รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ....

24
1 1 รายงาน มคอ. 7 การรายงานผลดาเนินงานของหลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหกิจศึกษา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556) สาขาวิชาสหกิจศึกษา สานักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจาปีการศึกษา 2557 วันที่รายงาน 30 กรกฎาคม 2558 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป รหัสหลักสูตร อยู่ระหว่างการประสานกับ สกอ. 1.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร มคอ.2 ปัจจุบัน หมายเหตุ 1. ศ. ดร.ประสาท สืบค้า 1. ผศ. ดร.บุญชัย วิจิตรเสถียร ปรับปรุงโดยความ เห็นชอบของคณะ กรรมการบริหาร จัดการหลักสูตร 2. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 2. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 3. ผศ. ดร.ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร 3. อ. ดร.นฤมล รักษาสุข 4. ผศ. ดร.บุรทิน ขาภิรัฐ 4. ผศ. ดร.บุรทิน ขาภิรัฐ 5. อ. ดร.พีรศักดิสิริโยธิน 5. อ. ดร.พีรศักดิสิริโยธิน 1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มคอ.2 ปัจจุบัน หมายเหตุ 1. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 1. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 2. ผศ. ดร.บุรทิน ขาภิรัฐ 2. ผศ. ดร.บุรทิน ขาภิรัฐ 3. อ. ดร.พีรศักดิสิริโยธิน 3. อ. ดร.พีรศักดิสิริโยธิน 1.3 อาจารย์ผู้สอน 1. ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน 2. ศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล 5. รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณี แกมเกตุ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ฑีฆชุณหเถียร 7. อาจารย์ ดร.เพชรา พิพัฒน์สันติกุล

Transcript of รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ....

Page 1: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

1

1

รายงาน มคอ. 7 การรายงานผลด าเนินงานของหลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาสหกิจศึกษา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556)

สาขาวิชาสหกิจศึกษา ส านักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจ าปีการศึกษา 2557

วันที่รายงาน 30 กรกฎาคม 2558

หมวดที ่1 ข้อมูลทัว่ไป รหัสหลักสูตร อยู่ระหว่างการประสานกับ สกอ. 1.1 อาจารย์ประจ าหลักสูตร

มคอ.2 ปัจจุบัน หมายเหตุ 1. ศ. ดร.ประสาท สืบค้า 1. ผศ. ดร.บุญชัย วิจิตรเสถียร ปรับปรุงโดยความ

เห็นชอบของคณะ กรรมการบริหารจัดการหลักสูตร

2. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 2. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 3. ผศ. ดร.ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร 3. อ. ดร.นฤมล รักษาสุข 4. ผศ. ดร.บุรทิน ข าภิรัฐ 4. ผศ. ดร.บุรทิน ข าภิรัฐ 5. อ. ดร.พีรศักดิ์ สิริโยธิน 5. อ. ดร.พีรศักดิ์ สิริโยธิน

1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

มคอ.2 ปัจจุบัน หมายเหตุ 1. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 1. รศ. ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 2. ผศ. ดร.บุรทิน ข าภิรัฐ 2. ผศ. ดร.บุรทิน ข าภิรัฐ 3. อ. ดร.พีรศักดิ์ สิริโยธิน 3. อ. ดร.พีรศักดิ์ สิริโยธิน

1.3 อาจารย์ผู้สอน

1. ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน 2. ศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล 5. รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณี แกมเกตุ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวชัชยั ฑีฆชุณหเถียร 7. อาจารย์ ดร.เพชรา พิพัฒน์สันติกุล

Page 2: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

2

2

8. อาจารย์ ดร.ถมรัตน์ ศิริภาพ 9. ดร.สุเมธ แยม้นุ่น 10. ดร.พิพัฒน์ วีระถาวร 11. ดร.สัมพันธ์ ศิลปนาฎ 12. รองศาสตราจารย์ ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญชยั วิจิตรเสถียร 14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนิติยา เถื่อนนาดี 15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุรทิน ข าภิรัฐ 16. อาจารย์ ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย 17. อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข 18. อาจารย์ ดร.ธีระสุต สุขก าเนิด 19. อาจารย์ ดร.วรพจน์ สุทธิสัย 20. อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์ สิริโยธิน

1.4 สถานที่จัดการเรียนการสอน

ห้องเรียนทางไกล ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา (F7), หน่วยประสานงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี กรุงเทพมหานคร, วิจิตรภาคียสถาน จังหวัดนนทบุรี, อาคารเรียนรวม อาคารวิชาการ

1.5 การก ากับให้เป็นไปตามมาตรฐาน (องค์ประกอบที่ 1) ข้อที่ เกณฑ์การประเมิน ผลการด าเนินงาน

1 จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสูตร

1. จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสูตรผ่านตามเกณฑ์คือ มีผู้ด ารงด ารงต าแหน่งทางวิชาการ 3 คน (รองศาสตราจารย์และผู้ช่วยศาสตราจารย์) 1. รองศาสตราจารย์ ดร. วีรพงษ์ พลนิกรกิจ และ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บญุชัย วิจิตรเสถียร 3. ผู้ชว่ยศาสตราจารย์ ดร.บุรทิน ข าภิรัฐ

2. อาจารย์ประจ าหลักสูตรมีระดับปริญญาเอก ทั้ง 5 คน 2 คุณสมบัติอาจารย์ประจ า

หลักสูตร 1. อาจารย์ประจ าหลักสูตร 5 คน มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกเป็นไป

ตามเกณฑ์ 2. ด ารงต าแหน่งทางวิชาการระดับ รองศาสตราจารย์ 1 คน ผู้ช่วย

ศาสตราจารย์ 2 คน ทุกคนมีผลงานวิจัยที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา (เอกสารแนบหมายเลข 1)

3 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกเป็นไปตามเกณฑ์ทั้ง 3 คน (เอกสารแนบหมายเลข 1)

Page 3: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

3

3

ข้อที่ เกณฑ์การประเมิน ผลการด าเนินงาน 4 คุณสมบัติของอาจารย์

ผู้สอน 1. อาจารย์ผู้สอนทั้งอาจารย์ประจ าและอาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิ

การศึกษาท้ังในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกตรงตามรายวิชาที่สอน

2. อาจารย์ผู้สอนทุกคนมีประสบการณ์ด้านการสอนเกี่ยวกับรายวิชาไม่น้อยกว่า 5 ปี

5 คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก

1. อาจาย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ทุกคน มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก 2. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ทุกคนมีประสบการณ์ในการท าวิจัย

และมีผลงานวิจัยที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา 3. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ทุกคนมีความช านาญในหัวข้อที่ให้

ค าปรึกษา 6 คุณสมบัติของอาจารย์ที่

ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

1. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก 2. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม สามารถให้ค าแนะน าปรึกษา

เกี่ยวกับหัวข้อที่นักศึกษาท าได้เป็นอย่างดี 7 คุณสมบัติของอาจารย์

ผู้สอบวิทยานิพนธ์ 1. อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์มีจ านวน 5 คน ประกอบด้วย หัวหน้า

สาขาวิชาหรือผู้ที่หัวหน้าสาขาวิชามอบหมาย อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และกรรมการจ านวน 3 คน ซึ่งมีผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 1 คน

2. กรรมการสอบทุกคนมีระดับวุฒิการศึกษาปริญญาเอก และ/หรือมีต าแหน่งทางวิชาการในระดับ รศ. ผศ.

3. กรรมการสอบทุกคนมีผลงานวิจัยที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา

8 การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้ส าเร็จการศึกษา

ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยด าเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่มีชื่อในวารสารสากล หรือฐานข้อมูลที่ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ก าหนด หรือฐานข้อมูล ICT Tier 1, 2 โดยไม่ยอมรับวารสารที่มีชื่อปรากฏใน Beall’s list: Predatory open-access journals หรือผลิตโดยส านักพิมพ์ที่มีชื่อใน Beall’s list: Predatory open-access publishers ในช่วงเวลาที่ผลงานได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนั้น เนื่องจากเป็นหลักสูตรที่เพ่ิงเปิดการเรียนการสอนในปี พ.ศ. 2556 จึงยังไม่มีผลงานตีพิมพ์ของผู้ส าเร็จการศึกษา

Page 4: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

4

4

ข้อที่ เกณฑ์การประเมิน ผลการด าเนินงาน 9 ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ์ 1. ให้ค าแนะน าปรึกษาแก่นักศึกษาเก่ียวกับวิธีการศึกษาและวิจัย

รวมทั้งปัญหาที่เกิดข้ึนในขณะที่นักศึกษาด าเนินการศึกษาและวิจัย 2. ให้ค าแนะน าปรึกษานักศึกษาเกี่ยวกับการเขียนวิทยานิพนธ์ ทั้งใน

เชิงวิชาการและเชิงภาษา 3. ประเมินความคืบหน้าของการท าวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาในแต่ละ

ภาคการศึกษา และรายงานผลการประเมินต่อหัวหน้าสาขาวิชา 4. พิจารณาความเห็นชอบการจัดสอบวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาต่อ

หัวหน้าสาขาวิชา 5. เป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์

10 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์มีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระมีผลงานโดยเฉลี่ยปีละ 1 เรื่องต่อคน

11 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่ก าหนด

ยังไม่มีการปรับปรุงหลักสูตร เนื่องจากเพ่ิงเปิดท าการเรียนการสนอในปี พ.ศ. 2556

12 การด าเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้ผลการด าเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา (ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 ถึง 5) (ดูในหัวข้อ 4.2)

มีการด าเนินครบห้าข้อแรกและด าเนินการได้ทั้งหมด 11 ข้อ จาก 12 ข้อ (ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 - 5 ต้องด าเนินการทุกตัว)

หมวดที ่2 อาจารย์ มีกระบวนการและผลการด าเนินงานตามตัวบ่งชี้ต่อไปนี้ (องค์ประกอบท่ี 4)

ตัวบ่งชี้ ระบบ กลไก และผลการด าเนินงาน 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ การเตรียมการส าหรับอาจารย์ใหม่

1. มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย/สาขาวิชา หลักสูตร/รายวิชาที่สอนและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของ

Page 5: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

5

5

ตัวบ่งชี้ ระบบ กลไก และผลการด าเนินงาน นักศึกษา

2. มีระบบมิตราจารย์ ให้อาจารย์ที่มีประสบการณ์ท าหน้าที่พ่ีเลี้ยงให้ค าปรึกษาท้ังในด้านการเรียนการสอนและการวิจัย

3. ส่งเสริมคณาจารย์ให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพ่ือส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือต่างประเทศ หรือการลาเพ่ือเพ่ิมพูนประสบการณ์

การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ การพัฒนาทักษาการเรียนการสอน การวัดและการ

ประเมินผล 1. ส่งเสริมคณาจารย์ให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างเสริม

ประสบการณ์เพ่ือส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือต่างประเทศ หรือการลาเพื่อเพ่ิมพูนประสบการณ์

2. การเพ่ิมพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการวัดและการประเมินผลให้มีประสิทธิภาพโดยสถานพัฒนาคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย

การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอ่ืนๆ 1. ส่งเสริมให้คณาจารย์มีส่วนร่วมหรือมีบทบาทส าคัญใน

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชน 2. มีกลไกกระตุ้นและสนับสนุนคณาจารย์ในการท า

ผลงานวิชาการและการก้าวสู่ต าแหน่งทางวิชาการ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการท าวิจัยและตีพิมพ์ผลงาน

ทางวิชาการ เพื่อพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการเรียนการสอนตลอดจนความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา

การรับคณาจารย์ใหม่

Page 6: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

6

6

ตัวบ่งชี้ ระบบ กลไก และผลการด าเนินงาน 1. คณาจารย์ประจ าต้องมีคุณวุฒิเป็นไปตามประกาศ

กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548

2. ผ่านการคัดเลือกและสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการของมหาวิทยาลัย เพ่ือให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรตลอดจนวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย

การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและการทบทวนหลักสูตร

คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอนประชุมร่วมกันในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนและให้ความเห็นต่อการประเมินผลทุกรายวิชา รวมทั้งเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทางท่ีจะท าให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตรและได้บัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามประสงค์ (เอกสารแนบหมายเลข 5) การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ

อาจารย์พิเศษหรือวิทยากรผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายรายวิชาต่างๆ ต้องมีคุณสมบัติตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ พ.ศ. 2536 และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ และผู้สอนของมหาวิทยาลัย ตามมติสภาวิชาการครั้งที่ 1/2542 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2542

4.2 คุณภาพอาจารย์ - ด้านร้อยละของอาจารย์ประจ าหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกท้ัง 5 คน

- ด้านร้อยละของอาจารย์ประจ าหลักสูตรที่ด ารงต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ รวมกันร้อยละ 60 ของอาจารย์ประจ าหลักสูตรที่ด ารงต าแหน่งทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 1)

Page 7: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

7

7

ตัวบ่งชี้ ระบบ กลไก และผลการด าเนินงาน

- ผลงานวิชาการของอาจารย์ในปี 2557 อาจารย์ประจ า

หลักสูตรได้มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการจ านวน 11 ผลงาน (เอกสารแนบหมายเลข 6)

4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ - ด้านอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ 100 % - ด้านความพึงพอใจของอาจารย์ทั้งอาจารย์ประจ าหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับการพัฒนาอาจารย์ อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการหลักสูตรและการพฒนาคณาจารย์

หมวดที ่3 นักศึกษาและบัณฑิต 3.1 ข้อมูลนักศึกษา ปีการศึกษาที่รับเข้า (ตั้งแต่ปีการศึกษาที่เริ่มใช้หลักสูตร)

จ านวนนักศึกษาคงอยู่ (จ านวนจริง) ในแต่ละปีการศึกษา (คน) 2556 2557

2556 9 9 2557 4 4

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อจ านวนนักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร และเจ้าหน้าทีจ่ากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ยังไม่เข้าใจการท างานเกี่ยวกับสหกิจศึกษา และยังไม่ค่อยตระหนักถึงความส าคัญในการท าสหกิจศึกษา 3.2 กระบวนการและผลการด าเนินงานตามตัวบ่งช้ีต่อไปนี้ (องค์ประกอบที่ 3)

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน 3.1 การรับนักศึกษา ด้านกระบวนการรับนักศึกษา

1. พิจารณาใบสมัครและประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบข้อเขียน 2. สอบข้อเขียน 3. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาตามคะแนนของการสอบข้อเขียน 4. ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ 5. สอบสัมภาษณ์ โดยคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก 6. กรรมการส่งคะแนนสัมภาษณ์แล้วส่งไปยังศูนย์บริการการศึกษา เพ่ือประกาศผล

การพิจารณาการรับเข้าศึกษาในหลักสูตร

Page 8: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

8

8

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน ด้านการเตรียมความพร้อมก่อนการเข้าศึกษา

1. มอบคณาจารย์ที่ปรึกษาท าหน้าที่ให้ค าปรึกษาทางวิชาการและอ่ืนๆ และจัดปฐมนิเทศเพ่ือแนะน าการวางแผนการเรียน เทคนิคการเรียน การท างานวิจัย การแบ่งเวลา

2. เสริมการเตรียมความพร้อมด้านทักษะการวิจัยตามความเหมาะสม

ด้านคุณสมบัติของนักศึกษาที่ต้องการ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีว่าด้วยการศึกษาขั้น

บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 กระบวนการประชามสัมพันธ์หลักสูตร

1. ประชาสัมพันธ์ข่าวสารผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น เฟสบุคสาขาวิชา เว็บไซต์ของสาขาวิชา อีเมลโดยตรงถึงผู้ที่สนใจในหลักสูตร และกับผู้ที่ผ่านการอบรมกับสมาคมสหกิจศึกษาไทย เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่น่าสนใจและรู้จักส าหรับบุคคลภายนอก

2. ส่งหนังสือประชาสัมพันธ์ แนบโบชัวร ์แผ่นพับ พร้อมรายละเอียดต่างๆที่เกี่ยวกับหลักสูตร ส่งไปยังผู้ที่ผ่านการอบรมกับทางสมาคมสหกิจศึกษาไทย และส่งไปยังหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เว็บไซต์สาขาวิชาสหกิจศึกษา เฟสบุคสาขาวิชาสหกิจศึกษา

3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

ด้านการควบคุมระบบการดูแลการให้ค าปรึกษาวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา

1. จัดท าคู่มือการจัดท าวิทยานิพนธ์ ให้นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา 2. จัดท าแบบฟอร์มการขอพบอาจารย์ที่ปรึกษาพร้อมรายงานความก้าวหน้า ซึ่ง

ในรายละเอียดของแบบฟอร์ม อาจารย์ที่ปรึกษาเซ็นต์ผ่านอย่างน้อย 8 ครั้ง แสดงว่าถึงความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา

3. มีการก าหนดให้นักศึกษาลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ จ านวน 3 หน่วยกิตในภาคการศึกษาท่ี 1 ของปีที่ 2

4. นักศึกษาต้องปรึกษาและได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ก่อนลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ทุกครั้ง

Page 9: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

9

9

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน 5. นักศึกษาในระดับปริญญาเอกต้องสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ภายในปีที่ 5 ใน

กรณีท่ีนักศึกษาไม่สามารถด าเนินการได้ คณะกรรมการประจ าหลักสูตรฯ จะด าเนินการพิจารณาการเรียนของนักศึกษา

6. นักศึกษาที่ยังไม่สอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ สามารถลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา และรวมไม่เกิน 12 หน่วยกิตของรายวิชาวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต

7. นักศึกษาที่สอบโครงร่างวิทยานิพนธ์แล้ว ต้องแก้ไขและส่งโครงร่ างวิทยานิพนธ์ต่อสาขาวิชาสหกิจศึกษา ส านักวิชาเทคโนโลยีสังคมภายใน 30 วัน

8. นักศึกษาที่ต้องการส าเร็จการศึกษาในภาคการศึกษาที่สอบวิทยานิพนธ์ นักศึกษาต้องสอบก่อนวันเปิดภาคการศึกษาถัดไป ไม่น้อยกว่า 30 วัน และต้องส่งเล่มวิทยานิพนธ์ที่แก้ไขเสร็จแล้วภายใน 30 วันหลังสอบ (เอกสารแนบหมายเลข 2)

การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

1. น าผลการประเมินที่เป็นผลสะท้อนกลับจากการปฏิบัติสหกิจศึกษา เป็น Input ในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร

2. น าผลประเมินมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้นอย่างตื่อเนื่อง 3. การมอบหมายงานให้นักศึกษาจัดท ากรณีศึกษาของมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน

ของนักศึกษา เพ่ือด าเนินงานสหกิจศึกษาอย่างยั่งยืน และน าเสนอผลงานที่แสดงให้เห็นถึงองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมขององค์กรและบุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดสหกิจศึกษา การสร้างความร่วมมือในการจัดสหกิจศึกษากับภาคีต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน และกลยุทธ์ในการสร้างพันธมิตรสหกิจศึกษาอย่างยั่งยืน

4. มีความสามารถประยุกต์ผลงานการวิจัย ค้นคว้าไปสู่การปฏิบัติได้จริง หลักสูตรก าหนดให้นักศึกษามีการท าวิทยานิพนธ์ ดังนั้นนักศึกษาจึงต้องเรียนรู้ระเบียบวิธีวิจัยและสามารถท าการวิจัยและพัฒนาได้

5. การเรียนการสอนในรายวิชาก าหนดให้มีการประเมินความรู้ทางวิชาการ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ผลงานการออกแบบงานวิจัย และรายงานการศึกษางานวิจัยทางสหกิจศึกษา

6. การเรียนการสอนในรายวิชาก าหนดให้มีการประมวล วิเคราะห์แนวโน้มของความเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงการจัดสหกิจศึกษาในประเทศและใน

Page 10: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

10

10

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน ต่างประเทศ การอภิปรายกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ด้านมาตรการส่งเสริมสหกิจศึกษาในประเทศและนานาชาติ มอบหมายให้นักศึกษาสัมภาษณ์ผู้บริหาร หรือผู้รับผิดชอบการจัดสหกิจศึกษาของสถานศึกษาและสถานประกอบการถึงแนวโน้มความเคลื่อนไหวหรือการเปลี่ยนแปลงการจัดสหกิจศึกษาในหน่วยงาน

3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ด้านอัตราการคงอยู่ ข้อมูลจ านวนนักศึกษา นับถึงสิ้นปีการศึกษา 2557 เป็นดังนี้

ปีการศึกษา

ที่รับเข้า

จ านวน

ที่รับเข้า

จ านวนที่

ส าเร็จ

การศึกษา

จ านวนที่

คงอยู่

จ านวน

ที่หายไป

2556 9 - 9 -

2557 4 - 4 -

ด้านการส าเร็จการศึกษา ยังไม่มีผู้ส าเร็จการศึกษา ด้านความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา (รายงานผลการด าเนินงานบางด้าน = 1 คะแนน) (รายงานผลการด าเนินงานทุกด้าน = 2 คะแนน) (เพ่ิมแสดงแนวโน้มผลการด าเนินงานที่ดีขึ้นในบางด้าน = 3 คะแนน ต้องมี 3 ชุดข้อมูลแสดงแนวโน้มได้) (เพ่ิมแสดงแนวโน้มผลการด าเนินงานที่ดีขึ้นในทุกด้าน = 4 คะแนน) (เพ่ิมแสดงผลการด าเนินงานที่โดดเด่น เทียบกับหลักสูตรในสถาบันกลุ่มเดียวกัน = 5 คะแนน)

3.3 จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษา ยังไม่มีผู้ส าเร็จการศึกษา ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการส าเร็จการศึกษา ยังไม่มีผู้ส าเร็จการศึกษา 3.4 บัณฑิต (องค์ประกอบที่ 2)

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน

Page 11: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

11

11

2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

-

2.2 (โท) ผลงานของนักศึกษาและผู้ส าเร็จการศึกษาในระดับปรญิญาโท ที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่

-

2.2 (เอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้ส าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่

-

3.5 การเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาและผู้ส าเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

นักศึกษาและผู้ส าเร็จการศึกษา

ชื่อผลงาน แหล่งเผยแพร่ ค่าน้ าหนัก

- - - - วิเคราะห์ผลที่ได้

การเปรียบเทียบกับข้อมูลที่ผ่านมาและสถาบันอื่นที่เปิดสอนสาขาวิชาเดียวกัน เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร

หมวดที ่4 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและคุณภาพการสอนในหลักสูตร 4.1 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตร สรุปรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษาที่ 2557 (น ามาจาก มคอ.5 ของแต่ละวิชา)

รหัส ชื่อวิชา ภาค/ปี

การศึกษา

ร้อยละการกระจายของเกรด จ านวน

นักศึกษา

A B+ B C+ C D+ D F W ไม่ผ่าน

(U)

ผ่าน

(P,S)

ลงทะ

เบียน

สอบ

ผ่าน

201502 วิทยานิพนธ์ดุษฎบีัณฑิต 1/2557 100 9 9

201101 สหกิจศึกษา: แนวคิดและ

แนวปฏบิัต ิ

2/2557

100 3 3

201102 ประเด็นปัญหาและ

แนวโน้มการจัดสหกจิ

ศึกษา

33.33 66.67 3 3

Page 12: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

12

12

201103 สถิติและวิธวีิจัยการศึกษา 33.33 33.33 33.33 3 3

201104 การวิจัยสถาบัน 33.33 66.67 3 3

201502 วิทยานิพนธ์ดุษฎบีัณฑิต 100 9 9

201201 การอุดมศึกษา

3/2557

50 50 4 4

201204 กลยุทธ์ในการพัฒนา

อาชีพ 33.33 33.33 33.33 3 3

201302 วิทยานิพนธ์ดุษฎบีัณฑิต 66.67 33.33 3 3

201301 สัมมนา: การออกแบบ

งานวิจัย 33.33 33.33 33.33 3 3

201502 วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต 100 9 9

4.2 คุณภาพหลักสูตร การเรียนการสอนและการประเมินผล (องค์ประกอบท่ี 5)

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร หลั กสู ต รฯ นี้ เ ป็ น วิ ช าชีพประ เภทสหวิท ยาการ

(Interdisciplinary) บุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นนักวิชาการเฉพาะศาสตร์ที่น าความรู้ด้านสหกิจศึกษาไปประยุกต์ต่อยอดวิชาชีพ จึงควร ได้ รั บการศึ กษาอบรม เ พ่ิม เติ มหลั กสู ตรฯ ในระดับบัณฑิตศึกษาต่อยอดจากคุณวุฒิเดิม การจัดสหกิจศึกษาที่ท าต่อเนื่องมา 20 ปี ท าให้มหาวิทยลัยเทคโนโลยีสุรนารีมีผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และผลงานทางวิชาการด้านสหกิจศึกษา พร้อมที่จะให้บริการการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาด้านนี้ โดยมุ่งการผลิตบุคลากรมืออาชีพที่สามารถปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าวิจัย การด าเนินงานและการพัฒนาสหกิจศึกษาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เพ่ือท าหน้าที่ด้านบริหาร การจัดการ การนิเทศ การประเมินผล การวิจัยและการพัฒนางานสหกิจศึกษาทั้ งในสถานศึกษาและในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและภาคเอกชน วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เพ่ือผลิตและพัฒนาบุคลากรสาขาวิชาสหกิจศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาตามมาตรฐานวิชาการและมาตรฐานสหกิจศึกษา

Page 13: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

13

13

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน กระบวนการปรับปรุงหลักสูตร

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการปรับหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยมีการมอบหมายอาจารย์ประจ าหลักสูตรแต่ละคนไปศึกษาค้นคว้า ส ารวจกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดส าหรับหลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิตกลุ่มทีส่อดคล้องกับสาขาวิชาของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในระดับสากล และ ระดับประเทศ เพ่ือวิเคราะห์และสังเคราะห์ลักษณะของการก าหนดหลักสูตรรายวิชาที่มีความ ทันสมัย ตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายโดยมีการจัดเก็บข้อมูลที่ ใช้ ในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรด้วยวิธีการดังต่อไปนี้

1. จัดท าสนทนากลุ่มบัณฑิต และกลุ่มที่อบรมกับทางสมาคมสหกกิจศึกษา

2. จัดประชุมสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้ งภายในและภายนอก รวมถึงอาจารย์ประจ าหลักสูตรและคณาจารย์ที่เก่ียวข้องกับรายวิชาในหลักสูตร

3. ส ารวจความคิดเห็นด้านเนื้อหาของหลักสูตร เพ่ือปรับแก้ไขให้ทันสมัย และตรงตามวัตถุประสงค์ของเนื้อหาแต่ละรายวิชา

4. จั ด ป ร ะ ชุ ม สั ม ม น า ที่ ป รึ ก ษ า ภ า ย น อ ก แ ล ะคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน

การพิจารณาการก าหนดผู้สอน 1. คณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรก าหนดผู้สอน โดย

พิจารณาจากเอกสาร ผลงานวิจัย ความเชี่ยวชาญ และประวัติการสอนของอาจารย์แต่ละท่าน

2. คณะกรรมการฯ ก าหนดรายวิชาให้ผู้สอน หรือผู้ดูแลรายวิชาหลัก เพ่ือจัดหาคณาจารย์ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญแต่ละด้าน มาร่วมสอนในรายวิชาต่างๆ

3. มีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาเป็นอาจารย์พิเศษ โดยให้ อาจารย์ ผู้ รั บผิ ดชอบหลั กของรายวิ ช า เข้ า ไปสังเกตการณ์ร่วมกับการสอนของอาจารย์พิเศษ

4. ร้อยละ 80 ของรายวิชาได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มาเป็นอาจารย์พิเศษ และก าหนดให้ผู้รับผิดชอบวิชานั้นๆ เข้าไปเรียนรู้ จากการสัง เกตุการสอนของอาจารย์

Page 14: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

14

14

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน ผู้ทรงคุณวุฒิ

การก ากับ ติดตาม และการตรวจสอบการจัดท า มคอ.3 และ มคอ.4

1. สาขาวิชาฯ มีกลไกก าหนดให้อาจารย์ผู้ รับผิดชอบรายวิชาหลักแต่ละรายวิชาจะต้องส่ง มคอ.3 ก่อนวันปิดภาคการศึกษา

2. สาขาวิชาฯ ก ากับให้ผู้สอนจัดท า มคอ.3 และ มคอ.4 3. ก าหนดให้มีการประเมินสอนปลายภาค และวิเคราะห์

คุณภาพของการสอนในมุมมองของผู้เรียน โดยผลการประเมินของผู้เรียน จะส่งถึงอาจารย์ผู้สอนแต่ละท่าน และน าเข้ าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรในครั้งต่อไป เพ่ือจะได้ปรับปรุง เพ่ิมเติม และพัฒนาการเรียนการสอนสอนในครั้งต่อไป

การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ให้สอดคล้องกับหลักสูตร 1. มีการ เตรี ยมความพร้อมนักศึกษาส าหรับการท า

วิทยานิพนธ์ตามรูปแบบของมหาวิทยาลัยก่อนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาสัมมนาวิทยานิพนธ์ โดยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการอุดมศึกษา การวิจัยสถาบัน การคิดวิเคราะห์ และศาสตร์ด้านต่างๆ เป็นผู้แนะแนวทาง และให้ข้อคิดในการท างานวิจัยวิทยานิพนธ์ส าหรับนักศึกษา

2. ส าหรับวิชาสัมมนาเกี่ยวกับการวิจัย คณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรก าหนดผู้สอนที่มีประสบการณ์สูงด้านการวิจัยเป็นผู้สอน

3. นักศึกษาจะได้รับค าแนะน าเกี่ยวกับขั้นตอนการท าวิทยานิพนธ์ในวิชาที่เกี่ยวกับการวิจัยขณะศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ซึ่งนักศึกษาจะเลือกท าหัวข้อวิจัยตามความสนใจของตนเองภายใต้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา

4. มีการจัดสัมมนา เพ่ือติดตามความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการท างานวิจัยและวิทยานิพนธ์

5. ในช่วงเปิดภาคแรกของนักศึกษาชั้นที่ 2 นักศึกษาเสนอร่างหัวข้อวิทยานิพนธ์แก่คณะกรรมการบริหารจัดการ

Page 15: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

15

15

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน หลักสูตร โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

6. คณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรพิจารณาหัวข้อและแนวทางในการท าวิจัย รวมถึงระยะเวลาในการท างานวิจัย เพ่ือให้นักศึกษาสามารถท าวิจัยและส าเร็จการศึกษาทันตามก าหนด

7. คณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรก าหนดให้นักศึกษาสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ภายในภาคการศึกษาที่ 2/2558 โดยใช้เวลาในการสอบประมาณ 3 ชั่วโมง

8. คณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรแต่งตั้งกรรมการสอบโครงร่ างวิทยานิพนธ์ โดยมีผู้ ทรงคุณวุฒิจากภ าย นอกจ า น ว น 1 ค น ซึ่ ง มี คุ ณ วุ ฒิ ต ร งต าม ที่มหาวิทยาลัยก าหนด

9. นักศึกษาเสนอแผนการท าวิจัยวิทยานิพนธ์ที่ได้รับอนุมัติแก่อาจารย์ที่ปรึกษา

การแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์

1. การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จะค านึงถึงปริมาณงานของอาจารย์ด้วย โดยไม่ให้เกิน 1 : 5 ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. ก าหนด

2. การแต่งตั้งกรรมการโดยมีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เน้นบุคคลที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในหัวข้อวิทยานินพนธ์

3. การแต่งตั้งคณะกรรมการในการสอบของนักศึกษา มีความเหมาะสมของกรรมการสอบ มีต าแหน่งทางวิชาการ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ

การช่วยเหลือ ก ากับ ติดตามในการท าวิทยานิพนธ์ 1. นักศึกษาต้องรายงานความก้าวหน้าในการท าวิจัยแก่

คณะกรรมการประจ าส านักวิชาฯ โดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

2. หลักสูตรสนับสนุนให้มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยให้นักศึกษาจัดท าบทความวิจัยในช่วงที่ก าลังท าวิทยานิพนธ์ โดยสามารถน าผลงานการวิจัยบางส่วนไปน าเสนอในงานประชุมวิชาการในประเทศหรือต่างประเทศ

3. อาจารย์ที่ปรึกษาสนับสนุนให้นักศึกษาท าบทความวิจัยไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติหรือวารสารในประเทศที่ได้รับการรับรองจาก สกอ.

Page 16: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

16

16

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน

5.3 การประเมินผู้เรียน การประเมินผลการเรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตร ประชุมร่วมกัน

เพ่ือพิจารณา มคอ.1 2 3 และ 5 ให้สอดคล้องกัน และให้นักศึกษาได้ความรู้และประสบการณ์ตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ซึ่งแต่ละรายวิชาจะประเมินผู้เรียนจากการการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การน าเสนอหน้าชั้นเรียนและการท าข้อสอบแบบอัตนัย โดยเป็นข้อสอบทั้งทฤษฎี คิดวิเคราะห์ แก้สถานการณ์ และประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ของปัจจุบัน

การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. ผู้สอน หรือผู้ดูแลรายวิชาหลักต้องท าการอธิบาย การให้ระดับคะแนนเกรดของนักศึกษาแต่ละรายวิชา อย่างชัดเจน

2. การก ากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและการประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) ได้มีการติดตามให้มีการจัดท า มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 ให้เสร็จตามก าหนดเวลา คณะกรรมการบริหารจัดการจัดการหลักสูตรมีการ

ประชุมร่วมกันเกี่ยวกับผลการเรียนของนักศึกษาแต่ละรายวิชาทุกครั้งที่จบภาคการศึกษา โดยพิจารณาตาม มคอ.3 ที่อาจารย์แจ้งไว้ ดังนั้น มคอ.3 และ มคอ.5 ต้องสอดคล้องกัน จากนั้นน าผลการเรียนเสนอต่อคณะกรรมการประจ าส านักวิชาเทคโนโลยีสังคม เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว จึงส่งผลไปยังศูนย์บริการการศึกษา เพ่ือประกาศให้นักศึกษาทราบ และในส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาต้องทราบผลการเรียนของนักศึกษาที่ตนเองเป็นที่ปรึกษา เนื่องจากต้องใช้ในการวางแผนการเรียนกับนักศึกษาในการลงทะเบียนในภาคการศึกษาถัดไป การก ากับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และการประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)

1. ผู้สอนต้องก ากับให้ผู้เรียนประเมินผลการสอนของตนเอง

Page 17: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

17

17

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน 2. ผู้สอนมีการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของ

ตนเอง กรรมการมีการจัดท า มคอ.7 วิเคราะห์ Learning outcomes ของผู้เรียน เพ่ือใช้ในการจัดวางรายวิชาหรือกิจกรรมเสริมหลักสูตร

5.4 ผลการด าเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

(จ านวนตัวบ่งชี้ผลการด าเนินงานที่ด าเนินการได้จริงเทียบกับจ านวนตัวบ่งชี้ที่ต้องด าเนินงานทั้งหมดในปีการศึกษา 2557 คูณด้วยร้อย หากมีผลการด าเนินงานได้น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้ 0 คะแนน หากด าเนินการได้ร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน มีรายละเอียด 12 ข้อดังตารางข้างล่างนี้)

ผลการด าเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ตัวบ่งชี้ผลการด าเนินงาน (key

performance indicators)

√ ตามเกณฑ์

X ไม่ตามเกณฑ์

ผลการด าเนินงานและหลักฐาน

1. อาจารย์ประจ าหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพ่ือวางแผน ติดตามและทบทวนการด าเนินงานหลักสูตร

√ หลักสูตรได้จัดการประชุมคณะกรรมการบริหาร

จัดการหลักสูตรปีละ 3 ครั้ง เพ่ือวางแผน ติดตาม

และทบทวนการด าเนินงานของหลักสูตรโดยอาจารย์

ประจ าหลักสูตร 5 คนได้เข้าร่วมประชุมด้วย

(เอกสารแนบหมายเลข 5)

2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี)

√ อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สกอ.

3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้า

√ หลักสูตรให้อาจารย์ผู้ สอนจัดท า มคอ.3 ตาม

แบบฟอร์ม FM 12-8.1 และ FM 12-8.2 ก่อนเปิด

ภาคการศึกษาครบถ้วนตามที่ก าหนดไว้ในระบบ ISO

Page 18: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

18

18

มี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา

(เอกสารแนบหมายเลข 3)

4. จัดท ารายงานผลการด าเนินการของรายวิชา และรายงานผลการด าเนินการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาท่ีเปิดสอนครบทุกรายวิชา

√ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคเรียน ทาง

หลักสูตรก าหนดให้คณาจารย์ผู้สอนรายวิชาจัดท า

รายงานผลการด าเนินงานของรายวิชาตามแบบ

มคอ.5 ครบทุกรายวิชา ภายใน 30 วันหลังสิ้นสุด

ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 ของปี

การศึกษา และส าเนาเก็บไว้ที่หลักสูตร

(เอกสารแนบหมายเลข 4)

5. จัดท ารายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา

√ หลักสูตรจัดท ารายงานผลการด าเนินการเรียบร้อย

แล้ว หลังสิ้นสุดการศึกษาภายใน 60 วัน

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่ก าหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา

√ มีการวัดผลสอบตามท่ีระบุไว้ใน มคอ.3

7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการด าเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว

√ หลั ก สู ต ร เ พ่ิ ม ก ร ณี ศึ ก ษ า แ ล ะ เ พ่ิ ม เ อ ก ส า ร

ประกอบการเรียนการสอน เพ่ือให้นักศึกษาได้ศึกษา

เพ่ิมเติม พร้อมทั้งยกตัวอย่างและร่วมกันอภิปราย

ระหว่างนักศึกษาและคณาจารย์ผู้สอน

8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือ

- -

Page 19: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

19

19

ค าแนะน าด้านการจัดการเรียนการสอน

9. อาจารย์ประจ าหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

√ คณาจารย์ได้รับการพัฒนาทางวิชาการและวิชาชีพที่

เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ

(เอกสารแนบหมายเลข 7)

10. จ านวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี

√ คณาจารย์ผู้สอนได้เข้าร่วมประชุม อบรม และน าเสนอผลงานทั้งในและต่างประเทศ

11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

- ยังไม่มีผู้ส าเร็จการศึกษา

12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ ฌลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

- ยังไม่มีผู้ส าเร็จการศึกษา

รวมตัวบ่งชี้ปีนี้ 9

จ านวนตัวบ่งชี้ที่ด าเนินการ

ผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5

5

ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 100

จ านวนตัวบ่งชี้ในปีที่

ด าเนินการผ่าน

8 เนื่องจากมีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.

2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ

หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา อยู่ระหว่าง

การพิจารณาของ สกอ.

ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดใน

ปีนี ้

ร้อยละ 75

Page 20: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

20

20

4.3 การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ (น ามาจาก มคอ.5 ของแต่ละวิชา)

รหัส ชื่อวิชา ภาคการศึกษา

ความผิดปกติ การตรวจสอบ เหตุที่ท าให้ผิดปกติ มาตรการแก้ไข

4.4 รายวิชาที่ไม่ได้เปิดสอน หรือสอนเนื้อหาไม่ครบ

รหัส ชื่อวิชา ภาค/ปีการศึกษา เหตุผลที่ไม่เปิดสอน มาตรการที่ด าเนินการ

รหัส ชื่อวิชา ภาค/ปีการศึกษา หัวข้อที่ขาด สาเหตุที่ไม่ได้สอน วิธีแก้ไข 4.5 คุณภาพของการสอน รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา (น ามาจากมคอ.5 แต่ละวิชา)

รหัส ชื่อวิชา ภาคการศึกษา มีผลประเมิน

ไม่มีผลประเมิน

แผนการปรับปรุง

ผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

4.6 ประสิทธิผลของกลยุทธ์การสอน

Page 21: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

21

21

มาตรฐานผลการเรียนรู้ สรุปข้อคิดเห็นของผู้สอน และข้อมูลป้อนกลับจากแหล่งต่าง ๆ

แนวทางแก้ไขปรับปรุง

คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ

ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

หมวดที ่5 การบริหารหลักสูตร 5.1 การบริหารหลักสูตร

ปัญหาในการบริหารหลักสูตร ผลกระทบของปัญหาต่อสัมฤทธิผลตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาในอนาคต

5.2 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ (องค์ประกอบที่ 6)

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อธิบายผลการด าเนินงาน

1. ระบบการด าเนินงานของหลักสูตร โดยมีส่วนร่วมของคณาจารย์ประจ าหลักสูตรเพ่ือให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อาจารย์ผู้รับผิดชอบแต่ละรายวิชาได้จัดท า E-learning ในระบบ Moodle ของทางมหาวิทยาลัยที่ได้สร้างช่องทางไว้ให้เป็นตัวกลางในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ และได้ประกาศ และส่งข้อมูลสารสนเทศ ผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชา และผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆ เพื่อให้มีช่องทางการเรียนรู้ให้กับนักศึกษามากขึ้น

2. จ านวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน มีห้องเรียนแบบกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย มีระบบ WI-FI จุดเชื่อมต่อจ านวนมาก มีห้องเรียนทางไกลทั้งที่ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา (F7) และที่หน่วยประสานงาน มทส. – กทม. มีการใช้โปรแกรมส าหรับการเรียนการสอนทางไกลที่เพ่ิงความสะดวกและรวดเร็วในการสื่อสาร เช่น Google hangout

Page 22: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

22

22

ตัวบ่งชี้ ผลการด าเนินงาน มีห้องสัมมนาที่รองรับการการสัมมนา การจัด workshop ที่มีขนาดพอดีกับจ านวนนักศึกษา มีห้องสมุดที่มีหนังสือเฉพาะทางวิชาชีพ

หมวดที ่6 ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมิน 6.1 ผู้ประเมิน (peer review)

ข้อคิดเห็นหรือสาระจากผู้ประเมิน ความเห็นของหลักสูตร/ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อ

ข้อคิดเห็นหรือสาระท่ีได้รับ

การน าไปด าเนนิการวางแผนหรือปรับปรุงหลักสูตร

6.2 ผู้ที่ส าเร็จการศึกษา

ข้อวิพากษ์ที่ส าคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน ……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6.3 การประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ผู้ใช้บัณฑิต) กระบวนการประเมิน ……………………………………………………………………..

ข้อวิพากษ์ที่ส าคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน …………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หมวดที ่7 แผนการด าเนินการเพ่ือพัฒนาหลักสูตร 7.1 ความก้าวหน้าของการด าเนินงานตามแผนที่เสนอในรายงานของปีท่ีผ่านมา

Page 23: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

23

23

แผนด าเนินการ ก าหนดเวลาที่แล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ความส าเร็จของแผน/เหตุผลที่ไม่สามารถด าเนินการได้ส าเร็จ

7.2 ข้อเสนอในการพัฒนาหลักสูตร 1. ข้อเสนอในการปรับโครงสร้างหลักสูตร (จ านวนหน่วยกิต รายวิชาแกน รายวิชาเลือกฯ) 2. ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวิชา (การเปลี่ยนแปลง เพ่ิมหรือลดเนื้อหาในรายวิชา การ

เปลี่ยนแปลงวิธีการสอนและการประเมินสัมฤทธิผลรายวิชาฯ) 3. กิจกรรมการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

7.3 แผนปฏิบัติการใหม่ส าหรับปีการศึกษา 2558 ระบุแผนการปฏิบัติการแต่ละแผน วันที่คาดว่าจะสิ้นสุดแผน และผู้รับผิดชอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

8. การลงนามรับรอง

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคนที่ 1 : รองศาสตราจารย์ ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ ลายเซ็น : ______________________________________ วันที่รายงาน : ___กรกฎาคม 2558______ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคนที่ 2 : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุรทิน ข าภิรัฐ ลายเซ็น : ______________________________________ วันที่รายงาน : ___กรกฎาคม 2558_______ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคนที่ 3 : อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์ สิริโยธิน ลายเซ็น : ______________________________________ วันที่รายงาน : ___กรกฎาคม 2558_______ เห็นชอบโดย : อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์ สิริโยธิน (คณบดีส านักวิชาเทคโนโลยีสังคม) ลายเซ็น : ______________________________________ วันที่รายงาน : ___สิงหาคม 2558________ เอกสารประกอบรายงาน

1. ส าเนารายงานรายวิชาทุกวิชา

Page 24: รายงาน มคอ. 7 หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556soctech.sut.ac.th/docs/QA2557/doctor-ced.pdf · อาจารย์ ดร.พีรศักดิ์

24

24

2. วิธีการให้คะแนนตามก าหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการประเมิน 3. ประสบการณ์สอนและการท าวิจัย ของอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อาจารย์ที่

ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ 4. ผลงานทางวิชาการ และงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจ าหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน 5. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์