บทที่ 4 -...

44
รายงานการศึกษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา .. .... 21 บทที4 รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา .. .... สรุปคําชี้แจง รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา .. .... รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา . . .... นีจัดทําขึ้นตามแนวคิดโครงรางของ คณะทํางานยกรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา .. .... ภายใตคณะอนุกรรมาธิการทรัพยากรน้ํา ในคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สภานิติบัญญัติแหงชาติ มี ๑๑ หมวด และบทเฉพาะกาล รวม ๖๗ มาตรา แบงออกเปนแตละหมวด ดังนีบททั่วไป มาตรา คําจํากัดความ แนวทางในการจัดการทรัพยากรน้ําของหนวยงานตางๆ อยางเปนองครวม และบูรณาการในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน และใหอํานาจแก นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีในการสั่งการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายตอสาธารณะ ใหนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม พระราชบัญญัตินีและใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย มีอํานาจแตงตั้ง พนักงานเจาหนาทีและออกกฎกระทรวง ทั้งนี้ในสวนที่เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของตน หมวด สิทธิในทรัพยากรน้ํา มาตรา - ๑๐ ใหสิทธิในทรัพยากรน้ําเปนของประชาชน โดยรัฐและประชาชนรวมกันในการพัฒนา จัดสรรใหมี ใช และกักเก็บทรัพยากรน้ํา เพื่อการอุปโภคบริโภค การเกษตร การอุตสาหกรรม ในกิจการขนาดใหญ และการอนุรักษสิ่งแวดลอม เจาของหรือผูครอบครองที่ดินซึ่งมีน้ําพุหรือมีน้ําไหลผานตามธรรมชาติ มีสิทธิเก็บกัก หรือใชน้ําไดเทาที่จําเปน ประชาชนมีสิทธิเขาถึงและใชทรัพยากรน้ําอยางพอเพียงและเหมาะสม แตการใชสิทธิ นั้นตองไมเปนการรอนสิทธิผูอื่น

Transcript of บทที่ 4 -...

Page 1: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 21

บทท่ี 4 รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ....

สรุปคําชี้แจง

รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... รางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... นี้ จัดทําขึ้นตามแนวคิดโครงรางของคณะทํางานยกรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ภายใตคณะอนุกรรมาธิการทรัพยากรน้ํา ในคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สภานิติบัญญัติแหงชาติ มี ๑๑ หมวด และบทเฉพาะกาล รวม ๖๗ มาตรา แบงออกเปนแตละหมวด ดังน้ี บททั่วไป มาตรา ๑ – ๗

คําจํากัดความ แนวทางในการจัดการทรัพยากรน้ําของหนวยงานตางๆ อยางเปนองครวมและบูรณาการในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน และใหอํานาจแกนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีในการสั่งการเมื่อเกดิเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายตอสาธารณะ

ใหนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย มีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ และออกกฎกระทรวง ทั้งน้ีในสวนที่เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของตน หมวด ๑ สิทธิในทรัพยากรน้ํา มาตรา ๘ - ๑๐ ใหสิทธิในทรัพยากรน้ําเปนของประชาชน โดยรัฐและประชาชนรวมกันในการพัฒนา จัดสรรใหมี ใช และกักเก็บทรัพยากรน้ํา เพื่อการอุปโภคบริโภค การเกษตร การอุตสาหกรรม ในกิจการขนาดใหญ และการอนุรักษส่ิงแวดลอม เจาของหรือผูครอบครองที่ดินซึ่งมีน้ําพุหรือมีน้ําไหลผานตามธรรมชาติ มีสิทธิเก็บกักหรือใชน้ําไดเทาที่จําเปน ประชาชนมีสิทธิเขาถึงและใชทรัพยากรน้ําอยางพอเพียงและเหมาะสม แตการใชสิทธินั้นตองไมเปนการรอนสิทธิผูอื่น

Page 2: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

22

หมวด ๒ องคกรบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ประกอบดวย สวนที่ ๑ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มาตรา ๑๑ - ๒๒ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ประกอบดวย นายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ กระทรวงหลักและหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูแทนลุมน้ํา ผูแทนผูใชน้ํา ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนองคกรเอกชน และผูทรงคณุวุฒิ

คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ในการจัดทํานโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติ ประสาน เสนอแนะ ใหคําปรึกษา และติดตามประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานตางๆ กําหนดระเบียบการจัดสรรน้ําและหลักเกณฑการใหบริการน้ํา จัดใหมี การรับฟงความคิดเห็นในการดําเนินงานตางๆ กําหนดขอบเขตลุมน้ํา จัดใหมีคณะกรรมการกลุมลุมน้ํา คณะกรรมการลุมน้ํา ประมวลกฎหมายทรัพยากรน้ํา กําหนดใหหนวยงานตางๆ มีขอมูลสารสนเทศทรัพยากรน้ํา และประสานแลกเปลี่ยนกัน จัดใหมีการศึกษาวิจัย รับเรื่องรองทุกข ไกลเกล่ียและตัดสินขอพิพาท จัดตั้งคณะกรรมการดําเนินการในสภาวะวิกฤตโดยมีนายกรัฐมนตรี เปนประธาน

กรรมการผูแทนลุมน้ํา กรรมการผูแทนผูใชน้ํา กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น กรรมการผูแทนองคกรเอกชน และกรรมการผูทรงคุณวุฒิ แตงตั้งโดยนายกรัฐมนตรี และใหมีวาระในการดํารงตําแหนงคราวละ ๔ ป เมื่อพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งไดอีก แตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได สวนที่ ๒ สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มาตรา ๒๓ ใหมี สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ทําหนาที่เลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ เสนอความคิดเห็น และจัดทํานโยบายและแผน มาตรการ แนวทาง ในการจัดการทรัพยากรน้ํา ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของคณะกรรมการกลุมลุมน้ําและคณะกรรมการลุมน้ํา ซึ่งจัดตั้งโดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ เสนอความเห็นเกี่ยวกับการจัดทําแผนและโครงการเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําตอคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ศึกษา วิจัยและสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการ การอนุรักษ การคุมครอง และการฟนฟูทรัพยากรน้ํา ประสานรวบรวมขอมูลสารสนเทศทรัพยากรน้ํา สํารวจ และขึ้นทะเบียน องคกรผูใชน้ําและปฏิบัติการใดๆ ตามที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมอบหมาย

Page 3: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 23

สวนที่ ๓ องคกรผูใชนํ้า มาตรา ๒๔ - ๒๗ หากพื้นที่ใดมีผูใชน้ํารวมกลุมกัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนรวมกันในกลุม ผูใชน้ําเกี่ยวกับการใช การพัฒนา การบริหารจัดการ การฟนฟูและการอนุรักษทรัพยากรน้ํา ในพื้นที่ของตนเอง สามารถจดทะเบยีนเพื่อจัดตั้งองคกรผูใชน้ําได องคกรผูใชน้ําซึ่งไดจดทะเบียนมีฐานะเปนนิติบุคคล โดยมีสิทธิเขามีสวนรวมในการกําหนดแผนการดําเนินงาน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ และในกรณีนี้ไมเปนการตัดสิทธิผูใชน้ําที่จะรวมตัวกันเปนกลุมผูใชน้ําในรูปแบบอื่น หมวด ๓ นโยบายทรัพยากรน้ํา มาตรา ๒๘ - ๓๒

คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจกําหนดนโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติ ซึ่งในการจัดทํานโยบายตองรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ผูประกอบการ และหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ และใหสํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ บรรจุนโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยนโยบายทรัพยากรแหงชาติควรประกอบดวย การจัดสรรน้ํา การชลประทาน การบริหารจัดการพื้นที่แหลงน้ํา การบริหารจัดการน้ําทองถิ่น การบริหารจัดการ ความมั่นคง ความเสี่ยง และบรรเทาวิกฤต การประเมินติดตาม

ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติกําหนดระเบียบการจัดสรรน้ําในภาวะปกติและในสภาวะวิกฤต

ใหมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติ และปรับปรุงนโยบายใหสอดคลองกับความเปนจริง หมวด ๔ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในทางน้ําชลประทาน มาตรา ๓๓ - ๓๕ กรมชลประทานเปนหนวยงานหลักในการบริหารจัดการน้ําในทางน้ําชลประทาน โดยนอกจากที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ การจัดหา การพัฒนา การบริหารจัดการ การฟนฟูและการอนุรักษทรัพยากรน้ําในทางน้ําชลประทาน ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวย การชลประทานหลวง

Page 4: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

24

หมวด ๕ การพัฒนา ฟนฟู คุมครองและอนุรักษทรัพยากรน้ํา มาตรา ๓๖ - ๔๐ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจกําหนดใหการทําโครงการบางประเภท หรือการพิจารณาอนุญาตใหทําโครงการที่อาจสงผลกระทบตอลุมน้ํา ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและหนวยงานที่เกี่ยวของภายในลุมน้ํา และมีอํานาจสั่งใหบุคคลใดหยุดหรือลดการใชทรัพยากรน้ํา หากการใชทรัพยากรน้ําของบุคคลนั้นอาจกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงตอส่ิงแวดลอมในลุมน้ํา รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจกําหนดใหพื้นที่ตนน้ําเปนพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม

หากการใชทรัพยากรน้ําของบุคคลใดอาจกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงตอส่ิงแวดลอมในลุมน้ํา รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีอํานาจส่ังใหบุคคลนั้นหยุดหรือลดการใชทรัพยากรน้ําชั่วคราวได

ใหกรมทรัพยากรน้ําจัดทําแผนที่พื้นที่กลุมน้ํา พื้นที่ลุมน้ํา ขอมูลทะเบียนแหลงน้ําธรรมชาติ พื้นที่ตนน้ํา พื้นที่ชุมน้ํา เสนทางน้ํา พื้นที่เสียงภัยแลง พื้นที่เส่ียงภัยน้ําทวม แนวเขตถอยรน และการใชน้ํา

เพื่อการควบคุมมลพิษทางน้ํา รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการน้ําแหงชาติ มีอํานาจประกาศกําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ํา มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด เขตควบคุมมลพิษ และมาตรการเพื่อควบคุมและแกไขปญหาจากมลพิษ หมวด ๖ การบริหารจัดการน้ําทองถิ่น มาตรา ๔๑ - ๔๒

องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีหนาที่จัดทําทะเบียน แผนที่ และขอมูลสารสนเทศ คลอง ฝาย อางเก็บน้ําขนาดเล็ก แหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ และประสานงานกับสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ รวมทั้งมีอํานาจหนาที่ใหคําปรึกษา ใหขอมูล และอํานวยความสะดวกกับองคกรผูใชน้ํา ตามพระราชบัญญัตินี้ หมวด ๗ การบริหารจัดการน้ําใตดิน มาตรา ๔๓ - ๔๔ การบริหารจัดการน้ําใตดินใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยน้ําบาดาล และในกรณี เกิดสภาวะวิกฤต ใหกรมทรัพยากรน้ําบาดาลประสานและรายงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการ น้ําใตดินตอคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ

Page 5: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 25

หมวด ๘ การใหบริการน้ํา มาตรา ๔๕ - ๔๗ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจกําหนดมาตรฐานการใหบริการน้ํา

ระเบียบหลักเกณฑการใหสัมปทานการใหบริการน้ํา แบงประเภทของการใชทรัพยากรน้ํา ออกเปน ๓ ประเภท โดยหลักเกณฑ วิธีการ และ

เงื่อนไขการใชทรัพยากรน้ําแตละประเภทใหกําหนดในกฎกระทรวง รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจออก

กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการใหบริการน้ําทุกประเภท ขอสังเกต การออกกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการใหบริการน้ํา

ประเภทใด ควรใหเปนอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่รับผิดชอบแตละกระทรวง หมวด ๙ การบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤต มาตรา ๔๘ - ๕๕

เมื่อเกิดสภาวะวิกฤต ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติประกาศสภาวะวิกฤตน้ําและพื้นที่ และใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤตเขามารับผิดชอบสั่งการ และใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ สามารถเขาควบคุมการบริหารจัดการของผูรับสัมปทานการใหบริการน้ําได

เมื่อเกิดอุทกภัยฉุกเฉิน พนักงานเจาหนาที่มีหนาที่ประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของใหดําเนินการ การกอสราง การทําลายสิ่งกีดขวาง ปลอยน้ํา ระบายน้ํา ผันน้ํา ประสานงานชวยเหลือผูประสบภัยตามกฎหมายวาดวยการปองกันภัย

สภาวะวิกฤตน้ําแลง ใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤต มีอํานาจสั่งใหบุคคลใดลดหรืองดเวนการใชน้ําในกิจการที่กําหนดเปนการชั่วคราวและนําน้ํานั้นไปแบงปนแกบุคคลอื่นได

ในกรณีที่บุคคลใดเก็บกักน้ําไวตามความจําเปน ถาเกิดภาวะขาดแคลนน้ํา รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจสั่งใหบุคคลซึ่งเก็บกักน้ําไวตองเฉล่ียน้ําเพื่อประโยชนสาธารณะ

ใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤต จัดทํารายงาน การดําเนินการ สาเหตุ และแนวทางการแกไข

Page 6: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

26

หมวด ๑๐ การประเมินและติดตาม มาตรา ๕๖ - ๕๘ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ทําการประเมินและติดตามผลการบริหารจัดการ

ทรัพยากรน้ําทุกป เพื่อใชในการกําหนด ทบทวนนโยบายทรัพยากรน้ํา รวมทั้งจัดทํารายงานประจําป เสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอตอรัฐสภาทุกส้ินปงบประมาณ ประเมินผลการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในสภาวะวิกฤต และพื้นที่เส่ียงภัยน้ําทวม พื้นที่เส่ียงภัยแลง เพื่อประเมินความเสี่ยงน้ําทวม น้ําแลง หมวด ๑๑ บทกําหนดโทษ มาตรา ๕๙ - ๖๖ คาสินไหมทดแทนและคาเสียหายเพื่อละเมิด โทษทางอาญาเมื่อไมกระทําตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ หรือฝาฝนคําส่ังที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ บทเฉพาะกาล มาตรา ๖๗

ในระหวางที่ยังมิไดมีการกําหนดขอบเขตลุมน้ําหรือยังมิไดจัดตั้งคณะกรรมการลุมน้ํา ใหคณะกรรมการลุมน้ําตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารทรัพยากรน้ําแหงชาติปฏิบัติหนาที่ตามเดิมในลุมน้ํานั้นไปพลางกอน ทั้งนี้ ไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ

Page 7: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 27

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา

พ.ศ. ....

หลักการ ใหมีกฎหมายวาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

เหตุผล

โดยที่ทรัพยากรน้ําเปนทรัพยากรและปจจัยที่สําคัญตอความมั่นคงของประเทศ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม และเปนฐานรากในการพัฒนาประเทศ แตพระราชบัญญัติเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา ที่มีอยูปจจุบัน เปนพระราชบัญญัติเฉพาะดาน เชน การชลประทาน คลองและทางน้ํา น้ําบาดาล เปนตน ยังไมมีพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําที่เปนหลัก หรือแมบทดานทรัพยากรน้ํา เพื่อเปนกรอบในการดําเนินงานใหกับทั้งสวนราชการ องคการบริหารสวนทองถิ่น ชุมชน และประชาชน ใหครอบคลุมพื้นที่แหลงน้ํา เขื่อน อางเก็บน้ํา ระบบชลประทาน ฝาย พื้นที่ใชน้ํา รวมไปถึงการใหบริการน้ํา ทั้งที่เปนสาธารณะการเกษตร การอุตสาหกรรม โดยพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา จะเปนกรอบในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําที่เกี่ยวของ กับ ๓ กระทรวงหลัก คือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงเกษตรและสหกรณ และกระทรวงมหาดไทย ซึ่งจําเปนตองมีพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง ระเบียบ ตางๆ ที่ตองเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการประสานการดําเนินงาน ใหเกิดประสิทธิภาพ ลดความเสียหาย เกิดความมั่นคง เปนธรรมและยั่งยืน จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

Page 8: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

28

บันทึก

Page 9: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 29

ราง พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา

พ.ศ. ....

โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยทรัพยากรน้ํา

มาตรา ๑ ในพระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. ….” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เปนตนไป มาตรา ๓ การใช การพัฒนา การบริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากรน้ํา ใหเปนไป

ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้ เวนแตในกรณีที่มีกฎหมายใดกําหนดเกี่ยวกับการใช การพัฒนา การบริหารจัดการ หรือการอนุรักษทรัพยากรน้ําเร่ืองใดไวโดยเฉพาะและมีหลักเกณฑที่มีมาตรฐานไมต่ํากวาหลักเกณฑที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้ ก็ใหดําเนินการไปตามกฎหมายเฉพาะน้ัน

พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับแกทรัพยากรน้ําที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติ เขตอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปาดวย แตการผานหรือเขาไปบนพื้นดินในเขตดังกลาว ใหปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการนั้น

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ทรัพยากรน้ํา” หมายความวา น้ําในบรรยากาศ น้ําบนผิวดินที่ไหลตามธรรมชาติ น้ําใต

ดิน น้ําในทะเลอาณาเขต คลอง แมน้ํา หนอง บึง พื้นที่ชุมน้ํา แหลงตนน้ํา และแหลงน้ําระหวางประเทศที่ประเทศไทยอาจนํามาใช

“แหลงน้ําธรรมชาติ” หมายความวา แหลงรวมน้ําตามธรรมชาติ ไดแก แมน้ํา หวย หนอง คลอง บึง น้ําบาดาล แหลงน้ําที่เกิดขึ้นจากการกระทําของธรรมชาติ ซึ่งแบงออกเปนน้ําผิวดิน และน้ําใตดิน

“แหลงน้ําสาธารณะ” หมายความวา สระน้ําสาธารณะที่ประชาชนใชประโยชนรวมกัน

Page 10: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

30

บันทึก

Page 11: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 31

“พื้นที่ตนน้ํา” หมายความวา พื้นที่ตอนบนของลําน้ําซึ่งลอมรอบโดยสันเขา หรือสันปนน้ํา รับน้ําฝนที่ตกลงมาใหไหลลงไปรวมเปนรองลําน้ําตนกําเนิดของแมน้ํา

“น้ําใตดิน” หมายความวา แหลงสะสมน้ําใตผิวดิน น้ําจืดที่ขังอยูในชองวางของดินหรือหิน เกิดจากการไหลซึมของน้ําผิวดินผานชั้นดินลงไปกักเก็บอยูใตผิวดิน

“ทางน้ําชลประทาน” หมายความวา ทางน้ําที่ใชในการขนสง ระบาย กัก หรือกั้นน้ํา เพื่อการชลประทาน เพื่อการคมนาคมซึ่งมีการชลประทานรวมอยูดวย เฉพาะภายในเขตที่ไดรับประโยชนจากการชลประทาน ทางน้ําที่สงวนไวใชในการชลประทาน และทางน้ําอันเปนอุปกรณแกการชลประทาน

“สภาวะวิกฤต” หมายความวา การเกิดสาธารณภัยเกี่ยวกับน้ํา “พื้นที่เส่ียงภัยน้ําทวม” หมายความวา พื้นที่ลุมน้ําหรือพื้นที่ริมฝงแมน้ํา ซึ่งมีโอกาสเกิด

น้ําทวมจากสาเหตุน้ําไหลหลากลันตลิ่งลําน้ําหรือจากพื้นที่ขางเคียง หรือนํ้าทวมขังจากปริมาณฝนตกหนักในพื้นที่เอง

“พื้นที่เส่ียงภัยแลง” หมายความวา พื้นที่หางไกลจากแหลงนํ้าธรรมชาติ ซึ่งมีโอกาสขาดแคลนน้ํา ทั้งเพื่อการอุปโภคบริโภค เพื่อการเพาะปลูก เล้ียงสัตวไดงาย หรืออยูในบริเวณที่มีปริมาณน้ําฝนตกคอนขางนอย มีแหลงน้ําธรรมชาตินอย

“พื้นที่ชุมน้ํา” หมายความวา พื้นที่ลุมน้ํา พื้นที่ราบลุม พื้นที่ชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ําน้ํา มีน้ําทวม มีน้ําขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหลงน้ําทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น ทั้งที่มีน้ําขังหรือทวมอยูถาวรและชั่วครั้งชั่วคราว ทั้งที่เปนแหลงนํ้านิ่งและนํ้าไหล ทั้งที่เปนน้ําจืด น้ํากรอย และน้ําเค็ม

“พื้นที่ลุมน้ํา” หมายความวา พื้นที่ซึ่งเมื่อฝนตกลงมาแลว น้ําจะไหลรวมกันลงสูแมน้ํา ทะเลสาบ หรืออางเก็บน้ํานั้น ๆ พื้นที่รอบลําน้ําที่ลอมรอบดวยแนวสันเขาและสันปนน้ํา ซึ่งรองรับน้ําฝนทั้งหมดที่ตกลงในพื้นที่ ไหลไปรวมกันในลําน้ํานั้น

“พื้นที่กลุมลุมน้ํา” หมายความวา พื้นที่ลุมน้ําที่มีทางน้ําไหลออกมารวมกันออกสูทะเล หรือแมน้ํานานาชาติรวมกัน

“แนวเขตถอนรน” หมายความวา ที่ดินริมนอกสุดของชายตลิ่ง ดานแผนดินที่เปนแนวปองกันทางชีวภาพที่กําหนดขึ้น โดยการปรึกษาหารือ และตกลงรวมกันของชุมชนริมตลิ่งแตละชวงตอชวง โดยปราศจากสิ่งปลูกสราง ยกเวน ส่ิงปลูกสรางสาธารณะที่ไดรับความยินยอมจากชุมชนชายฝง องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ

“ผูใชน้ํา” หมายความวา ราษฎรผูใชประโยชนแหลงนํ้า “องคกรผูใชน้ํา” หมายความวา การรวมกลุมของผูใชน้ําตั้งแต ๒ รายขึ้นไป โดยมี

วัตถุประสงคในการใชประโยชนจากแหลงนํ้าใด ๆ รวมกัน และลดปญหาความขัดแยง “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม ราชการสวนภูมิภาค และ

ราชการสวนทองถิ่น และใหหมายความรวมถึงรัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหเปนหนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้

“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

Page 12: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

32

บันทึก

Page 13: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 33

มาตรา ๕ ใหนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ว าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีว าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และรัฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย มีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ และออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ในสวนที่เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของตน

กฎกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

มาตรา ๖ ใหพื้นที่ลุมน้ํา พื้นที่กลุมลุมน้ํา ตามพระราชบัญญัตินี้ เปนพื้นที่จัดการทรัพยากรน้ํา ที่กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช กรมขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี กรมประมง กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรธรณี กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพลังงาน การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม กรมการพัฒนาชุมชน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย สํานักงานตํารวจแหงชาติ สํานักงานนายกรัฐมนตรี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม การทองเที่ยวแหงประเทศไทย กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา รวมทั้งหนวยราชการที่เกี่ยวของ ตลอดจนคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ชุมชนลุมน้ํา พนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจและหนาที่ดําเนินการ จัดการรวมกันอยางเปนองครวมและบูรณาการในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืนตามพระราชบัญญตัินี้

มาตรา ๗ เมื่อมีเหตุสภาวะวิกฤตอันกอใหเกิดภยันตรายตอสาธารณะที่เนื่องมาจากการแพรกระจายของมลพิษ ภัยธรรมชาติ หรือเหตุอ่ืนใดทางน้ํา ซึ่งหากปลอยไวเชนนั้นจะกอใหเกิดอันตรายรายแรงตอชีวิต รางกาย ทรัพยสิน สุขภาพอนามัยของประชาชน ส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ หรือทรัพยากรและระบบนิเวศทางน้ํา ใหนายกรัฐมนตรีมีอํานาจหรือมอบอํานาจผูใดสั่งการตามที่เห็นสมควร ใหหนวยงานของรัฐหรือบุคคลใด รวมทั้งบุคคลซึ่งอาจไดรับอันตรายหรือความเสียหายดังกลาว กระทํา หรือรวมกันกระทําการใดๆ เพื่อควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลรายจากอันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นไดอยางทันทวงที

ในกรณีที่ทราบวาบุคคลใดเปนผูกอใหเกิดมลภาวะหรือภัยพิบัติดังกลาว ใหนายกรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหบุคคลนั้นไมใหกระทําการใดอันจะมีผลเปนการเพิ่มความรุนแรงแกมลภาวะหรือภัยพิบัตินั้นในระหวางที่มีเหตุภยันตรายดังกลาวดวย

อํานาจในการสั่งตามวรรคหนึ่ง นายกรัฐมนตรีจะมอบอํานาจใหผูวาราชการจังหวัดปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัดแทนนายกรัฐมนตรีก็ได โดยใหทําเปนคําส่ังและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

Page 14: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

34

บันทึก

Page 15: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 35

หมวด ๑ สิทธิในทรัพยากรน้าํ

มาตรา ๘ ทรัพยากรน้ําเปนของประชาชน ซึ่งรัฐและประชาชนรวมกันพัฒนา และรวมกันจัดสรรใหมี ใช และกักเก็บทรัพยากรน้ํา เพื่อ (๑) การดํารงชีพ การอุปโภคบริโภค การเกษตรหรือการเล้ียงสัตวเพื่อยังชีพ การอุตสาหกรรมในครัวเรือน (๒) การเกษตรหรือการเลี้ยงสัตวเพื่อการพาณิชย (๓) การอุตสาหกรรม การทองเท่ียว การผลิตพลังงานไฟฟา การประปา (๔) กิจการขนาดใหญที่ใชน้ําปริมาณมากหรืออาจกอใหเกิดผลกระทบขามลุมน้ํา (๕) การอนุรักษส่ิงแวดลอม

มาตรา ๙ เจาของหรือผูครอบครองที่ดินซึ่งมีน้ําพุเกิดขึ้นหรือมีน้ําไหลผานตามธรรมชาติ ไมวาบนดินหรือใตดิน ยอมมีสิทธิเก็บกักหรือใชน้ํานั้นไดเทาที่จําเปนแกประโยชนในที่ดินของตน

มาตรา ๑๐ ภายใตบทบัญญัติอ่ืนแหงพระราชบัญญัตินี้ ประชาชนยอมมีสิทธิในการเขาถึงและใชทรัพยากรน้ําอยางเหมาะสม แตการใชสิทธินั้นตองไมเกินความจําเปนแกประโยชนในกิจกรรมหรือที่ดินของตนจนเปนเหตุใหเกิดความเสียหายเกินสมควรแกบุคคลอื่นในการใชทรัพยากรน้ํา หรือแกเจาของที่ดินริมแหลงน้ํานั้น

หมวด ๒

องคกรบรหิารจัดการทรพัยากรน้าํ

สวนที่ ๑ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาต ิ

มาตรา ๑๑ ใหมีคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ประกอบดวย นายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนรองประธานกรรมการคนที่สอง รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย เปนรองประธานคนที่สาม ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงพลังงาน อธิบดีกรมชลประทาน อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา อธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล อธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ผูแทนผูใชน้ําจํานวนสามคน ผูแทนลุมน้ําจํานวนสามคน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ินจํานวนสามคน ผูแทนองคกรเอกชนจํานวนหนึ่งคน และผูทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแตงตั้งอีกส่ีคน เปนกรรมการ และผูอํานวยการสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ

Page 16: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

36

บันทึก

Page 17: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 37

การคัดเลือกและแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ใหคัดเลือกและแตงตั้งจากผูที่มีความรูและประสบการณเก่ียวกับทรัพยากรน้ํา

มาตรา ๑๒ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) จัดทํานโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติเสนอตอคณะรัฐมนตรี (๒) กําหนดมาตรการ แนวทาง เพื่อเปนกรอบในการดําเนินงานของหนวยงานของรัฐ

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และหนวยงานที่เก่ียวของ สําหรับดําเนินการตามนโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติ

(๓) กําหนดระเบียบการจัดสรรทรัพยากรน้ํา จัดลําดับความสําคัญเพื่อการจัดสรรทรัพยากรน้ํา กําหนดสิทธิในทรัพยากรน้ําของแตละลุมน้ํา รวมทั้งกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการขออนุญาตใชและจัดสรรทรัพยากรน้ําขององคกรผูใชน้ํา

(๔) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการใหบริการน้ํา (๕) ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล และเรงรัดผลการปฏิบัติงานของหนวยงานของรัฐที่

ไดรับมอบหมายใหดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา ใหเปนไปตามแนวทางและนโยบายในการจัดการทรัพยากรน้ํา

(๖) กําหนดขอบเขตกลุมลุมน้ํ า ลุมน้ํ า และจัดใหมีคณะกรรมการกลุมลุมน้ํ า คณะกรรมการลุมน้ํา

(๗) จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และหนวยงานที่เก่ียวของในการดําเนินกิจการตางๆ

(๘) ใหคําปรึกษา เสนอแนะ และประสานผลประโยชนของหนวยงานของรัฐและผูมีสวนไดเสียที่เก่ียวของในการจัดการ การจัดสรร การใชประโยชน การอนุรักษ การฟนฟู และการพัฒนาทรัพยากรน้ํา

(๙) กําหนดใหหนวยงานตาง ๆ มีการรวบรวมขอมูลสารสนเทศทรัพยากรน้ํา และใหมีการประสานแลกเปลี่ยนกันระหวางหนวยงาน

(๑๐) จัดใหมีประมวลกฎหมายทรัพยากรน้ํา และปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ (๑๑) จัดใหมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา (๑๒) จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการในสภาวะวิกฤต โดยมีนายกรฐัมนตรีเปนประธาน (๑๓) ประสานงาน และจัดประชุมรวมกับคณะกรรมการอื่นที่แตงตั้งขึ้นตามกฎหมายหรือ

ตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีหนาที่เก่ียวของกับนโยบายและแผนการจัดการทรัพยากรน้ํา (๑๔) รับเรื่องราวรองทุกข พรอมทั้งดําเนินการไกลเกล่ียและพิจารณาวินิจฉัยขอพิพาท

เก่ียวกับทรัพยากรน้ํา (๑๕) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการจัดสรรรายได และเงินอุดหนุน

Page 18: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

38

บันทึก

Page 19: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 39

(๑๖) ใหความเห็นชอบในการจัดทํากฎ ระเบียบ ประกาศ และคําส่ัง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งการประสานการปฏิบัติตามนโยบาย แผน และการใชบังคับ กฎ ระเบียบ ประกาศ คําสั่ง ของหนวยงานของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และหนวยงานอื่นที่เก่ียวของกับการจัดการทรัพยากรน้ํา

(๑๗) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น มาตรา ๑๓ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจออกระเบียบ หลักเกณฑ

ขั้นตอนและวิธีการในการกําหนดขอบเขตกลุมลุมน้ําและลุมน้ํา และการจัดตั้งคณะกรรมการกลุมลุมน้ําและลุมน้ํา ตามมาตรา ๑๒(๖)

ระเบียบ หลักเกณฑ ขั้นตอนและวิธีการตามวรรคหนึ่ง เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

มาตรา ๑๔ ใหองคกรผูใชน้ํา คณะกรรมการลุมน้ํา องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และ

องคกรเอกชนคัดเลือกผูแทนในสวนของตนเพื่อใหนายกรัฐมนตรีแตงตั้งเปนกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ตามมาตรา ๑๑

รายละเอียด หลักเกณฑ ขั้นตอนและวิธีการคัดเลือกผูแทนแตละสวนตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๕ ใหนายกรัฐมนตรีใชดุลพินิจแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๑ จํานวนสี่คน

ใหกรรมการผูแทนผูใชน้ํา กรรมการผูแทนลุมน้ํา กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และกรรมการผูแทนองคกรเอกชน ที่ไดรับคัดเลือกตามมาตรา ๑๔ จัดใหมีการประชุมรวมกันเพื่อคัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่จะใหนายกรัฐมนตรีแตงตั้งเปนผูทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่กรรมการผูแทนลุมน้ํา กรรมการผูแทนผูใชน้ํา กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และกรรมการผูแทนองคกรเอกชนไดรับการคัดเลือกตามมาตรา ๑๔

หากยังไมมีการคัดเลือกและเสนอชื่อผูทรงคุณวุฒิครบถวนภายในระยะเวลาตามวรรคสอง ใหนายกรัฐมนตรีแตงตั้งบุคคลที่นายกรัฐมนตรีใชดุลพินิจแตงตั้งตามวรรคหนึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับแตวันที่ครบกําหนดเวลาตามวรรคสอง และใหกรรมการอื่น ที่ไดรับการแตงตั้งจากนายกรัฐมนตรีทําหนาที่เปนคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติไปพลางกอน ทั้งนี้ใหถือวาคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีกรรมการครบถวนและสามารถดําเนินงานตามอํานาจหนาที่ได

ใหสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติประสานงานใหมีการประชุมตามวรรคสอง

มาตรา ๑๖ ใหกรรมการผูแทนผูใชน้ํา กรรมการผูแทนลุมน้ํา กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และกรรมการผูแทนองคกรเอกชน ที่ไดรับการคัดเลือกตามมาตรา ๑๔ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่นายกรัฐมนตรีแตงตั้งตามมาตรา ๑๕ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสี่ป

Page 20: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

40

บันทึก

Page 21: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 41

กรรมการผูแทนผูใชน้ํา กรรมการผูแทนลุมน้ํา กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ินและกรรมการผูแทนองคกรเอกชน ที่ไดรับการคัดเลือกตามมาตรา ๑๕ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่นายกรัฐมนตรีแตงตั้งตามมาตรา ๑๕ ซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได

มาตรา ๑๗ นอกจากการพนจากตําแหนงเมื่อครบวาระตามมาตรา ๑๖ กรรมการผูแทนผูใชน้ํา กรรมการผูแทนลุมน้ํา กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ินและกรรมการผูแทนองคกรเอกชน ที่ไดรับการคัดเลือกตามมาตรา ๑๔ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่นายกรัฐมนตรีแตงตั้งตามมาตรา ๑๕ พนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เปนบุคคลลมละลาย (๔) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (๕) ตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

มาตรา ๑๘ ในกรณีที่กรรมการผูแทนผูใชน้ํา กรรมการผูแทนลุมน้ํา กรรมการผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และกรรมการผูแทนองคกรเอกชน ที่ไดรับการคัดเลือกตามมาตรา ๑๔ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่นายกรัฐมนตรีแตงตั้งตามมาตรา ๑๕ พนจากตําแหนงกอนครบวาระ ใหเริ่มดําเนินการตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ แลวแตกรณี ภายในสามสิบวันนับแตวันที่กรรมการนั้นพนจากตําแหนง และใหผูไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน

มาตรา ๑๙ การประชุมของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติตองมีกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจํานวนกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม

ใหประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติเปนประธานในที่ประชุม ถาไมมีประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติหรือประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหรองประธานกรรมการคนที่หนึ่งทําหนาที่ประธานในที่ประชุม

ถาไมมีประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติหรือประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได และรองประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติคนที่หนึ่งไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหรองประธานกรรมการคนที่สองทําหนาที่ประธานในที่ประชุม

ถาไมมีประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติหรือประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได และรองประธานกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติคนที่หนึ่งและคนที่สอง ไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติที่มาประชุมเลือกกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม

Page 22: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

42

บันทึก

Page 23: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 43

การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน ถาคะแนนเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด

ในการประชุม ถามีการพิจารณาเรื่องที่กรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติผูใดมีสวนไดเสีย กรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติผูนั้นไมมีสิทธิเขาประชุม

ในการปฏิบัติหนาที่ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติอาจมอบหมายใหกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติคนหนึ่งหรือหลายคนเปนผูรับผิดชอบในกิจการดานตาง ๆ ตามอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติเพื่อเสนอรายงานตอคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติหรือดําเนินการตามที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมอบหมายก็ได

มาตรา ๒๐ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการหรือ

คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายใหพนักงานเจาหนาที่ปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่ไดรับมอบหมายได ทั้งนี้ วิธีการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติกําหนด

มาตรา ๒๑ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ํา

แหงชาติ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการหรือพนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจเรียกใหหนวยงานของรัฐ สงเอกสาร หรือขอมูลที่เก่ียวของมาพิจารณา ตลอดจนเชิญบุคคลใดมาชี้แจง ใหขอเท็จจริง ความเห็น หรือใหสงเอกสาร หลักฐานที่เก่ียวของได

มาตรา ๒๒ ใหกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติไดรับคาตอบแทนและคาใชจายอื่นในการปฏิบัติงานตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา

คาตอบแทนและคาใชจายอื่นในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๐ ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติกําหนด

สวนที่ ๒ สํานกังานเลขานกุารคณะกรรมการทรัพยากรน้าํแหงชาต ิ

มาตรา ๒๓ ใหมีสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) ทําหนาที่เลขานุการใหแกคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ (๒) เสนอความคิดเห็น และจัดทํานโยบายและแผน มาตรการ แนวทาง ในการจัดการ

ทรัพยากรน้ํา เพื่อเปนกรอบในการดําเนินงานของหนวยงานของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมทั้งหนวยงานอื่นที่เก่ียวของ และเพื่อประโยชนในการบริหารจัดการ การคุมครอง การอนุรักษ และการฟนฟูทรัพยากรน้ํา

Page 24: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

44

บันทึก

Page 25: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 45

(๓) ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของคณะกรรมการกลุมน้ําและคณะกรรมการลุมน้ํา ซึ่งจัดตั้งโดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ (๔) เสนอความเห็นเก่ียวกับการจัดทําแผนและโครงการเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําตอคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ

(๕) เสนอแนะการจัดทํากฎ ระเบียบ ประกาศ คําส่ัง กํากับดูแล ประเมินผล และติดตามตรวจสอบการดําเนินการใด ๆ ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับตามพระราชบญัญตัินี้ รวมทั้งประสานการปฏิบัติตามนโยบาย แผน และการใชบังคับกฎ ระเบียบ ประกาศ คําส่ัง ของหนวยงานของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และหนวยงานอื่นที่เก่ียวของกับการจัดการทรัพยากรน้ํา

(๖) รวบรวมและจัดเตรียมขอมูล ศึกษา วิเคราะห และริเริ่มกิจกรรมหรือโครงการใดๆ เพื่อประโยชนในการดําเนินงานของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ

(๗) ศึกษา วิจัย เก่ียวกับการพัฒนา อนุรักษ และฟนฟูทรัพยากรน้ํา รวมทั้งสรางความเขาใจและสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการ การอนุรักษ การคุมครอง และการฟนฟูทรัพยากรน้ํา

(๘) ประสานงาน รวบรวมขอมูลสารสนเทศทรัพยากรน้ํา ของหนวยงานตางๆ เพื่อนํามาใชประโยชนรวมกัน

(๙) ดําเนินการ สํารวจ และขึ้นทะเบียน องคกรผูใชน้ํา รวมกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งประสานและติดตามการดําเนินการ (๑๐) จัดทําคําขอจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ

(๑๑) ปฏิบัติการใดๆ ตามที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมอบหมาย

สวนที่ ๓ องคกรผูใชน้ํา

มาตรา ๒๔ หากพื้นที่ใดมีผูใชน้ํารวมกลุมกัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนรวมกัน

เก่ียวกับการใช การพัฒนา การบริหารจัดการ การฟนฟูและการอนุรักษทรัพยากรน้ํา ในพื้นที่ของตนเอง สามารถจดทะเบียนเพื่อจัดตั้งองคกรผูใชน้ําได

ใหองคกรผูใชน้ําซึ่งไดจดทะเบียนตามวรรคหนึ่งมีฐานะเปนนิตบิุคคล หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการยื่นคําขอจดทะเบียน และการอนุมัติใหจัดตั้งองคกร

ผูใชน้ํา ใหกําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๒๕ องคกรผูใชน้ําซึ่งไดจดทะเบียนตามมาตรา ๒๔ มีสิทธิเขามีสวนรวมในการกําหนดแผนการดําเนินงาน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ โดยการประสานงานและทํางานรวมกับหนวยงานของรัฐและองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 26: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

46

บันทึก

Page 27: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 47

มาตรา ๒๖ องคกรผูใชน้ํา อาจขออนุญาตใช และมีอํานาจในการจัดสรรทรัพยากรน้ําใหแกสมาชิกของตน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติกําหนด มาตรา ๒๗ บทบัญญัติมาตรา ๒๔ ถึงมาตรา ๒๖ ยอมไมตัดสิทธิผูใชน้ําที่จะรวมตัวกันเปนกลุมผูใชน้ําในรูปแบบอื่น

หมวด ๓ นโยบายทรพัยากรน้าํ

มาตรา ๒๘ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีอํานาจกําหนดนโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติ และใหสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ บรรจุนโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

นโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติควรประกอบดวย การจัดสรรน้ํา การชลประทาน การบรหิารจัดการพื้นที่แหลงน้ํา การบริหารจัดการน้ําทองถ่ิน การบริหารจัดการ ความมั่นคง ความเสี่ยงและการบรรเทาวิกฤต การประเมินติดตาม

มาตรา ๒๙ เพื่อใหการจัดการทรัพยากรน้ําเปนไปอยางบูรณาการในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติพึงจัดใหมีนโยบาย ระเบียบ หรือขอบังคับในการจัดการทรัพยากรน้ําที่สอดคลองกันในทุกดานอยางครบถวนสมบูรณ

หากมีการกําหนดนโยบายทรัพยากรน้ําไว แตยังไมมีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับในเรื่องนั้น คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติพึงจัดใหมีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับใหสอดคลองครบถวนกับนโยบายนั้นอยางบูรณาการ

หากมีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ แตยังไมมีนโยบายทรัพยากรน้ําในเรื่องนั้น คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติพึงจัดใหมีนโยบายทรัพยากรน้ําในเรื่องนั้น ใหสอดคลองครบถวนกับกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับนั้นอยางบูรณาการ

มาตรา ๓๐ ในการจัดทํานโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ํา

แหงชาติจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ผูประกอบการ และหนวยงานของรัฐที่เก่ียวของตามหลักเกณฑ และวิธีการท่ีคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติกําหนด ทั้งนี้ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาตินําผลการรับฟงความคิดเห็นดังกลาวมาเปนแนวทางในการจัดทํานโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติดวย

นโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาตินั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหมีผลบังคับใชได

Page 28: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

48

บันทึก

Page 29: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 49

มาตรา ๓๑ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติกําหนดระเบียบการจัดสรรน้าํในสภาวะปกติ การจัดสรรน้ําในสภาวะวิกฤติ และจัดลําดับความสําคัญของการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค การเกษตร การอุตสาหกรรม การใชและการบริการน้ําขนาดใหญ การอนุรักษส่ิงแวดลอม รวมทั้งการกักเก็บน้ํา โดยคํานึงถึงความเปนธรรมและสมเหตุสมผล เพื่อใหการใชน้ํามีประสิทธิภาพอยางยั่งยืน และเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของชุมชนลุมน้ําที่เก่ียวของ

ระเบียบการจัดสรรน้ําและจัดลําดับความสําคัญของการใชน้ําตามวรรคหนึ่ง ใหเสนอขอความเห็นชอบตอคณะรัฐมนตรี

มาตรา ๓๒ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน

ตามนโยบายทรัพยากรน้ําแหงชาติ และตองปรับปรุงนโยบายดังกลาวเพื่อประโยชนในการใช การพัฒนา การบริหารจัดการ และการอนุรักษทรัพยากรน้ําใหมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับสภาพความเปนจริงที่เปลี่ยนแปลงไป

หมวด ๔

การบริหารจดัการทรัพยากรน้ําในทางน้ําชลประทาน

มาตรา ๓๓ นอกจากที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ การจัดหา การพัฒนา การบริหารจัดการ การฟนฟูและการอนุรักษทรัพยากรน้ําในทางน้ําชลประทานใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการชลประทานหลวง

มาตรา ๓๔ กรมชลประทานมีอํานาจกําหนดใหแมน้ําและลําน้ําหลัก ซึ่งเชื่อมเขื่อน อางเก็บน้ํา และพื้นที่ลุมน้ําในกลุมลุมน้ําเขาดวยกัน เปนทางน้ําชลประทานหลัก

ลําน้ําซึ่งเชื่อมเขื่อน อางเก็บน้ําขนาดเล็ก และพื้นที่ลุมน้ํายอยเขาดวยกัน ใหกําหนดเปนทางน้ําชลประทานรอง

กอนการประกาศแหลงน้ําสาธารณะใดใหเปนทางน้ําชลประทานหลักและทางน้ําชลประทานรอง ตามกฎหมายวาดวยการชลประทานหลวง ใหจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียในแหลงน้ําสาธารณะนั้นกอน

มาตรา ๓๕ ในการจัดสรรน้ําและพิจารณาการขออนุญาตใชน้ําจากทางน้ําชลประทานตามกฎหมายวาดวยการชลประทานหลวง ใหกรมชลประทานหรือผูมีอํานาจปฏิบัติตามแผน หลักเกณฑ และเง่ือนไขในการจัดสรรน้ําที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติกําหนดดวย ในการจัดทําแผน หลักเกณฑและเง่ือนไขการจัดสรรทรัพยากรน้ํา และการพิจารณาอนุญาตการใชน้ําตามวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงวัตถุประสงคเดิมในการจัดทําโครงการชลประทาน ตลอดจนภาระขอผูกพันตามสัญญาระหวางกรมชลประทานกับบุคคลที่สามดวย

Page 30: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

50

บันทึก

Page 31: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 51

หมวด ๕ การพฒันา ฟนฟู คุมครองและอนุรกัษทรัพยากรน้ํา

มาตรา ๓๖ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดใหการทําโครงการประเภทใดหรือขนาดใด รวมทั้งการพิจารณาอนุญาตใหทําโครงการหรอืกิจกรรมดังกลาวภายในลุมน้ําที่อาจสงผลกระทบตอลุมน้ํา ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและหนวยงานที่เก่ียวของภายในลุมน้ํากอนการดําเนินการหรืออนุญาต

ใหประกาศตามวรรคหนึ่ง กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและหนวยงานที่เก่ียวของภายในลุมน้ํา

มาตรา ๓๗ เพื่อประโยชนในการคุมครองพื้นที่ตนน้ําลําธาร รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการ มีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดใหพื้นที่ตนน้ําลําธารเปนพื้นที่คุมครองส่ิงแวดลอมไดตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

มาตรา ๓๘ ใหกรมทรัพยากรน้ํารับผิดชอบในการจัดใหมีแผนที่พื้นที่กลุมลุมน้ํา พื้นที่ลุม

น้ํา จัดทําขอมูลทะเบียนแหลงน้ําธรรมชาติ พื้นที่ตนน้ํา พื้นที่ชุมน้ํา เสนทางน้ํา พื้นที่เส่ียงภัยแลง พื้นที่เส่ียงภัยน้ําทวม แนวเขตถอยรน และการใชน้ําใหชัดเจน

ใหกรมทรัพยากรน้ํ าทําแผนพัฒนาและอนุรักษพื้นที่แหลงน้ํ าตามนโยบายของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ รวมทั้งจัดใหมีการทบทวนและปรับปรุงขอมูลตามวรรคหนึ่ง เพื่อประโยชนในการบริหารจัดการและการบํารุงรักษาทรัพยากรน้ําอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับสภาพความเปนจริง

มาตรา ๓๙ หากการใชทรัพยากรน้ําของบุคคลใดกอหรืออาจกอใหเกิดความเสียหายอยาง

รายแรงตอคุณภาพสิ่งแวดลอม รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจสั่งใหบุคคลนั้นหยุดหรือลดการใชทรัพยากรน้ํานั้นเปนการชั่วคราว เพื่อเปนการปองกันหรือบรรเทาปญหาดังกลาวได

มาตรา ๔๐ เพื่อประโยชนในการควบคุมมลพิษทางน้ํา ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ํา มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด เขตควบคุมมลพิษ พรอมทั้งมาตรการเพื่อควบคุมและแกไขปญหาจากมลพิษดังกลาวนั้น

ในการกําหนด การแกไข การเปลี่ยนแปลง หรือการยกเลิกมาตรฐานคุณภาพน้ํา มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด และเขตควบคุมมลพิษดังกลาวในวรรคหนึ่ง รวมทั้งมาตรการแกไขปญหามลพิษ ใหปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการกําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด เขตควบคุมมลพิษ และมาตรการตามที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ

Page 32: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

52

บันทึก

Page 33: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 53

ในการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการออกประกาศกําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด เขตควบคุมมลพิษ และมาตรการแกไขปญหามลพิษตามพระราชบัญญัตินี้ ใหปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการกําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด เขตควบคุมมลพิษ และมาตรการตามที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ

หมวด ๖ การบริหารจดัการน้ําทองถิ่น

มาตรา ๔๑ ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีหนาที่จัดทําทะเบียน แผนที่ และขอมูลสารสนเทศ คลอง ฝาย อางเก็บน้ําขนาดเล็ก แหลงน้ําขนาดเล็กในพื้นที่ และกําหนดแผนงาน งบประมาณ และการดําเนินงานในการดูแลรักษาแหลงน้ําในพื้นที่

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินประสานงานกับสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ เพื่อการบริหารจัดการพื้นที่แหลงน้ํา และการชลประทาน

มาตรา ๔๒ ในการจัดการทรัพยากรน้ํา ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีอํานาจหนาที่

ชวยเหลือ สนับสนุน ใหคําปรึกษา ประสานงาน และจัดการรวมกับองคกรผูใชน้ํา ตามพระราชบัญญัตินี้

บทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ไมกระทบตออํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในการจัดการทรัพยากรน้ําตามกฎหมายอื่น

หมวด ๗

การบริหารจดัการน้ําใตดิน

มาตรา ๔๓ นอกจากที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ การบริหารจัดการน้ําใตดินใหเปนไป

ตามกฎหมายวาดวยน้ําบาดาล

มาตรา ๔๔ ในกรณีเกิดสภาวะวิกฤต ใหกรมทรัพยากรน้ําบาดาลประสานงานและรายงานเก่ียวกับการบริหารจัดการน้ําใตดินตอคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ

หมวด ๘

การใหบรกิารน้ํา

มาตรา ๔๕ คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีอํานาจกําหนดมาตรฐานในการ

ใหบริการน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคแกประชาชน

Page 34: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

54

บันทึก

Page 35: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 55

คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการใหสัมปทานการใหบริการน้ํา

หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการใหสัมปทานการใหบริการน้ําตามวรรคสอง ใหกําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๔๖ การใชทรัพยากรน้ําแบงเปนสามประเภท คือ (๑) การใชทรัพยากรน้ําประเภทที่ ๑ ไดแก การใชทรัพยากรน้ําเพื่อการดํารงชีพ การ

อุปโภคบริโภคในครัวเรือน การเกษตรหรือการเลี้ยงสัตวเพื่อยังชีพ การอุตสาหกรรมในครัวเรือนและการใชทรัพยากรน้ําในปริมาณเล็กนอยตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

(๒) การใชทรัพยากรน้ําประเภทที่ ๒ ไดแก การใชทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตรหรือการเล้ียงสัตวเพื่อการพาณิชย การอุตสาหกรรม การทองเท่ียว การผลิตพลังงานไฟฟา การประปา และกิจการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ การใชทรัพยากรน้ําประเภทที่ ๒ ตองไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

(๓) การใชทรัพยากรน้ําประเภทที่ ๓ ไดแก การใชทรัพยากรน้ําเพื่อกิจการขนาดใหญที่ใชน้ําปริมาณมากหรืออาจกอใหเกิดผลกระทบขามลุมน้ําหรือครอบคลุมพื้นที่อยางกวางขวางตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ การใชทรัพยากรน้ํ าประเภทที่ ๓ ตองไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติตามหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

การใชทรัพยากรน้ําตามวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคเปนสําคัญ

มาตรา ๔๗ เพื่อประโยชนในการใหบริการน้ํา รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีอํานาจออกกฎกระทรวง ดังตอไปนี้

(๑) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการใหบริการน้ําประเภทที่ ๑ สําหรับแตละลุมน้ํา (๒) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เง่ือนไข อัตราคาใชจาย คาบริการ คาธรรมเนียม การ

แกไขและการยกเลิกใบอนุญาตการใหบริการน้ําประเภทที่ ๒ สําหรับแตละลุมน้ํา (๓) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เง่ือนไข อัตราคาใชจาย คาบริการ คาธรรมเนียม การ

แกไขและการยกเลิกใบอนุญาตการใหบริการน้ําประเภทที่ ๓

หมวด ๙ การบริหารจดัการน้ําในสภาวะวิกฤต

มาตรา ๔๘ เมื่อเกิดสภาวะวิกฤตน้ําขึ้นในทองที่ใด ใหนายกรัฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติมีอํานาจออกประกาศสภาวะวิกฤตน้ําและพื้นที่ เมื่อมีประกาศตามวรรคหนึ่งใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤตเปนผูรับผิดชอบสั่งการ

Page 36: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

56

บันทึก

Page 37: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 57

มาตรา ๔๙ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ จัดใหมีคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤต โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน

ใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤตรับผิดชอบจัดทําแผนที่พื้นที่เส่ียงภัยน้ําทวม พื้นที่เส่ียงภัยแลง กําหนดแผนปองกันและแกไขปญหาน้ําทวม น้ําขาดแคลน และจัดการทบทวนแผน เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานรายป มาตรา ๕๐ เมื่อเกิดอุทกภัยฉุกเฉินขึ้น ใหพนักงานเจาหนาที่มี อํานาจเขาไปในอสังหาริมทรัพยของบุคคล และใหมีอํานาจเคลื่อนยาย ทําลายหรือรื้อถอนสิ่งใด ๆ รวมทั้งติดตั้งเครื่องมือ อุปกรณในการสูบน้ํา เพื่อประโยชนในการปองกันและแกไขปญหาน้ําทวมนั้นไดเทาที่จําเปน แตตองจายคาทดแทนอยางเปนธรรมแกเจาของหรือผูครอบครองอสังหาริมทรัพยนั้น

ใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤต ประสานงานกับหนวยงานที่เก่ียวของเพื่อชวยเหลือผูประสบอุทกภัย ตามกฎหมายวาดวยการปองกันภัย

มาตรา ๕๑ เม่ือเกิดสภาวะวิกฤตน้ําแลงอยางรุนแรงขึ้นในทองที่ใด ใหนายกรัฐมนตรี โดย

คําแนะนําของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจออกประกาศกําหนดใหทองที่นั้นเปนเขตขาดแคลนน้ําได เมื่อมีประกาศตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤตมีอํานาจส่ังการ โดยมีอํานาจสั่งใหบุคคลใดลดหรืองดการใชน้ําในกิจการที่กําหนดเปนการชั่วคราวได และใหมีอํานาจนําน้ํานั้นไปแบงปนแกบุคคลอื่น หากการแบงปนน้ําตามวรรคสอง เปนการนําน้ําที่อยูในความครอบครองของบุคคลใด ไปแบงปนแกบุคคลอื่น จะตองมีการจายคาทดแทนอยางเปนธรรมเพื่อความเสียหายที่เกิดแกบุคคลซึ่งครอบครองน้ํานั้น

มาตรา ๕๒ ในกรณีมีความจําเปนตองนําน้ําจากลุมน้ําหนึ่งไปยังอีกลุมน้ําหนึ่ง เพื่อบรรเทาภาวะขาดแคลนน้ํา หรือเพื่อประโยชนในการปองกันแกไขปญหาน้ําทวม คณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤตมีอํานาจสั่งใหดําเนินการดังกลาวไดเทาที่จําเปนในการบรรเทาภาวะขาดแคลนน้ํา หรือการปองกันแกไขปญหาน้ําทวมนั้น

หากการดําเนินการตามวรรคหนึ่งกอใหเกิดความเสียหาย ภาระ หรือการขาดประโยชนแกลุมน้ําที่ถูกนําน้ําไป หรือลุมน้ําที่จําตองยอมรับน้ํานั้นเขามา ใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤตกําหนดใหจายคาทดแทนอยางเปนธรรมใหแกลุมน้ําที่ไดรับความเสียหาย หรือตองรับภาระหรือขาดประโยชนนั้น หรือใหจัดทําโครงการเพื่อชวยเหลือ พัฒนาลุมน้ําที่ไดรับความเสียหาย หรือตองรับภาระหรือขาดประโยชนนั้นก็ได

Page 38: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

58

บันทึก

Page 39: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 59

มาตรา ๕๓ ในกรณีที่บุคคลใดเก็บกักน้ําไวตามความจําเปนตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎกระทรวง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หรือตามกฎหมายอื่น ถาเกิดภาวะขาดแคลนน้ําในทองที่ใดทองที่หนึ่งหรือหลายทองที่ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ มีอํานาจสั่งใหบุคคลซึ่งเก็บกักน้ําไวตามความจําเปนดังกลาวตองเฉล่ียน้ําเพื่อประโยชนสาธารณะตามปริมาณและวิธีการที่กําหนด ในกรณีเชนวานี้ใหผูเก็บกักน้ําดังกลาวมีสิทธิไดรับคาทดแทนตามความเปนธรรมจากการที่ตองสูญเสียน้ําที่เก็บกักไว แตถาบุคคลใดเก็บกักน้ําไวเกินกวาความจําเปน ใหรัฐมนตรีมีอํานาจส่ังตามที่เห็นสมควรเพื่อนําน้ําสวนที่เกินมาใชสอยเพื่อประโยชนสาธารณะ โดยผูนั้นจะเรียกรองคาใชจายหรือคาเสียหายใด ๆ มิได มาตรา ๕๔ เมื่อเกิดสภาวะวิกฤต ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ สามารถเขาควบคุมการบริหารจัดการของผูรับสัมปทานการใหบริการน้ําได

มาตรา ๕๕ ใหคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําในสภาวะวิกฤตจัดทํารายงานการดําเนินการ สาเหตุ และแนวทางการแกไขปญหาน้ําทวมและน้ําแลง

หมวด ๑๐

การประเมนิและติดตาม

มาตรา ๕๖ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ทําการประเมินผลการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําประจําป โดยประเมินการบริหารสมดุลน้ําตามพื้นที่ การประสานงานและใชขอมูลของหนวยงานตาง ๆ ความพึงพอใจและขอรองเรียนของประชาชน การบังคับใชกฎ ระเบียบที่เก่ียวของ ตามนโยบายของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ เพื่อประโยชนในการพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

เพื่อประเมินความเสี่ยงน้ําทวม น้ําแลง ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติทําการประเมินการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในสภาวะวิกฤต และพื้นที่เส่ียงภัยน้ําทวม พื้นที่เส่ียงภัยแลง โดยแบงการประเมินตามกลุมลุมน้ําและลุมน้ํา ทางน้ําชลประทาน และพื้นที่ตนน้ํา

มาตรา ๕๗ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติติดตามประเมินผลการดูแลรักษา การ

พัฒนาทรัพยากรน้ํา และการใชงบประมาณ ของหนวยงานตาง ๆ โดยแบงการประเมินตามกลุมลุมน้ําและลุมน้ํา ทางน้ําชลประทาน พื้นที่ตนน้ํา และทองถ่ิน

มาตรา ๕๘ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ จัดทํารายงานประจําปเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอรัฐสภาทุกส้ินปงบประมาณ รายงานนี้ใหกลาวถึงผลการดําเนินงานของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติในปที่ลวงมาแลว รวมทั้งคําชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายของคณะกรรมการ โครงการ และแผนงานที่จะจัดทําในภายหนา

Page 40: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

60

บันทึก

Page 41: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 61

หมวด ๑๑ บทกาํหนดโทษ

มาตรา ๕๙ เจาของ ผูครอบครองแหลงกําเนิดมลภาวะ หรือผูใด โดยจงใจหรือประมาท

เลินเลอ กอใหเกิด หรือเปนแหลงกําเนิดของการรั่วไหลหรือการแพรกระจายของมลภาวะ อันเปนเหตุใหผูอ่ืนไดรับความเสียหายตอชีวิต รางกาย สุขภาพ อนามัย หรือเปนเหตุใหทรัพยสินของผูอ่ืนหรือของรัฐเสียหายดวยประการใด ๆ ใหสันนิษฐานไวกอนวา ผูนั้นตองรับผิดและมีหนาที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายเพื่อการนั้น

คาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายตามวรรคหนึ่ง หมายรวมถึง คาใชจายทั้งหมดที่หนวยงานของรัฐหรือผูเสียหายตองรับภาระจายจริงในการขจัดมลภาวะที่เกิดขึ้นนั้นดวย

เจาของ ผูครอบครองแหลงกําเนิดมลภาวะ หรือผูที่กอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรง ตองรับผิดในคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายพิเศษในกรณีที่การรั่วไหล การแพรกระจายของมลภาวะ หรือการกระทําดังกลาวตามวรรคหนึ่ง กอใหเกิดผลกระทบและความเสียหายอยางรายแรงตอชีวิต รางกาย ทรัพยสิน หรือเปนภัยพิบัติตอสาธารณะ

มาตรา ๖๐ ผูใดกระทําหรือละเวนการกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยกฎหมายอัน

เปนการทําลาย หรือทําใหสูญหาย หรือเสียหายแกทรัพยากรน้ํา ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายนั้นตามมูลคาทั้งหมดของทรัพยากรน้ํา

คาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายตามวรรคหนึ่ง หมายรวมถึง คาความเสื่อมสภาพของทรัพยากรน้ํานั้นและคาใชจายทั้งหมดที่หนวยงานของรัฐ หรือชุมชนตองรับภาระจายจริงในการขจัดความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นดวย

ผูที่กระทําหรือละเวนการกระทําอันเปนการทําลาย ทําใหสูญหาย หรือเสียหายอยางรายแรงตอทรัพยากรน้ํา ตองรับผิดในคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายพิเศษ หากปรากฏวาการกระทําหรือการละเวนการกระทํานั้น กอใหเกิดการทําลาย ทําใหสูญหาย หรือสรางความเสียหายอยางรายแรงตอทรัพยากรน้ํานั้น

มาตรา ๖๑ ผูใดใชทรัพยากรน้ําประเภทที่ ๒ ตามมาตรา ๔๖(๒) โดยไมไดรับอนุญาตหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ หรือเง่ือนไขที่กําหนดในใบอนุญาตที่กําหนดตามมาตรา ๔๗(๒) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๖๒ ผูใดใชทรัพยากรน้ําประเภทที่ ๓ ตามมาตรา ๔๖(๓) โดยไมไดรับอนุญาตหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ หรือเง่ือนไขที่กําหนดในใบอนุญาตที่กําหนดตามมาตรา ๔๗(๓) ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสามป หรือปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาทถึงสามลานบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ

Page 42: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

62

บันทึก

Page 43: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

รายงานการศกึษารางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... 63

มาตรา ๖๓ ผูใดฝาฝนกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๔๗(๑) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๖๔ ผูใดขัดขวางการปฏิบัติงานของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๕๐ โดยไมมี

เหตุผลอันสมควร ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๖๕ ผูใดฝาฝนคําส่ังที่ออกตามมาตรา ๒๑ คําส่ังรัฐมนตรีที่ออกตามมาตรา ๓๙ และคําส่ังที่ออกตามมาตรา ๕๑ วรรคสอง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๖๖ ผูใดครอบครอง รุกลํ้าหรือปลูกสรางส่ิงใดในแหลงน้ําธรรมชาติโดย ไมชอบดวยกฎหมาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสามแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

การอนุญาตใหบุคคลใดครอบครอง รุกลํ้าหรือปลูกสรางส่ิงใดในแหลงน้ําธรรมชาติ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๖๗ ในระหวางที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ยังมิไดกําหนดขอบเขตลุม

น้ํา หรือยังมิไดจัดตั้งคณะกรรมการลุมน้ําในลุมน้ําใด ใหคณะกรรมการลุมน้ําตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารทรัพยากรน้ําแหงชาติปฏิบัติหนาที่ตามเดิมในลุมน้ํานั้นไปพลางกอน ทั้งนี้ ไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

................................. นายกรัฐมนตรี

Page 44: บทที่ 4 - v-reform.orgv-reform.org/wp-content/uploads/2012/06/ร่างพรบ.ทรัพยากร... · บทที่ 4 ร างพระราชบ ัญญ

64

บันทึก