออกกําลังกายแลว เชน กวาดบาน ถูบาน

3.การออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยทําใหสุขภาพจิตดีข้ึน 4. คนท่ีมีสุขภาพที่ดีแลวไมตองออกกําลังกาย 5. การออกกําลังกายเปนเร่ืองของนักกฬีาเทานั้น 6. การออกกําลังกายสม่ําเสมอทําใหกลามเน้ือดูไมสวยงาม 7. การออกกําลังกายเปนเร่ืองนาอายผูอ่ืน องคประกอบดานความรูสึก 8. การออกกําลังกายชวยทําใหทานอารมณด ี

9. การออกกําลังกายชวยทําใหทานหายเหงา

Page 88: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

78

ระดับความคดิเห็น ขอคําถาม

5 4 3 2 1 10. การออกกาํลังกายเปนภาระท่ีทานตองกระทําอยางสมํ่าเสมอ

11. การออกกาํลังกายท่ีถูกตองทําใหทานเสียเวลา 12. การออกกาํลังกายเปนเร่ืองท่ีไมจําเปน องคประอบดานการปฏิบตั ิ13. การออกกาํลังกายทําใหรางกายทรุดโทรมเร็วกวา ท่ีควร

14. การออกกาํลังกายชวยลดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ

ตอนท่ี 2.4 ความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง

ระดับความความพรอม ขอคําถาม

5 4 3 2 1 1. ทานมีการสํารวจตัวเองสม่ําเสมอวารางกายแข็งแรงไมเปนอุปสรรคตอการออกกาํลังกาย

2. ทานมีการวางแผนหรือจัดสรรชวงเวลาในการออกกําลังกาย

3. ทานเลือกกจิกรรมออกกําลังกายท่ีงาย ถนัด ชอบเพื่อสรางแรงจูงใจในการออกกําลังกายใหตัวเอง

4. ทานเลือกประเภทของการออกกําลังกายตามความเหมาะสมของรางายของทาน

ขอขอบคุณทุกทานท่ีใหความรวมมือเปนอยางด ีน.ศ.โปรแกรมวิชาสาธารณสุขชุมชน

มหาวิทยาลัยราชภฏันครปฐม

Page 89: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

79

ภาคผนวก ข ขอมูลท่ีหาจากโปรแกรมสําเร็จรูปทางคอมพิวเตอร

Page 90: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

80

ความรูเก่ียวกับหลักและวิธีการ

ออกกําลังกาย Mean 2.993333Standard Error 0.088982Median 2.96Mode 2.96Standard Deviation 0.21796Sample Variance 0.047507Kurtosis 1.746309Skewness 1.212232Range 0.61Minimum 2.77Maximum 3.38Sum 17.96Count 6

การรับรูเก่ียวกับความพรอมในการออกกําลังกายของตนเอง

Mean 2.948Standard Error 0.24628Median 2.84Mode #N/A Standard Deviation 0.5507Sample Variance 0.30327Kurtosis 2.895304Skewness 1.545903Range 1.44Minimum 2.43Maximum 3.87Sum 14.74Count 5

การรับรูเก่ียวกับประโยชนและคุณคาของการออกกําลังกาย

Mean 3.125333 Standard Error 0.065063 Median 3.17 Mode 2.97 Standard Deviation 0.251988 Sample Variance 0.063498 Kurtosis -1.14174 Skewness -0.01028 Range 0.81 Minimum 2.71 Maximum 3.52 Sum 46.88 Count 15

นทัศนคติเก่ียวกับการออกกําลังกาย Mean 2.763571 Standard Error 0.130214 Median 2.74 Mode #N/A Standard Deviation 0.487215 Sample Variance 0.237379 Kurtosis -1.63396 Skewness 0.106376 Range 1.29 Minimum 2.15 Maximum 3.44 Sum 38.69 Count 14

Page 91: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

81

สรุปขอมูลเก่ียวกับพฤติกรมการออกกําลังกาย Mean 2.9525 Standard Error 0.07454 Median 2.965 Mode #N/A Standard Deviation 0.149081 Sample Variance 0.022225 Kurtosis 1.092017 Skewness -0.4795 Range 0.36 Minimum 2.76 Maximum 3.12 Sum 11.81 Count 4

Frequency Table

เพศ

33 29.2 29.7 29.778 69.0 70.3 100.0

111 98.2 100.02 1.8

113 100.0

ชาย2.00Total

Valid

SystemMissingTotal

Frequency Percent Valid PercentCumulative

Percent

อายุ

1 .9 .9 .921 18.6 18.9 19.837 32.7 33.3 53.243 38.1 38.7 91.99 8.0 8.1 100.0

111 98.2 100.02 1.8

113 100.0

ต่ํากวา 20 ป20-29 ป30-39 ป40-49 ป5.00Total

Valid

SystemMissingTotal

Frequency Percent Valid PercentCumulative

Percent

Page 92: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

82

สถานภาพสมรส

36 31.9 32.4 32.461 54.0 55.0 87.412 10.6 10.8 98.22 1.8 1.8 100.0

111 98.2 100.02 1.8

113 100.0

โสดสมรสหยา/ราง4.00Total

Valid

SystemMissingTotal

Frequency Percent Valid PercentCumulative

Percent

ระดับการศึกษาสูงสุด

18 15.9 16.2 16.227 23.9 24.3 40.548 42.5 43.2 83.815 13.3 13.5 97.33 2.7 2.7 100.0

111 98.2 100.02 1.8

113 100.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวชอนุปริญญา/ปวสปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี5.00Total

Valid

SystemMissingTotal

Frequency Percent Valid PercentCumulative

Percent

ตําแหนงหนาท่ีการงาน

6 5.3 5.4 5.440 35.4 36.0 41.413 11.5 11.7 53.214 12.4 12.6 65.838 33.6 34.2 100.0

111 98.2 100.02 1.8

113 100.0

แพทย/เภสัช/ทันตแพทยพยาบาลเจาหนาท่ีเนคนิคเจาหนาท่ีท่ัวไป5.00Total

Valid

SystemMissingTotal

Frequency Percent Valid PercentCumulative

Percent

รายไดรวมเฉล่ีนตอเดือน

49 43.4 44.1 44.162 54.9 55.9 100.0

111 98.2 100.02 1.8

113 100.0

ต่ํากวา 10000 บาท2.00Total

Valid

SystemMissingTotal

Frequency Percent Valid PercentCumulative

Percent

Page 93: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

83

Descriptive Statistics

111 1.00 5.00 3.1802 1.14573

111 1.00 5.00 3.1712 1.15108

111 1.00 5.00 3.0270 1.03975

111 1.00 5.00 3.5225 1.11067

111 1.00 5.00 3.4324 .96880

111 1.00 5.00 2.9730 1.05709

111 1.00 5.00 2.7117 1.14723

111 1.00 5.00 3.2613 1.05064

111 1.00 5.00 2.9640 1.11948

111 1.00 5.00 3.4595 .96091

111 1.00 5.00 2.8378 1.05779

111 1.00 5.00 2.9730 1.12379

111 1.00 5.00 3.2523 .96736

111 1.00 5.00 3.3514 .94049

111 1.00 5.00 2.8108 1.10793

111 1.00 5.00 2.9640 1.18266

111 1.00 5.00 3.0721 1.10956

111

การออกกําลังกายสมําเสมอชวยลดไขมันในเสนเลือดการออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยระบบการยอยอาหารดีการออกกําลังกายอยางส่ําเสมอลดภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานการออกกําลังกายสม่ําเสมอทําใหกลามเนื้อแข็งแรงขึ้นการออกกําลังกายชวยผอนคลายความตึงเครียดการออกกําลังกายชวยใหทานมีสุขภาพจิตท่ีดีการออกกําลังกายชวยทําใหทานหลับงายขึ้นการออกกําลังกายชวยใหทานมีบุคลิกภาพท่ีดีการออกกําลังกายชวยเพ่ิมความเช่ือมั่นในตนเองการออกกําลังกายทําใหรูปรางดีขึ้นการออกกําลังกายชวยชะลอความชราไดสําหรับผูท่ีมีประจําตัวการออกกําลังกายมีสวนชวยทําใหอาการของโรคไมรุนแรงขึ้นการออกกําลังกายเปฯการใชเวลาวางใหเกิดประโยชนการออกกําลังกายทําใหจิตใจแจมใสกอนออกกําลังกายทานมีการปรับสภาพรางกายดวยการอบอุนรางกายอยางถูกตองทานออกกําลังกายโดยใชเวลาออกกําลังกายอยางนอย30 นาทีทานออกกําลังกายจนรูสึกเหนื่อยพอประมาณValid N (listwise)

N Minimum Maximum Mean Std. Deviation

ท่ีพักอาศัย

67 59.3 60.4 60.47 6.2 6.3 66.7

21 18.6 18.9 85.63 2.7 2.7 88.3

13 11.5 11.7 100.0111 98.2 100.0

2 1.8113 100.0

บานตนเองบานเชาพักอาศัยบิดามารดาพักกับบุคคลอื่น5.00Total

Valid

SystemMissingTotal

Frequency Percent Valid PercentCumulative

Percent

Descriptives

Page 94: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

84

Descriptives Descriptive Statistics

111 1.00 5.00 2.7748 1.06758

111 1.00 5.00 2.8288 1.12714

111 1.00 5.00 3.3874 .90625

111 1.00 5.00 2.7207 1.12953

111 1.00 5.00 2.7658 1.08674

111 1.00 5.00 3.0360 .97167

111 1.00 5.00 2.5856 1.26827

111 1.00 5.00 2.1532 1.21504

111 1.00 5.00 2.2973 1.04093

111 1.00 5.00 2.2432 1.11369

111 1.00 5.00 3.3784 .99136

111 1.00 5.00 3.2072 .95458

111 1.00 5.00 3.0450 1.18619

111 1.00 5.00 3.4234 .93953

111 1.00 5.00 2.2523 1.07423

111 1.00 5.00 2.2072 1.24402

111 1.00 5.00 3.4414 .97873

111

ทานเริ่มออกกําลังกายโดยเริ่มตนท่ีเบา ๆแลวคอยเพ่ิมความหนักทานออกกําลังกายโดยปฏิบัติตามวิธีการปฎิบัติของอุปกรณนั้นๆทานสามารถปรับเปลี่ยนประเภทของการออกกําลังกายใหเหมาะสมกับเวลาและสถานท่ีการออกกําลังกายทําใหทานเปนโรคหัวใจไดงายขึ้นการทํางานภายในบานเปนการออกกําลังกายแลว เชน กวาด ,ถูบานการออกกําลังกายสม่ําเสมอชวยทําใหสุขภาพจิตดีขึ้นคนท่ีมีสุขภาพท่ีดีแลวไมตองออกกําลังกายการออกกําลังกายเปนเรื่องของนักกีฬาเทานั้นการออกกําลังกายส่ําเสมอทําใหกลามเนื้อดูไมสวยงามการออกกําลังกายเปนเรื่องท่ีนาอายผูอื่นการอกอกําลังกายชวยทําใหทานอารมณดีการออกกําลังกายชวยทําใหทานหายเหงาการออกกําลังกายเปนภาาระท่ีทานตองกระทําอยางสม่ําเสมอการออกกําลังกายท่ีถูกตองทําใหทานเสียเวลาการออกกําลังกายเปนเรื่องท่ีไมจําเปนการออกกําลังกยทําใหรางกายทรุดโทรมเร็วกวาท่ีควรการอกอกําลังกายชวยลดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อValid N (listwise)

N Minimum Maximum Mean Std. Deviation

Page 95: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

85

Descriptives Descriptive Statistics

111 1.00 5.00 2.8468 1.02866

111 1.00 5.00 2.6667 1.07309

111 1.00 5.00 2.9459 .98015

111 1.00 5.00 2.4324 1.15697

111 1.00 5.00 3.8739 1.13712

111

ทานมีการสํารวจตัวเองส่ําเสมอวารางกายแข็งแรงไมเปนอุปสรรคตอการออกกําลังกายทานมีการวางแผนหรือจัดสรรชวงเวลาในการออกกําลังกายทานเลือกกิจกรรมออกกําลังกายท่ีงาย ถนัดทานเลือกประเภทของากรออกกําลังกายตามความเหมาะสมของรางกายขณะท่ีทานออกกําลังกายทําจิตใจสนุกสนานในกิจกรรมไมเครงเครียดเรื่องงานValid N (listwise)

N Minimum Maximum Mean Std. Deviation

Page 96: สามชุก งหวัุดสพรรณบุรี The Study of Exercise Behavior of ...12,14_binder17.pdf · ซ สารบัญ หน า บทคั ดยอภาษาไทย

86

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ นางสาวกนัทิกา หลวงทิพย เกดิวนัท่ี 7 มกราคม 2528 ท่ีอยูบานเลขท่ี 25/2 หมู 5 ตําบลจอมบึง อําเภอจอมบึง จังหวดัราชบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนคุรุราษฎรรังสฤษฏ จังหวดัราชบุรี ปจจุบันเปนนักศึกษาปริญญาตรีปท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม

ช่ือ นางสาวดาริณี สีนวล เกิดวันท่ี 15 กันยายน 2528 ท่ีอยูบานเลขท่ี 95 หมู 1ตําบลบานสระ อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนสามชุกรัตนโภคา-ราม จังหวดัสุพรรณบุรี ปจจุบันเปนนกัศึกษาปริญญาตรีปท่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม