โครงสร างและหน...

8
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 1 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาที่ของราก โครงสรางและหนาที่ของราก 1. เนื้อเยื่อบริเวณปลายราก เนื้อเยื่อบริเวณปลายรากแบงออกเปน 3 บริเวณ(zone/region) คือ 1. zone of cell division (บริเวณเซลลแบงตัว) บริเวณนี้มีเนื้อเยื่อเจริญ(meristermatic tissue) ที่มีการแบงเซลล แบบไมโทซีสตลอดเวลา สวนปลายของบริเวณนี้บางสวนจะเปลี่ยนเปนหมวกราก(root cap)ซึ่งทําหนาทีปองกันอันตรายใหแกปลายราก 2. zone of cell elongation (บริเวณเวณเซลลยืดตัว) บริเวณนี้เปนกลุมเซลลที่ไดจาก zone of cell division มีการ ยืดยาวของเซลลขึ้น 3. zone of cell maturation (บริเวณเซลลเจริญเต็มที ) เปนบริเวณที่เซลลมีการเจริญเติบโตเต็มทีมีการ เปลี่ยนแปลงรูปรางไปเชน เปลี่ยนแปลงไปเปนขนราก (root hair) เปนตน รูปที18 เนื้อเยื่อบริเวณปลายราก (ที่มา: http://www.cropsci.uiuc.edu/classes/cpsc121/images/PlantSystems/longlrootareas.jpg http://www.lsa.umich.edu/mcdb1/faculty/schiefel/lab/research/ ) 2. โครงสรางภายในของราก เมื่อนํารากมาตัดตามขวางในสวนที่เปนบริเวณเจริญเต็มที(zone of cell maturation) จะพบวาราก ประกอบดวยเนื้อเยื่อชนิดตางๆคือ 1. epidermis (เอพิเดอรมิส) เปนเนื้อเยื่อที่อยูชั้นนอกสุด ทําหนาที่ปองกันอันตรายใหแกเนื้อเยื่อภายในราก บางชนิดมีการเปลี่ยนแปลงไป เปนขนราก(root hair) เพื่อทําหนาที่ดูดน้ําและแรธาตุ สวนใหญเอพิเดอรมิสใน

Transcript of โครงสร างและหน...

Page 1: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 1 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

โครงสรางและหนาท่ีของราก

1. เนื้อเยื่อบริเวณปลายราก เนื้อเยื่อบริเวณปลายรากแบงออกเปน 3 บริเวณ(zone/region) คือ 1. zone of cell division (บริเวณเซลลแบงตัว) บริเวณน้ีมีเนื้อเยื่อเจริญ(meristermatic tissue) ท่ีมีการแบงเซลล

แบบไมโทซีสตลอดเวลา สวนปลายของบริเวณนี้บางสวนจะเปล่ียนเปนหมวกราก(root cap)ซ่ึงทําหนาท่ีปองกันอันตรายใหแกปลายราก

2. zone of cell elongation (บริเวณเวณเซลลยืดตัว) บริเวณนี้เปนกลุมเซลลท่ีไดจาก zone of cell division มีการยืดยาวของเซลลข้ึน

3. zone of cell maturation (บริเวณเซลลเจริญเต็มท่ี) เปนบริเวณท่ีเซลลมีการเจริญเติบโตเต็มท่ี มีการเปล่ียนแปลงรูปรางไปเชน เปล่ียนแปลงไปเปนขนราก (root hair) เปนตน

รูปท่ี 18 เน้ือเย่ือบริเวณปลายราก (ที่มา: http://www.cropsci.uiuc.edu/classes/cpsc121/images/PlantSystems/longlrootareas.jpg

http://www.lsa.umich.edu/mcdb1/faculty/schiefel/lab/research/)

2. โครงสรางภายในของราก

เม่ือนํารากมาตัดตามขวางในสวนท่ีเปนบริเวณเจริญเต็มท่ี(zone of cell maturation) จะพบวารากประกอบดวยเนื้อเยื่อชนดิตางๆคือ

1. epidermis (เอพิเดอรมิส) เปนเนื้อเยื่อท่ีอยูช้ันนอกสุด ทําหนาท่ีปองกันอันตรายใหแกเนื้อเยื่อภายในราก บางชนิดมีการเปล่ียนแปลงไป

เปนขนราก(root hair) เพื่อทําหนาท่ีดดูน้ําและแรธาตุ สวนใหญเอพิเดอรมิสใน

Page 2: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 2 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

รากจะเรียงตัวช้ันเดียวแตรากพืชบางชนิดเชน รากของกลวยไมเอพเิดอรมิสจะมีหลายช้ัน (multiple epidermis) เรียกช่ือเฉพาะวา velamen

รูปท่ี 19 velamen ของรากกลวยไม (ท่ีมา http://www.botany.hawaii.edu/faculty/webb/BOT410/410Labs/LabsHTML-

99/Epidermis/LABEpiderm99.html)

2. cortex(คอรเทกซ) คอรเทกซเปนช้ันของเน้ือเยือ่ท่ีอยูถัดจากเอพิเดอรมิสเขามาจนถึงเนื้อเยื่อเอนโดเดอมิส(endodermis) ดังนั้นช้ัน

คอรเทกซในรากจึงประกอบไปดวยเนื้อเยื่อชนิดตางๆหลายชนิดซ่ึงไดแก 2.1 parenchyma สวนใหญมีหนาท่ีสะสมอาหาร 2.2 endodermis เปนเนื้อเยื่อช้ันในสุดของช้ันคอรเทกซ เซลลเรียงตัวเพยีงช้ันเดียว และไมมีชองวาง

ระหวางเซลล

“ช้ันคอรเทกซในรากจะกวางกวาในลําตน”

3. stele(สตีล) สตีลเปนช้ันของเน้ือเยื่อท่ีอยูถัดจากเอนโดเดอรมิสเขามาจนถึงใจกลางของราก(pith) ดังนั้นช้ันสตีลของรากจึง

ประกอบไปดวยเนื้อเยื่อตางๆหลายชนิดดวยกันซ่ึงไดแก 3.1 pericycle เปนเนื้อเยื่อท่ีอยูถัดจากเอนโดเดอรมิสเขามา เซลลมีขนาดเล็กผนังบาง เรียงชิดติดกนัประมาณ 1-2 แถว มีหนาท่ีสําคัญคือเปนจุดกาํเนิดของรากแขนง(secondary root / lateral root) 3.2 vascular bundle เปนกลุมของเน้ือเยือ่ท่ีเรียกรวมระหวางสวนของ xylem และ phloem วาสคูลารบันเดิลในรากจะเรียงตัวมีลักษณะเปนแฉก(arch) โดยท่ีรากพืชใบเลี้ยงคูจะพบ 4-6 แฉก และมี

Page 3: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 3 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

ช่ือเรียกเฉพาะตางกันตามจํานวนแฉกเชน ถามี 4 แฉกกเ็รียกวา tetra arch เปนตน สวนพืชใบเล้ียงเด่ียวนั้นจะมีจํานวนแฉกมากมายเรียกวา polyarch 3.3 pith (พิธ) พิธคือเนื้อเยื่อสวนท่ีอยูตรงกลางของราก ถาเปนรากพืชใบเลี้ยงเดีย่วตรงกลางจะเปนเนื้อเยื่อพาเรนไคมา(parenchyma) แตถาเปนรากพืชใบเล้ียงคูสวนของพิธจะเปนไซเลม(xylem)

รูปท่ี 20 โครงสรางภายในของรากพืชใบเล้ียงคู (ที่มา: http://www.umanitoba.ca/faculties/science/biological_sciences/lab9/biolab9_3.html#Growth )

รูปท่ี 21 โครงสรางภายในของรากพืชใบเล้ียงเดี่ยว (ที่มา: http://www.umanitoba.ca/faculties/science/biological_sciences/lab9/biolab9_3.html#Growth )

Page 4: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 4 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

รูปท่ี 22 การเกิดรากแขนงจาก pericycle (ท่ีมา : http://www.eou.edu/~kantell/img0020.jpg )

3. ชนิดของราก 3.1 จําแนกตามแหลงกําเนิด 1. primary root

คือรากท่ีเกิดจาก radicle อาจเรียกอีกอยางวา รากแกว(tap root) ลักษณะรูปรางจะใหญและเรียวลง

2. secondary root

เปนรากท่ีเจริญมาจากเน้ือเยือ่เพอริไซเคิล(pericycle)ของ primary root อาจเรียกอีกอยางหนึ่งวา รากแขนง(lateral root)

รูปท่ี 23 รากแกวท่ีเจริญมาจาก radicle ของเมล็ด (ท่ีมา http://www.puc.edu/Faculty/Gilbert_Muth/art0001.jpg )

Page 5: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 5 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

3. adventitious root

เปนรากท่ีมาจากสวนอ่ืนๆท่ีไมไดเกิดจาก radicle และ pericycle ของ primary root ตัวอยางเชน รากคํ้าจุน(prop root)ในขาวโพด เปนตน

รูปท่ี 24 รากค้ําจุน(prop root) ของตนขาวโพด (ท่ีมา http://www.cropsci.uiuc.edu/classes/cpsc121/images/PlantSystems/Cornproproots.jpg)

3.2 จําแนกตามรูปรางลักษณะการแผกระจายไปในดนิ

1. ระบบรากแกว (Tap root system) สวนใหญจะประกอบดวยรากแกวและรากแขนงลอมรอบ ขนาดของรากจะใหญและเรียวลง พบในพืชใบเล้ียงคูเปนสวนใหญ

2. ระบบรากฝอย(Fibrous root system) เปนรากเสนเล็กๆมากมาย ขนาดโตสม่ําเสมอกัน แผไปทุกทิศทุกทางรอบอาณาเขต พบในพืชใบเล้ียงเดี่ยวเปนสวนใหญ

รูปท่ี 25 ระบบรากแกวและระบบรากฝอย (ท่ีมา http://scidiv.bcc.ctc.edu/rkr/Biology203/lectures/roots/roots.html )

Page 6: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 6 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

3.3 จําแนกตามรูปรางและหนาท่ี 1. Prop root (รากคํ้าจุน) เปนรากท่ีแตกออกมาจากขอของลํ้าตน แลวพุงทแยงลงไปในดินเพื่อชวยพยุงลําตนเอาไว ไมใหลมงาย เชน รากขาวโพด รากโกงกาง เปนตน

รูปท่ี 26 รากค้ําจุน(prop root) (ท่ีมา http://www.sinica.edu.tw/~hastwww/glossary/image/propr.jpg

http://www.botgard.ucla.edu/html/botanytextbooks/generalbotany/typesofroots/a1384tx.html) 2. climbing root (รากเกาะ) เปนรากท่ีมักแตกออกตามขอของลําตน ใชเกาะตามหลักหรือเสาเพ่ือพยุงลําตนใหติดแนนแลวข้ึนท่ีสูง เชน รากของตนพลูดาง เปนตน

รูปท่ี 27 พลูดาง (ท่ีมา http://www.maipradab.com/maipradabin/poodang.htm )

Page 7: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 7 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

3. Photosynthetic root (รากสังเคราะหดวยแสง) เปนรากท่ีมีสีเขียวของคลอโรฟลล ทําหนาท่ีในการสังเคราะหดวยแสง เชน รากกลวยไม

รูปท่ี 28 รากกลวยไม (ท่ีมา http://www.life.uiuc.edu/plantbio/digitalflowers/Orchidaceae/7.htm )

4. Respiratory root or Aerating root (รากหายใจ) เปนรากท่ีชวยในการหายใจเปนพิเศษ รากชนิดนีแ้ทนท่ีจะงอกลงไปในดินกลับชูปลายข้ึนมาเหนือพื้นดินหรือผิวน้ํา บางทีก็ลอยตามผิวน้ํา เชน รากแสม ลําพู ผักกระเฉด เปนตน 5. Parasitic root / Haustorium root (รากกาฝาก) เปนรากของพชืบางชนิดท่ีปลายรากจะแทงลงไปถึงทอ xylem , phloem ของลําตนพืชท่ีไปอิงอาศัย(host) เพื่อแยงดูดน้าํและอาหาร เชน รากของตนกาฝาก เปนตน 6. Storage root (รากสะสมอาหาร) เปนรากท่ีทําหนาท่ีสะสมอาหารไว

รูปท่ี 29 แครอท (ท่ีมา http://www.thai.net/kaset_online/image/VEGET17.JPG)

Page 8: โครงสร างและหน าที่ของรากnana-bio.com/Medium/text/root.pdf · โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 8 สาขาวิชาชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนวิชาชีววิทยา 4 (ว 40144) ปการศึกษา 2549 โครงสรางและหนาท่ีของราก

รูปท่ี 30 หัวไชเทา (ท่ีมา http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/plant/herb_sub11.htm)

เอกสารอางอิง เกษม ศรีพงษ. คูมือเตรียมสอบ ชีววิทยา ม.5 เลม 3 ว 049. สํานักพิมพภูมิบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร. เชาวน ชิโนรักษ และพรรณี ชิโนรักษ. 2541. ชีววิทยา 3. สํานักพิมพศิลปาบรรณาคาร. กรุงเทพมหานคร.

ปรีชา สุวรรณพินิจและนงลักษณ สุวรรณพินิจ. คูมือเตรียมสอบ ชีววทิยา 3 ว 049 . บริษัทไฮเอ็ดพลับลิชช่ิง จํากัด. กรุงเทพมหานคร.

ประสงค หลําสะอาด และจติเกษม หลําสะอาด. ชีววิทยา ม. 5 ว 049. สํานักพิมพ พ.ศ. พัฒนา จํากดั. กรุงเทพมหานคร.

พัชรี พิพัฒวรรณกุล. 2542. หนังสือเสริมประสบการณ ชีววิทยา 3 ช้ัน ม. 5 (ว 049). สํานักพิมพฟสิกสเซ็นเตอร. กรุงเทพมหานคร.

ภูวดล บุตรรัตน. 2543. โครงสรางภายในของพืช. พิมพคร้ังท่ี 6. สํานักพิมพไทยวฒันาพานิช จํากัด. กรุงเทพมหานคร.

เทียมใจ คมกฤส. 2542. กายวภิาคของพฤกษ. พิมพคร้ังท่ี 4. สํานักพมิพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพมหานคร.