การป องกันความเสี่...

95
การปองกันความเสี่ยงดานสุขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล รศ. พญ. เนสินี ไชยเอีย ภาควิชาเวชศาสตรชุมชนและสํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน UHOSNET MEETING 25 ตุลาคม 2550

Transcript of การป องกันความเสี่...

Page 1: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การปองกันความเสี่ยงดานสุขภาพในบุคลากร

ของโรงพยาบาล

รศ. พญ. เนสนิี ไชยเอียภาควิชาเวชศาสตรชุมชนและสํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

UHOSNET MEETING 25 ตุลาคม 2550

Page 2: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

Acknowledgement

• เครือขายโรงเรียนแพทยสรางเสริมสุขภาพดาน

อาชีวอนามัย ภายใตการสนับสนุนของ กสพท./

สสส. สําหรับการสนับสนุนคาเดินทางทั้งหมด

• คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Page 3: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ความสาํคัญ

• เพื่อใหผูปฏิบัติงานปลอดภัยจากความเสี่ยงในขณะปฏิบัติงาน

• เพื่อใหบุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดี• เพื่อใหไดงานบริการที่มปีระสิทธิภาพ

Page 4: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ที่มา : Bureau labour statistic year of 2005

สถิติการเจ็บปวย

Page 5: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ทางกายภาพ

คนทาํงานทาง

ชีวภาพ

ทางการยศาสตร

ทางเคมีแบคทีเรีย

ไวรัส ฯลฯ

ความรอน แสง เสียง รังสี ฯลฯ

สารเคมี

โลหะหนัก ฯลฯ

ทาทางการทํางาน

สภาพแวดลอมที่มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุและโรคจากการทํางานสภาพแวดลอมที่มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุและโรคจากการทํางาน

Page 6: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ระยะของการปองกันโรค

Primary prevention

Secondary prevention

Tertiary prevention

No disease Asymptomatic disease

Symptomatic disease

เริม่เปนโรค โรคแทรกซอน

ตาย

พิการ

เริม่เปนอาการ

เวลาที่คัดกรอง เวลาที่วินิจฉัยโรค

เวลานํา (lead time)

Page 7: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ทําอยางไรและใครเกี่ยวของ• มนีโยบายดานอาชีวอนามัยและความปลอดภยัจากผูบริหาร

(ฝายบริหาร, ฝายทรัพยากรบุคคล)

• มีคณะกรรมการหรือมีหนวยงานในการดําเนนิงานอยางจริงจัง

• มีการประสานงานและทํางานรวมกันเปนอยางดีกับ

IC, RM, HRD

• ตองมี audit จากกลไก HA, HPH, TQA

Page 8: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

นโยบายดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

• นโยบายดานสวัสดิการแกบุคลากร

• นโยบายการตรวจสุขภาพกอนเขางานและการตรวจสุขภาพ ประจําปหรือตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทํางาน

• นโยบายดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน

• นโยบายในดานการพัฒนาศกัยภาพในการทํางานของบุคลากร

Page 9: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

โครงการสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม(Safety Health and Environment; SHE )

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนhttphttp://://wwwwww..mdmd..kkukku..acac..thth//sheshe

Page 10: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

Safety(S)

Health(H)

Environment(E)

Page 11: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่
Page 12: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

คณะกรรม

การ

สงเสริม

และฟนฟู

สมรรถ

ภาพทาง

กาย

คณะกรรม

การอาชีว

อนามัยและ

ความ

ปลอดภัยใน

การทํางาน

คณะกรรม

การ

ควบคุม

วัตถุมีพิษ

และ

สารพิษ

คณะกรรม

การ

ควบคุม

เคมีบําบัด

คณะกรรม

การควบคุม

โรคติดเชื้อ

ใน

โรงพยาบาล

คณะกรรม

การกาํจัด

กาก

กัมมันต

รังสี

คณะกรรม

การบริหาร

และพัฒนา

สิ่งแวดลอม

อัคคีภัยและ

อุบัติภัย

คณะกรรม

การปองกัน

อัคคีภัยและ

อุบัติภัยใน

คณะ

แพทยศาสตร

คณบดีคณะแพทยศาสตรคณบดีคณะแพทยศาสตร

โครงสรางคณะกรรมการอํานวยการ

Page 13: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ดานการสรางเสริมสุขภาพ

Page 14: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

กิจกรรมดานสุขภาพ ประกอบดวย- การกระตุนโดยการประชาสัมพันธ- การมีสวนรวมในการปฏิบัติ

- กิจกรรม MD-Bike Rally

- การรณรงคสวมหมวกนิรภัย

- คายอาสาพัฒนาการสรางเสริมสุขภาพ

ฯลฯ

Page 15: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

จัดกิจกรรมเชงิรุกอยางตอเนื่อง

- การใหบริการ fitness center

- การจัดกิจกรรมลีลาศเพื่อสุขภาพทุกวัน

- การจัดทําระดบัปรมิาณพลังงานอาหาร

ของรานคาโรงอาหารคณะแพทยศาสตร

ดานการสรางเสริมสุขภาพ

Page 16: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

FITNESS CENTER

Page 17: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

AEROBIC EXERCISE

Page 18: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ปายแสดงปริมาณ

พลังงานอาหาร

Page 19: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดทําแบบบันทึกสุขภาพบุคลากรและนักศึกษา

• ฐานขอมูลสุขภาพบุคลากรและนกัศกึษา เพื่อจดัเกบ็ขอมลูฐานขอมลูดานสุขภาพของบคุลากร

• สามารถนําเอาขอมูลที่ไดมาวิเคราะห แปลผล เพื่อนําไปใชในการวางแผนจดัการดานการสรางเสริมสุขภาพ

ปองกนั รักษา ฟนฟสูุขภาพของบุคลากรและนักศกึษา

Page 20: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดทําแบบบนัทึกสุขภาพจํานวน 4,500 เลม

Page 21: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ผลการดําเนินงาน• มีขอมูล 660 คน ตอบกลับจาก ประมาณ 3,000 ฉบับ (รอยละ 22)

เคยไดรับการตรวจสุขภาพประจําป 2546 รอยละ 44.5ปญหาสุขภาพ เรียงตามลําดับ

1. ปวดกลามเนือ้ (44%)2. ปวดหลัง (38.9%)3. โรคภูมิแพ (27%)

Page 22: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ผลลัพธ

• จัดทําโปรแกรมตรวจสุขภาพตามความเสีย่ง

• จากการทํางานสําหรับบคุลากรแตละหนวยงาน

เพื่อใหเกิดเปนเกิดวัฒนธรรมการตรวจสุขภาพ

ตามความเสี่ยงจากการทํางาน และเปนการเฝาระวังดานสุขภาพ

Page 23: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

กิจกรรมตอเนื่อง

• นัดมาใหคําปรึกษาทีค่ลินิกสุขภาพบุคลากร• เยี่ยมสํารวจหนวยงานเพื่อประเมินความเสี่ยง ที่อาจเนื่องจากงาน

Page 24: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดตั้งคลินิกสุขภาพของบุคลากร

ใหบริการทุกวันพฤหัสบดี เวลา 09.00-12.00 น.

วัตถุประสงคเพื่อ

- ใหบริการตรวจสุขภาพบุคลากร

- บุคลากรที่มีปญหาสุขภาพจากโรคที่เกิดจากการทํางาน

- บริการใหคําแนะนําการดูแลสุขภาพแกบุคลากร

Page 25: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ไดแก 1. การตรวจสมรรถภาพปอด

2. การตรวจสมรรถภาพการไดยิน เชน ซอมบํารุง,ซักรีด ฯลฯ

3. การตรวจวัดสายตา

4. การตรวจหาเชื้อไวรัส เอดส

5. การตรวจ Nasal swab C/S , การตรวจ Rectal swab C/S

6 . การทดสอบ Latex allergy

7. การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และใหวัคซีน

การตรวจสุขภาพบคุลากรตามความเสี่ยงจากการทํางาน

Page 26: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

• จดัใหมีการปองกนัโรคโดยการใหวัคซีน เชน HBV,TT เปนตน

• การรายงานโรคและอบุัติเหตจุากการทํางาน• การปองกนัอนัตรายจากเคมีบําบดั• การสํารวจการใชเครื่องปองกนัอนัตรายสวนบุคคล• การทดสอบ Tuberculin Skin Test

การปองกันโรคและลดอุบัติเหตุ

Page 27: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การรายงานโรคและอุบัติเหตุจากการทํางาน

Page 28: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การใชเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล

Page 29: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การมีสวนกับรวมกบัชมุชนและหนวยงานอื่น

- กิจกรรมมาราธอนนานาชาติ ครั้งที่ 2

Page 30: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ดานความปลอดภัย

Page 31: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

• Walk-through survey และประเมนิความเสี่ยงจาก

สภาพแวดลอมในการทํางาน

• จัดอบรมบุคลากรใหความรูดานอาชีวอนามัยตั้งแตระดับหัวหนา

งานและระดบัปฏิบตัิ

• จัดทําเครือขายระหวางคณะกรรมการบอรดอาชีวอนามัยกับ

เจาหนาที่ความปลอดภัยและอาชีวอนามยัระดับหัวหนางานและ

ระดับปฏิบัตกิาร

กิจกรรมดานความปลอดภัย

Page 32: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

WalkWalk--through surveythrough survey

Page 33: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การประเมนิสิ่งแวดลอมในการทํางาน

ตรวจวัดปริมาณตรวจวัดปริมาณ Formaldehyde Formaldehyde ตรวจวัดปริมาณตรวจวัดปริมาณ N N2OOที่หองผาตัด ตรวจวัดปริมาณ Xylene

ที่หองปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร ที่หองปฏิบัติการพยาธิวิทยา

Page 34: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การปรับปรุงสภาพแวดลอม

ในการทํางาน

กอนปรับปรุง

หลังปรับปรงุ

Page 35: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ความสะอาด

/เปนระเบียบ

ความปลอดภยั

ระบบทอน้าํ/น้าํประปา

ระบบแอร/เครื่องปรบัอากาศ

ระบบไฟฟา/ไฟฉุกเฉิน

บุคลากรเขาใจแผนหลกั

บุคลากรไดรบัการอบรมอคัคภีัย

หนวยงานมแีผนอคัคภียัของตนเอง

มแีผนผงัตดิในทีเ่ปดเผย

ตรวจสอบอปุกรณสม่าํเสมอ

ความปลอดภยั/เพียงพอทางหนไีฟ

ความเพียงพออปุกรณดบัเพลงิ

ขยะตดิเชื้อ

ของมคีมทีอ่าจเปนอนัตราย

ขวดยามะเรง็/สารเคมี

การแยกผาตดิเชื้อ

สารไวไฟ

ควันหรอือากาศพิษ

มลพิษทางเสยีง/แสง

การควบคมุปองกนัการตดิเชื้อ

การตดิเชื้อแผลผาตดั (S

SI)

การตดิเชื้อในกระแสเลอืด

สถติกิารตดิเชื้อปอดอกัเสบ

อุบัตกิารณการปฏิบัตงิานบุคลากร

การเกดิโรคจากการปฏบิัตงิาน

เครือ่งมอืแพทยทีอ่าจสญูหาย

อุปกรณแกวแตกไดงาย

เครือ่งมอืราคาแพง

1 รงัสีวทิยา

2 วสิัญญีวทิยา

3 ศลัยศาสตร

4 ออรโธปดกิส

5 สูตศิาสตรนรเีวชวทิยา

6 อายรุศาสตร

7 นติเิวชศาสตร

8 เวชศาสตรฟนฟู

9 จักษุวทิยา

10 จิตเวชศาสตร

11 กุมารเวชกรรม

12 จุลชวีวทิยา

13 ปรสติวทิยา

14 พยาธิวทิยา

15 เวชศาสตรชมุชน

16 เภสัชวทิยา

17 ชวีเคมี

แผนกการพยาบาลศัลยกรรม

18 หอผูปวย 3 ก

19 หอผูปวย 3 ข

20 หอผูปวย 3 ค

21 หอผูปวย 5 ค

แผนกการพยาบาลกมุารเวชกรรม

22 หอผูปวย 2 ง

23 หอผูปวยทารกแรกเกิดระยะวกิฤต (NICU)

ภาควิชา/หนวยงาน

ภาควิชาคลินิก

ภาควิชาปรคีลินิก

งานบรกิารพยาบาล

5. ความเสีย่งของกา

ทรพัยากร

ผลการวิเคราะหบญัชรีายการความเสีย่งของโรงพยาบาลศรนีครินทร ครั้งที่ 1/2547สํารวจ

1. โครงสรางกายภาพ 2. อัคคภียั 3. ขยะ/ของเสียจากระบบทีเ่ปนอันตราย

และแนวทางจัดการ

4. การควบคมุและตดิตามการตดิเชือ้/

อุบัตเิหตุ

Page 36: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดทําคูมืออาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน

จํานวน 500 เลม

โดยมีเนือ้หาเกี่ยวกับ

1. การจัดบรกิารอาชีวอนามัยและความ

ปลอดภัยในการทํางานของโรงพยาบาล

2. ความปลอดภัยในการทํางาน

3. การปองกันและควบคมุอันตรายจาก

สิ่งคุกคามทางสุขภาพในโรงพยาบาล

ไดแก - สิ่งแวดลอมทางเคมี

- สิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

- สิ่งแวดลอมทางกายภาพ

- สิ่งแวดลอมทางจิตวิทยาสังคม

Page 37: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดทําคูมือการกําจัดสารเคมี

จํานวน 200 เลม

โดยมีเนือ้หาเกี่ยวกับ

1. ชื่อสารเคมี

2. ชื่อพอง

3. สมบัติทางเคมีและชวีภาพของสารเคมี

4. ความเสถียรและความวองไวตอปฏิกิริยา

5. การควบคุมการสัมผัสสาร/การปองกันสวนบุคคล

6. ขอมลูทางพิษวิทยา

7. มาตรการปฐมพยาบาล

8. มาตรการกําจัดตามขอมูลของ MSDS

9. มาตรการกําจัดตามขอมูลของคณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน

ฯลฯ

Page 38: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

จํานวน 150 เลม

คูมือสารเคมีกับความปลอดภัย

โดยมีเนือ้หาเกี่ยวกับ

1. ขนาดความรุนแรงของสารเคมี

2. การขนสงสารเคมี

3. สารกัดกรอน

4. สารอันตรายตอสุขภาพ

5. แบบสํารวจการเก็บสารเคมีกับความปลอดภยั

6. การทําลายหรอืการกําจัดสารเคมีใหปลอดภัย

7. วิธีการกําจัดสารเคมีที่ไมมชีือ่

8. การวางแผนเพื่อความปลอดภัย

9. แนวปฏิบัติการจัดการดานความปลอดภัยในการ

ทํางาน

10. กฎหมายเกีย่วกับสารเคมี

Page 39: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

1. การสํารวจและจัดทําทะเบียนสารเคมีที่ไมไดใชในคณะแพทยศาสตร

2. จัดทําแนวทางการกําจัดสารเคมี

3. จัดทําคูมือการกําจัดสารเคม ี

4. จัดทําฐานขอมูลสารเคมี คณะแพทยศาสตร

การควบคุมวัตถุมีพิษและสารพิษ

หองเก็บสารเคมีรอการกําจัด

ภาควิชา/หนวยงาน จาํนวนสารเคมีที่ใชภาควิชาอายุรศาสตร 35หนวยผลิตยา 168ภาควิชาชีวเคมี 823ภาควิชาจลุชีววิทยา 811ภาควิชาสรีรวิทยา 217ภาควิชาเภสัชวิทยา 160หนวยจุลทรรศน 155

รวม 2.369

Page 40: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การควบคุมสารเคมีบําบัด1. จัดประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน

2. เยี่ยมสํารวจหอผูปวยที่มีการใหยาเคมีบําบดั

3. ตรวจเยี่ยมการทิ้งขยะเคมีบําบดัรวมกับหนวยติดเชื้อ 2 ครั้ง

4. ประสานงานระหวางหอผูปวยที่มีการใชยาเคมีบําบดักับ

ผูบริหารในการติดตามงานเพื่อใหเกิดความคลองตัวในการ

ทํางานของหอผูปวย

5. จัดหา Filter ตูผสมยาเคมีบําบดัหอผูปวย 5 จ

Page 41: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การกําจัดกากกัมมันตภาพรังสี1. จัดตั้งคณะกรรมการซึ่งมีหนาที่กํากับดูแลการใชสารกัมมันตรังสีและรังสี (Radiation

Safety Committee หรอืผูดูแลการใชรงัสี (Radiation Protection Supervisor) เพื่อใหการ

ใชรังสีเปนไปอยางถูกตองปลอดภัยตอบุคลากรในโรงพยาบาลและประชาชนทั่วไป

2. กําหนดมาตรการและมาตรฐานใชสารกัมมันตรังสี และตนกําเนิดรังสีชนิดอื่น ๆ

3. มีการกําหนดแผนฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางรังสี และจัดใหมีการซักซอมการปฏิบัติ

เปน ประจํา

4. จัดอบรม เผยแผใหความรูในเรื่องการปฏิบัติงาน หรือการใชรังสีทกุชนิดอยางปลอดภัย

แกบุคลากรคณะแพทยศาสตร และประชาชนทั่วไป โดยใชสือ่ทุกรปูแบบ

5. เสนองานวิจัยที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยจากรังสี

มีมาตรการปองกันที่ชัดเจนตามมาตรฐาน

สํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ

Page 42: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การปองกนัอคัคีภัยไดแก 1. การสํารวจความเพียงพอของอุปกรณดับเพลิง

2. การทบทวนการจัดสรรอุปกรณดับเพลิงใหม

ใหเหมาะสมกับสภาพความเสี่ยง

3. การอบรม ซอมแผนหอพักนักศึกษา

4. การทําแผนซอมแผนอัคคีอาคารตาง ๆ

- อาคารวิทยาศาสตร

- อาคารเตรียมวิทย

- อาคารเรียนรวม

5. ฝกการเปนผูอํานวยการดับเพลิง

(ร.ป.ภ.และซอมบํารุง)

6. อบรมการปองกันอัคคีภัยทุกป

Page 43: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ดานสิ่งแวดลอม

เพื่อเอื้อตอการทาํงาน

ไมสรางมลพิษ

Page 44: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

• การปรับปรุงแกไขโครงสรางทาง

กายภาพใหดูปลอดภัยและสวยงาม

• การจัดการระบบการจัดการของเสีย

อยางเปนระบบและสามารถสรางรายได

ใหแกองคกร

• การจัดระบบน้ําเสียขององคกร

การบริหารและพัฒนาสิ่งแวดลอม

Page 45: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดการขยะ Recycle

Page 46: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่
Page 47: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดทําคูมือการกําจัดขยะมูลฝอยในโรงพยาบาลศรีนครินทร

จํานวน 500 เลม

โดยมีเนือ้หาเกี่ยวกับ

1. นโยบายและมาตรการดานการกําจัดขยะมูลฝอย

2. การแยกประเภทขยะ

3. การรวบรวมขยะ

4. บริเวณหองพักขยะ

5. ขั้นตอนการเตรียมตัวของพนักงานขนยายขยะ

6. อุปกรณการขนยายขยะ

7. อุปกรณการขนยายและการขนยายขยะ

8. การกําจัดขยะ

9. ขอควรปฏิบัติสําหรบับุคลากร

ฯลฯ

Page 48: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

แผนภูมิการกําจัดสารเคมี

หนวยงาน

แยกประเภทขยะสารเคมี

Formalin / Alcoholกรด / ดาง Halogenated solvent/

Cyanide / Acetronitrile

Toluene / Phenol /

Glutaraldhyde

เจือจางดวยน้ํา

สะเทินดวยกรด/ดาง

ใสภาชนะบรรจุ ปดมิดชิด

แยกตามชนิดของสาร

คา pH 5.5-8.8

บอบําบัดน้ําเสีย รอสงบริษัทกําจดั

คณะกรรมการควบคุมสารพิษและวัตถมุีพิษคณะกรรมการควบคุมสารพิษและวัตถมุีพิษ

คณะแพทยศาสตรคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนมหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 49: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การบาํบัดน้ําเสีย

ระบบบําบัดน้ําเสียของ คณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนระบบบอผึง่ ซึ่งมกีาร

ตรวจวเิคราะหคุณภาพน้ําเสียทุกเดือน โดยหนวย

ตรวจสอบคุณภาพน้ํา ภาควิชาชีวเคมี คณะ

แพทยศาสตร มหาวทิยาลัยขอนแกน

Page 50: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

- จัดแสดงผลงาน วัน SHE- การศึกษาดูงาน - การศึกษาวิจัย - จัดทํา Website โครงการ SHE

httphttp://://wwwwww..mdmd..kkukku..acac..thth//sheshe

กิจกรรมอืน่ ๆ

Page 51: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่
Page 52: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ศึกษาดูงานที่

ร.พ.เกษมราษฎร รัตนาธิเบศ

ศึกษาดูงานที่ NPC ระยอง

Page 53: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวชิาการเรื่องอาชีวอนามัยใน

บุคลากรดานสุขภาพ ณ ประเทศญี่ปุน (8-10 ต.ค. 47) จํานวน 7 เรื่อง

Page 54: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

มีผูมาศึกษาดูงานมีผูมาศึกษาดูงาน

Page 55: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

• สามารถถายทอดเปนองคความรู ใหแก องคกรที่กําลังพัฒนา เชน การจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งสามารถสรางชื่อเสียง

ใหแกองคกรและบคุลากร

Page 56: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ตัวชี้วัดที่บอกวาการพัฒนาโครงการ SHE มีแนวโนมวาจะเกิดมรรคผล คือ

• มีการขยายการดําเนินงานทั้งภายในและภายนอก

• บคุลากรผูเกี่ยวของไดรับเชิญไปเปนวทิยากรใหแกองคกรภายในและภายนอก

• มบีคุลากรในองคกรผูมาติดตอสอบถาม รายงาน หรือรองเรียนเพิ่มมากขึ้น

Page 57: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สํานักงานอาชวีอนามัยและความปลอดภัยสํานักงานอาชวีอนามัยและความปลอดภัย

(Occupational Health and Safety Office)คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ที่ตั้ง :สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ชั้น 3 อาคารเรียนรวม คณะแพทยศาสตร

โทรศัพท: 043-363587 และ 043-363362 เบอรภายใน 63587 และ 63362

Website: www.md.kku.ac.th/she และ E-mail: [email protected]

Page 58: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ศ.นพ.วิรุฬห เหลาภัทรเกษม

คณบดคีณะแพทยศาสตร

รศ.ดร.สัญญา รอยสมมุติรองคณบดฝีายบริหาร

ผศ.พญ.เนสนิี ไชยเอียรักษาการในตําแหนงหวัหนาสํานกังานอาชวีอนามัยและความปลอดภัย

นางนภาพร ครุสันธิ์พยาบาลวิชาชีพ

สังกัดภาควิชาเวชศาสตรชุมชน

นางสาวนิภาพร วารีสยันักอาชีวอนามัย และผูประสานงานสํานักงาน ฯ

สังกัดสํานักงานคณบดี

นายไชยยศ ศรีบุญเรืองนักอาชีวอนามัย

สังกัดภาควิชาเวชศาสตรชุมชน

โครงสรางการบริหารงาน

Page 59: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

คณบดีคณะแพทยศาสตร

รองคณบดีฝายบริหาร

หัวหนาสํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (เลขานุการคณะกรรมการบริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภัย)

ผูประสานงานสํานักงาน ฯเบอรภายใน 63587 และ 63362

คณะกรรมการบริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภยั

หนวยงานสนับสนุน1. HA, QA, RM

2. งานซอมบํารุง

3. งานแมบาน

4. งานโภชนาการ

5. หนวยอาชีวเวชศาสตร

6. หนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

เจาหนาที่ความปลอดภัยและอาชวีอนามัยในโรงพยาบาล (จป.รพ.) ประจาํหนวยงาน

คณะกรรมการดําเนินงานที่เกีย่วของคณะกรรมการดําเนินงานที่เกีย่วของ

โครงสรางการทํางานโครงสรางการทํางาน

Page 60: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ขอบขายภาระงาน1. กําหนดนโยบายและจัดทําแผนการดําเนินงานดานสุขภาพ ความปลอดภัยในการทํางาน และการจัดการสิ่งแวดลอม2. กําหนดแผนงาน ติดตาม รวบรวม ประเมิน วิเคราะห สรุป และ

รายงานผลงานทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

3. จัดใหบริการการดําเนินงานดานสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม

4. ตรวจสอบ ใหคําแนะนํา และชวยเหลือหนวยงานตาง ๆ 5. ติดตามความคบืหนาผลการดําเนินงานของคณะกรรมการ

ดําเนินงานที่เกี่ยวของตาง ๆ

Page 61: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

คณะกรรมการดําเนินงานที่เกี่ยวของ ดังนี้1. คณะกรรมการบริหารสํานักงานอาชีวอนามยัและความปลอดภัย

2. คณะอนกุรรมการติดตามการดําเนนิงานดานอาชีวอนามยัและ

ความปลอดภัยในการทํางานในหนวยงาน

3. คณะอนกุรรมการดําเนนิงานดานการจัดการสิ่งแวดลอม

4. คณะกรรมการพัฒนาหองออกกาํลังกาย (Fitness Center)

5. เครือขายเจาหนาที่ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

ในโรงพยาบาล (จป.รพ.)

Page 62: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

1. การสรางเสริมสุขภาพ2. งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน3. การจัดการสิ่งแวดลอม4. การจัดอบรม และบริการวิชาการ

กิจกรรมการดําเนินงานเกี่ยวของกับกิจกรรมการดําเนินงานเกี่ยวของกับ

Page 63: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ตัวอยางการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยในการทํางานของ โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มข.

Page 64: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

1. ประเมนิความเสี่ยง

2. จัดลําดับความสําคัญของความเสี่ยง

3. ปรับปรุงสภาพในการทํางาน

การจัดการดานความเสี่ยงจากสิ่งแวดลอม ในการทํางาน

Page 65: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

1.งานเชื่อมแกส ถงัแกส ถั งลมกระแทก

เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร

ตั้งถังไมมั่นคง

ผู ป ฏิ บั ติ ง า นถู ก ชน

ได รั บ บ า ด เ จ็ บห รื อ

อุ ป ก ร ณ ชํ า รุ ด เ สี ย

หาย

2 1(53.6%)

2 เล็กนอย

แรงดัน

ของแกส

วาลวถังแกสหัก

ขณะลมกระแทก ทําใหแรงดันพุง

ออกมาจากถัง

ผู ป ฏิ บั ติ ง า น ถู ก ช น

ก ร ะ แ ท ก ไ ด รั บ บ า ด

เ จ็ บ ห รื อ ชน อุ ป ก รณ

เสียหาย

3 2(62.3%)

6 สูง

แกสไวไฟ เ กิดการรั่ ว ไหล

ขอ ง แ ก ส ไ ว ไฟ

จากวาลว หัวถั ง

หรือขอตอตางๆ

เ กิ ด ไ ฟ ไ ห ม ทํ า ใ ห

อ า ค า ร ซ อ ม บํ า รุ ง

ชํ า รุ ด เ สี ย ห า ย แ ล ะ

/ห รื อ ผู ป ฏิ บั ติ ง า น

ไดรับบาดเจ็บ

3 3(77.3%)

9 ยอมรับไมได

1. ตวัอยางการประเมนิความเสี่ยง

กลุมงาน : ชางซอมบํารุง

กิจกรรมแหลง

อันตราย

กระบวนการ

เกิดอันตรายผลกระทบ

การประเมินความเสี่ยง

ความรุนแรง โอกาส ผลคะแนน

ระดับ

ความเสี่ยง

Page 66: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

2 การจัดระดบัความเสี่ยง

ความเสี่ยง =

ความรุนแรง×โอกาส

ความรุนแรง

เล็กนอย (1)ความรุนแรง

ปานกลาง (2)ความรุนแรง

มาก (3)โอกาสเกิดนอยหรือ

ไมนาเกิด (1)1 =

ความเสี่ยงเล็กนอย

2 = ความเสี่ยงที่ยอมรบัได

3= ความเสี่ยงปานกลาง

โอกาสเกิดขึ้นได

ปานกลาง (2)2 = ความเสี่ยงที่ยอมรบัได

4 = ความเสี่ยงปานกลาง

6 = ความเสี่ยงสูง

โอกาสเกิดขึ้นไดมาก/

บอยครั้ง (3)3= ความเสี่ยงปานกลาง

6 = ความเสี่ยงสูง

9 =ความเสี่ยงที่

ยอมรับไมได

Page 67: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

3. การปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน

กอนปรับปรุง

หลังปรับปรงุ

Page 68: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน

Page 69: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน

Page 70: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ความเสี่ยงตออุบัติเหตุจากการทํางาน

Page 71: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

หลังปรับปรุง

Page 72: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สํารวจความเสี่ยง ปายหนีไฟในหองประชุมตางๆ วันที่ 17 ก.พ.2549

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 73: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดการความเสี่ยงจาก

สภาพแวดลอมในการทํางาน

เมื่อไดรับรายงาน

Page 74: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สถิติอุบัติการณความเสี่ยงจากสภาพแวดลอมในการทํางาน

ที่ไดรับแจงจากหนวยงานตาง ๆ 57 ครั้ง (ป 2550)

- การระบายอากาศ/ คณุภาพอากาศ 16 ครั้ง- สารเคมี 11 ครั้ง- ทาทางในการทํางาน 8 ครั้ง- แสงสวางไมเพียงพอ 7 ครั้ง- ความเสี่ยงจากอุบัติเหตุ เชน เครื่องจักรกล หมอไอน้ํา 6 ครั้ง- เสียงดัง 5 ครั้ง- ฝุนละออง/ ควัน 3 ครั้ง- ความเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย 1 ครั้ง

Page 75: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ETO outbreak เมื่อ 4 ตุลาคม 2550

- Skin Irritation due to ETO exposure 7 คน

- Irritant Contact Dermatitis 6 คน

- Asthma, possibly caused by ETO exposure 1 คน

- Chronic Sinusitis, possibly caused by ETO exposure 1 คน

Page 76: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สํารวจความเสี่ยง ปญหากลิ่นเหม็น ตึกผูปวย 2 ฉ. วันที่ 25 พ.ค.2549

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 77: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ปญหาที่พบ

• ทอระบายน้ําอางลางเครื่องมืออดุตนั ทาํใหเกิดการหมักของเศษปฏิกูล เกดิแกส CH4, H2S ซึ่งเปนอนัตรายตอทางเดนิหายใจ และยังเปนสารไวไฟ

การดําเนินการ

• สํารวจหาตนตอของกลิ่นเหม็น

• ขอความอนุเคราะหใหหนวยงานซอมบํารุงตรวจสอบ และดาํเนินการซอมแซม

Page 78: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สํารวจความเสีย่ง หนวยไตและไตเทียม วันที ่2 และ 22 กุมภาพันธ 2549

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 79: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ปญหาที่พบ

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

•การระบายอากาศไมมีประสิทธภิาพ•บุคลากรเปนหวัดเรื้อรังเปนเวลานาน•และมีอาการผื่นคันตามใบหนาและแขน ขา

การดําเนินการ

• เชิญผูเชี่ยวชาญดานการระบายอากาศ มารวมประเมินดานการระบายอากาศ • ตรวจสอบภาวะการแพ และสถานะสุขภาพของเจาหนาที่•รายงานผลการสํารวจตอผูบริหาร และเสนอแนะแนวทางการแกไข ปรับปรุงระบบระบายอากาศ ทั้งระบบระบายอากาศทั่วไปและระบบระบายอากาศเฉพาะที่

Page 80: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สํารวจแสงสวาง ตึกผูปวย 2 ฉ.และ 4ข. วันที่ 1 มิ.ย.2549

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 81: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ปญหากลิ่นเหม็นเชื้อราที่ OPD วันที่ 29 ม.ิย.2549

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 82: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ปญหาที่พบ

• ปญหากลิ่นเหม็นราในหองตรวจอยางรุนแรง

การดําเนินการ

• ตรวจสอบปญหา รวมกับงานซอมบํารงุ พบวา มีราขึ้นตาม Coil จายความเย็น เกิดจากการระบายน้ําจากถาด drain ไมได• รายงานผลและเสนอแนะแนวทางการแกไขตอผูบริหาร• ลาง Coil / Filter และปรับความลาดเอียงของถาด Drain ใหม

Page 83: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

เชื้อราที่ตรวจพบ

Aspergillus fumagatusAlternaria sp.Aspergillus sp.Cladosporium sp.

Page 84: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

ดานสุขภาพ

Page 85: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

นภาพร ครุสันธิ์, กิตตศิกัดิ์ สวรรยวิสุทธิ์, เนสินี ไชยเอีย. J Med Assoc Thail 2005; 88(11); 1619-23.

Page 86: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

นภาพร ครุสันธิ์, กิตติศักดิ์ สวรรยวสิุทธิ์, เนสินี ไชยเอีย. J Med Assoc Thail 2005; 88(11); 1619-23.

Page 87: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

กิจกรรมตอเนื่อง

• จัดกิจกรรมการออกกําลังกาย/ลดน้ําหนัก

• การตรวจสุขภาพกอนเขางาน/

ตามความเสี่ยงจากงาน

Page 88: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

กิจกรรมดานวิชาการกิจกรรมดานวิชาการ

การพัฒนาระบบศูนยประสานงานและพัฒนาขอมูลดานการ

สรางเสริมสุขภาพ ความปลอดภัย และการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี- ฐานขอมูลดานการสรางเสริมสุขภาพดานการออกกําลังกาย- ขอมลูแบบบันทึกภาวะสุขภาพของบคุลากรและนักศึกษา- สถิติจํานวนการใชบริการหองออกกําลังกาย

(Fitness Center)- สถิติจํานวนเจาหนาที่ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

ในโรงพยาบาล (จป.รพ.)

Page 89: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

การจัดการความรู

(knowledge management)

Page 90: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

- การอบรมเชิงปฏิบัติการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี สําหรับเจาหนาที่ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล (จป.รพ) และนักศึกษา

- การอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการตรวจประเมินและการคนหาความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมในการทํางาน เพื่อการจัดทํามาตรฐานการจัดการความเสี่ยงดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน

Page 91: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

กิจกรรมวันสรางเสริมสุขภาพ ความปลอดภัย และการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดใีนโรงเรียนแพทย

SHE Day SHE Day ครั้งที่ครั้งที่ 3 3 และและ 44

Page 92: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่
Page 93: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

แบบบันทึกสุขภาพ

คูมือการจัดการสารเคมีคูมือสารเคมีกับความปลอดภัย

คูมืออาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน

คูมือการกําจัดขยะมูลฝอย

ในโรงพยาบาลศรีนครินทร

Page 94: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่

กิจกรรมหรือโครงการที่ตองดําเนินการ1. กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการสภาพแวดลอมในการ

ทํางาน; การประเมินความเสี่ยงจากสิ่งแวดลอมในการทํางาน,

การลด/ ควบคุมความเสี่ยง

2. การดูแลสุขภาพของบุคลากร; การสรางเสริมสุขภาพ

การปองกันโรค เปนตน

3. มกีารประเมินผลอยางเปนรูปธรรม

สรุป

Page 95: การป องกันความเสี่ านสุยงดขภาพในบุคลากร ของโรงพยาบาล...ทําอย างไรและใครเกี่