โดย นายพชร วัชรรุ...

103
แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ โดย นายพชร วัชรรุงเมธา สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ.2556

Transcript of โดย นายพชร วัชรรุ...

Page 1: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ

โดยนายพชร วัชรรุงเมธา

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2556

Page 2: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

THE CONSTRUCTION BUSINESS MANAGEMENT GUIDELINE IN CRISIS

BYMr. Pachara watchararungmata

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirement for Master Degree of Business Administration

KRIRK UNIVERSITY 2013

Page 3: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

(1)

หัวขอสารนิพนธ แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติชื่อผูวิจัย นายพชร วัชรรุงเมธาคณะ/มหาวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ธมกร ธาราศรีสุทธิ

ปการศึกษา 2556

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่องแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวทางการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางในภาวะวิกฤติจํานวน 6 บริษัท ประกอบไปดวยธุรกิจขนาดใหญ ขนาดกลาง และ ขนาดเล็กในอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

กลุมตัวอยาง คือ ผูประกอบการธุรกิจรับเหมากอสรางที่ผานพนวิกฤติ ในป 2540 จํานวน 6 ราย โดยใชแบบสัมภาษณในการเก็บรวบรวม การวิเคราะห การสังเคราะห และสรุปผลจากการสัมภาษณ

ผลการศึกษาพบวากิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ ใหความสําคัญ ดานการวางแผน เปนอันดับแรก และใหความสําคัญกับการวางแผนระยะสั้น ระยะปานกลาง ไมเกิน 3-6 เดือน การวางแผนตองอาศัยปจจัยทั้งภายในและภายนอกกิจการ ปจจัยภายในประกอบดวยความพรอมดานการเงิน ดานบุคลากร สวนปจจัยภายนอกไดแก ปริมาณงานกอสรางในตลาด เปนตน ดานการจัดองคการ เปนการจัดองคการแบบเปนทางการ มีโครงสรางองคการแบบแนวดิ่ง จากบนลงลาง มีการมอบหมายหนาที่ แบบกระจายอํานาจหนาที่ การจัดกําลังคนมีการสํารวจความตองการกําลังคน การคัดเลือก การอบรม การประเมินผล เปนระบบชัดเจน การสั่งการ เปนการสั่งการใน2 รูปแบบผสมกัน คือ ดวยวาจา และ ลายลักษณอักษร มีการประชุมงานตอนเชากอนการปฏิบัติงาน ดานการควบคุม ควบคุมดานการเงิน ดานบุคลากร ดาน Balanced Scorecard เปนการวางแผนธุรกิจ 4 มุมมองคือ ดานลูกคา ดานการเงิน ดานการเจริญเติบโต และ ดานการประกอบธุรกิจ สวนความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางธุรกิจ แนวทางการจัดการในอนาคต กิจการขนาดเล็ก และขนาดใหญ มีแนวทางที่สําคัญคือ ตองมีความซื่อสัตยตอลูกคา การสรางสรรคผลงาน มีจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิสัยทัศน รับผิดชอบสังคมและการนําเทคโนโลยีมาใช ในกิจการขนาดเล็ก และขนาดกลางใหแนวทางเหมือนกันคือ ความมีระเบียบวินัยใสใจในงานที่ทําและรักษากําหนดเวลาในการทํางาน อันเปนแนวทางที่สําคัญในการจัดการในอนาคตในการประกอบธุรกิจกอสราง

คําสําคัญ : แนวทางการจัดการ, ธุรกิจกอสราง , ภาวะวิกฤติ

Page 4: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

(2)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเรื่อง แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ เลมนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ ผศ. ธมกร ธาราศรีสุทธิ ที่อนุเคราะหใหคําปรึกษาแนะนําแนวทาง แกไขขอผิดพลาด และชวยเหลือในดานตางๆ มาโดยตลอด

ขอกราบขอบพระคุณผูวิจัยและผูเขียนตําราวิชาการ ที่สรางแหลงขอมูลเพื่อใชในการอางอิงงานวิจัย รวมทั้งคณาจารย บุคลากร พี่ เพื่อนและนอง MBA มหาวิทยาลัยเกริกทุกทาน ที่ใหความรูและชวยเหลือดวยดีตลอดมา รวมทั้งผูใหสัมภาษณทุกทานที่ใหความรวมมือในการตอบคําสัมภาษณอยางครบถวน

สุดทายนี้ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และครอบครัวที่สนับสนุนและเปนกําลังใจในทุกๆ เรื่อง ทําใหการศึกษาในระดับปริญญาโทเปนไปอยางราบรื่นและทําการศึกษาสําเร็จไปไดดวยดี หากสารนิพนธเลมนี้มีขอผิดพลาดหรือบกพรองประการใด ผูวิจัยกราบขออภัยมา ณ ที่นี้

พชร วัชรรุงเมธามหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2556

Page 5: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

(3)

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (6)

บทที่ 1 บทนํา 11.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 31.3 ขอบเขตของการศึกษา 31.4 วิธีการศึกษา 41.5 ขอจํากัดในการศึกษา 51.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 61.7 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ 6

2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 72.1 อุตสาหกรรมกอสรางไทย 72.2 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับหลักการจัดองคการ 152.3 แนวคิดดานการบริหารและการจัดการ 232.4 แนวคิดทฤษฎ ีBenchmark 282.5 แนวคิดทฤษฎ ีBalanced Score card 312.6 แนวคิดทฤษฎีเรื่องเกี่ยวกับการจัดการงานกอสราง 342.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 432.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย 48

3 ผลการวิเคราะห 493.1 ขอมูลเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจรับเหมากอสราง 60

Page 6: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

(4)

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 4 บทสรุปและขอเสนอแนะ 774.1 สรุปผลการวิจัย 774.2 การอภิปรายผล 794.3 ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย 814.4 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 83

บรรณานุกรม 84ภาคผนวก 86

ภาคผนวก ก. แบบสัมภาษณโครงการวิจัย 87ภาคผนวก ข. ประวัติบริษัท 91

ประวัติผูวิจัย 95

Page 7: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

(5)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

2.1 แสดงกรอบแนวคิดของการวิจัย

Page 8: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

(6)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา3.1 ตารางแสดงขอมูลตางๆ ของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย 49

Page 9: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

อุตสาหกรรมกอสรางเปนสิ่งที่มีความจําเปนอยางยิ่งในการพัฒนาประเทศ ในการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้นกวาเดิม ซึ่งผลผลิตที่ไดประกอบดวย สิ่งปลูกสรางตางๆที่เอื้อตอการดํารงชีวิต ไดแก ที่อยูอาศัย อาคารโรงงาน สถาบันการศึกษา สถานสาธารณสุข โครงสรางเพื่อการสื่อสารและคมนาคม และ สาธารณูปโภคพื้นฐาน ไดแก ไฟฟา ประปา ถนน สะพาน และการชลประทาน เปนตน อุตสาหกรรมกอสรางเปนธุรกิจที่ เติบโตไปพรอมกับความเจริญของประเทศ หากเศรษฐกิจของประเทศรุงเรือง อุตสาหกรรมกอสรางก็จะเติบโตควบคูกันไป อีกทั้งยังเอื้อตอภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก ภาคสถาบันการเงิน และภาคแรงงาน ใหขยายตัวตามไปดวย ความเชื่อมโยงกันของกลุมอุตสาหกรรมกอสรางและธุรกิจตอเนื่องประมาณการวาธุรกิจอสังหาริมทรัพยและกอสรางมีสัดสวนประมาณรอยละ 20 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) คิดเปนมูลคาประมาณสองลานลานบาท โดยกิจการสวนใหญเปนกิจการขนาดกลางและเล็ก มีจํานวนกิจการที่จดทะเบียนในอุตสาหกรรมกอสรางประมาณแปดหมื่นถึงหนึ่งแสนรายภายใตกระแสการเปดเสรีทางการคาและบริการที่ไทยมีพันธกรณีในเวทีโลก ในป พ.ศ. 2555 ผูประกอบการไทยตองปรับตัวใหทันกับการเปดเสรีนี้ ทางภาครัฐไดจัดสรรงบประมาณกระตุนเศรษฐกิจผานโครงการไทยเขมแข็ง ดวยวงเงิน 1.56 ลานลานบาท ระหวางป 2553-2555 ซึ่งมีโครงการจํานวนมากเกี่ยวของกับภาคการกอสรางสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน จึงเปนความหวังที่จะชวยใหวงการรับเหมากอสรางฟนตัว แตปญหาที่ผูรับเหมาประสบในขณะนี้คือราคาวัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้นดังนั้นผูรับเหมาจําเปนตองมีการวางแผนการดําเนินการที่ดีเพื่อ รองรับความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง ความสามารถในการจัดการ วางแผน ควบคุมตนทุน และการเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม จึงเปนสิ่งที่ผูประกอบการตองใหความสําคัญอยางไรก็ดีผูประกอบการในอุตสาหกรรมกอสรางนั้นมีจํานวนมาก และสวนใหญเปนรายเล็กซึ่งยังมีขอจํากัดอยูมาก เพราะมีประสบการณการทํางานนอยกวา ขาดการเขาถึงเทคโนโลยีการผลิต การจัดการที่เหมาะสม ภาครัฐควรสงเสริมรายเล็กใหมีความเขมแข็งรายใหญที่ดําเนินการในประเทศก็สามารถไดประโยชนดวย สาเหตุเพราะธุรกิจในอุตสาหกรรมนี้จําเปนตองมีความเชื่อมโยงกัน ผูรับเหมารายใหญ (main contractor) ไมสามารถทํางานกอสรางไดทั้งหมด แตก็ตองอาศัยผูรับเหมาชวงที่มีความเชี่ยวชาญในแตละดาน เชน งานระบบไฟฟา ประปา

Page 10: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

2

สาธารณูปโภค งานโครงสราง งานติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ ซึ่งผูรับเหมาชวงเหลานี้ก็ตองอาศัยผูรับเหมาชวงยอยอื่น ๆ ที่เปน SMEs เขามารับงานตอไป ในที่สุดคุณภาพของโครงการกอสรางขนาดใหญก็ขึ้นกับความสามารถของผูรับเหมา รายยอยดวย ดังนั้นการเตรียมความพรอมของภาคอุตสาหกรรมที่ประกอบดวยผูผลิตขนาดกลางและ ยอมจํานวนมากจึงมีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน การที่อุตสาหกรรมกอสรางของไทยจะแขงขันไดในเวทีสากล อุตสาหกรรมกอสรางควรจะตองเขมแข็งจากภายในกอน จึงจะทําใหการกาวสูสากลเปนไปอยางมั่นคงและยั่งยืนเมื่อพิจารณาถึงศักยภาพของการรับงานทั้งระบบในภาพรวม ผูที่อยูในวงการกอสรางจะทราบดีวาในอดีตที่ผานมา อุตสาหกรรมกอสรางไทยยังขาดมาตรฐานและความนาเชื่อถือ เนื่องจากไมมีกฎระเบียบที่จะเขาไปดูแลที่ชัดเจน ทั้งในแงของวิสาหกิจที่เกี่ยวของ ผูประกอบการและแรงงาน ซึ่งอาจจะสงผลตอการแขงขันที่ผูประกอบการรับเหมาของไทยไมสามารถแขงขัน กับบริษัทตางชาติได ดังนั้นจึงจําเปนตองมีหนวยงานที่จะชวยยกระดับและพัฒนาอุตสาหกรรมกอสราง ไทย เพื่อเตรียมรับมือกับการเปดเสรีที่จะมาถึงในปหนานี้ ซึ่งทางภาครัฐเองก็ไดเห็นความสําคัญของอุตสาหกรรมกอสรางและมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมกอสรางไทยใหแขงขันไดใน ระดับสากล เชน กระทรวงอุตสาหกรรมเตรียมจัดทํา "แผนพัฒนาอุตสาหกรรมกอสรางไทย" เพื่อใหเปนไปตาม"แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555" โดยมุงแผนการพัฒนาอุตสาหกรรมทั้งระบบใน 3 ดาน คือ 1) การพัฒนาบุคลากร 2) การพัฒนายกระดับวิสาหกิจ และ 3) การสรางเครือขายวิจัยและพัฒนา (R&D) โดยจะใชงบประมาณ 2,500 ลานบาท กรอบการดําเนินงานระยะเวลา 3 ป เริ่มจากป 2553-2555 โดยจะมีแผนจัดตั้งสถาบันกอสราง ซึ่งเปนสถาบันอิสระภายใตกระทรวงอุตสาหกรรมดวย

จากวิกฤตการณเศรษฐกิจเมื่อ ป พ.ศ. 2540 ไดกลายเปนจุดเปลี่ยนสําคัญที่บังคับใหภาคอุตสาหกรรมไทยที่ประกอบธุรกิจในขณะนั้นตองมีการปรับตัวกันอยางจริงจังเพื่อความอยูรอดของตนเอง ผูประกอบการที่ปรับตัว ไมไดก็ตองเลิกกิจการ ซึ่งก็มีเปนจํานวนไมนอย ในขณะที่ผูประกอบการที่สามารถฝาฟนปญหาจนผานพนไปไดก็จะแข็งแกรงมากขึ้น ยกตัวอยางเชน กรณีของอุตสาหกรรมกอสราง ซึ่งเปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่ไดรับผลกระทบอยางมากในชวงวิกฤตการณ ผูประกอบการธุรกิจรับเหมากอสรางมีการปรับยุทธศาสตรและนโยบายเพื่อใหสามารถประกอบธุรกิจอยูได จากผลกระทบจากวิกฤตการณเศรษฐกิจในป 2540 ไดสรางความเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสรางขององคประกอบประเภทอุตสาหกรรม (industry churning) ในแตละจังหวัด และการเปลี่ยนแปลงการจัดองคการธุรกิจดังกลาวทําใหเกิดทิศทางและการจัดองคการธุรกิจที่พัฒนาอุตสาหกรรมดานรับเหมากอสรางที่สําคัญ

จังหวัดชลบุรี เปนจังหวัดศูนยกลางดานการคาอีกจังหวัดหนึ่ง ในเขตภาคตะวันออก ซึ่งมีผูดําเนินธุรกิจรับเหมากอสรางในเขตอําเภอศรีราชามีจํานวนมาก มีทั้งผูประกอบการขนาดใหญ

Page 11: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

3

ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ในกิจการอุตสาหกรรมนี้ผูประกอบการตางก็ไดรับผลกระทบจากปญหาและอุปสรรค เชนเดียวกับที่อุตสาหกรรมกอสรางโดยรวมของประเทศ ผูประกอบการในลักษณะเดียวกันนี้ ตางมีรูปแบบการบริหารงาน ที่แตกตางกัน บางกิจการก็สามารถประกอบธุรกิจอยูได บางกิจการตองปดตัว

การจัดการองคการธุรกิจกอสรางนับวามีความสําคัญในภาวะที่เศรษฐกิจมีการแขงขันกันสูง ผูวิจัยในฐานะผูประกอบการรับเหมากอสรางมีความสนใจที่จะศึกษาถึงแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ตลอดจน ปญหา อุปสรรคตาง ๆ ในการดําเนินธุรกิจกอสรางในอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีผลการวิจัยจะเปนประโยชนตอผูประกอบการรับเหมาที่คงอยูในปจจุบันและผูที่สนใจจะเขามาประกอบธุรกิจรับเหมากอสรางไดตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติของผูประกอบการธุรกิจกอสราง

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

1.3.1 ขอบเขตดานเนื้อหา ศึกษาแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ

1) สภาพทั่วไปของธุรกิจรับเหมากอสราง

2) วิธีการจัดการ หนาที่ทางการบริหาร ของผูประกอบการในเรื่อง การวางแผน

การจัดองคกร การจัดการกําลังคน การสั่งการ การควบคุมและ Balanced Scorecard

3) ปญหา และ อุปสรรคในการจัดการของผูประกอบการ และวิธีการแกไขปญหา

1.3.2 ขอบเขตดานพื้นที่ ทําการศึกษาในอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

1.3.3 ขอบเขตดานประชากร กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูประกอบการธุรกิจ

กอสราง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีที่ผานพนวิกฤติในป 2540

1.3.4 ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลาที่ทําการศึกษาวิจัย เริ่มตั้งแตเดือน พฤษภาคม ถึงเดือน

สิงหาคม 2556

Page 12: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

4

1.4 วิธีการศึกษา

การศึกษา แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ในครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิง

คุณภาพโดยใชแบบสัมภาษณเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล แลวนําขอมูลดังกลาวมา

วิเคราะห และสังเคราะหเพื่อพัฒนาเปนรูปแบบการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ

1.4.1 แหลงขอมูล

ขอมูลที่ใชวิเคราะหจะประกอบไปดวยขอมูล 2 ประเภทคือ

14.1.1 ขอมูลปฐมภูมิ(Primary Data)เปนการศึกษารวบรวมขอมูลโดยใชแบบ

สัมภาษณมาเปนเครื่องมือในการศึกษาเกี่ยวกับศึกษา แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะ

วิกฤติประกอบดวยวิธีการจัดการ หนาที่ทางการบริหาร ของผูประกอบการในเรื่อง การวางแผน

การจัดองคกร การจัดการกําลังคน การสั่งการ การควบคุม และ Balanced Scorecard

14.1.2 ขอมูลทุติยภูมิ(Secondary Data)เปนขอมูลที่ไดจากการคนควา จากหนังสือ

ตํารา ผลการวิจัยที่ เกี่ยวของ แนวคิดทฤษฎีตางๆ รวมทั้งเอกสาร วารสาร สารนิพนธและ

วิทยานิพนธที่เกี่ยวของเพื่อไดทราบขอมูลที่เปนความรูเบื้องตนเพื่อนํามา ประกอบในการวิเคราะห

และการประยุกตใชไดอยางถูกตอง

1.4.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง

1.4.2.1 ประชากรกลุมเปาหมายในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูประกอบการธุรกิจกอสราง

อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ที่ผานพนวิกฤติในป 2540

1.4.2.2 กลุมตัวอยาง คือผูประกอบการธุรกิจกอสราง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

จํานวน 6 บริษัท เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive sampling)จากทะเบียนรายนาม

ผูประกอบการธุรกิจกอสรางในจังหวัดชลบุรีของสํานักพาณิชยจังหวัดชลบุรี ประกอบดวยธุรกิจ

ขนาดใหญ จํานวน 2 บริษัท ขนาดกลางจํานวน 2 บริษัท และ ขนาดเล็กจํานวน 2 บริษัท รวม 6 คน

จากประชากรที่มีลักษณะตรงตามวัตถุประสงคที่จะศึกษาคือบริษัทที่ประกอบธุรกิจกอสรางที่ผาน

พนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540

Page 13: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

5

1.4.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนแบบสัมภาษณ แนวทางการจัดการธุรกิจกอสราง

ในภาวะวิกฤติในป 2540 ที่ผานมา

1.4.3.1 ขั้นตอนการสรางแบบสัมภาษณ

การสรางแบบสอบถามมีขั้นตอนในการดําเนินการ 6 ขั้นตอน ดังนี้

1. กําหนดขอมูลที่ตองการ

2. ทบทวนวรรณกรรม คือ เอกสาร วารสาร แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ

3. กําหนดเนื้อหาหมวดหมูของเน้ือเรื่องและคําถาม โดยจัดคําถามที่เกี่ยวของ

กันไวในหมวดเดียวกัน

4. เลือกชนิดและรูปแบบคําถาม

5. ใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบคําถามวาครบถวนตามตัวแปรที่ตองการ

หรือไม และตรงตามวัตถุประสงค ของการศึกษาหรือไม

6. ตรวจแกไขแบบสัมภาษณและรางแบบสัมภาษณฉบับสมบูรณที่จะ

นําไปใชในการเก็บรวบรวมขอมูลจริง

1.4.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

ในการศึกษา แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ในครั้งนี้ ผูวิจัย โดย

รวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง 6 บริษัท โดยใชแบบสัมภาษณผูประกอบการที่ประกอบธุรกิจ

กอสราง โดยใชระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูล ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2556- สิงหาคม 2556

1.4.5 การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณมาวิเคราะห สังเคราะห และสรุปผลจากการ

สัมภาษณ

1.5 ขอจํากัดในการศึกษา

ในการศึกษาแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ผูวิจัยศึกษาเฉพาะผูประกอบการ ธุรกิจกอสรางอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

Page 14: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

6

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.6.1 เพื่อใชเปนแนวทางในการประยุกตใชปรับปรุงและพัฒนาการจัดการธุรกิจกอสราง

ของ บริษัทซัคเซสแลนด 50 จํากัด

1.6.2.เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการของธุรกิจกอสรางทั่วไปในปจจุบันใหสามารถ

ประกอบธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและเจริญเติบโตไดในภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง

ตลอดเวลา

1.7 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ

ธุรกิจกอสราง หมายถึง การประกอบกิจการในทางการกอสราง

การจัดการ หมายถึง การนําเอาทรัพยากรที่มีอยู หรือ จัดหามา ซึ่งประกอบดวยเงินทุน

กําลังคน เครื่องมือ เครื่องทุนแรง วัสดุอุปกรณ ใหมาใชงานรวมกันอยางเหมาะสม โดยมีการ

จัดระบบ ระเบียบ ใหดําเนินการไปโดยราบรื่น มีประสิทธิภาพ และบรรลุตามเปาหมายที่ตองการ

โดยหนาที่ทางการจัดการประกอบดวย การวางแผน การจัดองคกร การจัดคนกําลังคน การสั่งการ

การควบคุม และ Balanced Scorecard

ประสิทธิภาพหมายถึง ความมีสมรรถภาพโดยสามารถทํางานนั้น ๆ ใหสําเร็จไดโดย

ปราศจากการสิ้นเปลือง

รูปแบบรายการกอสราง หมายถึง เอกสารที่อธิบายความคิดของผูออกแบบ ตอบุคคลตาง ๆ

ที่ เกี่ยวของกับงานกอสราง เพื่อใหกําหนด ชนิด ขนาด มาตรฐานการทํางาน และ รายละเอียดของ

งานที่จะกอสราง

การจัดองคการธุรกิจกอสราง หมายถึง การจัดวางระเบียบใหกับกลุมคนในธุรกิจกอสรางที่กระทํากิจกรรมรวมกันไดถือปฏิบัติ โดยจําแนกโครงสรางของงานออกเปนสวนๆ แตละสวนงานมีหนาที่ตามความตองการของแตละองคการธุรกิจกอสราง

ภาวะวิกฤติ หมายถึง ขั้นตอนหนึ่งจากเหตุการณที่เขาใกลอันตราย หากแกไขไมไดคือ

หายนะ

Page 15: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

7

บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังตอไปนี้

2.1 อุตสาหกรรมกอสรางไทย2.2 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับหลักการจัดองคการ2.3 แนวคิดดานการบริหารและการจัดการ2.4 แนวคิดทฤษฎ ีBenchmark2.5 แนวคิดทฤษฎี Balanced Score card2.6 แนวคิดทฤษฎีเรื่องเก่ียวกับการจัดการงานกอสราง2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย

2.1 อุตสาหกรรมกอสรางไทย

2.1.1 ความหมายของงานกอสราง มณัฐณา พานิชชีวลักษณ (2546 : 34 – 35) งานกอสราง หมายถึง การประกอบการ

เกี่ยวกับการกอสรางอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ทาเรือ ทางน้ํา ถนน การโทรเลขโทรศัพทไฟฟา แกส หรือ ประปา และความหมายรวมถึงการตอเติม ซอมแซม ซอมบํารุง ดัดแปลงหรือรื้อถอนอาคารสิ่งปลูกสรางนั้นดวยงานกอสรางในปจจุบันนับไดวามีสวนสําคัญอันหนึ่งในการพัฒนาประเทศและเปนอุตสาหกรรมที่ตองใชกําลังแรงงานมาก การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจของชาติ จะมีผลกระทบโดยตรงตออุตสาหกรรมกอสราง ทั้งนี้เพราะหากในชวงเวลาใดที่เศรษฐกิจของประเทศเจริญรุงเรือง มีการขยายตัวทางดานการคา และการลงทุนเพิ่มมากขึ้น ก็สงผลใหการกอสรางอาคาร โรงงานอุตสาหกรรมและสิ่งปลูกสรางอื่นๆ เพิ่มจํานวนมากไปดวย นับตั้งแตรัฐบาลไดเริ่มวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ตั้งแตปพ.ศ. 2504 รัฐบาลไดมุงการพัฒนาเศรษฐกิจดานการกอสรางที่เปนพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ไดแก การกอสรางถนน ทาเรือ สะพาน สนามบินเพื่อการคมนาคมเขื่อน ฝายกั้นน้ําสําหรับการเกษตรกรรมตลอดจนการกอสรางสาธารณูปโภคและสาธารณูปการตางๆ เชน การประปา โรงเรียน โรงพยาบาลโรงไฟฟา ฯลฯ ซึ่งในปหนึ่งๆ รัฐบาลตองใชเงินงบประมาณจํานวนหลายหมื่นลานบาท

Page 16: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

8

การกอสราง คือกิจกรรม การกระทําใหเกิด การประกอบ หรือการติดตั้ง ใหเกิดเปนอาคาร โครงสราง ระบบสาธารณูปโภค หรือสวนประกอบของสิ่งที่กลาวขางตน และมักจะหมายถึงงานทางดานโยธาเปนสวนใหญการกอสรางเปนการปฏิบัติวิชาชีพแขนงหนึ่ง ซึ่งประกอบดวยงานไม งานคอนกรีต งานปูนกอฉาบ งานเหล็ก ชางซึ่งปฏิบัติงานในงานแขนงนั้น ๆ ก็จะเรียกตามประเภทของงานนั้น ๆ เชน ชางไม ชางปูน ฯลฯ คําที่ เรียกโดยรวมก็คือ ชางกอสราง และผูที่มีอาชีพลงทุนรับจางทํางานกอสรางจะเรียกทั่ว ๆ ไปวา ผูรับเหมา

2.1.2 ประเภทของงานกอสรางวีระ บูรณากาญจน( 2541 : 1 – 2) งานกอสรางสามารถจําแนกประเภทไดมากมาย

หลายทางไดแก2.1.2.1 การกอสรางทางสถาปตยกรรมและวิศวกรรม จําแนกได 4 ประเภทคือ

1) งานกอสรางอาคาร ไดแก การกอสรางอาคารทุกชนิดที่มนุษยสามารถเขาอยูอาศัยและสนองประโยชนใชสอยไดเต็มที่ เชน โรงเรียน โรงแรม สถานพยาบาล อาคารสถาบันอาคารพาณิชย อาคารสาธารณะ เปนตน

2) งานกอสรางที่อยูอาศัย ไดแก การกอสรางบานพักอาศัย เชน บานเดี่ยวบานแฝดเรือนแถว ฯลฯ เปนตน

3) งานกอสรางวิศวกรรมทั่วไป เปนงานกอสรางที่ตองใชเทคนิคและความรูทางดานวิศวกรรม ซึ่งวิศวกรมีบทบาทอยางมากในงานประเภทนี้ แบงออกไดเปน 2 ประเภทดังนี้

ก. งานกอสรางเกี่ยวกับทางหลวง ไดแก งานถนนประเภทตางๆ งานทําทอระบายน้ํา งานทําบาทวิถี งานทําไหลทาง งานขุดดิน รั้วสะพาน ปายโฆษณาขนาดใหญ เปนตน

ข. งานกอสรางขนาดใหญ ไดแก งานเขื่อน งานชลประทาน งานกอสรางสะพานขนาดใหญ งานทาอากาศยาน เปนตน

4) งานกอสรางทางดานอุตสาหกรรม เปนงานกอสรางโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ เชน โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ โรงแรมขนาดใหญ เปนตน

2.1.2.2 งานกอสรางจําแนกไดตามพระราชบัญญัติ ประกอบอาชีพงานกอสราง พ.ศ. 2522 กําหนดงานกอสราง ประเภท ลักษณะ ขนาดและสาขา ดังนี้

1) งานกอสรางชลประทาน แบงลักษณะงานยอยไดดังนี้ คือก. งานอาคารหัวงานชลประทาน หรืองานอาคารประกอบ ไดแก งาน

กอสรางเขื่อนกักเก็บน้ํา เขื่อนระบายน้ํา ฝาย โรงสูบน้ํา ทํานบประตูระบายทราย ประตูเรือสัญจร

Page 17: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

9

ทางระบายน้ําลน อาคารทิ้งน้ําหรืองานกอสรางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ซึ่งมีคางานอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไป

ข. งานระบบสงน้ํา งานระบบระบายน้ํา หรืองานอาคารประกอบ ไดแกงานกอสรางคลองสงน้ํา คลองระบายน้ํา ถนนบนคันคลอง ประตูระบายปากคลอง ทาเชื่อมสะพานน้ําหรืองานกอสรางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ซึ่งมีคางานอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไป

ค. งานระบบชลประทานในแปลงเพาะปลูก ไดแก งานกอสรางถนนในแปลงเพาะปลูก คูสงน้ํา อาคารแบงน้ํา ทอสงน้ํา หรืองานกอสรางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ซึ่งมีคางานอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไป

2) งานกอสรางทางหรือถนน ไดแก งานกอสรางทาง ถนน ลานจอดทาอากาศยานทางขับ(Taxiway) ทางวิ่ง(Runway) หรืองานกอสรางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ซึ่งมีคางานอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไป

3) งานกอสรางสะพาน ไดแก งานกอสรางสะพาน สะพานเทียบเรือ ทาเรือคอนกรีตเสริมเหล็กหรืองานกอสรางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ซึ่งมีคางานอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไป

4) งานกอสรางประปาและกําจัดสําน้ําเสีย ไดแกก. งานกอสรางระบบผลิตประปาหรือระบบจายประปา ซึ่งมีคางานอยาง

ใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไปข. งานกอสรางระบบกําจัดน้ําเสีย ซึ่งมีคางานอยางใดอยางหนึ่ง หรือ

หลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไป5) งานกอสรางโครงสรางทั่วไป ไดแก งานกอสรางที่พักอาศัย อาคารที่ทํา

การอาคารพาณิชย โรงพยาบาล หอประชุม โรงมหรสพ โรงแรม โรงเรียน อัฒจันทร คลังสินคาอาคารอุตสาหกรรม หอบังคับการบิน ประภาคาร ถังเก็บของเหลวหรือวัสดุ หรืองานกอสรางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน และใหรวมถึงสิ่งกอสรางประกอบซึ่งมีคางานอยางหนึ่งอยางใด หรือหลายอยางรวมกันตั้งแตสามลานบาทขึ้นไปนอกจากนี้ ยังมีการแบงประเภทของอุตสาหกรรมการกอสรางไดอีก 2 ลักษณะ ไดแกการแบงตามลักษณะขององคกรและการแบงตามลักษณะของการจัดการอุตสาหกรรม

2.1.2.3 การแบงตามลักษณะขององคกร แบงเปน 2 ภาคคือ1) การกอสรางภาครัฐบาล ไดแก การกอสรางดานโครงสรางพื้นฐานและ

งานสาธารณูปโภค เชน ถนน เขื่อน โครงการกอสรางที่อยูอาศัยในเขตพื้นที่ชายฝงทะเลภาค

Page 18: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

10

ตะวันออกโครงการพัฒนาทาอากาศยาน และโครงการกอสรางที่อยูอาศัยในบางสวน การกอสรางภาครัฐแบงออกเปน 8 กลุมคือ

ก. การกอสรางเพื่อการเกษตรข. การกอสรางเพื่อการพลังงานค. การกอสรางเพื่อการคมนาคมและขนสงง. การกอสรางเพื่อการอุตสาหกรรมและเหมืองแรจ. การกอสรางเพื่อการพาณิชยและบริการฉ. การกอสรางเพื่อการพัฒนาสังคมและสาธารณูปการช. การกอสรางเพื่อการสาธารณสุขซ. การกอสรางเพื่อการศึกษา

2) การกอสรางภาคเอกชน ไดแก การกอสรางที่อยูอาศัย อาคารสํานักงานโรงงานอุตสาหกรรม ปจจุบันบางโครงการเปนการลงทุนรวมทั้งภาครัฐและเอกชน เชน โครงการระบบรถไฟฟาขนสงมวลชน โครงการโทรศัพท 3 ลานเลขหมาย เปนตน

2.1.2.4 การแบงตามลักษณะของอุตสาหกรรมกอสรางหลัก แบงเปน 2 ประเภทดังนี้1) อุตสาหกรรมการกอสราง ไดแก การกอสรางที่อยูอาศัย อาคารสํานักงาน

สาธารณูปโภคพื้นฐาน และการกอสรางในลักษณะอื่นๆ ที่ตองใชปจจัยดานทุน แรงงาน วัสดุ การจัดการและเทคโนโลยียุคใหม

2) อุตสาหกรรมวัสดุกอสราง ไดแก อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อใชในการกอสราง เชน ปูนซีเมนต เหล็กเสน เสาเข็ม กระจําแผน หินออนและหินแกรนิต กระเบื้องเซรามิกเครื่องสุขภัณฑกระเบื้องมุงหลังคา ผลิตภัณฑสังกะสี เปนตน

2.1.2.5 ประเภทของงานกอสราง ม ี5 ประเภทไดแก1) ประเภทของงานอาคารที่พักอาศัย2) ประเภทของงานอาคารสาธารณะ เชน อาคารเรียน โรงพยาบาล โรงแรม

สถานที่ทํางาน3) ประเภทของงานโยธา เชน ถนน สะพาน สนามบิน ทาเรือ อุโมงคและ

งานทาระบบ4) ประเภทของงานอุตสาหกรรม โรงงาน โรงเก็บของ5) ประเภทของงานกอสรางทางดานพลังงาน

Page 19: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

11

2.1.3 ลักษณะเฉพาะของงานกอสราง2.1.3.1 เปนอุตสาหกรรมที่ทํากันในที่โลงแจง ภายใตสภาพดินฟาอากาศที่

แปรปรวน2.1.3.2 ใชบุคลากรรวมงานจํานวนมากหลายสาขาอาชีพ และหลายระดับความรู

ความสามารถมีการเปลี่ยนแปลงนายจางไดงายและอยางรวดเร็ว2.1.3.3 แผนการปฏิบัติงานเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา เพราะมีตัวแปรที่กําหนด

ความเปลี่ยนแปลงนั้นอยูหลายตัวแปร เชน ฝนตกหนัก วัสดุขาดตลาด ความขัดแยงในการทํางานเปนตน

2.1.3.4 สถานที่ทํางานเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ คือ เมื่อเสร็จโครงหนึ่งก็ยายไปอีกโครงการหนึ่งซึ่งอยูคนละถิ่นกัน จึงตองมีการขนยายปจจัยตางๆ เชน วัสดุอุปกรณ เครื่องจักรเครื่องมือ และบุคลากรไปดวยเสมอ

2.1.3.5 เมื่อมีความผิดพลาดของตัวงานการแกไขจะลําบากยุงยาก ตองเสียเวลาและคาใชจายสูง

2.1.3.6 คาใชจายในการดําเนินการสูงมาก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือแก ไขหลังงานเสร็จแลว

2.1.3.7 มีความขัดแยงกันระหวางผูรวมงานและผูที่มีความเกี่ยวของคอนขางสูงและตลอดเวลาของการดําเนินงาน

2.1.3.8 เปนงานที่มีอันตรายตอชีวิตและทรัพยสินสูงกวาประเภทกิจการอื่นๆ

2.1.4 ขอจํากัดในงานกอสรางพนม ภัยหนาย (2539:152) ปญหาและขอจํากัดในงานกอสรางมีอยูหลายประการ

ผูควบคุมงานหรือผูรับเหมากอสรางตองพิจารณาใหรอบคอบวา การทํางานในแตละชนิดนั้นมีปญหาหรือขอจํากัดอยางไร เพื่อที่จะชวยใหผูรับเหมากอสรางสามารถวางแผนหาทางดําเนินงานไปอีกทางหนึ่งที่จะทําใหงานดําเนินงานเปนไปอยางราบรื่น ไมหยุดชะงักกลางคัน ดังนั้น ผูควบคุมงานหรือผูรับเหมากอสรางจึงตองพิจารณาถึงปญหาหรือจํากัดที่เกิดขึ้นไวลวงหนา ขอจํากัดในงานกอสรางมักจะเก่ียวของกับเรื่องตางๆ ดังนี้คือ

2.1.4.1 ขอจํากัดในดานการเงิน ขอนี้นับวาเปนหัวใจของงานกอสรางและงานทุกชนิด ผูรับเหมาและผูควบคุมงานตองกะจํานวนเงินใหพอดีกับงานแตละหมวด และตองมีเงินสํารองจายเตรียมเผื่อไวสําหรับกรณีจําเปนอื่นๆ ถาหวังรอเงินจากผูวาจาง จะทําใหชักชาไมทันการ และเสียผลประโยชนที่ควรไปได ฉะนั้นการเงินของผูรับเหมาและผูควบคุมงาน ตองอยูในฐานะที่

Page 20: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

12

สามารถจับจายใชสอยไดทันที เพราะอาจจะมีรายจายจรขึ้นมาเมื่อไหรก็ได การจายเงินใหกับคนงานตองจายตรงเวลา มิฉะนั้นยอมอาจกอใหเกิดผลเสียหายกับงานได ดังคํากลาวทํานองที่วา“งานเดิน เงินด”ี เปนตน

2.1.4.2 ขอจํากัดเกี่ยวกับการคมนาคม บางครั้งสถานที่กอสรางอยูหางไกลจากการคมนาคมมากการขนสงหรือการติดตอจะทําใหลาชา ไมสะดวกดวยประการตางๆ จึงเปนขอที่ควรคํานึงไวอยางยิ่งเพราะมีผลทําใหงานชะงัก เกิดความลาชา และงานกอสรางไมอาจดําเนินไปตามแผนที่วางไว ซึ่งถาเกิดกรณีเชนนี้ขึ้น จะเปนขอจํากัดตอการทํางาน

2.1.4.3 ขอจํากัดเกี่ยวกับคนงานและอัตราจาง งานที่ผูรับเหมาไดทํา อาจจะอยูในทองที่แตกตางกันไป ฉะนั้นจะมีปญหาในเรื่องคนตามมา เพราะในทองที่บางแหงไมสามารถหาคนงานที่มีความชํานาญเฉพาะอยางได เชน งานฝมือ งานที่ซับซอนและยาก หรืองานที่เสี่ยงอันตราย เปนตน ซึ่งหาคนงานไดยากมาก เมื่อเกิดกรณีเชนนี้ขึ้น ทําใหเกิดปญหาและอุปสรรคตางๆอาจทําใหงานลาชา งานเสร็จไมตรงกําหนดเวลา หรือคุณภาพของงานไมไดมาตรฐาน เปนการบั่นทอนผลประโยชนขอผูรับเหมาไปโดยปริยาย ปญหาขอนี้จึงรวมไปถึงอัตราคาจางแรงงานในทองถิ่นดวย

2.1.4.4 ขอจํากัดเกี่ยวกับลมฟาอากาศ นับวาเปนขอจํากัดที่สําคัญอีกประการหนึ่งซึ่งเปนสิ่งที่ควบคุไมได เชน น้ําทวม ลมพายุ ฝนตกหนัก เปนตน เปนปรากฏการณที่บั่นทอนการทํางานของคนงานอยางยิ่ง นอกจากนี้ ยังทําลายทรัพยสินใหเกิดความเสียหายอีกดวยผูรับเหมากอสรางตองถึงกับลมจมจากกรณีดังกลาว ดังนั้น ในงานกอสรางขนาดใหญที่ตองใชเวลาเปนแรมป ผูรับเหมาจึงตองทราบสถิติในสิ่งเหลานี้บาง ซึ่งเปนคุณประโยชนอยางยิ่ง เพราะอาจหาทางปองกันเอาไวลวงหนาได การที่ทราบลักษณะอากาศในทองถิ่นตางๆ จึงมีความสําคัญมากชวยใหการดําเนินงานไมขลุกขลักลาชา หรือเกิดอุปสรรคและปญหาไดงาย

2.1.4.5 ขอจํากัดเกี่ยวกับรูปแบบและรายการกอสราง รูปแบบและรายการกอสรางมักมีปญหาอยูเปนอันมาก เปนตนวา แบบเขียนไมชัดเจน เขียนผิด หรือมีรายละเอียดตางๆ ไมเพียงพอ จนผูคุมงานตัดสินใจไมถูกวา จะดําเนินการตอไปอยางไร ทําใหงานกอสรางตองลาชาหรือหยุดชะงักลง หรืออีกประการหนึ่งคือ แบบที่เขียนไวคลุมเครือ จะมีปญหาตอการทํางานมาก ซึ่งเปนชองทางที่เปดโอกาสใหผูเขียนแบบ หรือผูควบคุมงานฝายนายจางเกี่ยงงอน หรือตอรองตั้งขอเรียกรองได ทําใหผูรับเหมาตองสูญเสียผลประโยชนและกําไรลงไป และถาผูรับเหมายอมผอนปรนงาน ก็จะดําเนินไปไดดวยดีแตถาไมตกลงยินยอมดวย ยอมจะเกิดพันธะกรณีตางๆ ติดตามทับถมขึ้นอีก อันเปนขอจํากัดที่สําคัญอยางยิ่งในการทํางาน ดังนั้น ผูรับเหมาตองศึกษารูปแบบและรายงาน

Page 21: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

13

กอสรางใหละเอียดและกอนที่จะสัญญากอสราง ตองตีความกันใหกระจาง ในสวนที่จะเปนปญหาอันเนื่องมาจากความไมชัดเจนของรูปแบบและรายการกอสราง

2.1.4.6 ขอจํากัดเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณและเครื่องมือ งานกอสรางบางประเภทจะกําหนดไววาตองใชวัสดุอุปกรณชนิดนั้น ยี่หอนั้น ลักษณะนั้น เปนตน เรื่องนี้บางครั้งไมเปนปญหาสําหรับผูรับเหมากอสราง แตถาของเหลานั้นขาดตลาดหรือไมสามารถหาไดขึ้นมา หรือยากแกการสั่งเขาจากตางประเทศ ยอมจะเปนปญหาตอการทํางานทั้งสิ้น จนไมสามารถดําเนินการตอไปไดหรืองานบางชนิดจะทําไดตอเมื่อตองใชเครื่องมือชนิดนั้นเทานั้น เปนตน กลาวโดยทั่วไปแลว ไมเปนปญหาสําหรับผูรับเหมามากนัก แตมีอยูบางรายที่แกปญหานี้ไมตก ดังนั้น จึงควรคิดหาแหลงวัสดุอุปกรณดังกลาวเอาไวลวงหนากอนลงมือทําการกอสรางจะไดไมเกิดการสับสนในขณะทํางาน

2.1.4.7 ขอจํากัดเกี่ยวกับเวลา งานบางอยางที่ทําตองทําแขงกับเวลา เชน ในกรณีที่งานรีบเรงขอจํากัดในเรื่องนี้มีปญหาอยูมากเกี่ยวกับการวางแผนงาน เชน จะจัดวางรูปแบบใดประเภทไหนควรทํากอนหลัง จัดแบงคนงานและเวลาออกอยางไรงานจึงประสานกันไดดี ถาจัดใหมีการวางแผนและดําเนินการไปตามแผนอยางมีประสิทธิภาพแลว งานจะสําเร็จลุลวงตามแผนที่กําหนด ปญหาขอนี้จึงเกี่ยวโยงไปถึงการจัดการในดานอื่นๆ อีกหลายอยาง จึงควรมีการพิจารณาอยางรอบคอบ

2.1.4.8 ขอจํากัดเกี่ยวกับวิธีการกอสราง งานกอสรางบางอยางหรือการกอสรางในสถานที่บางแหง ไมสามารถดําเนินงานไปไดตามวิธีปกติ ทั้งนี้เพราะมีปญหาเกี่ยวกับอาคารและสิ่งแวดลอมขางเคียง เชน การกอสรางติดกับโรงพยาบาลหรือการกอสรางที่ใกลชิดกับอาคารขางเคียง ตองควบคุมเสียงหรือการสั่นสะเทือน เนื่องจากการตอกเสาเข็ม เปนตน ในกรณีนี้ตองมีการกอสรางอยางอื่นแทนเพื่อมิใหเกิดเสียงรบกวนและสรางความเดือดรอนใหกับอาคารอื่นๆ ไดหรือการทํางานในขั้นตอนบางอยาง ตองใชผูเชี่ยวชาญในดานนั้นๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะตองจัดเตรียมหรือวางแผนในการแกปญหาในเรื่องเหลานี้เอาไวลวงหนา

2.1.4.9 ขอจํากัดเกี่ยวกับระเบียบขอบังคับหรือกฎหมาย ซึ่งนับวาเปนปญหาอยูมากเชนกันเพราะเปนผลกระทบตองานกอสรางโดยตรง เชน ขอบังคับของพนักงานจราจรที่กําหนดเกี่ยวกับรถบรรทุก ไดแก ขนาดรถบรรทุก ลักษณะการบรรทุก การกําหนดชวงเวลาใหรถบรรทุกวิ่ง ปญหาเกี่ยวกับการจางแรงงาน ปญหาเกี่ยวกับการจายคาชดเชยเนื่องจากประสบอุปทวเหตุหรือปญหาเกี่ยวกับการจายคาทดแทนตางๆ ซึ่งถาหากวางแผนไวไมรัดกุม ก็อาจทําใหงานชะงักหรือไมกาวหนาเทาที่ควร

2.1.4.10 ขอจํากัดดานอื่นๆ เชน ความรวมมือประสานงานของคนงาน ปญหาของฝายวาจางเปนตน ในดานผูคุมงานของผูวาจาง ก็นับวามีปญหาอยูมิใชนอย ซึ่งมักจะบิดพลิ้วไม

Page 22: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

14

ยอมรับหรืออนุมัติงานที่ผูรับเหมากอสรางแกปญหา โดยใหคาตอบแทนหรือคารับรอง มิฉะนั้นแลวผูคุมงานจะหาทางกลั่นแกลงดวยประการตางๆ ซึ่งนับวาเปนขอจํากัดที่สําคัญอยางยิ่ง เพราะนอกจากงานจะไมดําเนินไปตามแผนที่วางไวแลว ยังทําใหงานเกิดรวนขึ้นไดสําหรับเรื่องของคนงานนั้น นับวาเปนปญหาอยูมาก เพราะมีความไมแนนอนอยูตลอดเวลาเชน การมาทํางานไมสม่ําเสมอหรือการไมตรงเวลา ในบางกรณีถึงกับทิ้งงาน ซึ่งมีผลกระทบเปนอยางมากกับงานกอสรางที่ดําเนินการอยู ทําใหเกิดความลาชา ตองเลื่อนเวลาทํางานตอไปอีก การแกปญหาสามารถทําไดดวยการใหเหมาชวงงานเปนชวงๆ หรือรับเหมาเปนชิ้นงาน จะชวยแกปญหาขางตนไดบางแตหลายกรณีที่ผูรับเหมาชวงรับงานหลายๆ แหง ซึ่งแตละแหงตองทํางานใหเสร็จทันตามกําหนดเวลา ก็จะสงผลกระทบกับการกอสรางตามที่กลาวมาแลวขางตน และถึงแมจะทําไดแลวเสร็จตามกําหนดเวลา แตคุณภาพของงานอาจจะไมประณีตเรียบรอยพอได

2.1.5 ปจจัยที่มีผลกระทบตอการลงทุนศรัญญา รุจิราภา(2542 : 6-7)ปจจัยที่มีผลกระทบตอการลงทุน หมายถึง ปจจัยที่มี

ผลกระทบตอการลงทุนของธุรกิจรับเหมากอสราง มีดังนี้2.1.5.1 ปจจัยภายนอก ไดแก

1) แหลงเงินทุนของธุรกิจกอสราง คือ แหลงที่มีการใหสินเชื่อแกธุรกิจกอสราง

2) รานจําหนายวัสดุกอสราง คือ รานที่จําหนายวัสดุกอสราง มีการใหสินเชื่อกับธุรกิจกอสราง

2.1.5.2 ปจจัยภายใน ไดแก1) บุคลากร ไดแก วิศวกร คนงาน เปนตน2) ผลการดําเนินงานในอดีต เชน มูลคางาน การสงมอบงานที่เคยทํามากอน

ในอดีต 3) เงินทุนหมุนเวียน คือ เงินทุนที่ใชในกิจการ

4) ผลตอบแทนในการลงทุน

2.1.6 ภาระงานของผูรับเหมากอสรางประกอบ บํารุงผล (2541 : 2) ภาระงานของผูรับเหมากอสราง ประกอบไปดวยงาน

หลายดาน ซึ่งจะตองเกี่ยวของกับเรื่องตอไปนี้ คือ2.1.6.1 งานจัดการทั่วไป (General Management)

Page 23: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

15

2.1.6.2 งานประมาณการ (Estimating)2.1.6.3 งานทางดานบัญชี และการเงิน (Fiscal)2.1.6.4 งานเกี่ยวกับการจัดซื้อ (Purchasing)2.1.6.5 งานทางดานวิศวกรรม (Engineering)2.1.6.6 การหางานหรืองานขาย (Sales)2.1.6.7 งานเกี่ยวกับการกอสราง (Construction)

2.2 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับหลักการจัดองคการ

เสนาะ ติเยาว (2544 : 118) กลาวถึง การจัดองคการ คือ การสรางระบบความสัมพันธระหวางอํานาจบังคับบัญชากับความรับผิดชอบของงาน เปนการกําหนดใหรูวาใครทํางานอะไรและใครตองรายงานตอใคร กระบวนการจัดองคการ จะตองประกอบดวยอยางนอย 4 อยางคือ การแบงงานออกเปนสวนๆ การมอบหมายใหแตละคนทํางานที่แบง การจัดสรรทรัพยากรใหแตละหนวยงานการประสานงานและหนาที่ตางๆ เขาดวยกัน

ลัทธิกาล ศรีวะรมย (2543 : 139 - 142) กลาววา ทฤษฎีที่เกี่ยวเนื่องและมี อิทธิพลตอการพัฒนาการของหลักการจัดโครงสรางองคการ ไดแก

1. การจัดองคการตามทฤษฎีแบบคลาสสิค (The Classical Approach) การจัดโครงสรางองคการตามแนวทางทฤษฎีคลาสสิค พบวา สวนใหญนักทฤษฎีการจัดการมักจะกําหนดชุดของหลักการบริหารจัดการที่มีเหตุผล ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชไดกับทุกองคการ นักทฤษฎีเหลานี้ไดแก Henri Fayol, Lyndall Urwick และ Chester Bernard ซึ่งเปนกลุมหนึ่งในบรรดานักทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิคที่มีสวนในการวางหลักการจัดองคการ โดยที่การบริหารจัดการแบบคลาสสิคจะประกอบดวยแนวคิดหลัก 4 แนวคือ

1.1 การบริหารตามหลักวิทยาศาสตร(Scientific management) ผูที่ริเริ่มหลักการนี้ขึ้นมาคือ Frederick W. Taylor ซึ่งไดชื่อวาเปนบิดาของการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร โดยจากการสังเกตเห็นวางานที่เขาทําอยูในบริษัท Midavale Steel นั้น มีผลผลิตต่ํา ขาดประสิทธิภาพ งานสูญเสียมีมาก และงานไมมีระบบ เขาจึงพัฒนาหลักการ 4 ขอ ของการบริหารตามหลักวิทยาศาสตรดังนี้

1.1.1 งานทุกงานจะตองกําหนดวิธีการทํางานขึ้นมากอน โดยการคนควาและทดลองหาวิธีกาทํางานที่ดีที่สุดขึ้นมาและกําหนดใหทุกคนตองทํางานตามวิธีที่กําหนดนั้น คนงาน

Page 24: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

16

จะเลือกวิธีการทํางานตามใจชอบไมได วิธีการทํางานนั้นจะรวมถึง การเคลื่อนไหว การใชเวลาสภาพการทํางานและมาตรฐานของงาน

1.1.2 คนงานที่รับเขามาทํางานจะตองมีหลักเกณฑในการคัดเลือก เพื่อหาวาแตละคนมีความรูความสามารถตรงตามความตองการของงาน

1.1.3 คนงานทุกคนจะตองไดรับการอบรมกอนมอบหมายใหงาน โดยหาวาแตละคนเหมาะที่จะทํางานอยางไร จะไดมอบหมายงานใหถูกและตรงกับความรูความสามารถ

1.1.4 ฝายบริหารจะตองควบคุมดูและและรวมมือกับพนักงานผูปฏิบัติงาน ฝายบริหารวางแผนวาพนักงานจะทํางานอยางไร เมื่อมีปญหาการปฏิบัติงานจะแกไขอยางไร โดยแยกงานบริหารกับงานปฏิบัติออกจากกันวิธีการบริหารตามหลักวิทยาศาสตรของ Taylor จะใชเทคนิคที่เรียกวา time – and –motion study เพื่อจะหาวิธีเคลื่อนไหวและการทํางานที่ดีที่สุดมาใชในการทํางาน ซึ่งเนนการลดการเคลื่อนไหวในการทํางานใหเหลือนอยที่สุด การศึกษาเรื่องนี้ Taylor ไดทํารวมกับ Frank Gilbreth และ Lillian Gilbreth สองสามีภรรยา ซึ่งทั้งสองสามีภรรยายังไดพัฒนาวิธีการทํางานตอมาอีกใหการทํางานนั้นงาย กําหนดมาตรฐานงานและแผนการจายคาจางแบบจูงใจซึ่งเทคนิคตางๆ เหลานี้ ยังคงใชอยูในปจจุบันนี้แมวาการบริหารตามหลักวิทยาศาสตรจะกอใหเกิดผลดีในแงของการเพิ่มผลผลิต (productivity) และประสิทธิภาพ (efficiency) ในการทํางานก็ตาม แตเกิดปญหา 4 ประการคือ

1. วิธีการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร ไมสนใจปจจัยการทํางานในทางสังคมและจิตวิทยา แตสนใจเฉพาะการใชเงินอยางเดียวเปนสิ่งจูงใจการทํางาน ซึ่งปจจัยทางดานสังคมและจิตวิทยามีผลตอการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพดวย

2. ทําใหงานการผลิต งานที่ใชเครื่องจักรกลกลายเปนงานจําเจ ซ้ําซาก จนผูปฏิบัติงานเกิดการเบื่อหนาย เฉยเมย และเกิดปญหาในการควบคุมคุณภาพงาน

3. สหภาพแรงงานตอตานอยางรุนแรง เพราะมีความเชื่อวาฝายบริหารใชอํานาจในทางผิดๆ โดยการกําหนดมาตรฐานงาน อัตราคาจาง โดยลดความสําคัญของผูปฏิบัติงานลด เปนผูใชแรงงานอยางเดียว แสดงความคิดเห็นไมไดและไมใหมีสวนรวมในการกําหนดมาตรฐานงานและคาจางปฏิบัติตอคนเสมือนเปนเครื่องจักร ไมเห็นความสําคัญระหวางองคการกับสังคม หรือสภาพแวดลอมภายนอก ไมสนใจกฎ ขอบังคับของรัฐบาล และไมใหความสําคัญผูบริหารระดับอาวุโส

1.2 การบริหารเชิงระบบ (Systematic management) เปนการกําหนดกระบวนการและขั้นตอนการทํางานของทั้งระบบใหสอดคลองกันตั้งแตเริ่มตนจนจบ โดยเนนความสัมพันธภายในของการดําเนินงาน เพราะผูบริหารจะตองดําเนินงานใหสอดคลองกับความเจริญเติบโตยุคปฏิวัติ

Page 25: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

17

อุตสาหกรรม ผูบริหารจะตองประหยัด จะตองมีผูปฏิบัติงานจํานวนที่เหมาะสม มีสินคาคงเหลือใหเพียงพอกับความตองการของลูกคา และจะตองควบคุมระบบภายในเปนสําคัญ เปาหมายของการบริหารเชิงระบบคือ

1.2.1 จะตองระบุหนาที่และความรับผิดชอบของงานไวอยางชัดเจน1.2.2 กําหนดวิธีการที่เปนมาตรฐานสําหรับใชในการทํางาน1.2.3 กําหนดวิธีการอยางชัดเจนในการเก็บรวบรวม ดําเนินการ การสงและการ

วิเคราะหขอมูล1.2.4 กําหนดระบบบัญชีตนทุน คาแรง และการควบคุมเพื่อสะดวกตอการ

ประสานงานภายในการบริหารเชิงระบบ มีผลเสียสําคัญ 2 ประการ คือประการแรก ไมสนใจความสัมพันธระหวางองคการกับสภาพแวดลอม

ภายนอกประการที่สอง ไมสนใจเรื่องความคิดเห็นของคน ไมวาจะเปนผูบริหาร

ระดับกลางและพนักงาน เปนการเนนที่วัตถุมากกวาตัวคน1.3 หลักการบริหาร(Administrative principle) บุคคลสําคัญที่กําหนดหลักการบริหาร

ขึ้นมาก็คือ Henri Fayol แมวาเขาจะเปนวิศวกรในระยะแรกก็ตาม แตระยะตอมาก็ประสบความสําเร็จในฐานะผูบริหาร หลักที่กําหนดขึ้นมามี 2 เรื่องคือ หนาที่ทางการบริหารกับหลักการบริหาร Fayolไดกําหนดหนาที่ทางการบริหาร(management function) ไวเปน 5 หนาที่ ซึ่งแมในปจจุบันก็ยังคงยึดหนาที่นี้อยูคือ การวางแผน การจัดองคการ การสั่งการ การประสานงาน และการควบคุม สวนหลักการบริหาร ไดกําหนดไว 14 ขอคือ

1.3.1 การแบงงานกันทํา (Division of labor) ตามความเชี่ยวชาญเฉพาะดานของแตละคน

1.3.2 อํานาจสั่งการ (Authority) ซึ่งเปนสิทธิที่จะออกคําสั่งตามความรับผิดชอบ1.3.3 ระเบียบวินัย (Disciplinary) พนักงานตองเชื่อฟงคําสั่ง และกฎขอบังคับของ

องคการ1.3.4 คําสั่งเปนอยางเดียวกันหรือความเปนเอกภาพของการบังคับบัญชา

(Unity of command)พนักงานทุกคนตองรับคําสั่งมาจากผูบังคับบัญชาคนเดียวกัน1.3.5 ทิศทางการทํางานอยางเดียวกัน (Unity of direction) คนในองคการมี

เปาหมายเดียวกันในการทํางาน1.3.6 ผลประโยชนของพนักงานเปนรองประโยชนขององคการ(Subordination of

individual interest to the general interest) ผลประโยชนขององคการตองมากอนประโยชนสวนตัว

Page 26: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

18

1.3.7 หลักการจายคาตอบแทน (Remuneration) พนักงานตองไดรับจางที่เปนธรรม1.3.8 การรวบอํานาจ (Centralization) ความเหมาะสมระหวางการรวบอํานาจ และ

การกระจายอํานาจ1.3.9 สายการบังคับบัญชา(Scalar chain) การกําหนดความสัมพันธระหวาง

ผูบังคับบัญชากับผูใตบังคับบัญชา1.3.10 ความมีระเบียบ(Order) การใชทรัพยากรบุคคลและวัตถุอยางเหมาะสม

สอดคลองกับเปาหมายขององคการ1.3.11 ความเทาเทียมกัน (Equity) ผูบริหารจะตองปฏิบัติตอพนักงานอยางเทาเทียม

กันและเปนธรรม1.3.12 ความมั่นคงในการทํางาน(Stability of tenure) กําหนดหลักในการบรรจุ

แตงตั้งและเลื่อนขั้น เลื่อนตําแหนงพนักงาน1.1.13 หลักความคิดริเริ่ม (Initiative) สงเสริมพนักงานใหมีความคิดในการทํางาน

ดวยตัวเอง1.3.14 หลักความสามัคคี (Sprit de corps) สงเสริมความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

ของพนักงาน1.4 หลักราชการ(Bureaucracy) บุคคลที่มีแนวความคิดในเรื่องหลักการราชการ ก็คือ

Max Weber เจาของทฤษฎีระบบราชการ(Bureaucracy Theory) หรือการจัดโครงสรางองคการที่มีการกําหนดงาน(task) อํานาจหนาที่รับผิดชอบ(authority) และความสัมพันธในการรายงาน(reporting relationship) อยางเปนทางการ ทั้งนี้เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย การยึดหลักเหตุผลในองคการและยังเปนการขจัดความไมเสมอภาคและการเลือกปฏิบัติไดเปนอยางดีอีกดวย ถึงแมปจจุบันทฤษฎีระบบราชการของ Weber จะถูกวิจารณวาเปนระบบที่ลาชา ยึดติดอยูกับระบบและขาดความคลองตัว(red tape and rigidity) ก็ตาม แตแนวคิดในอุดมคติระบบราชการของ Weber ก็ถือเปนอีกความพยายามในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานในองคการ การจัดองคการตามทฤษฎีระบบราชการ(Bureaucracy) ประกอบดวย 6 สวนสําคัญคือ

1.4.1 การแบงงานกันทําอยางชัดเจน(a clear – cut division of labor) ซึ่งเปดโอกาสใหฝายบริหารสามารถวาจางผูเชี่ยวชาญหรือมืออาชีพเขาทํางานในองคการได

1.4.2 หลักการบังคับบัญชา(chain of command) เปนการกระจายอํานาจหนาที่ในการสั่งการตามลําดับขั้นการบังคับบัญชาที่กําหนดไว

1.4.3 กฎ ระเบียบที่กําหนดไวอยางเปนทางการ(rules and regulations) ชวยใหการตัดสินใจและการปฏิบัติเปนไปอยางถูกตองและสม่ําเสมอ

Page 27: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

19

1.4.4 มีบุคลากรฝายบริหาร(administrative staff) ทําหนาที่ดานการสื่อสารและประสานการทํางานและกิจกรรมตางๆ ในองคการ

1.4.5 ความสัมพันธและปฏิสัมพันธระหวางผูบริหารทั้งกับผูใตบังคับบัญชาและลูกคาหรือบุคคลที่ เกี่ยวของกับองคการจากภายนอกเปนไปอยางเปนทางการ (impersonal) และปราศจากอคติหรือความลําเอียงใดๆ ทั้งสิ้น

1.4.6 ระบบการพิจารณาความดีความชอบ(advancement system) ยึดตามหลักคุณธรรม(merit) พิจารณาจากความสําเร็จและพัฒนาการของทักษะเชิงเทคนิค(technical skills)การบริหารและการจัดการระบบราชการของ Max Weber นี้มีวัตถุประสงคหลักคือการเนนความมีประสิทธิภาพ(efficiency) เปนหลักโดยเฉพาะอยางยิ่งจะชวยใหองคการขนาดใหญสามารถดําเนินไปไดอยางราบรื่น เพราะมีการจัดแบงงานของแตละคน แตละฝายอยางชัดเจน มีการสรรหาและวาจางบุคลากรมืออาชีพที่มีผลงานเปนที่ประจักษแลวเขามาทํางาน และบรรดาสมาชิกขององคการตางก็ตระหนักและเขาใจถึงขอบเขตและขอจํากัด ในหนาที่ความรับผิดชอบทั้งของตนเองและของสมาชิกอื่นๆ เปนอยางดี ที่สําคัญสมาชิกในองคการทุกคนจะไดรับการปฏิบัติในแนวทางที่เทาเทียมกัน และความจริงแมแตกองทัพบกสหรัฐอเมริกา (U.S. Army) และหนวยงานราชการอื่นๆลวนแลวแตจัดโครงสรางตามระบบนี้ทั้งสิ้น เพราะโดยทั่วไปตําแหนงงานในระบบราชการนั้น มีการกําหนดไวอยางชัดเจนวาจะตองมีการสอบวัดความรู ความสามารถตามระเบียบขาราชการพลเรือน(Civil Service Examination) เพื่อดูถึงความสามารถ นอกจากนี้ยังเกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ตามกําหนดไว ซึ่งสอดคลองกับลําดับการบังคับบัญชา และการบริหารงานจะเปนไปอยางเปนทางการไมมีเรื่องสวนบุคคลมาเกี่ยวของ ลักษณะตางๆ เหลานี้ของระบบราชการออกแบบมาเพื่อชวยใหหนวยงานของรัฐ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิ ภาพและเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน อยางไรก็ตามการจัดองคการระบบราชการก็มีขอจํากัดอยูหลายประการ ไดแก

1. ยึดระเบียบกฎเกณฑมากเกินไป ทําใหขาดความคลองตัวและอาจปรับตัวไมทันสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว

2. การเขมงวดในเรื่องสายการบังคับบัญชา อาจทําใหการสื่อสารลาชาลงได ซึ่งถือเปนสิ่งที่ไมดีตอองคการในภาวะที่ตองอยูในสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาเชนปจจุบัน

3. สมาชิกขององคการอาจไมกลายอมรับหนาที่รับผิดชอบในสวนของตนเองเน่ืองมาจากการกําหนดตําแหนงที่ไมชัดเจน

4. องคการไมเปนทางการ(informal organization) ความตองการของสมาชิกขององคการและขอจํากัดประการสุดทายนี้ เปนขอทวงติงจากนักทฤษฎีองคการสาย

Page 28: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

20

พฤติกรรมศาสตร (Behavioral Theorist) ที่ตั้งขอสังเกตและหาคําตอบวา การจัดองคการมีผลกระทบอยางไรตอสมาชิกแตละคนในองคการบุญทัน ดอกไธสง (2539 : 116 - 117) ไดกลาวถึงระบบราชการไววา เปนระบบกลไกขององคการขนาดใหญ ที่มีสายการบังคับบัญชาจากเบื้องบนและมักจะถูกมองวาเปนองคการที่รักษากฎระเบียบเอาไวมากกวาการมีทัศนะตอการเปลี่ยนแปลงหากแตสรางลักษณะของการขยายอาณาจักรและเฉื่อยชาในการทํางานมากกวานําแบบมาปรับปรุงแกไขปญหาหรือเปลี่ยนแปลง (Dynamic) ซึ่งทานไดใหความเห็นวา เปนเพียงภาพของการมองในอีกดานหนึ่งที่มีตอระบบนี้ ในสวนของการบริหารแบบขาราชการหรือในระบบราชการนั้น มีลักษณะที่ใชอํานาจ มีระเบียบ ขอบังคับ รับคําสั่ง และปฏิบัติตาม ผูบังคับบัญชามีลักษณะเปนองคการใหญเทอะทะ ไมมีความคลองตัว อยูไดเพราะไมมีองคการใดใหญเทาเขามาแขงขัน มีการบริหารงานเปนขั้นตอน คนอยูในองคการแบบราชการนี้ มีอํานาจ มีความมั่นคง ผูอยูใตบังคับบัญชายังเคารพนับถือสรางอิทธิพลได สวนผูนอยฐานะดอยแตมั่นคงในสายงาน

2. การจัดองคการตามทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร(The Behavioral Approach) การจัดโครงสรางองคการที่ใหความสําคัญในเรื่องเกี่ยวกับมนุษยเปนหลัก(Human Side) แตก็ยังไมละทิ้งแนวคิดทฤษฎีการจัดโครงสรางองคการในยุคกอนหนานี้

2.1 ทฤษฎีเชิงระบบของลิเคิรท (Likert’ Systems)(อางถึงใน สมยศ นาวีการ และ ผุสดีรุมาคม 2520 : 428 – 430) ไดศึกษาถึงปญหาตางๆ ของคนในสวนที่เกี่ยวกับการบริหาร โดยสรุปผลที่ไดจากการศึกษาวาระบบการบริหาร(Management System) หรือแบบของความเปนผูนํา(Leadership)ภายในองคการนั้น อาจจะแบงออกไดเปน 4 ระบบคือ

ระบบที่ 1 เปนระบบเผด็จการแบบทรราช(Exploitive Authoritative) ระบบการบริหารเชนนี้ ผูนําจะยึดถือขอสมมติฐานเกี่ยวกับตัวคน ตามทฤษฎี X ของ McGregor เปนอยางมากผูนําจะใชวิธีการบังคับตอผูบังคับบัญชาดวยการใชวิธีการลงโทษเปนประการสําคัญ การบริหารงานจะเนนถึงการออกคําสั่งและการควบคุมอยางใกลชิด

ระบบที่2 ระบบเผด็จการแบบมีศิลปหรือการใชอํานาจในฐานะผูมีพระคุณ(Benevolent Authoritative) เปนระบบการบริหารที่อยูระหวาง ระบบที่ 1 และ ระบบที่ 4 ซึ่งเปนระบบที่ดีกวาระบบที่ 1 เล็กนอย ผูนําจะเปนผูตัดสินใจในปญหาทุกเรื่อง แตผูนําจะตระหนักถึงความสําคัญของกลุมผูอยูใตบังคับบัญชา และใหผูอยูใตบังคับบัญชามีอิทธิพลตอการติดสินใจของผูนําอยูบาง

ระบบที่ 3 ระบบการปรึกษาหารือ(Consultative System) ตามระบบนี้ ผูนําจะเปดโอกาสใหผูอยูใตบังคับบัญชาเขามามีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจ แตผูนํายังแสดงตนในลักษณะที่วาเปนผูตัดสินใจในขั้นสุดทายอยู

Page 29: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

21

ระบบที่ 4 ระบบการใหเขามามีสวนรวม(Participative System) การบริหารงานตามระบบนี้ ผูนําจะยึดถือขอสมมติฐานเกี่ยวกับตัวคน ตามทฤษฎี Y ของ McGregor ผูนําจะใชอํานาจหนาที่ที่เปนทางการนอยมากและเรามักจะเรียกวา เปนผูนําแบบประชาธิปไตย ผูนําจะเปดโอกาสใหผูอยูใตบังคับบัญชาเขามามีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นตางๆ ในการแกปญหารวมกัน ความเชื่อมั่นและความไววางใจจะเกิดขึ้นระหวางผูบังคับบัญชาและผูอยูใตบังคับบัญชา

2.2 ทฤษฎีระบบสังคมเทคโนโลยี (Sociotechnogy Systems Theory)ลัทธิกาล ศรีวะรมย (2543 : 143 - 145) กลาวถึง การจัดองคการที่ใหความสําคัญในเรื่องความสัมพันธของสมาชิกในองคการระบบเทคโนโลยีที่ใชในการผลิตสินคาและบริการ ตลอดจนระดับการปฏิสัมพันธของสมาชิกในองคการกับสภาพแวดลอมภายนอก นักทฤษฎีที่นําดานการวิจัยดานนี้คือ Eric Trist และK.W. Bamforth ซึ่งยอมรับวาทุกองคการประกอบไปดวย ระบบสังคม ซึ่งครอบคลุมไปทั่วทั้งองคการที่เปนทางการ แทรกตัวตามสมาชิกองคการ ปฏิสัมพันธภายในกลุมพฤติกรรมและทัศนคตินอกจากนี้ เทคโนโลยีเพื่อการดําเนินงานก็นับวาเปนปจจัยที่มีผลกระทบตอระบบสังคม เนื่องจากบุคลากรภายในองคการ อาจตองมีความเกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีเพื่อการผลิตสินคาและบริการใหกับองคการ ไมวาการสัมผัสกับเทคโนโลยีจะอยูในรูปแบบใดก็ตาม เชน การควบคุมเครื่องจักรในโรงงาน การใชแปนพิมพคอมพิวเตอร หรือ การใชเครื่องมืออุปกรณอื่นๆ ลวนเปนสิ่งที่ชัดเจนวา ระบบเทคโนโลยียอมจะมีผลกระทบตอ ทัศนคติ ความคิดและความพึงพอใจของพนักงานทั้งสิ้น เนื่องจากการจัดโครงสรางองคการจะมีอิทธิพลและเปนเครื่องชี้ถึงระดับของปฏิสัมพันธของบุคลากรในองคการตอเทคโนโลยี นอกจากนี้ ระบบสังคมและระบบเทคโนโลยีนั้นลวนมีความเชื่อมโยงเกี่ยวพันกันอยูมากทีเดียว สวนอีกปจจัยหนึ่งในทฤษฎีนี้คือ ระดับของปฏิสัมพันธขององคการกับสภาพแวดลอมภายนอก ซึ่งอาจมีผลกระทบตอทั้งระบบสังคมและเทคโนโลยีในองคการ จากมุมมองดังกลาวมาแลวนี้ ทําใหเห็นวาการจัดการองคการจึงเปนการผสมผสานปจจัยทั้งสามใหกลมกลืนกันอยางระมัดระวัง

2.3 ทฤษฎีการจัดองคการตามสถานการณ(The Contingency Approach) การประยุกตใชทฤษฎีการจัดการตามสถานการณเพื่อการจัดโครงสรางองคการ สามารถทําได 2 แบบคือ (1) ไมมีแนวทางใดแนวทางหนึ่งที่ดีที่สุดสําหรับการจัดโครงสรางองคการ และ (2) แนวทางเลือกในการจัดองคการจะมีประสิทธิภาพที่ไมเทากัน เพราะขณะที่แนวทางการจัดองคการตามทฤษฎีแบบคลาสสิคเนนหนักไปที่ความสามารถในการประยุกตใชไดกับการจัดองคการทุกประเภทสวนแนวการจัดองคการตามทฤษฎีการจัดองคการตามสถานการณนั้น แยงวาไมมีแนวทางการจัดองคการใดที่จะเหมาะสมกับองคการทุกประเภท และนอกจากนี้ สภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคการนั้น แตกตางหลากหลายกันออกไปตามเปาหมายและวัตถุประสงคขององคการ

Page 30: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

22

การจัดองคการที่เหมาะสมกับองคการหนึ่งอาจะไมเหมาะสมกับอีกองคการหนึ่งก็ได ดังนั้นทางเลือกสําหรับการจัดองคการ จึงแตกตางหลากหลายเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณนั้นๆ เปนสําคัญ

3. แนวการจัดองคการแบบแนวราบ (Flat Organization) จุดเดนของแนวทางการจัดองคการแบบนี้ ก็เพื่อลดระดับการบังคับบัญชาใหเหลือนอยที่สุด โดยมุงใหความสนใจที่กระบวนการในการทํางานแทนการปฏิบัติงานของพนักงานในลักษณะที่ทําตามสั่ง ทําตามที่ไดรับมอบหมายหรือการปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชาที่ทําตามที่ลูกนองเสนองานขึ้นมา เพื่อใหตัดสินใจพิจารณาอนุมัติ การจัดองคการแบบนี้ตองเปลี่ยนรูปแบบการทํางานใหมหมด คือ การทํางานตามสายงานเปลี่ยนมาเปนการทํางานรวมกันแบบเปนทีม เปนการปรับเปลี่ยนแนวทางการทํางานดวยการนําลูกนองและหัวหนาในแตละแผนกงานที่แตกอนเคยทํางานในลักษณะของการสั่งหรือมอบหมายงาน เปลี่ยนเปนการทํางานดวยการรวมกันพิจารณาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตองมีการประเมินตลอดจนวิเคราะหถึงขอดีขอเสีย และรวมกันตัดสินใจ ทําใหทุกคนมีสวนรวมในการทํางานตั้งแตตนจนจบ กอใหเกิดความเขาใจในงานเทาเทียมกัน ทําใหทํางานไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพและไมตองเสียเวลาสงเรื่องกลับไปกลับมา นอกจากนี้ ผลดีของการทํางานเปนทีมยังกอใหเกิดประโยชนในอันที่จะชวยพัฒนาความรูความสามารถขององคการ เปนการสงเสริมการเรียนรูรวมกันไดอยางเต็มที่ อนึ่งการจัดโครงสรางองคการใหแบนราบกับการลดขนาดองคการ(Down sizing) นั้น ถือวาแตกตางกัน เพราะรูปแบบการจัดโครงสรางองคการแบบแนวราบนั้น จะเปนจริงไดก็ตอเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงปรัชญาการบริหารงานจากรูปแบบเดิมไปสูการทํางานเปนทีมและการใหอํานาจการตัดสินใจแกทีมงาน สวนการลดขนาดองคการนั้น อาจจะทําใหขนาดองคการเล็กลง หรือมีระดับชั้นนอยลง แตถาหากปรัชญาในการทํางานยังคงเปนแบบเดิมแลว สิ่งที่ไดจากการลดขนาดองคการจะเปนเพียงองคการระบบราชการ(Bureaucracy) ที่มีขนาดยอสวนเล็กลงเทานั้น ดังนั้น ผูบริหารตองไมสับสนในประเด็นดังกลาวนี้

4. แนวคิดการจัดองคการแบบยืดหยุน(Flexible Organization) โดยทั่วไปองคการสวนใหญจะมีรูปแบบการจัดโครงสรางที่คอนขางตายตัว กลาวคือ ภายในองคการจะมีการจัดแบงเปนแผนกตางๆ ไวอยางชัดเจน และแมแตภายนอกองคการ จะมีการกําหนดไวอยางแนนอนแลววาใครเปนลูกคาใครเปนผูสงมอบ ซึ่งแตละคนจะมีการแบงแยกไวอยางชัดเจน เพราะแมแต แจ็คส เวลซผูบริหารบริษัท เยนเนอรัล อิเล็กทรอนิกส(GE) ยักษใหญของสหรัฐอเมริกา ยังเคยกลาวถึงเรื่ององคการที่ ไมมีขอบเขต (Boundaryless Organization) ไวถึงความฝนของเขาเกี่ยวกับรูปแบบองคการ หลังป ค.ศ.1990 คือ เปนองคการที่ไมมีขอบเขต เปนองคการที่รื้อกําแพงที่ปดกั้นพวกเราออกไปใหหมด ทั้งภายในบริษัทและกําแพงที่ปดกั้นเราจากภายนอก ซึ่งองคการตามความฝนของ

Page 31: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

23

แจ็คส เวลซ นั้น ความจริงแลว ไมใชวากําแพงเหลานั้นจะถูกรื้ออกหมด หากเปนเพียงการเปดชองหรือทํากําแพงเหลานั้นใหมีรูพรุน เพื่อใหสามารถสงผานสิ่งตางๆ ไปได ซึ่งกําแพงหรือผนังตางๆในองคการมีดังนี้

4.1 ผนังที่เปนตัวปดกั้นสิ่งตางๆ ตามแนวดิ่ง หมายถึง ระดับชั้นและตําแหนงตามสายงาน สิ่งที่จะทําใหผนังนี้ทะลุไดก็คือ การทํางานกันเปนทีม

4.2 ผนังที่ปดกั้นตามแนวนอน ไดแก ผนังที่แยกเปนฝายหรือแผนกตางๆ ออกจากกันอยางไรก็ตาม เราสามารถทะลุทะลวงกําแพงนี้ไดดวยการมุงเนนการทํางานที่มีเปาหมายรวมอยูที่การสนองตอบความพึงพอใจสูงสุดของลูกคา

4.3 ผนังปดกั้นภายนอก ซึ่งเปนสิ่งที่ปดกั้นตัวเราออกจากผูจัดสง(suppliers) ลูกคาและคูแขง(customer & competitor) ผนังนี้จะถูกทําลายลงไดก็ดวยหลักของการทํางานแบบเครือขาย(networking) อาจเปนการดึงเอกผูจัดสงและลูกคาเขามาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการหรือดวยการสรางพันธมิตร(partnership)ทางธุรกิจ

4.4 ผนังปดกั้นในเรื่องทําเลที่ตั้ง หมายถึง การทะลายกําแพงที่ปดกั้นองคกรกับตลาดเพียงเพราะสถานที่ตั้งหางไกลเกินไปในปจจุบันมีรูปแบบการจัดโครงสรางองคการแบบใหมเพิ่มมากขึ้นตามกระแสความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมยุคโลกาภิวัฒน ที่ความตองการของตลาดมีลักษณะเปนพลวัต(dynamic) สูงมาก เพราะลูกคาสามารถรับรูและถายทอดวัฒนธรรมการบริโภคอุปโภคสินคาและบริการผานสื่อตางๆ ที่มีมากมาย จึงกลายเปนแรงผลักดันใหองคการตองปรับตัวดวยการปรับรูปแบบองคการใหมีลักษณะยืดหยุนและเปดกวาง และแสวงหาแนวทางการจัดองคการใหมๆ เสมอ เชน การรีเอนจีเนียรี่องคการ การสรางวัฒนธรรมองคการใหเปนองคการแหงการเรียนรู(Learning Organization) ซึ่งทิศทางขององคการสวนใหญในปจจุบันจะปรับไปสูการสรางฐานความรูเปนยุทธศาสตรสําคัญ หรือที่เรียกวา Knowledge-base organization และอาจจะกาวสูวัฒนธรรมการสรางองคการแหงการเรียนรู(Learning Organization) ในที่สุด

2.3 แนวคิดดานการบริหารและการจัดการ

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2548 :5) กลาวไววาการบริหารจัดการ (management administration) การบริหารการพัฒนา (development administration) แมกระทั่งการบริหารการบริการ (service administration) แตละคํามีความหมายคลายคลึงหรือใกลเคียงกันที่เห็นไดอยางชัดเจนมีอยางนอย 3 สวน คือ หนึ่ง ลวนเปนแนวทางหรือวิธีการบริหารงานภาครัฐที่หนวยงานของรัฐ และ/หรือ เจาหนาที่ของรัฐ นํามาใชในการปฏิบัติราชการเพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการ

Page 32: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

24

สอง มีกระบวนการบริหารงานที่ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การคิด (thinking) หรือการวางแผน (planning) การดําเนินงาน (acting) และการประเมินผล (evaluating) และ สาม มีจุดหมายปลายทาง คือ การพัฒนาประเทศไปในทิศทางที่ทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมทั้งประเทศชาติมีความเจริญกาวหนาและมั่นคงเพิ่มขึ้น สําหรับสวนที่แตกตางกัน คือ แตละคํามีจุดเนนตางกัน กลาวคือ การบริหารจัดการเนนเรื่องการนําแนวคิดการจัดการของภาคเอกชนเขามาใชในการบริหารราชการ เชน การมุงหวังผลกําไร การแขงขัน ความรวดเร็ว การตลาด การประชาสัมพันธ การจูงใจดวยคาตอบแทน การลดขั้นตอน และการลดพิธีการ เปนตน ในขณะที่การบริหารการพัฒนาใหความสําคัญเรื่องการบริหารรวมทั้งการพัฒนานโยบาย แผน แผนงาน โครงการ (policy, plan, program, project) หรือกิจกรรมของหนวยงานของรัฐ สวนการบริหารการบริการเนนเรื่องการอํานวยความสะดวกและการใหบริการแกประชาชน

สมเกียรติ แสนทวีสุข,2550) กลาววา หนาที่หลักในการบริหารจัดการ คือ 1. การวางแผน(Planning) ประกอบดวย การกําหนดเปาหมาย (Goals) การกําหนดกลยุทธ

(Strategy) และการพัฒนาแผนยอยเพื่อใหเกิดการประสานงานกิจกรรมตาง ๆ2. การจัดองคกร (Organizing) ประกอบดวย การกําหนดหนาที่งาน การกําหนดบุคคลที่มี

ความเหมาะสมกับงานนั้น การจัดกลุมงานและสายการบังคับบัญชา การจัดบุคคลเขาทํางาน ซึ่งเปนขบวนการที่เปนทางบการเพื่อใหมั่นใจวาองคกรมีพนักงานที่มีความสามารถเพียงพอในงานทุกระดับ

3. การชักนํา (Leading) ประกอบดวย การจูงใจผูใตบังคับ การสั่งการ การเลือกชองทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และการแกปญหาความขัดแยง

4. การควบคุม(Controlling) ประกอบดวย กิจกรรมการติดตามผลและการแกไขปรับปรุงสิ่งที่จําเปนเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นวางานบรรลุผลตามที่ไดวางแผนไว

วิไลลักษณ รัตนเพียรธัมมะ (2555 : 24) กลาววา ผูบริหารที่มีคุณภาพ เปนที่ยอมรับ จึงจะเปนบุคคลที่สามารถบริหารองคการใหบรรลุวัตถุประสงค โดยสมาชิกหรือพนักงาน มีความสามารถหางานไดเต็มศักยภาพ มีความผูกพัน ซื่อสัตย สุจริต และจงรักภักดีตอองคการ โดยทั่วไปหนาที่ในการบริหารมีหลักสําคัญ 4 ประการคือ

1. การวางแผน (Planning) เปนการกําหนดเปาหมายขององคการ การกําหนดวัตถุประสงค และกลยุทธโดยรวมเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว เพื่อใหกิจกรรมมีความสอดคลองและมีทิศทางสูเปาหมายเดียวกัน

Page 33: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

25

2. การจัดองคการ (Organizing) เปนการออกแบบโครงสรางองคการและระบบงาน รวมทั้งการแบงงาน การจัดสรรทรัพยากรเพื่อใหบรรลุเปาหมาย และวัตถุประสงคขององคการ

3. การนํา ( Leading) เปนการจูงใจพนักงานหรือสมาชิกในองคการเพื่อใหเกิดระบบงาน รวมทั้งการแบงงาน การจัดสรรทรัพยากรเพื่อใหบรรลุเปาหมาย และวัตถุประสงค

4. การควบคุม ( Controlling) เปนการสรางความเชื่อมั่นวาสิ่งที่กําหนดไวจะเปนไปตามแผนที่วางไว ผูบริหารตองติดตามประเมินผลการดําเนินงานขององคการ นําผลที่ไดจากการปฏิบัติจริงเทียบกับเปาหมายที่กําหนด และหาทางปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้น

การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป

Fayol มีความเชื่อวา เปนไปไดที่เราจะหาทางศึกษาถึงศาสตรที่เกี่ยวกับการบริหาร (Administrative sciences) ซึ่งสามารถใชไดกับการบริหารทุกชนิด ไมวาจะเปนการบริหารงานอุตสาหกรรมหรืองานรัฐบาล Fayol ไดสรุปสาระสําคัญตามแนวความคิดของตนไวดังนี้ คือ

1. เกี่ยวกับหนาที่การจัดการ (management functions) Fayol ไดอธิบายถึงกระบวนการจัดการงานวา ประกอบดวยหนาที่ (functions) ทางการจัดการ 5 ประการ คือ

1. การวางแผน (Planning) หมายถึง ภาระหนาที่ของผูบริหารที่จะตองทําการคาดการณลวงหนาถึงเหตุการณตาง ๆ ที่จะมีผลกระทบตอธุรกิจ และกําหนดขึ้นเปนแผนการปฏิบัติงานหรือวิถีทางท่ีจะปฏิบัติเอาไว เพื่อสําหรับเปนแนวทางของการทํางานในอนาคต

2. การจัดองคการ (Organizing) หมายถึง ภาระหนาที่ที่ผูบริหารจําตองจัดใหมีโครงสรางของงานตาง ๆ และอํานาจหนาที่ ทั้งนี้เพื่อใหเครื่องจักร สิ่งของและตัวคน อยูในสวนประกอบที่เหมาะสม ในอันที่จะชวยใหงานขององคการบรรลุผลสําเร็จได

3. การบังคับบัญชาสั่งการ (Commanding) หมายถึง หนาที่ในการสั่งงานตาง ๆ ของผูใตบังคับบัญชา ซึ่งกระทําใหสําเร็จผลดวยดี โดยที่ผูบริหารจะตองกระทําตนเปนตัวอยางที่ดี จะตองเขาใจคนงานของตน

4. การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง ภาระหนาที่ที่จะตองเชื่อมโยงงานของทุกคนใหเขากันได และกํากับใหไปสูจุดมุงหมายเดียวกัน

5. การควบคุม (Controlling) หมายถึง ภาระหนาที่ในการที่จะตองกํากับใหสามารถประกันไดวากิจกรรมตาง ๆ ที่ทําไปนั้นสามารถเขากันไดกับแผนที่ไดวางไวแลว

ทั้ง 5 หนาที่ที่ Fayol ไดวิเคราะหแยกแยะไวนี้ ถือไดวาเปนวิถีทางที่จะใหผูบริหารทุกคน สามารถบริหารงานของตนใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายได

Page 34: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

26

2. ผูบริหารจะตองมีคุณลักษณะพรอมความสามารถทางรางกาย จิตใจ ไหวพริบ การศึกษาหาความรู เทคนิคในการทํางาน และประสบการณตาง ๆ Fayol แยกแยะใหเห็นวาคุณสมบัติทางดาน เทคนิควิธีการทํางาน นั้น สําคัญที่สุดในระดับคนงานธรรมดา แตสําหรับระดับสูงขึ้นไปกวานั้นความสามารถทางดานบริหาร จะเพิ่มความสําคัญตามลําดับ และมีความสําคัญมากที่สุดในระดับผูบริหารขั้นสุดยอด (Top executive) ควรจะไดมีการอบรม (training) ความรูทางดานบริหารควบคูกันไปกับความรูทางดานเทคนิคในการทํางาน

3. เกี่ยวกับหลักจัดการ (Management principles) Fayol ไดวางหลักทั่วไปที่ใชในการบริหารไว 14 ขอ ซึ่งใชสําหรับเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับผูบริหาร หลักทั่วไปดังกลาวมีดังนี้คือ

1. หลักที่เกี่ยวกับอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ (authority & responsibility) คือ อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบเปนสิ่งที่แยกจากกันมิได ผูซึ่งมีอํานาจหนาที่ที่จะออกคําสั่งไดนั้น ตองมีความรับผิดชอบตอผลงานที่ตนทําไปนั้นดวย

2. หลักของการมีผูบังคับบัญชาเพียงคนเดียว (unity of command) คือ ในการกระทําใด ๆ คนงานควรไดรับคําสั่งจากผูบังคับบัญชาเพียงคนเดียวเทานั้น ทั้งนี้เพื่อปองกันมิใหเกิดความสับสนในคําสั่งดวยการปฏิบัติตามหลักขอนี้ ยอมจะชวยใหสามารถขจัดสาเหตุแหงการเกิดขอขัดแยงระหวางแผนกงาน และระหวางบุคคลในองคการใหหมดไป

3. หลักของการมีจุดมุงหมายรวมกัน (unity of direction) กิจกรรมของกลุมที่มีเปาหมายอันเดียวกันควรจะตองดําเนินไปในทิศทางเดียวกันและสอดคลองกัน เปนไปตามแผนงานเพียงอันเดียวรวมกัน

4. หลักของการธํารงไวซึ่งสายงาน (scalar chain) สายงานอันนี้คือสายการบังคับบัญชาจากระดับสูงมายังระดับต่ําสุด ดวยสายการบังคับบัญชาดังกลาวจะอํานวยใหการบังคับบัญชาเปนไปตามหลักของการมีผูบัคับบัญชาเพียงคนเดียว และชวยใหเกิดระเบียบในการสงทอดขาวสารขอมูลระหวางกันอีกดวย

5. หลักของการแบงงานกันทํา (division of work or specialization) คือ การแบงแยกงานกันทําตามความถนัด โดยไมคํานึงถึงวาจะเปนงานดานบริหารหรือดานเทคนิค

6. หลักเกี่ยวกับระเบียบวินัย (discipline) โดยถือวาระเบียบวินัยในการทํางานนั้น เกิดจากการปฏิบัติตามขอตกลงในการทํางาน ทั้งนี้โดยมุงที่จะกอใหเกิดการเคารพเชื่อฟง และทํางานตามหนาที่ดวยความตั้งใจ เรื่องดังกลาวนี้ จะทําไดก็โดยที่ผูบังคับบัญชาตองมีความซื่อสัตยสุจริต และเปนตัวอยางที่ดี ขอตกลงระหวางผูบังคับบัญชาและผูอยูใตบังคับบัญชา จะตองเปนไปอยางยุติธรรมมากที่สุด และจะตองยึดถือเปนหลักปฏิบัติอยางคงเสนคงวา

Page 35: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

27

7. หลักของการถือประโยชนสวนบุคคลเปนรองประโยชนสวนรวม (subordination of individual to general interest) หลักขอนี้ระบุวา สวนรวมยอมสําคัญกวาสวนยอยตาง ๆ เพื่อที่จะใหสําเร็จผลตามเปาหมายของกลุม (องคการ) นั้น ผลประโยชนสวนไดเสียของกลุมยอมตองสําคัญเหนืออ่ืนใดทั้งหมด

8. หลักของการใหผลประโยชนตอบแทน (remuneration) การใหและวิธีการจายผลประโยชนตอบแทนควรที่จะยุติธรรม และใหความพอใจมากที่สุดแกทั้งฝายลูกจางและนายจาง

9. หลักของการรวมอํานาจไวสวนกลาง (centralization) หมายถึง วาในการบริหารจะมีการรวมอํานาจไวที่จุดศูนยกลาง เพื่อใหควบคุมสวนตาง ๆ ขององคการไวไดเสมอ และการกระจายอํานาจจะมากนอยเพียงใดก็ยอมแลวแตกรณี

10. หลักของความมีระเบียบเรียบรอย (order) ทุกสิ่งทุกอยางไมวาสิ่งของหรือคนตางตองมีระเบียบและรูวาตนอยูในที่ใดของสวนรวม หลักนี้ก็คือหลักมูลฐานที่ใชในการจัดสิ่งของและตัวคนในการจัดองคการนั่นเอง

11. หลักของความเสมอภาค (equity) ผูบริหารตองยึดถือความเอื้ออารีและความยุติธรรมเปนหลักปฏิบัติตอผูอยูใตบังคับบัญชา ทั้งนี้เพื่อใหไดมาซึ่งความจงรักภักดี และการอุทิศตนเพื่องาน

12. หลักของความมีเสถียรภาพของการวาจางทํางาน (stability of tenure) กลาววา ทั้งผูบริหารและคนงานตองใชเวลาระยะหนึ่ง เพื่อเรียนรูงานจนทํางานไดดี การที่คนเขาออกมากยอมเปนสาเหตุใหตองสิ้นเปลือง และเปนผลของการบริหารงานทีไมมีประสิทธิภาพ

13. หลักของความคิดริเริ่ม (initiative) เนื่องจากวาคนฉลาดยอมตองการที่จะไดรับ ความพอใจจากการที่ตนไดทําอะไรดวยตัวเอง ดังนั้น ผูบังคับบัญชาควรจะเปดโอกาสใหผูนอยไดใชความริเริ่มของตนบาง

14. หลักของความสามัคคี (esprit de corps) เนนถึงความจําเปนที่คนตองทํางานเปนกลุมที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (teamwork) และชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของการติดตอสื่อสารเพื่อใหไดมาซึ่งกลุมทํางานที่ดี

หลักการจัดการของ Fayol ขางตนนี้ ยังเปนหลักเกณฑที่ไดใชปฏิบัติอยูจนทุกวันนี้ เพราะไมวาเราจะยกเอากิจการใดก็ตามขึ้นมาแยกแยะดู ก็จะเห็นวางานบริหารขององคการเหลานี้ มีการจัดแบงหนาที่ขอเงผูบริหารไวใกลเคียงกับหลักเกณฑที่ Fayol ไดแบงแยกเอาไว ผลงานที่ Taylor และ Fayol ไดคิดคนขึ้นมาในชวงสมัยการจัดการที่มีหลักเกณฑนั้น ทั้งสองกรณีมีสวนสําคัญในการสนับสนุนซึ่งกันและกัน นักบริหารทั้งสองคนนี้ตางมีความเชื่อตรงกันวา ถาไดมีการจัดการดานที่เกี่ยวกับบุคคลและทรัพยากรอื่น ๆ อยางถูกตองแลว ก็จะเปนกุญแจที่จะนําไปสู

Page 36: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

28

ความสําเร็จได และทั้งสองก็ไดใชวิธีการที่เปนวิทยาศาสตรในการจัดการดวย จะมีที่เปนขอแตกตางแตไมเปนการขัดแยงกันก็คือ Taylor ใชวิธีเริ่มพิจารณามาจากระดับปฏิบัติการจากขางลาง และมุงสนใจพิจารณาในระดับงานที่เปนงานปฏิบัติการที่ฐาน สวน Fayol นั้นเนื่องจากไดใชเวลาสวนมากคนควาหลักทฤษฎี จากตําแหนงงานบริหารในระดับสูงที่ทํางานอยู อางอิง : siamhr.com. 2547.การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป (General principles of management) ตามทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol .[Online]./Available:

2.4 แนวคิดทฤษฎี Benchmark

จุดกําเนิดของเบนซมารก(Benchmark)เกิดจากความสําเร็จของบริษัทซีร็อกซ ที่พัฒนาการระบบการดําเนินงานและสราง

นวัตกรรมใหม ออกสูตลาดอยางตอเนื่อง หลักจากที่ซีร็อกซประสบปญหาในเรื่องของสวนแบงตลาดไดลดลงกวา 50 % เนื่องจากการบริหารที่เชื่องชาและยึดติดกับความสําเร็จของตนเอง ทําใหซีร็อกซไดเริ่มตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และไดเริ่มที่จะมีกิจกรรมใหม ๆ เพื่อหาทางแกไขความตกต่ําที่ เกิดขึ้นโดยใชบริษัทฟูจิซีร็อกซซึ่งเปนบริษัทในเครือแมแบบ จนประสบความสําเร็จ และไดทําเบนซมารกทั่วทั้งบริษัทในป 1981

ความหมายณัฏฐพันธ เขจรนันทน( 2552: 165-168 ) อางถึง David T.kearns Benchmarking กลาววา

การเบนซมารกเปนกระบวนการตอเนื่องในการวัดผลิตภัณฑ บริการ และการดําเนินงานของธุรกิจ เปรียบเทียบกับคูแขงขันที่เขมแข็งที่สุด (Touhgest) หรือบริษัทที่ไดรับการยอมรับวาเปนผูนําในอุตสาหกรรม (Industry Leader)

ขอบเขตของการทํา Benchmarkingการทํา Benchmarking นั้นสามารถทําไดทุกระดับและทั่วทั้งองคกร ทั้งระดับกลยุทธ และระดับปฏิบัติการ

แนวทางการทํา Benchmarkingการทํา Benchmarking สามารเลือกทําได 2 แนวทาง คือ1. การทําแบบ Benchmarking แบบกลุม คือ การรวมกลุมองคกรที่ตองการทํา

Page 37: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

29

2. การทําแบบ Benchmarking แบบเดี่ยว ทําเฉพาะองคกรเดียว

ประเภทของ Benchmarkingณัฎฐพันธ เขจรนันทน (2552:163-164 ) กลาววา การแสดงความนิยมของการทํา

Benchmarking ในประเทศตางๆทั่วโลก ทําใหมีผูศึกษาและพยายามพัฒนารูปแบบและเทคนิคในการทํา Benchmarking อยางหลากหลาย ซึ่ง ไดแบงประเภทของการทํา Benchmarking ออกเปน 4 ลักษณะไดแก

1. การทํา Benchmark ภายในองคกร (Internal Benchmarking) โดยการทํา Benchmark เปรียบ เทียบกันระหวางหนวยงานหรือกระบวนการตางๆ ภายในองคกร เพื่อทําการศึกษาและวิเคราะห ปญหาเพื่อใหเปนตนแบบ (Prototype ) ในการพัฒนาการ Benchmark ในรูปแบบอื่นตอไป

2. การทํา Benchmark กับคูแขงขัน ( Competitive Benchmarking ) เปนการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ บริการ การดําเนินงานและขอมูลในมติตางๆ ระหวางองคการกับคูแขงขัน ที่มีศักยภาพโดยตรง เพื่อที่ผูบริหารจะเห็นจุดออนของตน ความแตกตางในความสามารถและศักยภาพตลอดจนวิธีการดําเนินงานเพื่อที่ธุรกิจจะสามารถพัฒนาตนเองใหเทาเทียมหรือเหนือกวาคู แขงที่ดีที่สุดได

3. การทํา Benchmark ตามหนาที่(Functional Benchmarking) เปนการเปรียบเทียบการดําเนินงานในแตละหนาที่ (Function) ที่เราสนใจโดยไมคํานึงถึงความแตกตางของอุตสาหกรรมและการปฏิบัติทั่วทั้งองคการเนื่องจากการ Benchmark ตามหนาที่ จะชวยลดความยุงยากในการ หาคูเปรียบเทียบ (Benchmarking Partner) ซึ่งเราสามารถคัดเลือกคูเปรียบเทียบได ธุรกิจที่ไมใชคูแขงโดยตรงในอุตสาหกรรม สะดวกในการกําหนด และตัดสินใจเลือกองคกรที่มีการ ปฏิบัติงานดีที่สุด ( Best Practice ) ในแตละหนาที่และสามารถกําหนดความสําคัญและเลือกหนาที่หลักๆ ที่มีอิทธิพลตออนาคตทางธุรกิจมาพัฒนาใหเขมแข็ง กอนกระจายหรือขยาย ผลไปยังสวนอื่นขององคกร

4. การทํา Benchmark ทั่วไป (Generic Benchmarking ) เปนการดําเนินงานที่ใหความสําคัญกับกระบวนการเฉพาะ(Specific Benchmarking) เปนการดําเนินงานที่ใหความสําคัญกับกระบวนการเฉพาะ(Specific Process )ที่ใชกันอยางทั่วไปในอุตสาหกรรมตางๆ โดยกระบวนการตางๆ อาจดําเนินงานที่เกี่ยวของกับหลายหนาที่ การ Benchmark ทั่วไปจะเปนประโยชนในการบริหารและพัฒนากระบวนการตางของธุรกิจใหทันสมัยและมีประสิทธิภาพอยูเสมอโดยไมจํากัดกรอบความคิดในอุตสาหกรรมที่ทําใหหลงนึกไปวารูปแบบการดําเนินงานและการใหบริการลูกคาของตนเองดีที่สุดแลว

Page 38: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

30

กระบวนการทํา Benchmarking ณัฏฐพันธ เขจรนันทน( 2552: 165-168 ) เราทุกคนตองตระหนักแลววา การทําเบนซมารก

เปนงานที่ไมงายนักเนื่องจากจะตองเกี่ยวของกับกลุมบุคคลตางๆ มีความซับซอน จึงตองดําเนินงานอยางเปนระบบและตอเนื่อง มีนักวิชาการไดกลาวถึงวิธีการและขั้นตอนการทํา Benchmark ตามความคิดของตนเอง เชน Robert Campไดกลาวถึงขั้นตอนในการ Benchmark วา ประกอบไปดวยชวงเวลา(Phase) ที่สําคัญ 5 ระยะ ไดแก

ระยะที่ 1 การวางแผน(Planning) เปนการกําหนดขอบเขตพื้นที่ในการดําเนินงาน ซึ่งเปนการกําหนดขอบเขต วางแผนและระดับความสําคัญในการดําเนินงาน

ระยะที่ 2 การวิเคราะห(Analysis) เปนการสรางความเขาใจในเชิงลึกเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน หรือกระบวนการขององคกรและธุรกิจที่นํามาเปรียบเทียบ

ระยะที่ 3 การบูรณาการ(Integration) เปนการกําหนดเปาหมายในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา ซึ่งจะสอดคลองกับกลยุทธและการวางแผนขององคกร

ระยะที่ 4 การปฏิบัติ(Action) เปนการแปลงแนวคิดและผลการศึกษาใหเปนการดําเนินงานที่เปนรูปธรรม ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของกระบวนการพัฒนาตามแนวทาง Benchmark

ระยะที่ 5 การเติบโตเต็มที่(Maturity) เปนการนํา Benchmark เขาไปในทุกกระบวนการ ซึ่งจะตองปฏิบัติอยางตอเนื่องอันสืบเนื่องมาจากท่ีธุรกิจกาวขึ้นเปนผูนําแลว

ปจจัยความสําเร็จของการทํา Benchmark1. ปจจัยทางดานกลยุทธ ปจจัยดานนี้ไมวาจะนําเครื่องมือทางการจัดการตัวไหนมาใช ลวน

เกี่ยวของกับกลยุทธ เสมอ ซึ่งในองคการที่จะนําเบนซมารกมาใชนั้น กลยุทธจะตองมีความชัดเจน กลยุทธและทิศทางขององคการจะตองสอดคลองและสนับสนุนตอแนวคิดของการพัฒนาอยางตอเนื่อง กลยุทธที่ดีจะทําใหผูบริหารทราบวา จุดหรือกระบวนการใดบางที่ควรจะตองมีการปรับปรุงและพัฒนาโดยอาศัยการทํา Benchmark

2. ปจจัยดานวัฒนธรรมองคการ องคการที่จะนํา Benchmark มาใชจนประสบความสําเร็จได จะตองมีวัฒนธรรมและคานิยมที่มุงเนนตอการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตนเองอยูตลอดเวลา รวมทั้งจะตองพรอมที่จะเรียนรูจากผูที่ดีที่สุด

3. ปจจัยดานความพรอมของระบบสนับสนุน ในการทํา Benchmark ระบบสนับสนุนจะหมายถึงทั้งในดานของการสนับสนุนการทํางานเปนทีม การไดรับคําแนะนําจากผูบริหารหรือผูเชี่ยวชาญ การอบรม และ พัฒนา โดยเฉพาะเครือขายและขอมูลที่เก่ียวของในการทํา

Page 39: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

31

4. ปจจัยดานความแมนยําของหลักการ องคการที่จะนํา Benchmark มาใชนั้น จะตองเลือกปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการในการทํา Benchmark ที่ถูกตอง โดยเฉพาะองคการเพิ่งเริ่มทําเปนครั้งแรกจะตองยึดหลักเกณฑที่เปนที่ยอมรับกันอยางแพรหลาย แลวหลังจากนั้นคอยพัฒนาแนวทาง และวิธีการของตนเองใหสอดคลองตอองคการแตละแหง

2.5 แนวคิดทฤษฎี Balanced Scorecard

ณัฏฐพันธ เขจรนันทน( 2552: 165-168 ) อางถึง Kaplan และ Norton กลาววา การสรางBalanced Scorecard จะชวยผูจัดการในการเชื่อมการปฏิบัติงานในวันนี้เขากับเปาหมายในวันพรุงนี้ ซึ่งจะมีความสําคัญตอการดํารงอยูและพัฒนาการอยางยั่งยืนของธุรกิจ Balanced Scorecard เปนกลยุทธในการบริหารงานสมัยใหม และไดรับความนิยมไปทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย Balanced Scorecard ไดถูกพัฒนาขึ้นเมื่อป 1990 โดย Drs. Robert Kaplan จาก Harvard Business School และDavid Norton จาก Balanced Scorecard Collaborative โดยตั้งชื่อระบบนี้วา “Balanced Scorecard” เพื่อที่ผูบริหารขององคกรจะไดรับรูถึงจุดออน และความไมชัดเจนของการบริหารงานที่ผานมา balanced Scorecard จะชวยในการกําหนดกลยุทธในการจัดการองคกรไดชัดเจน โดยดูจากผลของการวัดคาไดจากทุกมุมมอง เพื่อใหเกิดดุลยภาพในทุก ๆ ดาน มากกวาที่จะใชมุมมองดานการเงินเพียงดานเดียว อยางที่องคกรธุรกิจสวนใหญคํานึงถึง เชน รายได กําไร ผลตอบแทนจากเงินปนผลและราคาหุนในตลาด เปนตน การนํา balanced Scorecard มาใช จะทําใหผูบริหารมองเห็นภาพขององคกรชัดเจนยิ่งขึ้น

Balanced Scorecard คือระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่วทั้งองคกร และไมใชเฉพาะเปนระบบการวัดผลเพียงอยางเดียว แตจะเปนการกําหนดวิสัยทัศน (vision) และแผนกลยุทธ (strategic plan) แลวแปลผลลงไปสูทุกจุดขององคกรเพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานของแตละฝายงานและแตละคน โดยระบบของ Balanced Scorecard จะเปนการจัดหาแนวทางแกไขและปรับปรุงการดําเนินงาน โดยพิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการทํางานภายในองคกร และผลกระทบจากลูกคาภายนอกองคกร มานํามาปรับปรุงสรางกลยุทธใหมีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น เมื่อองคกรไดปรับเปลี่ยนเขาสูระบบ Balanced Scorecard เต็มระบบแลว Balanced Scorecard จะชวยปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธขององคกรจากระบบ “การทํางานตามคําสั่งหรือสิ่งที่ไดเรียนรูสืบทอดกันมา (academic exercise)” ไปสูระบบ “การรวมใจเปนหนึ่งเดียวขององคกร (nerve center of an enterprise)

Page 40: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

32

Kaplan และ Norton ไดอธิบายถึงระบบ Balanced Scorecard ที่คิดคนขึ้นมาใหมนี้ ดังนี้“Balanced Scorecard จะยังคงคํานึงถึงมุมมองของการวัดผลทางการเงิน (financial measures) อยูเหมือนเดิม แตผลลัพธทางการเงินที่เกิดขึ้นจะบอกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับองคกรในชวงที่ผานมา บอกถึงเรื่องราวของความสามารถกับอายุของบริษัทที่อยูในอุตสาหกรรมนี้ แตมันไมไดบอกถึงความสําเร็จขององคกร ที่จะมีตอผูลงทุนที่จะมาลงทุนระยะยาวโดยการซื้อหุนของบริษัท และความสัมพันธของลูกคา (customer relationships) แตอยางใด จะเห็นไดวาเพียงการวัดผลทางการเงินดานเดียวไมเพียงพอ แตอยางไรก็ตามมันก็ใชเปนแนวทางและการตีคาของผลการประกอบการขององคกร ใชเปนขอมูลที่จะเพิ่มมูลคาขององคกรในอนาคตและสรางแนวทางสําหรับ ลูกคา (customers) ผูขายวัตถุดิบหรือสินคา (suppliers) ลูกจาง (employees) การปฏิบัติงาน (processes) เทคโนโลยี (technology) และ การคิดคนนวัตกรรมใหม ๆBalance Scorecard จะทําใหเราไดเห็นภาพขององคกรใน 4 มุมมอง และนําไปสูการพัฒนาเครื่องมือวัดผล โดยวิธีการรวบรวมขอมูลและนําผลที่ไดมาวิเคราะห มุมมองทั้ง 4 ดังกลาว ประกอบดวย

1. The Learning and Growth Perspective เปนมุมมองดานการเรียนรูและการเติบโต เชน การพัฒนาความรูความสามารถของพนักงาน ความพึงพอใจของพนักงาน การพัฒนาระบบอํานวยความสะดวกในการทํางาน เปนตน

2. The Business Process Perspective เปนมุมมองดานกระบวนการทํางานภายในองคกรเอง เชน การคิดคนนวัตกรรมใหม ๆ การจัดโครงสรางองคกรที่มีประสิทธิภาพ การประสานงานภายในองคกร การจัดการดานสายงานผลิตที่มีประสิทธิภาพ เปนตน

3. The Customer Perspective เปนมุมมองดานลูกคา เชน ความพึงพอของลูกคาภาพลักษณกระบวนการดานการตลาด การจัดการดานลูกคาสัมพันธ เปนตน

4. The Financial Perspective เปนมุมมองดานการเงิน เชน การเพิ่มรายได ประสิทธิภาพในการผลิตที่มีตนทุนต่ําและมีการสูญเสียระหวางผลิตนอย การหาแหลงเงินทุนที่มีตนทุนต่ํา เปนตน

ณัฏฐพันธ เขจรนันทน( 2552: 303-304 ) กลาววาBalance Scorecard (BSC) นั้นไดรับการพัฒนามาโดยตลอด ทําใหภาพของ BSC จากเพียงเครื่องมือที่ถูกใชเพื่อวัดและประเมินผลองคกรไปสูการเปนเครื่องมือเชิงระบบสําหรับการวางแผนและบริหารยุทธศาสตร (Strategic Planning) โดยผูพัฒนาเครื่องมือนี้ (Norton และ Kaplan) ยืนยันหนักแนนวา ความสมดุล (Balance) ในการพัฒนาองคกรนั้น สามารถวัด และประเมินไดจากการมองผานมุมมองของระบบการวัดและประเมินผลใน 4 ดานหลัก คือ

1. มุมมองดานการเงิน (Financial Perspective; F) โดยตอบคําถามวา ผูถือหุนมองเราอยางไร ซึ่งจะเกี่ยวของกับผลตอบแทนทางการเงิน และความสามารถในการบริหารงบประมาณ

Page 41: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

33

2. มุมมองดานลูกคา (Customer Perspective; C) โดยตอบคําถามวา ลูกคามองเราอยางไร พิจารณาได 4 ดาน คือ ระยะเวลา คุณภาพ การปฏิบัติการ และ การบริการ

3. มุมมองดานการดําเนินการภายใน (Internal Perspective; I) โดยตอบคําถามวา เราควรใหความสําคัญกับ กระบวนการอะไรทางธุรกิจ โดยพิจารณากระบวนการทางธุรกิจที่เกี่ยวของกับการสรางความพอใจใหกับลูกคา ซึ่งสามารถอธิบายไดในดาน วงจรเวลา คุณภาพ ทักษะของพนักงาน และ ผลิตภาพ

4. มุมมองดานการเรียนรูและการเติบโต (Learning and Growth; L) โดยตอบคําถามวา เราสามารถพัฒนาและสรางมูลคาเพิ่มของธุรกิจไดอยางไร ซึ่งเก่ียวของโดยตรงกับคานิยม ของบริษัทที่จะพัฒนาและสรางสรรคผลิตภัณฑและบริการใหม เพื่อสรางคุณคาและเปนที่ตองการของลูกคา ตลอดจนปรับปรุงกระบวนการทํางานของธุรกิจใหดีขึ้นกวาเดิม

ดังนั้น BSC จึงเปนเสมือนเครื่องมือหรือกลไกในการวางแผนและบริหารกลยุทธที่มีการ กําหนดมุมมองทั้ง 4 ดาน เพื่อใหเกิดความสมดุลในการพัฒนาองคกร จนบรรลุแผนกลยุทธที่ไดวางไวในที่สุด

คําวาสมดุล (Balance) ใน BSC หมายถึงอะไรณัฏฐพันธ เขจรนันทน( 2552: 305-306 ) กลาววาดวยเหตุที่หลายครั้งผูพัฒนาและติดตั้ง

BSC ในแตละองคกรนั้น มุงแตจะพยายามเติมเต็มมุมมองการพัฒนาทั้ง 4 ดาน (C-L-I-F) เทานั้นโดยละเลยประเด็นที่วา แมวาจะทําใหทั้ง4 มุมมองนั้นครบถวน แตก็ไมไดหมายความวา ความสมดุลตามความมุงหมายของ BSC จะเกิดขึ้นได ความสมดุลนี้พึงตองระลึกไวอยูเสมอในขณะพัฒนาและติดตั้ง BSC วาความสมดุลตามความมุงมาดคาดหมายของ BSC คือ ความสมดุล (Balance) ระหวาง

1. วัตถุประสงค (Objective) : ระยะสั้นและระยะยาว (Short - and Long - Term) ที่สําคัญของแตละมุมมอง ซึ่งในความหมายของคําวาวัตถุประสงคตามแนวคิดของ BSC คือ สิ่งที่องคการมุงหวังหรือตองการที่จะบรรลุดานตาง ๆ เชน การเพิ่มขึ้นของรายได สวนแบงการตลาดที่เพิ่มขึ้น การนําเสนอสินคาที่มีคุณภาพ

2. ตัวชี้วัด(Measure) : ทางดานการเงินและไมใชการเงิน (Financial and Non-Financial) ตัวอยางเชน รายไดที่เพิ่มขึ้นเทียบกับปที่ผานมา จํานวนลูกคาทั้งหมด หรือ จํานวนลูกคาที่หายไป

3. เปาหมาย( Tarket ): ไดแก เปาหมายหรือตัวเลขที่องคการตองการจะบรรลุของตัวชี้วัดแตละประการ ตัวอยางเชน การเพิ่มขึ้นของรายไดเทากับรอยละ 25 ตอป จํานวนชั่วโมงในการอบรมเทากับ 10 วันตอคนตอป

Page 42: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

34

4. แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม (Initiatives) : ที่องคการจะจัดทําเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดขึ้น โดยในขั้นนี้ยังไมใชแผนปฏิบัติการที่จะทํา เปนเพียงแผนงานโครงการ หรือกิจกรรมที่ตองทํา เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการ ตัวอยางเชน การขยายตัวสูตลาดตางประเทศ การพัฒนากระบวนการผลิต โครงการพัฒนาทักษะของพนักงาน สิ่งที่คนในองคกรจะเขาใจเปาหมายขององคกรไดงาย ก็คือการ สราง mapหรือ road map ที่แสดงเปนขั้นตอนหรือเสนทางที่จะดําเนินงาน ซึ่งแผนการดําเนินงานขององคกรภาวะที่มีขอจํากัดและมีการแขงขัน จึงตองเปนแผนกลยุทธ หรือแผนยุทธศาสตร การจัดทําแผนยุทธศาสตรบนพื้นฐานของมุมมองทั้ง 4 และความสมดุลทั้ง 4 BSC ยังใหความสําคัญตอความเชื่อมโยงมุมมอง (Perspective) โดยนําเสนอใน 2 รูปแบบคือ

1. แบบความสัมพันธ (Relation)2. แบบลําดับความสําคัญ (Priority)

ประโยชนที่องคกรจะไดรับจากการใช Balanced Scorecard1.ชวยใหมองเห็นวิสัยทัศนขององคกรไดชัดเจน2.ไดรับการความเห็นชอบและยอมรับจากผูบริหารทุกระดับ ทําใหทุกหนวยงาน

ปฏิบัติงานไดสอดคลองกันตามแผน3.ใชเปนกรอบในการกําหนดแนวทางการทํางานทั่วทั้งองคกร4.ชวยใหมีการจัดแบงงบประมาณและทรัพยากรตาง ๆ สําหรับแตละกิจกรรมได

อยางเหมาะสม5. เปนการรวมแผนกลยุทธของทุกหนวยงานเขามาไวดวยกัน ดวยแผนธุรกิจของ

องคกร ทําใหแผนกลยุทธทั้งหมดมีความสอดคลองกัน6.สามารถวัดผลไดทั้งลักษณะเปนทีมและตัวบุคคล

2.6 แนวคิดทฤษฎีเรื่องเกี่ยวกับการจัดการงานกอสราง

กระบวนการกอสราง(Construction Process)พนม ภัยหนาย(2539 : 6) ประเภทของงานกอสราง สามารถจําแนกไดมากมายหลายทาง แต

วิธีหนึ่งที่นิยมมากที่สุด คือ การจําแนกงานกอสรางออกเปน 3 ประเภท คือ1. ประเภทเกี่ยวกับอาคาร เชน อาคารเรียน อาคารพาณิชย โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก

อาคารที่พักอาศัย โรงพยาบาล เปนตน

Page 43: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

35

2. ประเภทเกี่ยวกับทางหลวง เชน ถนน สะพาน ปายโฆษณาขนาดใหญ การขุดดิน การทําไหลถนน การทําบาทวิถี รั้ว เปนตน

3. ประเภทงานกอสรางขนาดใหญ เชน เขื่อนกั้นน้ํา สนามบิน งานเดินทอน้ํา งานเดินทอระบายน้ําเสีย โรงงานอุตสาหกรรม อูเรือ เปนตน

กลุมบุคคลที่เกี่ยวของกับธุรกิจงานกอสราง

บริพัตร เชาวชตา(2545 : 58 – 59)ในธุรกิจรับเหมากอสราง โดยทั่วๆ ไป จะประกอบดวยกลุมบุคคล 4 กลุมใหญๆ ดังนี้

1. กลุมเจาของโครงการ คือ กลุมผูลงทุนเพื่อใหไดเปนเจาของของสิ่งปลูกสรางนั้นๆประกอบดวยเจาของโครงการ 2 ประเภทคือ

1.1 เจาของโครงการภาครัฐ เชน กรมโยธาธิการ ตองการสรางสะพาน กรมชลประทานตองการสรางเขื่อน กรมทางหลวง ตองการสรางถนน การทางพิเศษ ตองการสรางทางดวน เปนตน

1.2 เจาของโครงการภาคเอกชน มีตั้งแตโครงการขนาดใหญ เชน บานพักอาศัยอาคารชุด ศูนยการคา โรงงานอุตสาหกรรมและอาคารสูงอื่นๆ

2. กลุมที่ปรึกษาโครงการ หรือกลุมจัดการงานกอสราง คือ กลุมที่ชวยใหคําปรึกษาและรับภาระงานจากกลุมเจาของโครงการ ทําหนาที่ประสานงาน กําหนดนโยบายและวัตถุประสงคของโครงการ โดยอาจเริ่มจากการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ การจัดหาแหลงทุนดําเนินการ การจัดหาผูออกแบบโครงการ การจัดหาผู กอสราง(ผูรับเหมา) การควบคุมคาใชจายของโครงการ การควบคุมคุณภาพของงาน การแกปญหาระหวางการกอสราง ตลอดจนการหาวิธีลดคาใชจายในการกอสราง จะเห็นวากลุมที่ปรึกษาโครงการก็คือ ผูดูแลผลประโยชนของกลุมเจาของโครงการนั่นเอง

3. กลุมผูออกแบบ คือ กลุมบุคคลที่ปฏิบัติงานตามความตองการของเจาของโครงการ ในดานการออกแบบสิ่งกอสรางทางดานรูปทรง ประโยชนใชสอย และความปลอดภัย มั่งคงแข็งแรงเมื่อถึงขั้นตอนลงมือทํางานกอสรางจริง กลุมผูออกแบบก็ยังมีบทบาทอยูในงานรวมกับกลุมที่ปรึกษาโครงการดวย(กลุมที่ปรึกษาโครงการ บางบริษัทก็รับทํางานออกแบบอยูดวย)

4. กลุมผูกอสราง คือ กลุมผูรับเหมากอสราง ซึ่งแบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้4.1 ผูรับเหมากอสรางทั่วไป หมายถึง ผูรับเหมากอสรางที่ดําเนินกิจการหลัก

เกี่ยวกับการกอสราง การดัดแปลง และการซอมแซมอาคาร ทางหลวง ถนน สะพาน ทาเรือสนามบิน สนามกีฬา ระบบสื่อสาร ฯลฯ ผูรับเหมาประเภทนี้อาจเรียกวา “ผูรับเหมารายยอย”

Page 44: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

36

4.2 ผูรับเหมากอสรางสะพานงาน หมายถึง ผูรับเหมากอสรางเฉพาะงานหรือผูรับเหมาชวงหรือผูรับเหมาชวงรายยอย ซึ่งดําเนินการเฉพาะงานบางสวนของโครงการกอสรางเชนการกออิฐ การทาสี และการตบแตงอาคาร การเจาะบอบาดาล ฯลฯ ผูรับเหมาเฉพาะงานอาจรับเหมาชวงจากผูรับเหมากอสรางทั่วไปหรือทํางานใหกับเจาของงานกอสรางโดยตรง ในบางกรณีของการรับเหมาชวง อาจจะมีการตกลงใหผูรับเหมาชวงเบิกอุปกรณบางอยาง เชน เครื่องจักรกลน้ํามันปูนซีเมนต เพราะของบางอยางผูรับเหมาชวง ไมสามารถหาซื้อเองไดหรือไมมีเงินจายลวงหนา เมื่อมีการจายเงินก็จะหักคาวัสดุตางๆ ที่เบิกไปและจะจายชําระเงินสวนที่เหลือใหแกผูรับเหมาชวงตามคางานที่ตกลงกัน

4.3 ผูรับเหมาคาแรง หมายถึง ผูรับเหมาที่รับผิดชอบการใชแรงงานฝมือและแรงงานไรฝมือ ไดแก ชางปูน ชางไม ชางเหล็ก กรรมการแรงงาน แขนงอื่นในงานกอสรางจากผูรับเหมารายใหญหรือผูรับเหมาชวง ผูรับเหมาประเภทนี้จะสามารถเบิกอุปกรณทุกชนิดจากผูรับเหมารายใหญหรือผูรับเหมาชวง โดยจะขอรับคาแรงตามที่ตกลงกันไวเพียงอยางเดียวพนม ภัยหนาย(2539 : 152) โดยทั่วไปแลวการทําสัญญารับเหมากอสรางกับผูรับเหมาชวงนั้น บางครั้งตองไดรับความยินยอม หรือความเห็นชอบจากผูวาจางหรือเจาของโครงการเสียกอนเพราะอาจตกลงกันเปนเงื่อนไขไวในสัญญากอสราง แตผูรับเหมากอสรางรับผิดชอบวงเงินที่ตองจายรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพและปริมาณงานที่ทํา ก็ไมจําเปนที่จะตองไดรับการยินยอมจากผูวาจางหรือเจาของโครงการแตประการใด ทั้งนี้มิใชเปนการทําสัญญาจางใหผูรับเหมาชวงรับดําเนินงานเองเสียหมดเพราะงานสวนใหญตองกระทําโดยผูรับเหมากอสรางทั่วไปหรือผูรับเหมารายใหญ เชน ในงานกอสรางอาคารผูรับเหมารายใหญอาจตองทํางานฐานราก โครงสรางหลังคา โครงสรางพื้นฐาน งานกองานปูน งานคอนกรีต หรืองานที่เปนสวนสําคัญของตัวอาคาร สวนงานอื่นๆ เชน งานเดินทอและติดตั้งสุขภัณฑ งานติดตั้งไฟฟา งานติดตั้งลิฟท จะกระทําโดยผูรับเหมาชวงแตละรายไดงานของผูรับเหมากอสราง มิไดมี เพียงแตงานติดตอประมูลงานรับเหมากอสรางเทานั้นผูรับเหมากอสรางยังตองเกี่ยวของกับงานอื่นๆ ดังตอไปนี้คือ

1. งานจัดการทั่วไป ไดแก งานรับผิดชอบโครงการกอสรางทั่วไปที่ตองวางแผนงานควบคุมดูแลบังคับบัญชากําลังคน และจัดสรรปจจัยตางๆ อยางรัดกุม และใหสัมพันธกับกําหนดเวลาตลอดจนถึงการตัดสินใจในปญหาเฉพาะหนาตางๆ เพื่อใหเกิดผลดีกับองคการมากที่สุด

2. งานประมาณการ ไดแก การประมาณการมูลคาและคาใชจายตางๆ ในการกอสราง โดยบางครั้งอาจจะตองใชผูประมาณการที่มี ความเชี่ยวชาญในการคิดแยกวัสดุอุปกรณคาแรง ภาษี กําไรคาเสื่อมราคาของเครื่องมือ เครื่องจักร ตลอดจนคาใชจายตางๆ เพื่อประโยชนใน

Page 45: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

37

การเสนอราคาใหสามารถแขงขันกับผูรับเหมารายอื่นได และการประมาณการที่แมนยําจะสามารถทําใหการดําเนินการเกิดผลกําไรคุมกับงานที่ไดรับเหมากอสรางในโครงการนั้นๆ

3. งานทางดานบัญชี การเงิน หมายถึง งานควบคุมการใชจายเงินตามเหตุผลและงานตรวจสอบฐานะทางการเงินแตละชวงวา การเขาออกของเงินเปนไปตามที่ไดกําหนดไวหรือไมแนวโนมของการใชจายที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากราคาวัสดุกอสราง เพื่อนํามาพิจารณาแนวโนมของราคากอสรางที่ใกลเคียงกับความเปนจริงตอไป

4. งานที่เกี่ยวกับการจัดซื้อ หมายถึง การจัดหาและการซื้อวัสดุอุปกรณใหมีปริมาณและคุณภาพที่สอดคลองกับงาน และเวลาที่กําหนดไว โดยไมใหการทํางานตองหยุดชะงักหรือลาชา การจัดซื้อจําเปนตองมีการวางแผนควบคุมสต็อคใหเหมาะสมกับจํานวนเงินและระดับแนวโนมของราคาวัสดุอุปกรณในชวงเวลาหนึ่งๆ โดยการทําการศึกษาราคาสินคาในทองตลาด อยูเสมอ เพื่อใหสามารถวางแผนและควบคุมการจัดซื้อไดอยางมีประสิทธิภาพ

5. งานทางดานวิศวกรรม ผูรับเหมาจะตองมีความรูหรือมีประสบการณทางดานกอสรางมากพอสมควร เปนตนวา วัสดุประเภทใดจะนําไปใชกับงานใด ถึงแมวาผูรับเหมากอสรางจะเปนผูดําเนินงานตามรูปแบบรายการตามสัญญากอสรางที่กําหนดไว แตถาไมมีความรูหรือไมมีประสบการณมากอน จะไมสามารถวินิจฉัยงานไดอยางถูกตอง

6. งานจัดหาหรืองานขาย หมายถึง การติดตอหางานปอนบริษัท เพื่อใหมีการดําเนินงานในโครงการกอสรางอยางสม่ําเสมอ ซึ่งถือเปนเรื่องสําคัญและถือเปนงานหลักของผูรับเหมาที่จะตองเสาะหางานและประชาสัมพันธตัวเองตลอดเวลา

7. งานเกี่ยวกับการกอสราง หมายถึง การดําเนินการตางๆ ของผูรับเหมากอสรางอันไดแกการกําหนดเวลาการทํางาน การลําดับขั้นการทํางาน การจัดหาแรงงาน คาแรง ปริมาณคนงาน และปจจัยตางๆ ตลอดจนการควบคุมและการคิดหาวิธีการทํางานใหบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพคือไดผลงานที่ดีที่สุดและเสียคาใชจายนอยที่สุดจะเห็นไดวา งานของผูรับเหมากอสรางนั้น มีหนาที่ความรับผิดชอบมากในโครงการกอสรางขนาดเล็กๆผูรับเหมากอสรางอาจจะดําเนินงานตางๆ ไดดวยตัวเอง แตสําหรับโครงการกอสรางที่มีขนาดใหญนั้น การดําเนินงานแตเพียงผูเดียวท้ังหมด จะเกิดความสับสนยุงยากและมีขอผิดพลาดเกิดขึ้นได งานจึงจําเปนตองอาศัยบุคคลอื่นที่มีความชํานาญเฉพาะดานมาทํางานรวมกันเพื่อใหงานมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลตามเปาหมายที่วางไวได โดยการแบงองคการออกเปนฝายตางๆ ตามความชํานาญเฉพาะ เชน ฝายขาย ฝายจัดซื้อ ฝายการเงิน ฝายกอสราง ฝายวิศวกรฝายประมาณการ เปนตน การแบงองคการในงานกอสรางนั้นมีลักษณะแตกตางกันตามสภาพของธุรกิจและลักษณะงานหลาย

Page 46: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

38

ประการ ไดแก ความยากงายของงาน สถานที่ที่ไปดําเนินงานกอสรางฤดูกาล เครื่องมือเครื่องจักรที่ใช เปนตน

การบริหารงานกอสรางประกอบ บํารุงผล(2541 : 4) การบริหารงานกอสราง หมายถึง การจัดการใหงานกอสราง

แตละโครงการบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคภายใตเง่ือนไข 3 ประการคือ งบประมาณ ระยะเวลาทํางาน และ คุณภาพของงานการบริหารงานกอสราง จะบรรลุวัตถุประสงคตามที่คาดการณไวหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับสิ่ง 2ประการคือ ตองมีปจจัยสนับสนุนการบริหารงานกอสราง และ ตองมีหลักการบริหารงานกอสรางที่ดีการประกอบธุรกิจรับเหมากอสรางก็เชนเดียวกันกับธุรกิจอื่น คือเมื่อถึงขั้นตอนดําเนินการก็จําเปนตองมีปจจัยมาสนับสนุนคือ

1. เงินทุน(Money) ซึ่งประกอบดวย เงินสด(Cash) และเงินผอน เงินกู(Credit) เงินทุนเปนปจจัยสนับสนุนการบริหารงานกอสรางที่สําคัญที่สุด เพราะถาขาดเงินทุน ก็จะทําใหปจจัยตัวอื่นๆเกิดขึ้นไมไดดวย ผูประกอบการจะตองจัดสถานะการเงินใหมั่นคง เพียงพอที่จะหมุนเวียนใหเกิดสภาพคลองอยูเสมอ มิฉะนั้น จะทําใหงานกอสรางหยุดชะงัก

2. กําลังคน(Man) งานกอสรางเปนงานที่ตองอาศัยกําลังคนทํางานเปนจํานวนมาก และประกอบดวยคนที่มีความรูความสามารถหลายระดับคือ

2.1 ระดับการวางแผนและนโยบาย(Professional) เปนระดับผูบริหารโครงการไดแกวิศวกรโครงการ วิศวกรสนาม เปนตน ทําหนาที่วางแผนนโยบาย ควบคุมและเปนที่ปรึกษาของโครงการ

2.2 ระดับชางเทคนิค(Technician) เปนระดับผูควบคุมงาน ไดแก Foreman ทําหนาที่ควบคุมงานตามแผนและนโยบายของโครงการ

2.3 ระดับชางฝมือ(Skilled Labor) เปนระดับปฏิบัติงานฝมือ ไดแก ชางฝมือตางๆเชนชางไม ชางปูน ชางเหล็ก ชางสี เปนตน โดยทํางานตามที่ไดรับมอบหมาย

2.4 ระดับแรงงาน(Labor) เปนระดับปฏิบัติงานโดยใชแรงงานอยางเดียว เชน งานขนงานขุด งานทุบรื้อถอน เปนตน

3. เครื่องทุนแรง(Machine) งานกอสรางบางอยางตองอาศัยเครื่องทุนแรงเขาชวย เชนงานขนสงทางสูง งานขุดดิน งานรื้อถอน งานบดอัด งานคอนกรีต เปนตน โครงการกอสรางหากขาดแคลนหรือมีเครื่องทุนแรงไมเพียงพอกับปริมาณงาน อาจทําใหโครงการลาชาไปได ผูประกอบการที่มีเครื่องทุนแรงพรอม ยอมไดเปรียบผูประกอบอาชีพเดียวกันในการขอรับงาน เพราะเจาของโครงการมักพิจารณาขอไดเปรียบนี้เปนเงื่อนไขในการรับงานดวย

Page 47: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

39

4. วัสดุและอุปกรณ(Material) เปนปจจัยหลักอีกตัวหนึ่งของงานกอสราง โครงการกอสรางใดขาดวัสดุและอุปกรณกอสรางในขณะดําเนินการอยู ยอมเกิดผลเสียตอโครงการแนนอนโครงการใดๆ มีปจจัยสนับสนุนการบริหารงานกอสรางทั้ง 4 ประการที่กลาวมา แตผูบริหารโครงการไมมีความสามารถในการจัดการกับปจจัยดังกลาวอยางมีระบบระเบียบใหเกิดประสิทธิผลก็ถือเปนความลมเหลว ดังนั้น การจะนําปจจัยสนับสนุนทั้งหลายมาชวยใหการบริหารงานกอสรางไดผลตามวัตถุประสงค จึงควรใชหลักการบริหารงานกอสรางที่ดีการบริหารโครงการกอสราง(Project Management)

พนม ภัยหนาย(2539 : 17) ไดอธิบายลําดับขั้นตอนการบริหารโครงการกอสราง โดยแบงเปน 3 ขั้นตอน คือ

1. การกําหนดโครงการกอสราง(Project Dentification) เปนการศึกษาสภาพโดยทั่วไปกวางๆ เพื่อบงชี้บรรยากาศในการลงทุน การกําหนดโครงการในการลงทุน ศึกษาความเปนไปไดของโครงการ จัดทําเอกสารแสดงรายละเอียดตางๆ เสนอตอผูลงทุน เพื่อพิจารณาตัดสินใจ

2. การจัดเตรียมโครงการกอสราง(Project Proparation) เมื่อผูลงทุนตัดสินใจจะกระทําโครงการ โดยกําหนดชวงเวลาการเริ่มโครงการแลว ขั้นตอไปจึงเปนการออกแบบกอสราง(Design)การกําหนดผังบริเวณ และ สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เมื่อรูปแบบรายการกอสราง(Specification)กําหนดไวเรียบรอยแลว จึงถึงขั้นตอนการหาผูดําเนินการกอสราง

3. การจัดการกอสราง(Construction Management) เปนการบริหารงานของผูรับเหมากอสราง เพื่อนําปจจัยสนับสนุนการบริหารงานกอสราง ทั้งเงินทุน กําลังคน เครื่องทุนแรงวัสดุและอุปกรณ มาชวยใหการบริหารงานกอสรางไดผลตามวัตถุประสงค โดยใชหลักการตางๆดังนี้คือ การวางแผนงาน การจัดองคการบริหารงานกอสราง ตารางกําหนดเวลาทํางาน การกําหนดงบประมาณ การรายงาน การทําบัญชี การจัดการเกี่ยวกับเอกสาร การประสานงาน การควบคุมงาน การตัดสินใจการจัดการกอสราง เริ่มขึ้นเมื่อผูรับเหมากอสรางไดลงนามในสัญญากอสรางแลว และพรอมที่จะกอสรางไดทันที แตกอนที่จะมีการกอสราง จะตองมีการวางแผนงานกอสรางอีกครั้งหนึ่งเพราะแผนงานครั้งแรกที่เสนอใหเจาของพิจารณาในขั้นตอนการประกวดราคากอสรางนั้นเปนเพียงแผนงานที่ใชประกอบการพิจารณาราคาคากอสรางวาสมเหตุสมผลหรือไม ซึ่งมีรายละเอียดไมเพียงพอที่จะดําเนินการกอสรางได การกําหนดแผนงานใหมนี้ถือเสมือนเปนแผนปฏิบัติการ ซึ่งเกี่ยวของกับเรื่องตอไปนี้คือ

Page 48: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

40

1. การวางแผนงาน(Planning the Work) กอนที่จะเริ่มดําเนินการกอสรางนั้น การวางแผนถือเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุด ควรมีการเก็บรวบรวมขอมูลตางๆ ไวใหพรอมมากที่สุด เพื่อนํามาประกอบการตัดสินใจกําหนดแผนงาน โดยมีลําดับขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อกําหนดแผนงาน ดังนี้

1.1 แผนงานราง(Tentative Plan) ผูรับเหมาจะตองจัดเตรียมแผนงานอยางคราวๆ แลวจัดทํารายการงานที่จะทํา กําหนดวันเริ่มงาน และวันที่งานแลวเสร็จ และตัดสินใจถึงแนวทางที่จะใชดําเนินงานโดยทั่วไป ตามชนิด ขนาดของงานกอสราง และตามอุปกรณที่ตองการใชสําหรับงานนั้นๆ

1.2 การไปตรวจสถานที่กอสราง(Visiting the Site) กอนเริ่มทําแผนงานละเอียด จะตองไปตรวจสถานที่ทํางานกอสราง โดยไปรวมกลุมกันทุกฝาย ทั้งผูรับเหมา ผูควบคุมงาน หัวหนางานกอสราง เพื่อปรึกษาเกี่ยวกับรายละเอียดในงานกอสราง

1.3 การวางแผนโรงงานและอุปกรณ(Planning Plant and Equipment) เปนการกําหนดสถานที่ตั้งโรงงานในบริเวณกอสราง เพื่ออํานวยความสะดวกใหไดมากท่ีสุด

1.4 ลําดับชั้นของงาน(Sequence of Work) เปนการกําหนดกรรมวิธีปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยางชัดแจง เพื่อขจัดความลังเลของผูปฏิบัติงาน

1.5 การวางแผนคนงาน(Planning Labor) เปนการกําหนดระดับคนงาน จํานวนคนงานตามประเภทของงาน

1.6 การวางแผนวัสดุ(Planning Material) ทั้งในเรื่องราคาวัสดุ ชวงเวลาที่จะซื้อ ปริมาณผูขาย การขนสง การตรวจสอบ การประกัน เปนตน

1.7 การวางแผนคาโสหุย(Planning Overhead) ซึ่งเปนราคาทางออม นอกเหนือจากราคาคากอสรางโดยตรง เชน คาเชาสํานักงาน คาภาษี คาดอกเบี้ย คาประกันภัย คาเสื่อมราคาทรัพยสินคาปรับ ซึ่งผูรับเหมากอสรางควรจะรวมคาใชจายตางๆ นี้ ในตนทุนคากอสรางดวย

1.8 การวางแผนสัญญารับชวงงาน(Planning Subcontracts) สวนมากสัญญารับเหมาชวงมักทํากอนเริ่มตนงาน จึงตองทําแผนกําหนดการทํางานของผูรับเหมาชวง

1.9 การวางแผนเกี่ยวกับการจัดการกอสราง(Planning the Management of the Job) เปนการกําหนดแผนงานเบื้องตน กอนที่จะลงมือทํางาน และวางแผนงานกอสรางในขั้นตอนระหวางการทํางาน

1.10 ตารางกําหนดเวลาทํางาน(Time and Work Schedules) แสดงเวลาเริ่มตน เวลาแลวเสร็จ รายงานความกาวหนาของงาน

Page 49: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

41

1.11 การเลือกผูรับเหมาชวง(Selecting Subcontractors) โดยตองพิจารณาใหถวนถี่ ทั้งราคาที่ผูรับเหมาชวงเสนอ ประวัติผูรับเหมาชวง ลักษณะงาน ผลงานที่เคยทํามา ฐานะ ระยะเวลาที่จะใช ความสามารถของผูรับเหมาชวง

2. การจัดงาน(Managing the Job) คือ การดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวโดยอาศัยปจจัยตางๆ ซึ่งไดแก เงินทุน กําลังคน เครื่องทุนแรง วัสดุและอุปกรณ เปนอุปกรณในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะตองคํานึงถึงเรื่องตอไปนี้

2.1 การเริ่มตนงาน(Starting the Work) โดยดําเนินงานใหสอดคลองกับแผนงานที่วางไวควรมีการแนะนําสถานที่ตางๆ ในที่กอสรางใหผูทํางานทราบ

2.2 งานในสํานักงานใหญ(Work in the Main Office) จะมีสวนชวยเหลือฝายดําเนินการกอสรางไดมาก ทั้งในดานคําแนะนํา การแกปญหาตางๆ

2.3 ในขณะเวลาทํางาน(Work in the Job) ฝายสํานักงานใหญควรมีการตรวจที่สถานที่ทํางานกอสราง เพื่อแนะนําผูควบคุมงาน ใหการทํางานเปนไปอยางถูกตองเรียบรอย

2.4 การรายงานและบันทึก(Report and Records) เปนการรายงานเกี่ยวกับรายละเอียดของงานที่ทํา ควรมีการรายงาน และตรวจสอบรายงานอยางสม่ําเสมอ

2.5 รายงานความกาวหนาและแผนภูมิ(Progress Reports and Charts) เพื่อใหทราบถึงผลงานที่ทําได แผนภูมิที่ทําตองเปนปจจุบัน โดยจัดเตรียมจากขอมูลที่ไดจากการรายงานประจําวันควรใหเปนที่เขาใจไดโดยทั่วไปงายๆ

2.6 การจัดการเกี่ยวกับงานกอสรางขนาดเล็ก(Managing a Small Contraction Job) ไมจําเปนตองวางแผนงานไวละเอียดถี่ถวนเหมือนงานกอสรางขนาดใหญ เพียงใชวิธีการจัดการทั่วไปก็สามารถกระทําใหลุลวงไปได

จากแนวความคิดและทฤษฎีการจัดการในเรื่องหนาที่การบริหาร(Management Functions) ที่กลาวมาจะพบวา หนาที่การบริหารงานรับเหมากอสราง จะประกอบไปดวย 5 หนาที่ดังนี้คือ

1. การวางแผน(Planning) การวางแผนงานกอสราง มีขอควรนํามาพิจารณา 5 ประการคือ1.1 การวางแผนการเงินไวลวงหนากอนที่จะรับงานจากเจาของโครงการ จะเปนผลให

การดําเนินงานคลองตัว เพราะการวางแผนการเงินที่ดีจะเปนตัวชี้สถานะการเงินตลอดเวลาดําเนินการ

1.2 การวางแผนกําลังคน หมายถึง การวางแผนกําลังคนระดับตางๆ เพื่อใชในการกอสราง ซึ่งแบงเปนกําลังคนระดับวางแผนและบริหารโครงการ ระดับควบคุมงานตามนโยบาย

Page 50: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

42

และแผน และระดับปฏิบัติงาน การวางแผนกําลังคนจะพิจารณาจากขนาดของโครงการเปนหลักโดยจะวางแผนเรื่องปริมาณแรงงาน คาแรงงาน และสภาพแรงงาน

1.3 การวางแผนวัสดุและอุปกรณ ควรยึดหลักการสํารวจปริมาณ ราคาวัสดุอุปกรณและคาดการณแนวโนมในอนาคต การเตรียมวิธีการจัดหา การใชวัสดุอุปกรณอยางประหยัด และกอใหเกิดความเสียหายนอยที่สุด

1.4 การวางแผนเครื่องทุนแรง ควรยึดหลักการจัดหา จัดซื้อ การใช การซอมบํารุงเครื่องทุนแรง ใหเพียงพอและมีประสิทธิภาพที่สุด

1.5 การวางแผนการทํางาน ซึ่งแบงเปนการดูสถานที่กอสราง การจัดผังงานชั่วคราวและการศึกษาแบบรายการประกอบแบบ สัญญาหรือเงื่อนไขของโครงการที่จะทํา

2. การจัดองคการ(Organizing) ซึ่งกระบวนการจัดองคการ(Process of Organization)ประกอบไปดวย

2.1 การแยกประเภทงาน จัดกลุมงาน และออกแบบงาน2.2 ระบุขอบเขตของงาน มอบหมายงาน พรอมทั้งกําหนดอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ2.3 การจัดวางความสัมพันธ ซึ่งประกอบดวยการแบงสายการบังคับบัญชา2.4 การกําหนดขนาดของการควบคุม

3. การจัดคนเขาทํางาน(Staffing) หมายถึง หนาที่ในการบริหารงานบุคคล คือ การวางแผนกําลังคน การคัดเลือก บรรจุคนเขาทํางาน และธํารงรักษาใหมีคนงานที่มีประสิทธิภาพในตําแหนงตางๆ ภายในองคการ

4. การสั่งการ(Directing) หมายถึง ภาระหนาที่ของผูบริหารในการใชความสามารถชักจูงคนงานใหปฏิบัติงานอยางดีที่สุด จนกระทั่งองคการสามารถบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคได ซึ่งเปนสิ่งที่ตองใหศิลปะในการบังคับบัญชาเปนอยางมาก ทั้งในดานการจูงใจ การใชภาวะผูนําและการติดตอสื่อสาร

5. การควบคุม(Controlling) หมายถึง การบังคับใหกิจกรรมตางๆ เปนไปตามแผนงานที่ไดวางไว การควบคุมเปนหนาที่ที่ผูบริหารทุกระดับจะตองเกี่ยวของอยูเสมอ ประกอบ บํารุงผล(2541 : 35) การบริหารงานกอสรางจะตองมีการควบคุม 3 ประการคือ

1. การควบคุมเวลาทํางาน(Schedule Control) เปนการควบคุมการทํางานใหเปนไปตามเวลาที่วางแผนไว โดยแสดงความกาวหนาของการทํางานในแตละวัน แตละสัปดาห ที่ไดทําไปแลวจริงๆนํามาเปรียบเทียบกับแผนที่ไดวางไว โดยสามารถตรวจสอบความกาวหนาไดตลอดระยะเวลาการทํางานของโครงการ เมื่อเห็นวางานใดลาชากวาแผนงานที่ไดวางไวก็ตองมีการเรงงาน

Page 51: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

43

2. การควบคุมคาใชจาย(Cost Control) คือ การควบคุมคาใชจายของโครงการใหเปนไปตามที่ไดประมาณการไว ทั้งในดาน

2.1 การควบคุมคาวัสดุอุปกรณ ทั้งการควบคุมราคา จังหวะการใช ปริมาณการซื้อการใชงาน การจัดเก็บ การปองกันโจรกรรม การทุจริตของเจาหนาที่ วัสดุเหลือใช คุณภาพวัสดุ

2.2 การควบคุมคาแรงงาน ทั้งการควบคุมสมรรถภาพการทํางาน การควบคุมวิธีการปฏิบัติงาน จํานวนคนงาน ฝมือการทํางาน คาแรงงาน การทุจริตแรงงาน

2.3 การควบคุมคาดําเนินการ(คาโสหุย) ซึ่งเปนคาใชจายที่แปรปรวนสูงมาก ควรมีการประมาณการและควบคุมการใชจายใหไกลเคียงที่สุด

3. การควบคุมคุณภาพงาน(Quality Control) ใหเปนที่ยอมรับของเจาของโครงการ โดยตองควบคุมการทํางานใหเปนไปตามเงื่อนไข ฝมือการทํางานดี เทคนิควิธีการทํางานใหเปนไปตามหลักวิชาการ คุณภาพวัสดุอุปกรณตองไมเสื่อมสภาพหรือชํารุดการรายงานความกาวหนาในงานกอสราง ปกติจะรายงานเปนชวงเวลา ซึ่งกิจการจะกําหนดเปนเงื่อนไขไวตอกัน โดยทั่วไปจะมีการรายงานประจําวัน รายงานประจําสัปดาห และรายงานประจําเดือน ดังรายละเอียดตอไปนี้

3.1 การรายงานประจําวัน(Daily Report) มีจุดมุงหมายเพื่อเตรียมงานของผูจัดโครงการเพื่อใหรูสภาพของงานโดยทั่วไป เชน ไดรูแตละสวนของขั้นตอนการทํางาน วาดําเนินการไปได มากนอยเพียงใด มีปญหาขอขัดของอยางไร ทําใหผูจัดการโครงการไดรับรูภาวะของงานสามารถติดตามงานไดทันทุกระยะ

3.2 การรายงานประจําสัปดาห(Weekly Report) เปนการรวบรวมรายงานประจําวันมาสรุปเปนรายงานประจําสัปดาห ทําใหทราบสภาพงานประจําสัปดาหวากาวหนาหรือลาหลังกวาตารางกําหนดเวลา ใชจายเงินไปเทาใด ไดผลงานมากนอยเพียงใด มีปญหาใดบาง จะแกไขไดอยางไร

3.3 การรายงานประจําเดือน(Monthly Report) ปกติจะเปนการรายงานเกี่ยวกับความกาวหนาของงานกับคาใชจาย ซึ่งรายงานประจําเดือนจะรายงานใหทราบสภาพการณโดยทั่วไป เชน รายงานความกาวหนาของงาน สรุปรายงานราคาคาใชจายประจําเดือน คาใชจายทั่วไป โดยรายงานตามความเหมาะสมกับสภาพงานวาตองการทราบในเรื่องใด

2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ศิริศักดิ์ ปานบํารุง(2545 ) ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัดองคการธุรกิจกอสรางในสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ผลการวิจัยพบวา (1) รูปแบบการจัดองคการธุรกิจกอสรางในสภาวะ

Page 52: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

44

เศรษฐกิจถดถอย ควรมีการปรับรูปแบบ โดยในดานการจัดโครงสรางองคการควรยืดหยุนสามารถปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณ เพื่อความคลองตัวในการทํางาน ควรรวมแผนกงานเหมือนกันเขาดวยกัน ควรลดสายการบังคับบัญชาและขนาดของการควบคุมควรสั้นและขึ้นกับความซับซอนของงาน พนักงานควรมีอํานาจหนาที่ในระดับหนึ่ง เพื่อความรวดเร็วในการทํางาน(2) ความสัมพันธระหวางสภาพแวดลอมภายนอกดานปริมาณงานภาครัฐและเอกชน มีความสัมพันธกับขนาดของการควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 สวนการปลอยสินเชื่อของสถาบันทางการเงินพบวามีความสัมพันธกับการจัดแผนกงาน สายการบังคับบัญชาขนาดของการควบคุมและอํานาจหนาที่ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สําหรับสภาพแวดลอมภายในดานสภาพคลองทางการเงิน และเครดิตทางรานคาพบวาไมมีความสัมพันธกับการจัดองคการธุรกิจกอสราง ในสวนของคุณภาพของบุคลากรดานความเชี่ยวชาญของบุคลากรมีความสัมพันธกับการจัดโครงสรางองคการการจัดแผนกงาน สายการบังคับบัญชา ขนาดของการควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดานการทํางานใหเสร็จตามที่มอบหมายมีความสัมพันธกับขนาดของการควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สําหรับระบบสารสนเทศ โดยการนําระบบคอมพิวเตอรมาใชในองคการ มีความสัมพันธกับการจัดโครงสรางองคการและขนาดของการควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดานประโยชนของคอมพิวเตอรตอองคการมีความสัมพันธกับการจัดแผนกงาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

มนัฐญา พานิชชีวลักษณ(2546) ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง อุตสาหกรรมกอสรางหลังวิกฤติเศรษฐกิจ ผลการศึกษาพบวา ปริมาณการลงทุนในอุตสาหกรรมกอสรางมีอัตราเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป 2535 เปนตนไป จนกระทั่งป 2541 มีปริมาณการลงทุนลดลงจากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศ ในป พ.ศ. 2540 สําหรับปจจัยที่มีผลกระทบตอการลงทุนในอุตสาหกรรมกอสราง คือ ปริมาณเงินสินเชื่อกอสรางของธนาคารพาณิชย(Lt ) อัตราดอกเบี้ยเงินกู(R) ปริมาณแรงงานในอุตสาหกรรมกอสราง(Labor) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ(Growth rate) และสถานการณดานเศรษฐกิจ(Dt ) โดยปจจัยที่มีผลกระทบตอการลงทุนในอุตสาหกรรมกอสรางในทิศทางเดียวกันไดแก ปริมาณเงินสินเชื่อกอสรางของธนาคารพาณิชย(Lt ) ปริมาณแรงงานในอุตสาหกรรมกอสราง(Labor) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ(Growth rate)และสถานการณดานเศรษฐกิจ(Dt ) อัตราดอกเบี้ยเงินกู(R) เปนปจจัยเดียวที่มีผลในทิศทางตรงกันขามกับการลงทุนในอุตสาหกรรมกอสรางสําหรับการพยากรณแนวโนมปริมาณการลงทุนในอุตสาหกรรมกอสรางในชวง ป พ.ศ.2546 – 2550 พบวา ปริมาณการลงทุนในอุตสาหกรรมกอสรางตลอด 5 ป(2546 –

Page 53: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

45

2550) จะเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 0.92 / ป และหากเกิดภาวะวิกฤติขึ้น จะทําใหปริมาณการลงทุนในอุตสาหกรรมกอสรางลดลงจากภาวะที่ไมมีวิกฤติเศรษฐกิจประมาณรอยละ 3.50 / ป

สัมพันธ โยธกุลสิริ(2550) การศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจรับเหมากอสรางของผูรับเหมาในจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา มีปจจัยผลกระทบ 3 ประการที่กลุมผูรับเหมามีความเห็นแตกตางกันในระดับความสําคัญคือ การขาดการวางแผนและบริหารการเงินที่ดีในการดําเนินธุรกิจการขาดการวางแผนและการควบคุมการใชวัสดุที่ดี และการขาดการวางแผนเรื่องการใชบุคลากรและการจัดอัตรากําลัง โดยกลุมผูรับเหมาที่มีเงินทุนหมุนเวียนต่ํากวา 5 ลานบาทเห็นวาปจจัยตาง ๆดังกลาวมีระดับความสําคัญมากกวากลุมผูรับเหมาที่มีเงินทุนหมุนเวียนสูงกวา 5 ลานบาทกลุมผูรับเหมาที่มีผลตอบแทนจากการประกอบธุรกิจขาดทุนหรือเทาทุนเห็นวามีระดับความสําคัญมากกวากลุมผูรับเหมาที่มีกําไร และกลุมผูรับเหมาที่รับเหมางานกอสรางอาคารเปนสวนใหญเห็นวามีระดับความสําคัญมากกวากลุมผูรับเหมาที่รับเหมางานอื่นๆ อยางไรก็ตามในการเปรียบเทียบระหวางกลุมผูรับเหมาที่มีปญหาสงมอบงานลาชานอยกับกลุมผูรับเหมาที่มีปญหาสงมอบงานลาชามากพบวาไมมีความเห็นแตกตางกันอยางชัดเจนขอมูลและผลการวิเคราะหในการศึกษานี้แสดงใหเห็นวา ผูรับเหมากอสรางจํานวนมากในจังหวัดเชียงใหมเปนผูรับเหมาขนาดคอนขางเล็ก ที่มี เงินทุนหมุนเวียนต่ํากวา 5 ลานบาท มักมีปญหาขาดบุคลากรที่มีความรูความสามารถในการวางแผนจัดการ นอกจากนี้ยังมีปญหาเรื่องเงินทุนไมเพียงพอสําหรับใชในการดําเนินกิจการกอใหเกิดปญหาขาดสภาพคลอง

ณัฐนารถ สินธุนาวา(2550) ไดทําการศึกษาเรื่องการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางถนนในจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาสรุปไดวา ผูประกอบการมีการจัดการธุรกิจโดยดําเนินการตามหนาที่ทางการบริหารครบ 5 ประการ คือ ดานกางวางแผน ดานการควบคุม ดานการจัดองคการ ดานการจัดกําลังคน และดานการสั่งการ ดานการวางแผน สวนใหญมีการวางแผนผูบริหารและพนักงานมีสวนรวมกันกําหนดแผนงาน ดานการจัดการ ธุรกิจมีการจัดแบงเปนเผนกที่ชัดเจน มีการมอบหมายงานและมีการกําหนด อํานาจ หนาที่ ความรับผิดชอบ เปนแบบกระจายอํานาจดานการจัดการองคการ จัดแบงแผนกชัดเจน มีการมอบหมายงานแบบกระจายอํานาจตามความเหมาะสมกับการจัดกําลังคน มีการวางแผนกําลังคน โดยการสรรหาบุคคลคัดเลือก และพัฒนาบุคลากรโดยวิธีอบรม ดานการสั่งการ คือ สั่งโดยตรงที่ผูปฏิบัติงานแตละคน ดานการควบคุมมีการกําหนดเปาหมายมาตรฐานงานไว มีการรายงานเปนลายลักษณอักษร

Page 54: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

46

พูนศักดิ์ ศรีทอง (2550) ศึกษาสภาพทั่วไปของการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางในจังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อเปรียบเทียบกลยุทธของธุรกิจรับเหมาะกอสรางโดยจําแนกตามขนาดของธุรกิจรับเหมากอสรางขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ผลการศึกษาสรุปไดวา สภาพทั่วไปของการจัดการธุรกิจรับเหมากอสราง 1.1 ดานการวางแผน ผูประกอบการธุรกิจรับเหมากองสรางมีการวางแผนระยะกลาง ระยะสั้นมากกวาการวางแผนในระยะยาว 1.2 ดานการจัดองคกรผูประกอบการธุรกิจรับเหมากอสรางมีระดับชั้นในการบริการจัดการเปนลําดับชั้นจากบนลงลาง 1.3 ดานการจัดคนเขางาน กระบวนการเลือกสรรพนักงานของผูประกอบนิยมประกาศรับสมัครคัดเลือก สอบสัมภาษณ และสอบปฏิบัติ 1.4 ดานการสั่งการ ขั้นตอนในการมอบหมายงาน แบงงานตามความสามารถในการบริหารโครงการ โดยยึดหลักความถนัดของทีมงานและคนงาน 1.5 ดานการควบคุม วิธีการการควบคุมการทํางาน ผูประกอบควบคุมการทํางานโดย มี หัวหนาตรวจสอบความกาวหนาของงาน และผูบริหารตรวจสอบความกาวหนาของงานอีกครั้งหนึ่ง 1.6 ดานบัญชีการเงิน ขอมูลเกี่ยวกับแหลงเงินทุน ผูประกอบการสวนใหญใชแหลง เงินทุนจากธนาคาร และเครดิตจากรานคา วิธีการจัดการเงินทุนหมุนเวียน 2. การเปรียบเทียบกลยุทธของธุรกิจรับเหมากอสรางโดยจําแนกตามขนาดของธุรกิจ รับเหมากอสรางขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก พบวา ผูประกอบการธุรกิจรับเหมากอสรางขนาดใหญมีระดับชั้นในการบริหารจัดการมากกวา 5 ดับชั้นขึ้นไป ผูประกอบการขนาดกลาง มีระดับชั้นในการบริหาร 3-5 ระดับชั้น สวนผุประกอบการขนาดเล็กบริหารดวยเจาของกิจการเอง มีระดับชั้นในการบริหารไมเกิน 3 ระดับ ประกอบการทั้ง 3 ขนาดสวนมากใชวิธีการเบิกเงินเกินบัญชี เช็คสั่งจายลวงหนา ตั๋ว P/N เงินกูระยะยาว วิธีการจัดทําบัญชี ผูประกอบการทั้ง 3 ขนาด มอบหมายใหฝายบัญชีโดยการกํากับดูแลของผูบริหาร ในการทําบัญชีการเงิน การเสียภาษี ผูประกอบการขนาดใหญและขนาดกลางมอบหมายใหฝายบัญชีการเงินโดยชําระภาษีตามผลการประกอบ ณ เวลาสิ้นปภาษี สวนผูประกอบการขนาดเล็กเลือกใชการจายภาษี ณ ที่จายเพียงวิธีเดียว ระบบในการรับและจายเงิน ผูประกอบการขนาดใหญและขนาดกลางสวนใหญใชระบบการรับจาย ผานธนาคารเทานั้น สวนผูประกอบการขนาดเล็กมีการรับเงินสดดวยระบบการเก็บรักษาเงิน ผูประกอบการทั้ง 3 ระดับนิยมเก็บเงินเปนเงินสดในธนาคาร พันธบัตรรัฐบาล ลงทุนในหุน กองทุน อสังหาริมทรัพยในรูปที่ดิน และสังหาริมทรัพยในรูปเครื่องจักร

ภัทรา อภิชัยรักษ(2550) ไดทําการศึกษาการจัดการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวาในดานการบริหารจัดการโรงแรม ในแตละดาน พบวา ในดานการวางแผน กลุมตัวอยางสวนใหญไมมีกระบวนการวางแผนที่ชัดเจน ใชเพียงการกําหนดเปาหมายโดยเนนเปาหมายระยะสั้นเชิงปฏิบัติการ รวมทั้งมีการจัดประชุมเพื่อทบทวนและปรับเปลี่ยน

Page 55: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

47

แผนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง การจัดองคการ กลุมตัวอยางสวนใหญ ใชโครงสรางองคกรแบบแบงตามหนาที่ที่มีระดับชั้นสายการบังคับบัญชาสั้น ไมซับซอน การประสานงาน กลุมตัวอยางสวนใหญ ใชการประชุม พูดคุย ระหวางหัวหนาแผนกกับพนักงาน การจัดคนเขาทํางาน กลุมตัวอยางสวนใหญ มีการกําหนดกระบวนการคัดสรรพนักงานและขั้นตอนการทดลองงานไวคอนขางชัดเจน โดยใชการการสรรหาทั้งจากภายนอกและภายในองคการ การสั่งการกลุมตัวอยางใชการประชุม ประกาศ และสั่งการดวยวาจา โดยใชรวมกับการจูงใจรูปแบบตาง ๆ เพื่อกระตุนการทํางานของพนักงาน เชนเงินเดือน โบนัส การควบคุม กลุมตัวอยางสวนใหญ ใชการควบคุมอยางไมเปนทางการ โดยหัวหนาแผนกใชวิธีการสังเกตรวมกับการรายงานเปนลายลักษณอักษร เนนการควบคุมระหวางปฏิบัติงานและหลังปฏิบัติงาน การประเมินผล กลุมตัวอยางสวนใหญ มีการประเมินผลปละครั้ง แตใชรูปแบบการประเมินผลอยางไมเปนทางการ โดยการสังเกต และอาศัยขอมูลในแฟมพนักงานจากฝายบุคคล

ภูมิรพีม สุภาษา (2552) ไดทําการศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลกระทบตอความอยูรอดของผูรับเหมากอสรางในจังหวัดเชียงใหมชวงภาวะเศรษฐกิจถดถอย ประกอบดวย 3 ปจจัยหลัก คือปจจัยดานการบริหารและการจัดการ ปจจัยดานการตลาด และ ปจจัยดานการเงินการบัญชีและเศรษฐกิจ ผลการศึกษาพบวา ผูรับเหมากอสรางขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ ทุกขนาดใหความสําคัญกับปจจัยดานการเงินการบัญชีและเศรษฐกิจ มากกวาปจจัยดานการตลาด และปจจัยดานการบริหารการจัดการ นอกจากนี้ในองคกรขนาดเล็กและขนาดกลางมีคาเฉลี่ยความสําคัญของปจจัยเรื่องเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ สวนปจจัยดานการสงเสริมการตลาด เชนการโฆษณาประชาสัมพันธ ปจจัยการเพิ่มชองทางการติดตอเพื่อใหไดงาน และปจจัยเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่แข็งคาขึ้นหรือออนตัวลง นั้นมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญระหวางองคกรขนาดเล็ก และขนาดใหญเทานั้น องคกรขนาดเล็กและขนาดใหญมีคาความสําคัญของปจจัยการนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ปจจัยการนํามาตรฐาน ISO 9000 มาใชกับองคกรนั้น มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญระหวางองคกรขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ

อธิปตย สืบสิรินุกุล(2553) ไดทําการศึกษาเรื่อง การจัดการธุรกิจรับเหมากอสราง: กรณีศึกษาธุรกิจรับเหมากอสรางในเขตพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบวาการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางผูบริหารเปนผูกําหนดแตเพียงผูเดียวมีการทบทวนปรับปรุงแผนงาน มีการใชปจจัยภายในกิจการหลายดาน ในการกําหนดแผนงาน คือความพรอมดานการเงิน และความสามารถในการดําเนินงานกอสราง ปจจัยภายนอกกิจการคือ ปริมาณงานกอสรางในตลาดงานกอสราง การกําหนดแผน มีการใชขอมูลในการวางแผนพิจารณารับงานกอสราง โดยใชขอมูล

Page 56: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

48

มากที่สุดคือ วงเงินงบประมาณคากอสรางและเครื่องมือ เครื่องจักรกล เครื่องทุนแรง ใชหลักการแบงกิจการเปนแผนกโดย ใชหนาที่ความรับผิดชอบเปนหลัก ไมมีการจัดทําเอกสารคําบรรยายลักษณะงาน ซึ่งเปนสิ่งกําหนดหนาที่งาน ของพนักงาน มีการกําหนดอํานาจหนาที่ ความรับผิดชอบ ของพนักงาน โดยวิธีบอกกลาวดวยวาจา มีวิธีการมอบหมายงาน โดยมอบหมายงานเปนครั้งคราวและในขณะปฏิบัติงานเปนระยะ ๆ มีการแบงสายการบังคับบัญชา รูปแบบการใหคาตอบแทนการทํางานคือรูปแบบคาจางรายวันหลักเกณฑในการพิจารณาเพิ่มคาตอบแทนในการทํางาน โดยพิจารณาจากผลจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน สวนใหญใชภาวะผูนําในการจัดการธุรกิจแบบประชาธิปไตย โดยผูนําจะใหกิจกรรมตาง ๆ เกิดจากการมีสวนรวมในการตัดสินใจของพนักงาน สวนใหญมีรูปแบบการติดตอสื่อสาร แลกเปลี่ยนความคิดหรือขาวสารขอมูล ทุกกิจการมีการรายงานผลการดําเนินงานการกอสรางดวยวาจาและดวยลายลักษณอักษร สวนใหญมีการรายงานดวยความถี่ทุกสัปดาห การใหความสําคัญของสิ่งที่เปนเครื่องมือวัดผลการดําเนินการ ของธุรกิจรับเหมากอสราง คือ คุณภาพของงาน สวนใหญ ใชหลักการควบคุมตนทุนของธุรกิจรับเหมากอสราง โดยควบคุมตนทุนงานกอสรางแตละงาน ปญหาอุปสรรคพบวา สวนใหญ ใหความสําคัญกับการวางแผนและปญหาในการวางแผนซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่สุด กิจการสวนใหญ จะใหผูบริหารเปนผูวางแผนของกิจการ

2.8 กรอบแนวคิดในการวิจัย

จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในดานการจัดการธุรกิจกอสราง แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับหลักการจัดองคการและ แนวคิดทฤษฎีเรื่องเกี่ยวกับการจัดการงานกอสรางนํามาสูกรอบแนวคิด ดังนี้

แผนภาพที่ 2.1 แสดงกรอบแนวคิดของการวิจัย

ปจจัยที่มีผลตอการจัดการธุรกิจกอสราง- ดานการวางแผน- ดานการจัดองคกร- ดานการจัดการกําลังคน- ดานการสั่งการ- ดานการควบคุม- ดาน Balanced Scorecard

แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ

Page 57: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

49

บทที่ 3ผลการวิเคราะห

ในการศึกษาเรื่องแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ผูวิจัยใชวิธีการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ โดยใชแบบสัมภาษณเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล แลวนําขอมูลดังกลาวมาวิเคราะห และสังเคราะหเพื่อพัฒนาเปนรูปแบบการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ เนื้อหาของบทที่ 3 เปนการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยแบงออกเปน 4 หัวขอไดแก(1)ขอมูลทั่วไป (2)ขอมูลเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจกอสราง (3)ปญหา อุปสรรคในการจัดการและวิธีแกไขปญหา (4)ความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางของธุรกิจ แนวทางการจัดการในอนาคต และความคิดเห็นอื่นๆ เก่ียวกับธุรกิจกอสราง ของกลุมตัวอยาง ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้

เพื่อใหเกิดความสะดวกในการจัดทําตารางสรุปขอมูลตาง ๆ ของกลุมตัวอยางทั้ง 6 รายการ ผูวิจัยจึงทําการกําหนดหมายเลขเพื่อเปนตัวแทนของตัวอยางทั้ง 6 ราย ดังนี้

กิจการขนาดเล็กมี 2 ราย คือหมายเลข 1 หมายถึง หางหุนสวนจํากัดบุญศิริสํารวจและกอสรางหมายเลข 2 หมายถึง หางหุนสวนจํากัดรัตนเฟอรนีเจอร

กิจการขนาดกลางมี 2 ราย คือหมายเลข 3 หมายถึง บริษัทซัคเซสแลนด 50 จํากัดหมายเลข 4 หมายถึง บริษัทสิทธิเกรียงไกร จํากัด

กิจการขนาดใหญมี 2 ราย คือหมายเลข 5 หมายถึง บริษัทยูนิตี้กรุป จํากัดหมายเลข 6 หมายถึง บริษัทชลบุรีเมืองทอง จํากัด

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 รายขนาดธุรกิจ

เล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ1 2 3 4 5 6

1.ประเภทรูปแบบธุรกิจกอสราง หางหุนสวนจํากัด

บริษัทจํากัด

Page 58: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

50

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 62.ระยะเวลาในการดําเนินงานขององคการ 10-15 ป 15-20 ป

มากกวา 21 ป

3. เงินลงทุนเริ่มแรกเมื่อเปดดําเนินการ นอยกวา 1 ลาน

1-5 ลาน

6-10 ลาน4. เงินลงทุนปจจุบันของกิจการ

1-5 ลาน6-10 ลาน

มากกวา 10 ลาน

5.ที่มาของแหลงเงินทุนที่ใชในกิจการเงินทุนสวนเจาของกิจการ

ธนาคารพาณิชยสถาบันการเงินอื่น

6.ประเภทงานกอสรางงานอาคาร

งานถนนคอนกรีต และทอระบายน้ํา

โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ

7. ผูวาจางงานกอสรางของกิจการ หนวยงานของรัฐ

เอกชน

หนวยงานรัฐวิสาหกิจ

Page 59: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

51

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 68.วิธีการรับงานของกิจการ ติดตอและประมูลงานกับผูวาจางโดยตรง

รับเหมาชวงจากธุรกิจกอสรางอื่น ทั้งแบบติดตอเอง และแบบรับเหมาชวง9. จํานวนพนักงานในองคการเมื่อเริ่มกอตั้ง นอยกวา 20 คน

20-50 คน

51-100 คน มากกวา 100 คน ขึ้นไป

10.จํานวนพนักงานในองคการในปจจุบัน นอยกวา 20 คน

20-50 คน

51-100 คน

มากกวา 100 คน ขึ้นไป

11. ดานการวางแผน11.1 ธุรกิจมีการวางแผนงานแบบใด

ระยะสั้น

ระยะกลาง ระยะยาว

11.2 ผูที่มีหนาที่กําหนดแผนงานในธุรกิจของทาน ผูบริหารระดับสูง ผูบริหารทุกระดับ ผูบริหารและพนักงาน

Page 60: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

52

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 611.3 ธุรกิจมีการทบทวน ปรับปรุงแผนงานหรือไม มี

ไมมี11.4 ธุรกิจใชปจจัยภายในดานใดในการกําหนดแผนงาน ความพรอมดานการเงิน

ความสามารถในการดําเนินงานกอสราง

ความพรอมดานพนักงาน

11.5 ธุรกิจใชปจจัยภายนอกดานใดในการกําหนดแผนงาน ปริมาณงานกอสรางในตลาดงานกอสราง

คูแขงขัน

สภาวะเศรษฐกิจ

นโยบายของรัฐดานกอสราง

กฎหมายที่เกี่ยวของ

ภัยธรรมชาติ

11.6 ธุรกิจมีการใชขอมูลใดในการวางแผนพิจารณารับงานกอสราง วงเงินงบประมาณโครงการกอสราง

ระยะเวลาโครงการ

Page 61: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

53

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 612. ดานการจัดองคการ12.1 ธุรกิจมีการจัดกิจการเปนแผนกที่แบงขอบเขตการทํางานอยางไร แบบมีโครงสรางเปนทางการ

แบบไมมีโครงสรางเปนทางการ12.2 ธุรกิจมีการจัดการแบงกิจการเปนแผนกโดยใชหลักการใด แบงตามหนาที่

แบงตามผลิตภัณฑ แบงตามพื้นที่ทางภูมศาสตร แบงตามกระบวนการ 12.3 ธุรกิจมีการจัดทําเอกสารคําบรรยายลักษณะงาน ซึ่งเปนสิ่งที่กําหนดหนาที่งาน (Job Description) และแจงใหพนักงานรับทราบเพื่อปฏิบัติหรือไม มี

ไมมี12.4 ธุรกิจมีการกําหนดอํานาจ หนาที่ ความรับผิดชอบ โดยใชหลักการใด การกระจายอํานาจ

การรวมอํานาจ12.5 ธุรกิจมีวิธีการมอบหมายงานอยางไร ตามสายการบังคับบัญชา

ตามหนาที่ความรับผิดชอบ

Page 62: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

54

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 613. ดานการจัดกําลังคน13.1 ธุรกิจเริ่มกระบวนการจัดการกําลังคนเมื่อใด มีจัดการกําลังคนเมื่อ เริ่มโครงการใหม

ไมมีการจัดการกําลังคน13.2 ธุรกิจสรรหา/คัดเลือกบุคคลเขาทํางานโดยวิธีใด สรรหาจากภายในองคการ

สรรหาจากภายนอกองคการ

13.3 ธุรกิจมีการพัฒนาความรูความสามารถในการทํางานของพนักงานหรือไม มีการอบรม

ไมมีการอบรม (ใชประสบการณ)13.4 ธุรกิจมีวิธีประเมินผลการปฏิบัติงาน ใชเกณฑใด ประเมินครั้งโดยหัวหนางาน ประเมินโดยหัวหนางานและพนักงาน

13.5ธุรกิจนําผลการประเมินการปฏิบัติงานไปใชประโยชนอยางไร ปรับตําแหนง

ขึ้นเงินเดือน

14. ดานการสั่งการ14.1ธุรกิจใชวิธีการสั่งการใหดําเนินงานอยางใดอยางหนึ่งโดยวิธีใด ผานหัวหนางาน

การประชุม

Page 63: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

55

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 614.2ธุรกิจมีวิธีจูงใจพนักงานอยางไร คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน

คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน

14.3ทานคิดวาในการจัดการธุรกิจใชภาวะผูนําแบบใด แบบประชาธิปไตย

เผด็จการ เสรีนิยมหรือปลอยตามสบาย ธรรมาธิปไตย14.4ธุรกิจมีการติดตอสื่อสาร แลกเปลี่ยนความคิด หรือขาวสารขอมูลโดยสวนใหญแบบใด การประชุม

ระบบสารสนเทศ

14.5ในธุรกิจมีการนําระบบสารสนเทศมาใชในการสั่งการหรือไม มี

ไมมี15. ดานการควบคุม 15.1 ธุรกิจของทานมีการควบคุมงาน อยางไร หัวหนางาน

เจาของธุรกิจ

15.2 ธุรกิจมีการรายงานผลการดําเนินงานกอสรางอยางไร มีการรายงานผลผานการประชุม

ไมมีการรายงานผล

Page 64: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

56

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 615.3 ธุรกิจใหความสําคัญกับเครื่องมือวัดผลการดําเนินการงานอยางไรบาง ใชประเมินผลงาน

ใชเปนขอมูลในการรับงานโครงการตอไป

15.4 ธุรกิจใชหลักการควบคุมตนทุนวิธีใด งบประมาณรายไดและคาใชจาย

งบประมาณเงินสด

15.5 ธุรกิจของทานมีการควบคุมงานโดยมีการตั้งมาตรฐานไวหรือไม มี

ไมมี16. ดานBalanced Scorecard 16.1 ธุรกิจมีการวางแผนดานการเงินอยางไร ใชเงินทุนตนเอง

กูยืมจากสถาบันการเงิน

16.2 ธุรกิจมีการวางแผนดานลูกคาอยางไร หนวยงานของรัฐ

หนวยงานเอกชน

16.3 ธุรกิจมีการวางแผนการเจริญเติบโตอยางไร รอยละ 5 ตอป เกินกวารอยละ 5 ตอป

Page 65: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

57

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 616.4 ธุรกิจมีการวางแผนดานการประกอบธุรกิจอยางไร รับงานครั้งละ 1 โครงการ โครงการใหญ 1 แหง โครงการเล็ก 1 แหง

โครงการใหญ 1 แหง โครงการเล็กมากกวา 1แหง

17. ปญหาอุปสรรคในการจัดการผลกระทบวิกฤตในป 2540 ที่เห็นวารุนแรงตอธุรกิจมีอะไรบาง 17.1 ดานการเงิน

17.2 ดานบุคคล17.3 ดานทรัพยากร18. วิธีการแกปญหาในการจัดการ18.1 ดานการเงิน บริหารรายรับ รายจาย บริหารหนี้สิน บริหารเงินสดอยางไร จัดทํางบประมาณรายได และ คาใชจาย

จัดทํางบประมาณเงินสด

18.2 ดานบุคคล การจัดการคนเขาออก การชดเชย การแบงงานกันทํา ปรับโครงสรางแบบยืดหยุน

ไมมีการปรับโครงสราง18.3 ดานทรัพยากร เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ ซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ เชาเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ

Page 66: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

58

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 619. ความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางธุรกิจแนวทางการจัดการในอนาคตและความเห็นอื่น ๆเกี่ยวกับธุรกิจกอสราง19.1มีความซื่อสัตยตอลูกคาทั้งดานคําพูด และ การกระทํา

19.2 มีการสรางสรรคผลงานที่ดีมีคุณภาพใหลูกคา

19.3 มีประสบการณดานธุรกิจ

19.4 การบริหารงานใหมีประสิทธิภาพ

19.5 มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบสังคม

19.6 มีความตื่นตัวและติดตามความเคลื่อนไหวของวงการอุตสาหกรรมกอสราง

19.7 มีระเบียบวินัยใสใจในงานที่ทําและรักษากําหนดเวลาในการทํางาน

19.8 การนําเทคโนโลยีมาใชในการปฏิบัติงาน

19.9 ใชระบบคุณภาพ

19.20 มีวิสัยทัศนในการประกอบธุรกิจ

19.21 การดูแลงานดวยตนเอง

19.22 ตองใสใจในรายละเอียดของงาน

19.23 การเลือกเชาอุปกรณในการกอสราง จะชวยลดตนทุน

19.24 เปนผูบริหารที่เนนกลยุทธใหเหมาะสมกับระบบการจัดการ

19.25 ใชระบบการเสนอแนะความคิดเห็น ทุกคนในองคการมีสวนรวม

Page 67: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

59

ตารางที่ 3.1 ตารางแสดงขอมูลตาง ๆของกลุมตัวอยางทั้ง 6 ราย (ตอ)

ขนาดธุรกิจเล็ก กลาง ใหญขอมูลทั่วไปและประเด็นการจัดการธุรกิจ

1 2 3 4 5 619.26 การทํา Benchmark เพื่อนําขอมูลมาใชในการวางแผน

จากตารางที่ 3.1 ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญประเภทรูปแบบธุรกิจกอสรางบริษัทจํากัด 4 แหง หางหุนสวนจํากัด 2 แหง

ดานระยะเวลาในการดําเนินงานขององคการกลุมตัวอยางมีระยะเวลาดําเนินงาน มากกวา 21 ป จํานวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 50.00 และมีระยะเวลาดําเนินงาน 15-20 ปจํานวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 50.00

เงินลงทุนเริ่มแรกเมื่อเปดดําเนินการกลุมตัวอยางสวนใหญมีเงินทุนเริ่มแรก 1-5 ลานบาท จํานวน 5 แหง คิดเปนรอยละ 83.33 นอยกวา 1 ลานจํานวน 1 แหงคิดเปนรอยละ 16.67

เงินลงทุนปจจุบันของกิจการกลุมตัวอยางสวนใหญมีเงินทุนมากกวา10ลานบาทจํานวน 4 แหง คิดเปนรอยละ 66.67 มีเงินทุน6-10 ลานบาทจํานวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 33.33

ที่มาของแหลงเงินทุนที่ใชในกิจการกลุมตัวอยางสวนใหญ ใชเงินทุนสวนเจาของกิจการในการดําเนินธุรกิจจํานวน 6 แหง คิดเปนรอยละ 100

ประเภทงานกอสรางกลุมตัวอยางสวนใหญ ไดแก โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญจํานวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 50.00 งานอาคารจํานวน 2 แหงคิดเปนรอยละ 33.33 งานถนนคอนกรีต และทอระบายน้ําจํานวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 16.67

ผูวาจางงานกอสรางของกิจการกลุมตัวอยางสวนใหญหนวยงานของรัฐจํานวน 4 แหงคิดเปนรอยละ66.67 เอกชนจํานวน 2 แหง คิดเปนรอยละ33.33

วิธีการรับงานของกิจการกลุมตัวอยางสวนใหญติดตอและประมูลงานกับผูวาจางโดยตรงจํานวน 6 แหง คิดเปนรอยละ 100

จํานวนพนักงานในองคการเมื่อเริ่มกอตั้งกลุมตัวอยางสวนใหญ 20-50 คน จํานวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 50.00 นอยกวา 20 คน จํานวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 33.33 มากกวา 100 คน จํานวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 16.67

Page 68: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

60

จํานวนพนักงานในองคการในปจจุบันกลุมตัวอยางสวนใหญ 20-50 คนจํานวน 2 แหง คิดเปนรอยละ33.33 มากกวา 100 คนขึ้นไป จํานวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 33.33 และ นอยกวา 20 คน จํานวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 16.67 และ51-100 คนจํานวน 1 แหง คิดเปนรอยละ 16.67

จากลักษณะทั่วไปของกลุมตัวอยางสามารถสรุปลักษณะของธุรกิจไดดังนี้ คือ สวนใหญจัดตั้งเปนบริษัทจํากัดรอยละ 66.67 ระยะเวลาดําเนินงานมากกวา 21 ปและ 15-20 ป เทากันคิดเปนรอยละ 50 เงินทุนเริ่มแรก 1-5 ลานบาทรอยละ 83.33 เงินทุนปจจุบันมากวา 10 ลานบาท รอยละ 66.67 แหลงเงินทุนจากเงินทุนสวนเจาของกิจการเปนสวนใหญรอยละ 100 ประเภทงานกอสรางคือโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญมากที่สุดรอยละ 50 ผูวาจางสวนใหญเปนหนวยงานรัฐรอยละ66.67 การติดตอและ ประมูลงานโดยตรงกับผูวาจางมากที่สุดรอยละ 100 พนักงานเมื่อเริ่มกอตั้งทั้ง 3 ธุรกิจคือ 20-50 คน รอยละ 50.00 และ พนักงานในปจจุบันมีมากที่สุดคือ 20-50 คน และมากกวา 100 คนเทากันคิดเปนรอยละ 33.33

3.1 ขอมูลเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจกอสราง

สําหรับการวิเคราะหขอมูล เกี่ยวกับแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ผูวิจัยไดทําการศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 6 แหง โดยประเด็นการศึกษาแบงเปนปจจัย 6 ดาน ไดแก

1. ดานการวางแผน2. ดานการจัดองคการ3. ดานการจัดกําลังคน4. ดานการสั่งการ5. ดานการควบคุม6. ดาน Balanced Scorecard

Page 69: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

61

1. ดานการวางแผน การวางแผน คือ กระบวนการในการกําหนดเปาหมายขององคการ การกําหนดกลยุทธ

เพื่อใหบรรลุเปาหมาย และการกําหนดแผนยอย เพื่อประสานงานขององคการโดยรวม การวางแผนจึงเกี่ยวของกับทั้งผลลัพธ คือ เปาหมายหรือสิ่งที่ตองการจะทํา และ วิธีการใหบรรลุเปาหมาย

กิจการขนาดเล็กการวางแผนการในกิจการขนาดเล็กเจาของธุรกิจใหความสําคัญเปนอันดับแรก เพราะเชื่อ

วาการวางแผนที่ดีเปนเสมือนเข็มทิศชี้แนวทางในการดําเนินธุรกิจ สําหรับการวางแผนกลยุทธที่ใชคือ การวางแผนระยะสั้นระยะกลาง ไมเกิน 3-6 เดือน การกําหนดแผนที่ดีตองสอดคลองกับแผนระยะยาว สําหรับผูมีหนาที่ในการกําหนดแผน ประกอบดวย ผูบริหารระดับตน ระดับกลาง และ ระดับสูง การกําหนดแผนงานเพื่อใหไดแผนที่ดีมีคุณภาพ นําพาใหองคการบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวจําเปนตองใชวิธีระดมสมองของทุกฝายที่เกี่ยวของ อีกทั้งธุรกิจรับเหมากอสรางเปนงานที่ตองอาศัยความชํานาญและทักษะ และ ขอมูลที่เกี่ยวของกับ อดีต ปจจุบัน และ การคาดคะเนเหตุการณในอนาคตมาเปนขอมูล การวางแผนตองเก็บขอมูลอยางตอเนื่องเพื่อนําขอมูลเหลานั้นมาวิเคราะหจนไดแผนขององคการเพื่อใชในการปฏิบัติงาน นอกจากตองอาศัยปจจัยหลัก ๆ เพื่อประกอบในการวางแผน ปจจัยภายนอก ไดแก ความพรอมดานการเงิน ความสามารถในการดําเนินธุรกิจ ความพรอมดานพนักงาน ปจจัยภายในไดแก ปริมาณงานกอสรางในตลาด สภาวะเศรษฐกิจ นโยบายของรัฐดานกอสราง สําหรับขอมูลการวางแผนอื่น ๆ ไดแก วงเงินงบประมาณคากอสรางในแตละโครงการเปนตัวเสริมที่สําคัญในการกําหนดทิศทางของแผนงานของแตละกิจกรรมจะทําใหไดแผนที่มีคุณภาพสูงสุด

กิจการขนาดกลางสําหรับกิจการขนาดกลาง การวางแผนถือวาเปนสิ่งสําคัญ ธุรกิจรับเหมากอสรางเปนงานที่

ละเอียด โครงการแตละโครงการ แตละกิจกรรมไมวาจะเปนกิจกรรมขนาดเล็ก หรือ กิจกรรมขนาดใหญ ตองใหความสําคัญเทาเทียมกัน ในภาพใหญ ๆ ขององคการ เจาของธุรกิจเปนคนกําหนดแผน สวนภาพยอยๆ ใชวิธีระดมสมองกับผูบริหารระดับกลาง และระดับตน และพนักงาน เพื่อใหไดแผนที่ดี นอกจากการวางแผนแลว การประเมินแผนงานซึ่งเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญเชนเดียวกัน กิจการขนาดกลาง ใชหลักของเดมมิ่ง เปนแนวปฏิบัติ ประกอบดวย PDCA ทําใหธุรกิจสามารถขับเคลื่อนการดําเนินงานไปไดอยางราบรื่น สําหรับปจจัยที่ใชในการกําหนดแผน ปจจัยภายในอาศัย ความพรอมดานการเงิน ความสามารถในการดําเนินธุรกิจ และ ความพรอมดาน

Page 70: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

62

พนักงาน ปจจัยภายนอกไดแก สภาวะเศรษฐกิจ คูแขงขัน นโยบายของรัฐดานกอสราง กฏหมายที่เกี่ยวของ สําหรับขอมูลที่ใชในการประกอบ คือ วงเงินเงินประมาณคากอสรางในแตละโครงการ ระยะเวลาที่กําหนดในงานแลวเสร็จ และ ความเสี่ยงของงาน เหลานี้จะเปนตัวชวยใหเกิดแผนที่ดีอีกดวย

กิจการขนาดใหญกิจการขนาดใหญ เชื่อวา การวางแผนเปนหนาที่ของผูบริหารในการเตรียมรับสถานการณ

ที่ไมแนนอน ในการประกอบธุรกิจในอนาคต ทําใหมีวิธีการดําเนินงานไปไดหลากหลาย การวางแผนจะใชหลักการวางแผนระยะสั้น ระยะกลาง ไมเกิน 3-5 เดือน และ ตองสอดคลองกับแผนระยะยาวขององคการ ผูมีหนาที่กําหนดแผน คือ ผูบริหารระดับสูงจะกําหนดแผนงานในภาพรวมไมเจาะลึกรายละเอียดจะกําหนดในภาพกวาง ๆ ในสวนรายละเอียดจะใชวิธีวางแผนรวมกับผูบริหารระดับกลางและระดับตน และพนักงานในแผนก สําหรับปจจัยภายใน อาศัย ความพรอมดานการเงิน ความสามารถในการดําเนินธุรกิจ และความพรอมดานพนักงาน ปจจัยภายนอก ไดแก ปริมาณงานกอสรางในตลาด สภาวะเศรษฐกิจ นโยบายของรัฐดานกอสราง ขอมูลที่ใชประกอบการวางแผนกิจการขนาดใหญใหความสําคัญคือ วงเงินงบประมาณกอสรางของโครงการ ที่ไดรับจากผูวาจาง วงเงินงบประมาณจะชวยใหเจาของธุรกิจตัดสินใจวา การดําเนินงานขององคการจะไปในทิศทางใด อยางไรก็ดีการวางแผนถือวามีความสําคัญมาก การวางแผนที่ดีจะทําใหเจาของธุรกิจตั้งรับและกาวทันตอการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ

สรุป การวางแผน ในธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ ลักษณะการวางแผนเปนการวางแผนระยะสั้น ระยะกลาง ไมเกิน 3-5 เดือน รวมทั้งตองสอดคลองกับแผนระยะยาวขององคการ การวางแผนตองอาศัยปจจัยทั้งภายในและภายนอกองคการ รวมทั้งขอมูลที่ใชประกอบวางแผนคือ วงเงินงบประมาณกอสรางของโครงการ หลักการวางแผนผูบริหารในระดับตน ระดับกลาง ระดับสูง และ พนักงานรวมกันวางแผน ในกิจการขนาดกลางใชหลักของเดมมิ่ง เปนแนวปฏิบัติ ประกอบดวย PDCA เปนวิธีการใหแผนท่ีวางไวสามารถบรรลุผลในที่สุด

2. ดานการจัดองคการการจัดองคการ เปนการแบงงาน และการจัดทรัพยากร เพื่อใหงานบรรลุผลสําเร็จ อีกทั้งยัง

เปนหนาที่ในการรวบรวมและการประสานงานทรัพยากรมนุษย การเงิน สภาพแวดลอมทั้งภายในภายนอกองคการ และ ขอมูล และทรัพยากรตาง ๆ ที่จําเปนตองใชเพื่อใหบรรลุผล

Page 71: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

63

กิจการขนาดเล็กการจัดองคการ สําหรับกิจการขนาดเล็กนั้นจะใหความสําคัญเชนเดียวกับการวางแผน การ

จัดองคการจะทําใหทราบแนวทางปฏิบัติงาน ทําใหพนักงานไมทํางานซ้ําซอนหรือขัดแยงกันในหนาที่ อีกทั้งชวยใหพนักงานไดทราบขอบเขตของงาน ทําใหการติดตอประสานงานกันมีความสะดวกขึ้น จึงทําใหผูบริหารสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตองและรวดเร็ว ในกิจการขนาดเล็กการจัดองคการเปนแบบทางการ (Formal organization ) การจัดโครงสรางองคการ ผูบริหารจะวางโครงสรางที่แนนอน สาเหตุเพื่อใหผูใตบังคับบัญชาไดทราบถึงอํานาจหนาที่ของตนเองในการปฏิบัติงาน อีกทั้งยังสามารถบอกถึงขอบเขตความรับผิดชอบของแตละคน แตละฝายที่ทํางานรวมกัน กิจการขนาดเล็กจัดองคการตามแนวดิ่งจากบนลงลาง

การกําหนดอํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ นั้น กิจการขนาดเล็กมีสายการบังคับบัญชาชัดเจน และใชสายการบังคับบัญชาในการกระจายอํานาจหนาที่ใหกับสมาชิกในองคการ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของงาน

กิจการขนาดกลางกิจการขนาดกลาง คํานึงถึงการจัดองคการเชนเดียวกัน มุงใหความสําคัญในการจัด

โครงสรางองคการแบบเปนทางการ มีระดับการบริหารจัดการเปนลําดับจากบนลงลางคือมีการกําหนดโครงสรางที่แนนอน ผูบังคับบัญชา จะทราบวาตองดูแล และ บริหารจัดการใครบาง ผูใตบังคับบัญชา จะทราบวาตนตองทํางานขึ้นตรงกับใคร ใครเปนผูที่จะใหคําปรึกษาเรื่องงาน การกําหนดโครงสรางนี้เอง ทําใหเกิดสายการบังคับบัญชา นํามาซึ่งการกําหนดหนาที่ และ ความรับผิดชอบแบบกระจายอํานาจ

กิจการขนาดใหญกิจการขนาดใหญ มีการจัดโครงสรางองคการเปนแบบทางการมีรูปแบบจากบนลงลาง ทํา

โครงสรางขององคการที่แนนอน เกิดการประสานงาน การบริหารทรัพยากร ใหเหมาะสมกับงาน ทําใหองคการเจริญเติบโตและประสบความสําเร็จความสําเร็จ อํานาจหนาที่จะลดหลั่นกันมาตามสายการบังคับบัญชา ตําแหนงในระดับสูงของกิจการจะมีอํานาจและขอบเขตที่กวางกวา ในตําแหนงระดับลาง ๆ การกําหนดหนาที่จะกําหนดวาตําแหนงใดควรจะมีอํานาจหนาที่อะไร มากวาที่จะกําหนดเฉพาะตัวบุคคล เชน ผูจัดการฝายบัญชี มีหนาที่ในการดูแลงบการเงิน ของบริษัท เปนตน การกําหนดอํานาจหนาที่พิจารณาตามสายการบังคับบัญชา ในกิจการขนาดใหญ นั้น การ

Page 72: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

64

มอบหมายหนาที่เปนแบบการกระจายอํานาจ และมีการใชระบบควบคุมการกระจายอํานาจ ผานการรายงานผลการปฏิบัติงาน

สรุป การจัดองคการ ในกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ ใหความสําคัญกับการจัดองคการเปนแบบทางการมีรูปแบบแนวดิ่งจากบนลงลาง และ โครงสรางและสายบังคับบัญชาแนนอน ดานการมอบหมายหนาที่เปนแบบกระจายอํานาจหนาที่ กิจการขนาดใหญเพิ่มขั้นตอนการรายงานผลการปฏิบัติงาน แตกตางกับกิจการนาดเล็ก เปนขั้นตอนการจัดองคการที่เอื้อประโยชนตอการควบคุมงานงานไดดี

3. ดานการจัดกําลังคนทรัพยากรมนุษยหรือคนเปนทรัพยากรที่มีคาสูงสุด และมีประโยชนมากที่สุด เพราะคน

เปนทรัพยากรที่มีชีวิต การจัดกําลังคนจึงเปนงานที่สําคัญที่ผูบริหารตองวางแผน สรรหา คัดเลือก และ ประเมินผลอยางเปนระบบ องคการที่เนนความสําคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษยอาจใชวิธีการปฏิบัติงานของพนักงาน เพื่อใหไดผลงานที่สูง ซึ่งมีมากมายหลายวิธี วิธีการเหลานี้จะมีเปาหมายมุงเพิ่มพูนความรู ทักษะ และความสามารถในการปฏิบัติงานของพนักงาน เพิ่มแรงจูงใจในการทํางาน

กิจการขนาดเล็กในกิจการขนาดเล็ก การจัดกําลังคน นั้น มีการจัดตามความเหมาะสมของโครงการแตละ

โครงการและงบประมาณกอสราง เชน โครงการกอสรางอาคาร 3 ชั้น 5 คูหา โครงการนี้ตองใชระยะเวลาประมาณ 2 เดือน เจาของธุรกิจจะตองลงรายละเอียดความตองการกําลังคนวา ตองใชเทาใด การจัดกําลังคนตองอาศัยขอมูลประกอบการจัดดวย ไดแกขอมูลการกอสรางอาคาร ที่กิจการเคยรับทําแลว ทั้งนี้จะไดกําลังคนที่พอดี ประหยัดคาใชจายดานแรงงาน

การพัฒนาความรู ความสามารถในการทํ างานใหกับสมาชิกในองคการนั้น มีโครงการพัฒนาบุคลากร แตเนนดานพนักงานการออกแบบคอมพิวเตอร เพราะงานกอสราง นั้น พนักงานในระดับชางฝมือ และ กรรมกร ใชประสบการณเปนสิ่งที่สอนใหเรียนรูไดมากกวาการสงพนักงานไปอบรม

การประเมินพนักงานนั้น แบงการประเมิน 2 ขั้นตอน คือ หัวหนางาน เจาของธุรกิจเปนผูประเมิน สวนพนักงาน หัวหนางานเปนผูประเมิน และ สงตอการประเมินมาที่เจาของธุรกิจเพื่อใหเกิดความเปนธรรมกับแกพนักงาน การประเมินผลงานทําครั้งเดียวตอนสิ้นป

Page 73: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

65

กิจการขนาดกลาง การจัดกําลังคน นั้นมีการประเมินความตองการคนตามโครงสรางองคการและวงเงินงบประมาณกอสราง นอกจากนี้การจัดกําลังคน จะนําโครงการที่ไดรับมาพิจารณาถึงความเหมาะสม โครงการที่ไดรับแตละแหงมีการวางแผนกําลังคนกอนการดําเนินงาน กรณีการจัดกําลังคนแลวพบวามีไมเพียงพอกิจการจะตองมีการสรรหา และ คัดเลือก ตามหลักวิชาการโดยทั่วไป ในกิจการขนาดกลางกําลังคนที่มีปญหาไดแก กําลังคนดานกรรมกร เพราะมีอัตราการเขาออกสูงกวา ฝายหรือแผนกอื่น ๆ

กิจการมีการทําคําบรรยายลักษณะงาน( Job description) เปนลายลักษณอักษร อธิบายถึงรายละเอียดเกี่ยวกับความรับผิดชอบของพนักงาน เกี่ยวกับภารกิจที่ตองทํา เพื่อใหงานในองคการดําเนินงานโดยไมมีปญหา เรื่องของ การทํางานขามสายงานในความรับผิดชอบของตน

การพัฒนาความรู ความสามารถในการทํางานนั้น กิจการใหการสงเสริมพนักงานในดานการอบรมดานเทคโนโลยีการออกแบบ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปชนิดตาง ๆ เพื่อนําความรูที่ไดมาพัฒนางาน

การประเมินผลงานของพนักงาน มีการประเมินแบบยุติธรรม คือ พนักงานมีการประเมินตนเอง และหัวหนางานเปนผูประเมินสวนที่ สอง และ สาม ประเมินโดยเจาของธุรกิจ โดยนําขอมูลมาประกอบหลาย ๆ สวนดวยกัน เชนการเขางาน การหยุดงาน การรวมกิจกรรมของบริษัท การแตงกาย เปนตน การประเมินนั้นผูบริหารไมไดลงรายละเอียดในเรื่องของพนักงานระดับลาง ไดแก กรรมกรมากนัก เพราะไดคาจางในอัตราขั้นต่ําอยูแลว ในสวนของกรรมกรที่เปนแรงงานตางดาวมีการประเมิน แลว มอบสิ่งของอุปโภค บริโภค ที่ไมใชตัวเงิน เชน ขาวสาร โทรทัศน ตูเย็น

กิจการขนาดใหญการจัดกําลังคนในกิจการขนาดใหญ คํานึงถึงอัตราความตองการกําลังคน ในแผนกงานตาง

ๆ เปนสําคัญ การวางแผนการจัดกําลังคน ดูขอมูล ดังนี้ ความยากงายของโครงการ งบประมาณการกอสราง และระยะเวลาในการกอสราง เปนสวนประกอบในการจัดกําลังคน

กิจการมีการทําคําบรรยายลักษณะงาน( Job description) เปนขอความที่ชัดเจนเปนลายลักษณอักษร อธิบายถึงรายละเอียดเกี่ยวกับความรับผิดชอบของพนักงาน เพื่อใหการทํางานไมเกิดปญหาวาใครมีหนาที่ตองทําอะไร การกําหนดคําบรรยายลักษณะงานจะทําใหพนักงานทราบวางานที่ตองทํามีรายละเอียดอะไรบาง

การพัฒนาความรู ความสามารถในการทํางานของพนักงาน มีการสงพนักงานอบรมเพื่อพัฒนาดานคอมพิวเตอร

Page 74: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

66

การประเมินผลงานของพนักงาน มีการประเมินที่เปนระบบมีการประเมิน 2 ครั้ง ไดแก 6 เดือนแรก และ 6 เดือนหลังของการทํางานเพื่อใหไดขอมูลที่ละเอียด และ เกิดความยุติธรรม มีการประเมินทั้งพนักงานประเมินตนเอง หัวหนางานประเมินพนักงานที่ตนดูแลรับผิดชอบ เพื่อใหเกิดความยุติธรรม

สรุป การจัดกําลังคน ในกิจการขนาดตาง ๆ มีการประเมินความตองการกําลังคนกอนการจัดสรรบุคลากรไปในหนวยงานตาง ๆ สําหรับขั้นตอนในการสรรหาบุคคลเขามาทํางานในองคการมีการสรรหาทั้งภายในและภายนอกองคการ มีการคัดเลือก อบรม การประเมินผลงานอยางเปนระบบ และมีนโยบายที่ชัดเจน ทําใหการจัดกําลังคนในการรับงานแตละโครงการไมเกิดปญหา

4. ดานการสั่งการ การที่ผูบริหาร ผูจัดการ หัวหนางาน ดําเนินการใหบุคคลปฏิบัติงานใหสําเร็จตามวัตถุประสงค ที่กําหนดไว ซึ่งการดําเนินการนี้ เกี่ยวกับ ภาวะผูนํา การมอบหมายงานและอํานาจหนาที่ กับความรับผิดชอบของการสั่งการ การออกคําสั่ง การติดตอสื่อสาร การประสานงาน รวมทั้งการจูงใจ

กิจการขนาดเล็กการสั่งการในกิจการขนาดเล็ก เปนการสั่งการ ใน 2 รูปแบ คือ การสั่งเปนลายลักษณ อักษร

และ การสั่งงานดวยวาจา การจูงใจพนักงาน ใชหลักการจูงใจในรูปแบบคาตอบแทน ในสวนที่เปนตัวเงิน ไดแก การ

ขึ้นเงินเดือน การใหโบนัส และ สวนที่ไมเปนตัวเงิน ไดแก การจัดทัศนศึกษาประจําป แตเปนทัศนศึกษาภายในประเทศ เพื่อใหพนักงานไดทํากิจกรรมรวมกัน กอใหเกิดความสามัคคี และ เปนการผอนคลาย

ภาวะผูนํา ใชหลัก ผูนําแบบประชาธิปไตย ทุกคนมีสิทธิ์ ในการแสดงความเห็น เพราะทุกความเห็นของพนักงานที่ เปนสมาชิกในองคการ นํามาซึ่งผลประโยชนที่องคการจะไดรับแทบทั้งสิ้น

การติดตอสื่อสารและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งขาวสารขอมูลสวนใหญ มีการติดตอในลักษณะประชุมกันในตอนเชา เพื่อระดมสมอง และ การรายงานผลการปฏิบัติงาน การแกไขปญหาและอุปสรรคในการทํางาน

การนําระบบสารสนเทศมาใชในกิจการ มีการนําระบบอินเตอรเน็ตมาใชภายในองคการเพื่อการติดตอสื่อสารกับบุคคลภายในและภายนอกองคการ เชน การใชจดหมายอิเล็กทรอนิคสเปนตน

Page 75: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

67

กิจการขนาดกลางการสั่งการในกิจการขนาดกลาง เปนการสั่งการ ใน 2 รูปแบบ คือ การสั่งเปนลายลักษณ

อักษร และ การสั่งงานดวยวาจา เชนเดียวกับกิจการขนาดเล็ก การสั่งงานที่มาจากผูบริหารระดับสูงจะสั่งงานดวยลายลักษณอักษร ที่ชัดเจน สวนการสั่งงานดวยวาจาจะสั่งงานกับพนักงานโดยตรง ทั้งนี้ ใหความสําคัญกับการสั่งงานที่เปนลายลักษณอักษรและสั่งงานดวยวาจา

การจูงใจพนักงาน ใชหลักการจูงใจในรูปแบบคาตอบแทน ในสวนที่เปนตัวเงิน ไดแก การขึ้นเงินเดือน การใหโบนัส และ สวนที่ไมเปนตัวเงิน ไดแก การเลื่อนขั้น เลื่อนตําแหนง การจัดทัศนศึกษา ดูงานประจําป แตเปนภายในประเทศเทานั้น การจัดเลี้ยงในวันสําคัญเชนวันกอตั้งกิจการ วันขึ้นปใหม เพื่อใหพนักงานไดทํากิจกรรมรวมกัน กอใหเกิดความสามัคคี และ เปนการผอนคลาย

ภาวะผูนํา ใชหลัก ผูนําแบบประชาธิปไตย ทุกคนมีสิทธิ์ ในการแสดงความเห็น เพราะทุกความเห็นของพนักงานที่ เปนสมาชิกในองคการ นํามาซึ่งผลประโยชนที่องคการจะไดรับแทบทั้งสิ้น

การติดตอสื่อสารและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งขาวสารขอมูลสวนใหญ มีการติดตอในลักษณะประชุมกันในตอนเชาในเวลา 7.00 น. ของทุกวัน สวนกรณีการประชุมกรณีพิเศษ จะจัดประชุมเมื่องานเกิดปญหา ที่หัวหนางานไมสามารถแกงานได ตองใชการประชุมเพื่อระดมสมองชวยกันหาทางแกไขปญหา

กิจการขนาดใหญการสั่งการในกิจการขนาดใหญ เปนการสั่งการ ใน 2 รูปแบบ เชนเดียวกับกิจการขนาดเล็ก

และขนาดใหญ การสั่งงานดวยวาจานั้น ใชการสั่งกับหัวหนางานโดยตรง อยางไรก็ดีความแตกตางของการสั่งงานนั้น ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของประเภทของงานเปนหลัก

การจูงใจพนักงาน ใชหลักการจูงใจในรูปแบบคาตอบแทน ในสวนที่เปนตัวเงิน ไดแก การขึ้นเงินเดือน การใหโบนัส และ สวนที่ไมเปนตัวเงิน ไดแก การจัดทัศนศึกษา ดูงานประจําป ทั้งภายในและภายนอกประเท กิจกรรมภายในประเทศจะพาพนักงานทุกคนในบริษัทไปทั้งหมด สวนภายนอกประเทศนั้น จะคัดสรรพนักงานและคัดเลือกตามความเหมะสมซึ่งมีเกณฑมีคุณสมบัติกําหนดไว มีการจัดบานพักเปนสวัสดิการใหกับพนักงาน

ภาวะผูนํา ใชหลัก ผูนําแบบประชาธิปไตย หมายถึงการนําและการตามผูใตบังคับบัญชา อันนํามาซึ่งผลประโยชนสูงสุด

การติดตอสื่อสารและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งขาวสารขอมูลสวนใหญ มีการติดตอในลักษณะประชุมกันในตอนเชา การประชุมในลักษณะนี้จะชวยใหเกิดความไดประโยชนกับองคการ เพราะในทุกวัน หัวหนางานจะตองรายงานผลการปฏิบัติงาน ใหทราบ ทําใหเกิดการ

Page 76: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

68

ติดตามควบคุมงานอยางตอเนื่องอีกดวย นอกจากนี้มีการประชุมงานประจําเดือน เพื่อสรุปผลงานที่ดําเนินการในแตละวัน

การนําระบบสารสนเทศมาใชในกิจการ มีการนําระบบอินเตอรเน็ตมาใชภายในองคการติดตั้งระบบ Lan และมีปองการการสูญเสียของขอมูลโดยใชระบบการเขาถึงขอมูลเพื่อการในรูปแบบตาง ๆ นอกจากนี้กิจการยังมีการเก็บขอมูลในระบบฐานขอมูลเดียว เพื่อการเรียกใชขอมูลที่ถูกตอง

สรุป การสั่งการ ในกิจการขนาดตาง ใชรูปแบบการสั่งการที่เปนลายลักษณอักษร และ การสั่งงานดวยวาจา ผูนําเปนแบบประชาธิปไตย ทุกคนมีสวนแสดงความคิดเห็น ใชระบบการจูงใจรวม ประกอบดวย คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน และ ไมเปนตัวเงิน และ มีการติดตอสื่อสารโดยใชเทคโนโลยีเพื่อความสะดวก สําหรับกิจการขนาดกลาง และ ขนาดใหญมีการประชุมเพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานตอนเชาทุกวัน ซึ่งทําใหการติดตอประสานงานระหวางหนวยงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

5. ดานการควบคุม การควบคุมงานเปนภาระหนาที่อีกประการหนึ่งของผูบังคับบัญชานอกเหนือไปจากการ

บังคับบัญชาโดยปกติ การบังคับบัญชาเปนการนําผูใตบังคับบัญชาใหประพฤติปฏิบัติในสิ่งซึ่งเปนที่ตองการขององคการ หรือหนวยงาน การควบคุมเปนเรื่องของการติดตาม ดูแลตรวจสอบวาไดมีการประพฤติปฏิบัติตามคําสั่งที่มอบหมาย หรือไดมีการปฏิบัติตามแผนงานที่ไดกําหนดไวมากนอยเพียงใด การควบคุมไมใชเปนการจับผิดหรือลงโทษ การควบคุมเปนเครื่องมือสําคัญของการวางแผน การดําเนินงาน และ การประเมินผลของแผน

กิจการขนาดเล็ก การควบคุมสําหรับกิจการขนาดเล็ก ประกอบดวย การควบคุมดานการเงิน การควบคุมการ

ปฏิบัติการ การควบคุมดานการเงินจะใชงบประมาณรายไดและคาใช เปนตัวควบคุม วาเปนไปตามที่กําหนดตามแผนหรือไม ถาไมตองแกไขอยางไร เพื่อใหสามารถดําเนินงานไปไดอยางราบรื่นสวนการควบคุมดานการปฏิบัติการนั้นเปนการควบคุมการปฏิบัติงานของพนักงานในดานของงานกอสราง ความคืบหนาของงานโดยหัวหนางานเปนผูรายงานและควบคุมงาน

การควบคุมคุณภาพนั้นใชหลัก 5 ส ประกอบดวย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสรางนิสัย

Page 77: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

69

กิจการขนาดกลางการควบคุมที่สําคัญของกิจการขนาดกลางไดแก การควบคุมดานการเงินและงบประมาณ

การควบคุมดานการปฏิบัติการ และดานทรัพยากรมนุษย ดังนี้ การควบคุมดานการเงินใชการจัดทํางบประมาณเงินสดเปนตัวควบคุมการใชเงินในแตละโครงการ การควบคุมดานการปฏิบัติการ เปนการควบคุมการทํางานของแตละแผนก ผานการรายงานผลประจําวัน และ ประจําเดือน การควบคุมทรัพยากรมนุษย คือ การควบคุมดานการพัฒนาความสามารถของบุคลากร การใหรางวัล การควบคุมพฤติกรรมของบุคลากรเปนตน เปนหนาที่ของหัวหนางานและหัวหนาแผนกควบคุม

การควบคุมคุณภาพนั้นใชหลัก 5 ส ประกอบดวย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสรางนิสัย

กิจการขนาดใหญ การควบคุมประกอบดวยหลายดานดวยกัน ดังนี้ การควบคุมดานการเงินและงบประมาณ

การควบคุมดานการปฏิบัติการ การควบคุมดานการตลาด การควบคุมดานทรัพยากรมนุษย การควบคุมดานการเงินและงบประมาณนั้นใช การทํางบประมาณเงินสด กอนการจัดทําโครงการแตละโครงการ การควบคุมดานการปฏิบัติการ เปนการควบคุมการทํางานของพนักงานแตละแผนก วาสามารถทํางานไดตามแผนที่องคการกําหนดไวหรือไม การควบคุมดานการตลาด คือ การควบคุมในดานการติดตอประสานงานการประมูลงาน ในแตละโครงการเพราะการไดงานจะแสดงถึงอัตราการเจริญเติบโตในอนาคต การควบคุมทรัพยากรมนุษย คือการควบคุมตั้งแตกระบวนการสรรหา คัดเลือก การรับเขาทํางาน การฝกอบรม รวมทั้งการประเมินผลการปฏิบัติงาน การจูงใจพนักงาน ระบบการจูงใจ หัวหนางานเปนผูควบคุมงานรวมกับหัวหนาแผนกที่รับผิดชอบในแตละดาน

การควบคุมคุณภาพนั้นใชหลัก 5 ส ประกอบดวย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสรางนิสัย สรุป การควบคุม ในกิจการขนาดเล็ก ในดานการเงิน ใช การจัดทํางบประมาณรายไดและ คาใชจา สวนกิจการขนาดกลาง และ ขนาดใหญใชการจัดทํางบประมาณเงินสด ดานการปฏิบัติงานเปนการควบคุมผานการประชุมใหมีการรายงานผลการปฏิบัติงาน การควบคุมดานทรัพยากรมนุษย มีระบบการควบคุมผานการคัดเลือก สรรหา อบรม และ การประเมินผลงาน ที่ เ ป น ร ะ บ บ แ ล ะ มีนโยบายที่ชัดเจน การควบคุมคุณภาพใชหลัก 5 ส ประกอบดวย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และ สรางนิสัย

Page 78: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

70

ดาน Balance Scorecardการแขงขันในการประกอบธุรกิจในปจจุบัน ไดสร างแรงกดดันใหกับผูบริหาร

ผูประกอบการที่ตองตัดสินใจในการดําเงินงานภายใตสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคการ การใหความสําคัญกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มากไป นอยไป อาจกอใหเกิดปญหาตามมาได เชนการควบคุมดานการเงินมากไป อาจสงผลกระทบตอการสรางสรรคสิ่งใหม ทําใหเสียโอกาสในการแขงขัน ผูบริหารตองเปนผูมีความสามารถในการหาประโยชนในการแขงขัน Balance Scorecard เปนเทคนิคการติดตามตรวจสอบ การควบคุม และ การประเมินผลเชิงกลยุทธที่สําคัญที่จะชวยใหผูบริหารสามารถดําเนินงานภายใตสถานการณที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

กิจการขนาดเล็ก การวางแผนดานการเงิน ใชเงินทุนตนเอง และ การกูยืมจากสถาบันการเงิน

การวางแผนดานลูกคา การติดตอกับลูกคาดวยตนเองรับงานหนวยงานของรัฐบาล และเอกชนที่มีเสถียรภาพดานการเงิน งานของเอกชนไมเกินรอยละ 10

การวางแผนการเจริญเติบโต มีการวางแผนการเจริญเติบโตรอยละ 5 ตอป คํานึงถึงความสามารถและความพรอมดานการเงินของกิจการ

การวางแผนดานการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจใหทําที่ละโครงการ สวนโครงการยอย ๆ การรับงานดูความพรอมของบุคลากรเปนสําคัญ สถานที่ และ นายจาง ประกอบการตัดสินใจโครงการยอย ๆ ดูงบประมาณตองไมมาก

กิจการขนาดกลาง การวางแผนดานการเงิน ใชเงินทุนตนเอง และ การกูยืมจากสถาบันการเงิน

การวางแผนดานลูกคา การติดตอกับลูกคาดวยตนเอง การประมูลงานเลือกประมูลงานที่เปนหนวยงานของรัฐประมาณรอยละ 80 งานของเอกชนรอยละ 20

การวางแผนการเจริญเติบโต มีการวางแผนการเจริญเติบโตรอยละ 5 -10 ตอป คํานึงถึงความสามารถและความพรอมดานการเงินของกิจการ

การวางแผนดานการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจใหทําที่ละโครงการ สวนโครงการยอย ๆ การรับงานดูความพรอมของบุคลากรเปนสําคัญ สถานที่ และ นายจาง ประกอบการตัดสินใจโครงการยอย ๆ รับงานไมเกิน 2 โครงการ

Page 79: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

71

กิจการขนาดใหญ การวางแผนดานการเงิน ใชเงินทุนตนเอง และ การกูยืมจากสถาบันการเงิน

การวางแผนดานลูกคา การติดตอกับลูกคาดวยตนเอง การประมูลงานของหนายงานของรัฐรอยละ70 หนวยงานเอกชนรอยละ30การวางแผนการเจริญเติบโต มีการวางแผนการเจริญเติบโตรอยละ 5-10 ตอป คํานึงถึงความสามารถและความพรอมดานการเงินของกิจการ

การวางแผนดานการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจใหทําที่ละโครงการ สวนโครงการยอย ๆ การรับงานดูความพรอมของบุคลากรเปนสําคัญ สถานที่ และ นายจาง ประกอบการตัดสินใจโครงการยอย ๆ ไมเกิน 5 โครงการ

สรุป Balance Scorecard ในการประกอบธุรกิจกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญการวางแผนดานการเงินใชเงินทุนตนเอง มากกวาการกูยืมจากสถาบันการเงิน การวางแผนดานการเจริญเติบโต ไมเกินรอยละ 5 ตอปสําหรับกิจการขนาดเล็ก สวนกิจการขนาดกลางและขนาดใหญไมเกินรอยละ 5-10 ตอป กิจการขนาดเล็กมีการวางแผนการดําเนินงานการประกอบธุรกิจในการรับงานครั้งละ 1 โครงการ สวนกิจการขนาดกลาง มีการรับงานโครงการใหญ 1โครงการ และ ขนาดเล็กไมเกิน 2 โครงการ กิจการขนาดใหญมีการรับงานโครงการใหญ 1 โครงการ และ โครงการยอย ๆ แตไมเกิน 5 โครงการในการติดตอกับลูกคา มีการติดตอกับลูกคาโดยตรงเปนมุมมองของผูบริหารที่สามารถดําเนินงานมาไดนับแตกอตั้งกิจการจนถึงปจจุบัน

ตอนที่ 3 ปญหาอุปสรรคในการจัดการและวิธีแกไขปญหา3.1 ผลกระทบวิกฤติในป 2540

กิจการขนาดเล็ก จากผลกระทบวิกฤติในป 2540 นั้นไมไดสงผลตอกิจการขนาดเล็ก อันเนื่องมาจากการรับ

งานของกิจการขนาดเล็กเนนรับงานของหนวยงานของรัฐบาล และ เอกชนที่นาเชื่อถือได และมีเสถียรภาพทางดานการเงินดี นอกจากนี้ยังมีการปรับโครงสรางของบุคลากรใหเหมาะสม การรับงานตองรับงานที่ละโครงการ ไมทําที่ละหลายโครงการ พรอมกัน เพราะจะทําใหมีปญหาดานบุคลากร และ ดานการเงิน ดานการควบคุมโครงการ นอกจากนี้ ยังใชวิธีรักษาและบริหารทรัพยามนุษย ดังนี้ ใชการจูงใจในการทํางาน การสรางใหพนักงานมีความรักตอองคกร เมื่อเขามีความรักตอองคกรตจะทําใหเขามีความพรอมที่จะทํางานอยางเต็มใจ และ เต็มความสามารถ

Page 80: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

72

กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดกลาง สามารถดําเนินงานอยูไดภายใตวิกฤติป 2540 อันเนื่องมาจากการรับ

งานนั้นเนนรับงานตามความพรอมดานเงินทุน ความพรอมดานบุคลากร นอกจากนี้การรับงานตองรับงานที่ละโครงการ ไมรับงานซอนกันหลายโครงการ ถากิจการไมมีความพรอม จะทําใหเกิดผลกระทบดานลบ มากกวาดานบวก และ มีการปรับโครงสรางองคกรใหเหมะสมตลอดเวลา

กิจการขนาดใหญการดําเนินงานในภาวะวิกฤติป 2540 ของกิจการขนาดใหญมีการรับงานแตละโครงการ

อาศัยขอมูลตาง ๆประกอบการตัดสินใจ เชน ความพรอมดานเงินทุน ผูวาจาง เนนรับงานหนวยงานของรัฐ นอกจากน้ียังมีการวางแผนระยะยาว ระยะสั้น ใหสอดคลองกัน ซึ่งการวางแผนขององคการ สามารถทําใหผานการเปลี่ยนแผลงในป 2540 มาได จนถึงปจจุบัน

สรุป จากการดําเนินงานในภาวะวิกฤติป 2540 จะสงผลกระทบกับสภาพคลองดานการเงินในทุกกิจการขนาดตางๆ แตสิ่งที่ทําใหผานภาวะวิกฤติป 2540 มีดังนี้ กิจการขนาดเล็กเนนรับงานของหนวยงานของรัฐบาล และ เอกชนที่นาเชื่อถือได และมีเสถียรภาพทางดานการเงินดี นอกจากนี้ยังมีการปรับโครงสรางของบุคลากรใหเหมาะสม การรับงานตองรับงานที่ละโครงการ ไมทําที่ละหลายโครงการ พรอมกัน กิจการขนาดกลางเนนรับงานตามความพรอมดานเงินทุน ความพรอมดานบุคลากร นอกจากนี้การรับงานตองรับงานที่ละโครงการ ไมรับงานซอนกันหลายโครงการ และ กิจการขนาดใหญรับงานแตละโครงการอาศัยขอมูลตาง ๆ ประกอบการตัดสินใจ เชน ความพรอมดานเงินทุน ผูวาจาง เนนรับงานหนวยงานของรัฐ นอกจากนี้ยังมีการวางแผนระยะยาว ระยะสั้น ใหสอดคลองกัน ทําใหทุกกิจการผานภาวะวิกฤติป 2540 มาไดจนถึงปจจุบัน

3.2 การจัดการและวิธีแกปญหา ในวิกฤติป 2540

กิจการขนาดเล็ก กิจการขนาดเล็ก มีวิธีการจัดการและวิธีแกปญหา ดังนี้ดานการเงินใชการจัดทําประมาณการรายไดและคาใชจาย งบประมาณเงินสด นอกจากนี้ใชเงินทุน

ตนเองในการบริหารโครงการแตละโครงการเปนสําคัญ สัดสวน เงินทุนตนเองรอยละ 90 กูยืมจากสถาบันการเงินรอยละ 10

Page 81: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

73

ดานบุคลากรมีการปรับโครงสรางองคการใหเหมาะสมอยูตลอดเวลา และรักษาบุคลากรไว เสมือนเปน

ครอบครัวเดียวกัน ทุกคนเปน พี่ เปนนอง ทําใหไมเกิดปญหาดานบุคลากรดานทรัพยากร เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณการลงทุนในการซื้อเครื่องมือ ชนิดใหญ ๆ รถเครน ตองใชเงินทุนมาก อีกทั้งเกิดคาเสื่อม

ราคาของเครื่องมือ และ รถเครน ทําใหกิจการใชวิธีการเชา แทนการซื้อ ชวยประหยัดเงินทุน และ คาใชจายดานการบํารุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ

กิจการขนาดกลางดานการเงินใชการจัดทํางบประมาณเงินสด มาควบคุมดานการเงิน นอกจากนี้ใชเงินทุนตนเองในการ

บริหารโครงการแตละโครงการเปนสําคัญ สัดสวน เงินทุนตนเองรอยละ 80 กูยืมจากสถาบันการเงินรอยละ 20

ดานบุคลากรมีการปรับโครงสรางองคการ ไมรับบุคลากรเพิ่ม และไมมีการไลพนักงานออกใชวิธีการ

ใหบุคลากรทํางานใหหลากหลาย เชน ฝายการเงิน สามารถ ทํางานไดทั้งฝายการเงินและพนักงานฝายขายไดในเวลาเดียวกัน

ดานทรัพยากร เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณบริษัทไมลงทุนซื้อเครื่องมือ อุปกรณ รถเครน เพิ่ม ในป 2540 ใชวิธีการเชาจาก

ผูประกอบการภายนอก เพราะการลงทุนในแตละครั้งตองใชเงินจํานวนมาก อีกทั้งจะมีคาใชจายที่เกี่ยวกับคาบํารุงรักษา คาน้ํามัน คาคนขับ ซึ่งกิจการไดสินทรัพยเปนของตนเอง แตเมื่อคํานวนจุดคุมทุน ตองใชระยะสักระยะ จนกวาจะคุมทุนในการซื้อเครื่องมือ อุปกรณ ชิ้นใหญ และรถเครน

กิจการขนาดใหญในวิกฤติป 2540 กิจการขนาดใหญ มีวิธีการจัดการและวิธีแกปญหา ดังนี้ดานการเงินใชการจัดทํางบประมาณเงินสด นอกจากนี้ใชเงินทุนตนเองในการบริหารโครงการแตละ

โครงการเปนสําคัญ สัดสวน เงินทุนตนเองรอยละ 70 กูยืมจากสถาบันการเงินรอยละ 30

Page 82: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

74

ดานบุคลากรกิจการขนาดใหญมีบุคลากรมาก กิจการตองมีการกําหนดความตองการขององคการ และ

ความจําเปน เมื่อไดขอมูลแลว กิจการจะมีการปรับโครงสรางองคการใหเหมาะสมอยูตลอดเวลา และรักษาบุคลากรไว ไดแกบุคลากรดานที่มีฝมือ และ ทักษะ เพราะไมตองรับสมัครบุคลากรใหมจะทําใหเกิดตนทุน ในการสรรหา การคัดเลือก การอบรม ตามมา การรักษาบุคลิกที่มีความชํานาญเหลานี้จะชวยลดคาใชจายได

ดานทรัพยากร เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณเปนที่ทราบกันดีวา การลงทุนในภาวะวิกฤติป 2540 นั้นยาก จะเห็นวากิจการกอสรางใน

ขณะนั้นไมลงทุนซื้อเครืองมือ ชนิดใหญ ๆ รวมทั้งรถเครน เพราะ ทุกกิจการตองรักษาเสถียรภาพดานการเงิน และสภาพคลองใหมากที่สุด การเชาจากสถานประกอบการภายนอกสามารถทําใหกิจการมีสภาพการเงินที่ดี และ สามารถดําเนินงานผานในชวงวิกฤติ ป 2540 มาได

สรุป การจัดการแกปญหาในกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ ในภาวะวิกฤติป 2540 คือ ดานการเงิน กิจการขนาดเล็กใชการจัดทํางบประมาณรายไดและคาใชจาย กิจการขนาดกลางและขนาดใหญจัดทํางบประมาณเงินสด และการลงทุนนั้นใชเงินทุนตนเอง ไมกูจากสถาบันการเงินเพราะจะทําใหเกิดดอกเบี้ย และการชําระหนี้ ดานบุคลากร ทุกกิจการมีการปรับโครงสรางองคการแบบยืดหยุน ดานทรัพยากร เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ ใชเชาจากภายนอก เพราะทําใหเกิดคาใชจายนอยกวา

ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางของธุรกิจ แนวทางการจัดการในอนาคต และ ความคิดเห็นอื่น ๆ เกี่ยวกับธุรกิจรับเหมากอสราง

ทิศทางของธุรกิจ แนวทางการจัดการในอนาคต เกี่ยวกับธุรกิจรับเหมากอสรางจําเปนอยางยื่งที่กิจการขนาดตาง ๆ ตองเอาใจใสในรายละเอียดของงาน จะทําใหสามารถเติบโตได ไมวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงและสงผลกระทบดานบวก และ ดานลบ เจาของธุรกิจจะตองมีศักยภาพในดานการประกอบธุรกิจที่หลากหลาย พรอมกันนี้ตองมีการจัดการเชิงกลยุทธ ดังนี้

กิจการขนาดเล็ก1. มีความซื่อสัตยตอลูกคาทั้งดานคําพูด และ การกระทํา 2. มีการสรางสรรคผลงานที่ดีมีคุณภาพใหลูกคา3. มีประสบการณดานธุรกิจ การมีประสบการณจะทําใหมีขอมูลในการนํามาวางแผนและ

Page 83: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

75

บริหารงานใหมีประสิทธิภาพ เจาของธุรกิจจะทราบวาสิ่งใดควรละเวน สิ่งใดควรทําจึงจะทําให การดําเนินงานบรรลุผลตามวัตถุประสงค

4. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตอสังคม 5. มีความตื่นตัวและติดตามความเคลื่อนไหวของวงการอุตสาหกรรมกอสราง6. มีระเบียบวินัยใสใจในงานทํางานและรักษากําหนดเวลาการทํางานที่ชัดเจน7. การนําเทคโนโลยีมาประยุตใชในหนวยงาน8.ใชระบบควบคุมคุณภาพ9. มีวิสัยทัศนในการประกอบธุรกิจ

กิจการขาดกลาง1. การดูแลงานดวยตนเอง 2. ผูบริหารตองมีความรูในงานกอสราง3.ใสใจในลายละเอียดทุกโครงการ กิจกรรม4. ตองมีความซื่อสัตยตอลูกคา คนงาน และ ซัพพลายเออร5. การเลือกเชาอุปกรณในการกอสราง จะชวยลดตนทุนในการประกอบธุรกิจได6.เปนผูบริหารที่เนนกลยุทธใหเหมาะกับระบบการจัดการ7.รักษาเวลาการดําเนินโครงการกอสรางชัดเจนและเที่ยงตรง

กิจการขนาดใหญ1. มีความซื่อสัตยตอลูกคา ลูกคาเปนเสมือนผูมีพระคุณตองมีความกตัญูตอลูกคา ซื่อตรง

เปนธรรม2. มีประสบการณ มีทักษะ ในดานการประกอบธุรกิจ3. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ4. การนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชในงาน การบริหารองคการ การบริหารคน5. ใชระบบคุณภาพในการควบคุมงาน6. ตองมีวิสัยทัศน ในการประกอบธุรกิจ7. ระบบการเสนอแนะ เนนใหพนักงานทุกคนทั้งระดับบน ระดับลาง ชวยกินคิด กัน

นําเสนอที่องคการสามารถนําไปใชและเกิดประโยชนมากที่สุด8. การทํา Benchmark บริษัทขนาดใหญควรทําเพื่อเปนการเปรียบเทียบธุรกิจประเภท

เดียวกัน เพื่อจะไดนําขอมูลมาวางแผนการดําเนินงาน

Page 84: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

76

สรุป ความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางธุรกิจ แนวทางการจัดการในอนาคต นั้น ในกิจการขนาดเล็ก และ ขนาดใหญ มีแนวทางที่สําคัญที่เหมือนกัน สามารถนําไปใชประโยชนตอการจัดการในอนาคต ดังนี้ มีความซื่อสัตยตอลูกคาทั้งดานคําพูด และ การกระทํามีการสรางสรรคผลงานที่ดีมีคุณภาพใหลูกคามีประสบการณดานธุรกิจการบริหารงานใหมีประสิทธิภาพมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบสังคมการนําเทคโนโลยีมาใชในการปฏิบัติงานใชระบบคุณภาพ มีวิสัยทัศนในการประกอบธุรกิจ ในกิจการขนาดเล็กและขนาดกลางใหความเห็นที่เหมือนกัน ดานความมีระเบียบวินัยใสใจในงานที่ทําและรักษากําหนดเวลาในการทํางาน ในทุกความเห็นสามารถเปนแนวทางในการจัดการในอนาคตในการประกอบธุรกิจกอสราง

Page 85: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

77

บทที่ 4บทสรุปและขอเสนอแนะ

ในบทนี้จะมุงที่จะนําผลการวิจัยที่คนพบและไดนําเสนอบทที่ 3 มาวิเคราะหและอธิบายถึงแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ โดยนําผลมาวิเคราะห สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัยและขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไปโดยแบงออกเปน 4 สวนดังนี้

4.1 สรุปผลการวิจัย

4.1.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปจากการวิเคราะหขอมูลทั่วไป พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีลักษะธุรกิจใน

รูปแบบบริษัทจํากัด รอยละ 67.67 รองลงมาไดหางหุนสวนจํากัด รอยละ 33.33 ระยะเวลาดําเนินงานมากกวา 21 ปและ 15-20 ป เทากันคิดเปนรอยละ 50 เงินทุนเริ่มแรก 1-5 ลานบาทรอยละ 83.33 เงินทุนปจจุบันมากวา 10 ลานบาท รอยละ 66.67 แหลงเงินทุนจากเงินทุนสวนเจาของกิจการเปนสวนใหญรอยละ 100 ประเภทงานกอสรางคือโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญมากที่สุดรอยละ 50 ผูวาจางสวนใหญเปนหนวยงานรัฐรอยละ66.67 การติดตอและ ประมูลงานโดยตรงกับผูวาจางมากที่สุดรอยละ 100 พนักงานเมื่อเริ่มกอตั้งทั้ง 3 ธุรกิจคือ 20-50 คน รอยละ 50.00 และ พนักงานในปจจุบันมีมากที่สุดคือ 20-50 คน และมากกวา 100 คนเทากันคิดเปนรอยละ 33.33

4.1.2 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ จากการศึกษาถึงแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ พบวา

1. ดานการวางแผน บริษัทขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญใหความสําคัญกับการวางแผนเปน

อันดับแรก ลักษณะการวางแผนจะกําหนดในระยะสั้น และ ระยะกลางไมเกิน 3-6 เดือน การกําหนดแผนระยะสั้นตองสอดคลองกับแผนระยะยาวของบริษัท ผูมีหนาที่วางแผน คือ ผูบริหารระดับตน ระดับกลาง ระดับสูง รวมทั้งพนักงานในองคการ มีสวนชวยในการวางแผน การวางแผนตองอาศัยปจจัยทั้งภายใน และ ภายนอกมาประกอบดวย

2. ดานการจัดองคการ การจัดองคการ ในแตธุรกิจทั้ง 3 ขนาด มีรูปแบบการจัดองคการที่เปนทางการมี

โครงสรางแนนอน ทําใหมองเห็นถึงสายบังคับบัญชาระหวางผูบังคับบัญชา และผูใตบังคับบัญชา มี

Page 86: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

78

การมอบหมายหนาที่แบบกระจายอํานาจ อยางเปนระบบ นอกจากนี้ ยังมีระบบควบคุมการกระจายอํานาจ ผานการรายงานผลการปฏิบัติงาน

3. ดานการจัดกําลังคน การจัดกําลังคนขององคการธุรกิจกอสราง จัดตามความเหมาะสมของโครงการ

แตละโครงการ มีการสํารวจความตองการกําลังคนกอนการจัดสรรทรัพยากร มีการสรรหา คัดเลือก อบรม ประเมินผลงานของบุคลากร อยางเปนระบบ มีมาตรฐานชัดเจน ในสวนของการประเมินการปฏิบัติงานนั้น ธุรกิจขนาดใหญจะมีการประเมินผล ปละ 2 ครั้ง แตกตางจากกิจการขนาดเล็กที่มีการประเมินผลครั้งเดียว

4. ดานการสั่งการ การสั่งการ มีรูปแบบที่เปนลายลักษณอักษร และ ดวยวาจา การติดตอสื่อสาร

และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งขาวสารขอมูลสวนใหญมีการติดตอในลักษณะประชุมกันในตอนเชา เพื่อระดมสมอง มีการรายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อทราบความกาวหนาของงาน และรวมกันพัฒนาปรับปรุงแกไขในระหวางการประชุม ปจจุบันมีการนําเทคโนโลยีมาใชในองคการ ประกอบดวยระบบอินเตอรเน็ต และ ระบบ LAN มาใชภายในองคการ ทําใหการติดตอสื่อสาร และ การสั่งการ เกิดความสะดวกมากขึ้น

5. ดานการควบคุม ธุรกิจกอสรางมีการควบคุม 3ดาน ประกอบดวย การควบคุมในสวนของเงิน

งบประมาณในการกอสรางแตละโครงการ กิจการขนาดเล็กใชการจัดทํางบประมาณรายไดและ คาใชจาย สวนกิจการขนาดกลาง และขนาดใหญ ใชการจัดทํางบประมาณเงินสด การควบคุมดานการปฏิบัติการ ใชหลักการควบคุมการทํางานของแตละแผนก ผานการรายงานผลที่ชัดเจน การควบคุมดานทรัพยากรมนุษย เปนการควบคุมตั้งแตกระบวนการสรรหา คัดเลือก อบรม และการประเมินผลงาน และ การควบคุมคุณภาพของงาน ใชหลัก 5ส. ไดแก สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และ สรางนิสัย กิจการขนาดใหญจะมีการควบคุมดานการตลาด คือการควบคุมในลักษณะการติดตอประสานงาน การประมูลงาน กับลูกคา ตามระยะเวลาที่กําหนดอีกดวย

6. ดาน Balance Scorecard เปนมุมมองการประกอบธุรกิจ ใน 4 ดานดวยกัน ประกอบดวย ดานการเงิน ลูกคา

การเจริญเติบโต และ การประกอบธุรกิจ ดานการเงิน ใชเงินทุนของกิจการมากกวาการกูยืมจากสถาบันการเงิน ดานลูกคา ติดตอลูกคาดวยตนเอง ดานการเจริญเติบโต รอยละ 5-10 ตอป ดานการประกอบธุรกิจ กิจการขนาดเล็กควรดําเนินงานครั้งละ 1 โครงการ เพื่อความมั่นคง และปลอดภัย

Page 87: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

79

ของการประกอบธุรกิจ กิจการขนาดกลาง และขนาดใหญสามารถรับงานไดมากกวา 1 โครงการ กรณี รับงานโครงการยอย ๆ คํานึงถึงความพรอมดานการเงิน บุคลากร และทรัพยากรเปนสําคัญ

4.1.3 ปญหาอุปสรรคในการจัดการและวิธีแกไขปญหา4.1.3.1 ผลกระทบวิกฤติป 2540ธุรกิจกอสรางทั้ง 6 แหง ประกอบดวยกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญที่

เปนกลุมตัวอยาง ไมไดรับผลกระทบจากวิกฤติในป 2540 อันเนื่องมาจาก กิจการแตละแหง รับงานกับหนวยงานที่เชื่อถือได และมีความพรอมดานการเงิน ไดแกหนวยงานของรัฐ นอกจากนี้ยังมีการปรับโครงสรางองคการใหมีความยืดหยุนตลอดเวลา การรับงานในแตละครั้งคํานึงถึงความพรอมดานเงินทุน บุคลากร และทรัพยากรขององคการ พรอมทั้งมีการวางแผนระยะสั้น และ ระยะยาวสอดคลองกันทําใหผานพนวิกฤติป 2540

4.1.3.2 การจัดการและวิธีแกปญหาในวิกฤติป 2540การจัดการและวิธีแกปญหา ประกอบดวย 3 ดาน คือ ดานการเงิน บุคลากร และ

ทรัพยากร ไดแก เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ ดังนี้ ดานการเงิน มีการจัดทํางบประมาณกอนการทําโครงการแตละโครงการเพื่อควบคุมดานการเงิน ดานบุคลากร มีการปรับโครงสรางองคการใหเหมาะสม ยืดหยุนได ดานทรัพยากร ไมลงทุนซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ ใชวิธีการเชาแทน เพราะการลงทุนซื้อ จะทําใหเกิดคาใชจายดานคาบํารุงรักษา ทําใหตนทุนสูง

4.1.4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางธุรกิจกอสราง แนวทางการจัดการในอนาคต และความคิดเห็นอื่นๆ เก่ียวกับธุรกิจกอสราง กิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ เห็นวา ความซื่อสัตย ตอลูกคา นั้นสําคัญมาก ตองใสใจในทุกกิจกรรม ไมวา จะเปนกิจกรรมขนาดใหญ หรือ ขนาดเล็ก นอกจากนี้ผูประกอบธุรกิจตองมีความรูดานงานกอสราง มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ การนําเทคโนโลยีมาประยุกตใช พรอมกับการนําระบบคุณภาพมาใช เพื่อใหกาวทันตอการเปลี่ยนแปลงผูบริหารตองมีวิสัยทัศนในการประกอบธุรกิจ สําหรับกิจการขนาดใหญมีการจัดทํา Benchmark เปรียบเทียบธุรกิจ เพื่อนําขอมูลมาวางแผนการดําเนินงาน

4.2 การอภิปรายผล

จากการวิจัยเรื่องการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ปจจัยดานการวางแผน พบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องของการวางแผนเปน

อันดับแรก ในสวนของการวางแผน เปนรูปแบบระยะสั้น ระยะกลาง มากกวาระยะยาว ผูบริหารทุก

Page 88: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

80

ระดับ และพนักงานมีสวนรวมในการวางแผนซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ พูนศักดิ์ ศรีทอง (2550) ไดศึกษาเรื่อง สภาพทั่วไปของการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางในจังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อเปรียบเทียบกลยุทธของธุรกิจรับเหมากอสรางโดยจําแนกตามขนาดของธุรกิจกอสรางขนาดใหญ ขนาดกลาง และ ขนาดเล็ก พบวา ดานการวางแผน ผูประกอบธุรกิจรับเหมากอสรางมีการวางแผนระยะสั้น และ ระยะกลาง มากวา การวางแผนระยะยาว และ สอดคลองกับงานวิจัยของ ณัฐนารถ สินธุนาวา (2550) ไดศึกษาเรื่อง การจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางถนนในจังหวัดเชียงใหมพบวา การวางแผน สวนใหญมีการวางแผนโดยผูบริหารและพนักงานมีสวนรวมในการกําหนดแผนงาน

ปจจัยดานการจัดองคการ พบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องของการจัดองคการที่มีรูปแบบที่เปนทางการ มีการกําหนดโครงสรางและสายบังคับบัญชาแนวดิ่งจากบนลงลาง การมอบหมายหนาที่ ชัดเจน มีลักษณะเปนแบบการกระจายอํานาจ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของพูนศักดิ์ ศรีทอง (2550) ไดศึกษาเรื่อง สภาพทั่วไปของการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางในจังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อเปรียบเทียบกลยุทธของธุรกิจรับเหมากอสรางโดยจําแนกตามขนาดของธุรกิจกอสรางขนาดใหญ ขนาดกลาง และ ขนาดเล็ก พบวาการจัดองคการนั้นมีระดับชั้นในการบริหารจากบนลงลาง และสอดคลองกับงานวิจัยของ ณัฐนารถ สินธุนาวา (2550) ไดศึกษาเรื่อง การจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางถนนในจังหวัดเชียงใหมพบวา ดานการจัดองคการและการจัดการ ธุรกิจมีการจัดแบงแผนกที่ชัดเจน มีการมอบหมายงาน และ มีการกําหนดอํานาจ หนาที่ ความรับผิดชอบ เปนแบบกระจายอํานาจ

ปจจัยดานการจัดกําลังคน พบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องการจัดกําลังคน ตองมีการวางแผนความตองการ มีระบบการสรรหา คัดเลือกบุคลากรจากภายในและภายนอกองคการ นอกจากนี้ยังมีการอบรม และการประเมินผล อยางเปนระบบ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของณัฐนารถ สินธุนาวา (2550) ไดศึกษาเรื่อง การจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางถนนในจังหวัดเชียงใหมพบวา การจัดกําลังคน มีการวางแผนความตองการ ผานการสรรหา การคัดเลือก การพัฒนาบุคลากร อยางเปนระบบ และสอดคลองกับงานวิจัยของ ภัทรา อภิชัยรักษ (2550)ไดศึกษาเรื่องการจัดการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม พบวา การจัดคนเขาทํางาน กลุมตัวอยางใหความสําคัญในดานกระบวนการคัดสรรพนักงาน และ ขั้นตอนการทดลองงานไวคอนขางชัดเจน โดยใชการสรรหาจากภายในและภายนอกองคการ

ปจจัยดานการสั่งการ พบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องของการสั่งการดวยการประชุมเพื่อระดมสมอง แกไขปญหางาน พรอมทั้งรายงานผลการปฏิบัติงาน โดยใชการสั่งการดวยวาจา และลายลักษณอักษรสอดคลองกับงานวิจัยของ ภัทรา อภิชัยรักษ (2550)ไดศึกษาเรื่องการจัดการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม พบวาการสั่งการของกลุมตัวอยาง

Page 89: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

81

เปนการสั่งการ ที่เกิดจากการประชุม ประกาศ และสอดคลองกับงานวิจัยของอธิปตย สืบสิรินุกุล (2553) ไดศึกษาเรื่อง การจัดการธุรกิจรับเหมากอสราง:กรณีศึกษาธุรกิจรับเหมากอสรางในเขตพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบวา ธุรกิจรับเหมากอสรางมีการรายงานผลการดําเนินงานกอสรางดวยวาจะ และดวยลายลักษณอักษร สวนใหญมีการรายงานดวยความถี่ทุกสัปดาห

ปจจัยดานการควบคุม พบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องของการควบคุมดานการเงินโดยการจัดทํางบประมาณเงินสด งบประมาณรายไดและคาใชจายและการควบคุมคุณภาพใชหลัก 5 ส ประกอบดวย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสรางนิสัย นอกจากนี้ยังควบคุมการทํางานในรูปแบบการรายงานผลการปฏิบัติงานที่เปนลายลักษณอักษรโดยหัวหนางาน และผูบริหารตรวจสอบงานอีกครั้ง สอดคลองกับงานวิจัยของณัฐนารถ สินธุนาวา (2550) ไดศึกษาเรื่อง การจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางถนนในจังหวัดเชียงใหมพบวา การควบคุมมีกําหนดเปาหมาย มีมาตรฐานงานไว มีการรายงานเปนลายลักษณอักษรและสอดคลองกับงานวิจัยของ พูนศักดิ์ ศรีทอง (2550) ไดศึกษาเรื่อง สภาพทั่วไปของการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางในจังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อเปรียบเทียบกลยุทธของธุรกิจรับเหมากอสรางโดยจําแนกตามขนาดของธุรกิจกอสรางขนาดใหญ ขนาดกลาง และ ขนาดเล็ก พบวาวิธีการควบคุมการทํางาน ผูประกอบการควบคุมการทํางานโดยมีหัวหนาตรวจสอบความกาวหนาของงาน และผูบริหารตรวจสอบอีกครั้ง

ปจจัยดาน Balance Scorecard พบวากลุมตัวอยางใหความสําคัญในเรื่องของการวางแผนในมุมมอง 4 ดาน ดวยกัน ประกอบดวย ดานการเงิน ลูกคา การเจริญเติบโต และ การประกอบธุรกิจ ซึ่งตรงกับ ณัฐพันธ เขจรนันท (2552) กลาววาการพัฒนาองคการนั้น สามารถวัดและประเมินไดจากการมองผานมุมมองของระบบการวัดและประเมินผลใน 4 ดานหลัก คือ ดานการเงิน ดานลูกคา ดานการดําเนินงาน ดานการเรียนรูและการเจริญเติบโต มุมมองทั้ง 4 ดาน ทําใหเกิดความสมดุลในการพัฒนาองคการ จนบรรลุผลกลยุทธที่ไดวางไวในที่สุด

4.3 ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย

4.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการวิจัยจากผลการวิจัย เรื่ อง การจัดการธุรกิจรับเหมากอสร างในภาวะวิกฤติ ผู วิจัยได

ขอเสนอแนะดังนี้4.3.1.1 ดานการวางแผนธุรกิจกอสรางขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ ควรใหความสําคัญกับการ

วางแผนในระยะสั้น ระยะกลาง ไมเกิน 3-6 เดือน ทุกภาคสวนในองคการประกอบดวย ผูบริหาร

Page 90: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

82

และ พนักงาน ควรมีสวนรวมในการวางแผน การกําหนดแผนตองใชปจจัยภายในไดแก ความพรอมดานการเงิน ความสามารถในการประกอบธุรกิจ สภาวะเศรษฐกิจ และ ความพรอมดานพนักงาน สวนปจจัยภายนอก ไดแก ปริมาณงานกอสรางในตลาด สภาวะเศรษฐกิจ นโยบายดานกอสราง ขอมูลดานอื่น ๆ ประกอบดวย วงเงินงบประมาณคากอสรางในแตละโครงการ เปนขอมูลประกอบการวางแผน

4.3.1.2 ดานการจัดองคการการจัดองคการ ไมวาจะเปนกิจการขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ ควรให

ความสําคัญดานการจัดองคการรูปแบบทางการ มีการกําหนดโครงสรางแนนอน สายบังคับบัญชาควรจัดแนวดิ่งจากบนลงลาง การมอบหมายหนาที่ และความรับผิดชอบ ลักษณะการกระจายอํานาจ

4.3.1.3 ดานการจัดกําลังคนผูประกอบการธุรกิจกอสรางควรใหความสําคัญกับการจัดกําลังคนตามความ

เหมาะสมของโครงการ และ งบประมาณคากอสรางในแตละโครงการ มีการกําหนดความตองการกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก ทั้งจากภายในและภายนอกองคการ รวมทั้งมีการอบรม การประเมินผล อยางเปนระบบ

4.3.1.4 ดานการสั่งการผูประกอบการธุรกิจกอสราง ควรมีการสั่งการใน 2 ลักษณะ ประกอบดวย ลาย

ลักษณอักษร และ วาจา พรอมทั้งมีการจูงใจพนักงานในรูปแบบคาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ไดแก การขึ้นเงินเดือน การใหโบนัส และสวนที่ไมเปนตัวเงินไดแก การจัดทัศนศึกษาดูงาน กิจการขนาดเล็ก และ ขนาดกลางเปนการจัดทัศนศึกษาดูงานภายในประเทศ สวนกิจการขนาดใหญมีการจัดภายนอกประเทศดวย แตทั้งนี้ ควรมีการคัดเลือกพนักงาน และประกาศเปนนโยบายที่ชัดเจนดวย

4.3.1.5 ดานการควบคุมธุรกิจควรใหความสําคัญดานการควบคุมดังนี้ ดานการเงิน กิจการขนาดเล็กควร

จัดทํางบประมาณรายไดและคาใชจาย สวนกิจการขนาดใหญควรจัดทํางบประมาณเงินสด ดานบุคลากร ควรมีการควบคุมตั้งแตกระบวนการ สรรหา คัดเลือก อบรม และประเมินผลที่ชัดเจน การควบคุมดานทรัพยากร มีการควบคุมดาน เครื่องมือ เครื่องจักร และ อุปกรณ โดยเลือกการเชา แทนการซื้อเพราะมีคาใชจายนอยกวา สวนการควบคุมคุณภาพงาน ควรมีระบบควบคุมคุณภาพ

4.3.4.6 ดาน Balance Scorecard ธุรกิจกอสรางทั้ง 3 ขนาด ควรใหความสําคัญในมุมมอง 4 ดาน คือ ดานการเงิน

ลูกคา การเจริญเติบโต และ การดําเนินธุรกิจ และ ควรใหความสําคัญเทา ๆ กัน ดังนี้ ดานการเงินควรใชเงินทุนตนเองบริหารงาน โดยใชสัดสวนสูงกวาการกูยืมจากสถาบันการเงิน ดานลูกคาเลือก

Page 91: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

83

รับงานจากหนวยงานของรัฐ กรณีรับงานจากหนวยงานเอกชน ตองดูสภาพคลองของเงินทุนดวย ดานการเจริญเติบโตไมเกินรอยละ 5-10 ตอป ดานการดําเนินธุรกิจใหรับงานที่ละโครงการ กรณีรับงานโครงการยอย ตองคํานึงถึงความพรอมดานการเงิน บุคลากร และ ทรัพยากร ประกอบ

4.4 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป4.4.1 ในการศึกษาวิจัยครั้งตอไปควรมีการศึกษาถึงธุรกิจกอสรางโดยใชกลุมตัวอยางมาก

กวาเดิม และนําขอมูลมามาเปรียบเทียบ เพื่อผลของการวิจัยทําใหไดขอมูลเชิงลึกมากขึ้น4.4.2 ควรทําการเปรียบเทียบธุรกิจกอสรางในภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศไทย และนําขอมูล

มาเปรียบเทียบ เพื่อผลของการวิจัยทําใหไดขอมูลเชิงลึกมากขึ้น

Page 92: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

84

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือณัฏฐพันธ เขจรนันท. 2552. การจัดการเชิงกลยุทธ .กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพซีเอ็ดยูเคชั่นจํากัด

(มหาชน)บริพัตร เชาวชตา.2545. ผลกระทบของกฎหมายดานความปลอดภัยในธุรกิจรับเหมากอสราง.

กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยรามคําแหงประกอบ บํารุงผล.2541. การบริหารและควบคุมงานกอสราง.กรุงเทพมหานคร:ศูนยสงเสริมวิชาการพนม ภัยหนาย .2539. การบริหารงานกอสราง.กรุงเทพมหานคร:สมาคมสงเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุนวิไลลักษณ รัตนเพียรธัมมะ. 2555. การจัดการเชิงกลยุทธและพฤติกรรมองคการ.กรุงเทพมหานคร:

มหาวิทยาลัยเกริกวีระ บูรณากาญจน.2541.การปฏิบัติงานสนามเรื่องการควบคุมการกอสรางอาคาร.กรุงเทพมหานคร:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยวีรัช วิรัชนิภาวรรณ.2548.การบริหารจัดการและการบริหารยุทธศาสตรของหนวยงานของ.กรุงเทพมหานคร :

โฟรเพซเสนาะ ติ เยาว .2544. หลักการบริ หาร.กรุ งเทพมหานคร :คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เอกสารอื่นๆณัฐนารถ สินธุนาวา.2550.การจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางถนนในจังหวัดเชียงใหม หลักสูตร

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม”.พูนศักดิ์ ศรีทอง.2550.สภาพทั่วไปของการจัดการธุรกิจรับเหมากอสรางในจังหวัดอุบลราชธานี และ

เพื่อเปรียบเทียบกลยุทธของธุรกิจรับเหมากอสราง หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยอุบลราชธาน”ี.

ภูมิรพีม สุภาษา.2552. “ปจจัยที่มีผลกระทบตอความอยูรอดของผูรับเหมากอสรางในจังหวัดเชียงใหม หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม”.

ภัทรา อภิชัยรักษ.2550. ศึกษาการจัดการธุรกิจโรงแรมขนาดเล็กในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมเชียงใหม หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม”.

มณัฐณา พานิชชีวลักษณ.2546. อุตสาหกรรมกอสรางหลังวิกฤติเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง”.

Page 93: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

85

ศิริศักดิ์ ปานบํารุง.2545.รูปแบบการจัดการองคการธุรกิจกอสรางในสภาวะเศรษฐกิจถดถอย บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช”.

สมเกียรติ แสนทวีสุข.2550. การสํารวจความคิดเห็นตอปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของธุรกิจรับเหมากอสรางของผูประกอบการธุรกิจรับเหมากอสรางในจังหวัดเชียงใหม หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม”.

สัมพันธ โยธกุลศิริ.2550. ปจจัยที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจรับเหมากอสรางของผูรับเหมาในจังหวัดเชียงใหม การคนควาแบบอิสระวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม”.

อธิปตย สืบศิรินุกุล.2553.การจัดการธุรกิจรับเหมากอสราง:กรณีศึกษาธุรกิจรับเหมากอสรางในเขตพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี หลักสูตรสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธาน”ี.

Onlinesiamhr.com. 2547.การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป (General principles of management) ตาม ทฤษฎีการจัดการของ Henri Fayol .[Online]./Available:Book

David Todd Kearns.Prophets in the Dark: How Xerox Reinvented Itself and Beat Back the Japanese . Publisher: Harpercollins; 1st edition (June 1992)

Kaplan and Norton .Balanced Scorecard.Havard Business School Publishing.6th.2003.Robbins,Stephen P. and Timothy A. Judge.Organizational Behavior.12 th ed.New Jersey : Pearson Education,2007.Steven Lattimore Mcshane, Steven Mcshane,Mary Ann Von Glinow. Organizational Behavior.New York:McGraw-Hill Companies,Inc.2004.

Page 94: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

86

ภาคผนวก

Page 95: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

87

ภาคผนวก ก.แบบสัมภาษณโครงการวิจัย

เรื่อง แนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ

แบบสัมภาษณนี้จัดทําขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวทางการจัดการธุรกิจกอสรางในภาวะวิกฤติ ขอมูลที่ไดดังกลาวจะใชประโยชนตอการศึกษาและใชเปนแนวทางสําหรับผูที่สนใจเทานั้น

.......................................................................ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจกอสราง

(1) ประเภทรูปแบบกิจการของธุรกิจกอสราง(2) ระยะเวลาในการดําเนินงาน(3) เงินลงทุนเริ่มแรก เมื่อเปดดําเนินกิจการ(4) เงินทุนปจจุบันของกิจการ(5) แหลงเงินทุนที่ใชในกิจการของทาน(6) ประเภทงานกอสรางเปนแบบใด(7) ผูวาจางงานกอสรางสวนใหญมีลักษณะอยางไร/แบบใด(8) วิธีการรับงานของธุรกิจกอสราง(9) จํานวนพนักงานในองคการเมื่อเริ่มเปดดําเนินการ มีจํานวนเทาไหร และปจจุบันมีเทาไร(10) จํานวนพนักงานในองคการในปจจุบันมีการเขาออกประมาณกี่เปอรเซ็นต(11) สัดสวนบุคลากรในองคการเปนอยางไร

ผูบริหารระดับสูงคิดเปนรอยละ.......................ผูบริหารระดับกลางคิดเปนรอยละ....................ผูบริหารระดับตนคิดเปนรอยละ......................พนักงานคิดเปนรอยละ....................................ชางฝมือคิดเปนรอยละ.....................................กรรมกรคิดเปนรอยละ....................................

Page 96: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

88

ตอนที่ 2 การจัดการธุรกิจกอสราง

ดานการวางแผน(10) ธุรกิจมีการวางแผนงานแบบใด (ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว )(11) ผูที่มีหนาที่กําหนดแผนงานในธุรกิจของทานคือใคร(12) ธุรกิจมีการทบทวน ปรับปรุงแผนงานบางหรือไม(13) ธุรกิจใชปจจัยภายในดานใดในการกําหนดแผนงาน( ความพรอมดานการเงิน

ความสามารถในการ ดําเนินงานกอสราง ความพรอมดานพนักงาน ) ในการกําหนดแผนงาน(14) ธุรกิจใชปจจัยภายนอกดานใดในการกําหนดแผนงาน(ปริมาณงานกอสรางในตลาด

งานกอสราง คูแขงขัน สภาวะเศรษฐกิจ นโยบายของรัฐดานกอสราง กฎหมายที่เกี่ยวของ ภัยธรรมชาติ ) ในการกําหนดแผนงาน

(15) ธุรกิจมีการใชขอมูลใดในการวางแผนพิจารณารับงานกอสราง

ดานการจัดองคการ(16) ธุรกิจมีการจัดกิจการเปนแผนกที่แบงขอบเขตการทํางานอยางไร(17) ธุรกิจมีการจัดแบงกิจการเปนแผนกโดยใชหลักการใด(18) ธุรกิจมีการจัดทําเอกสารคําบรรยายลักษณะงาน ซึ่งเปนสิ่งกําหนดหนาที่งาน (Job

Description) และแจงใหพนักงานรับทราบเพื่อปฏิบัติอยางไร(19) ธุรกิจมีการกําหนดอํานาจหนาที่ ความรับผิดชอบ โดยใชหลักการใด(20) ธุรกิจมีวิธีการมอบหมายงานอยางไร

ดานการจัดกําลังคน(21) ธุรกิจของทาน จะเริ่มกระบวนการจัดการกําลังคนเมื่อใด(22) ธุรกิจของทานสรรหา/คัดเลือกบุคคลเขาทํางานโดยวิธีใด(23) ธุรกิจของทานมีการพัฒนาความรูความสามารถในการทํางานของพนักงานอยางไร(24) ธุรกิจของทานมีวิธีประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใชหลักเกณฑใด(25) ธุรกิจของทานนําผลการประเมินผลการปฏิบัติงานไปใชประโยชนอยางไร

Page 97: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

89

ดานการสั่งการ(29) ธุรกิจของทานใชวิธีการสั่งการใหดําเนินงานอยางใดอยางหนึ่งโดยวิธีใด(30) ธุรกิจของทานมีวิธีจูงใจพนักงานอยางไร(31) ทานคิดวาในการจัดการธุรกิจของทานใชภาวะผูนําแบบใด(32) ธุรกิจของทานมีการติดตอสื่อสาร แลกเปลี่ยนความคิด หรือขาวสารขอมูลโดยสวน

ใหญแบบใด(33) ในธุรกิจของทานมีการนําระบบสารสนเทศมาใชในการสั่งการหรือไม

ดานการควบคุม(34) ธุรกิจของทานมีการควบคุมงาน อยางไร(35) ธุรกิจของทานมีการรายงานผลการดําเนินงานกอสรางอยางไร(36) ธุรกิจของทานใหความสําคัญของสิ่งที่เปนเครื่องมือวัดผลการดําเนินการใดบาง(37) ธุรกิจของทานใชหลักการควบคุมตนทุนวิธีใด(38) ธุรกิจของทานมีการควบคุมงานโดยมีการตั้งมาตรฐานไวหรือไม

ดานBalanced Scorecard(39) ธุรกิจมีการวางแผนดานการเงินอยางไร(40) ธุรกิจมีการวางแผนดานลูกคาอยางไร(41) ธุรกิจมีการวางแผนการเจริญเติบโตอยางไร(42) ธุรกิจมีการวางแผนดานการประกอบธุรกิจอยางไร

Page 98: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

90

ตอนที่ 3 ปญหา อุปสรรคในการจัดการและวิธีแกไขปญหา

3.1 ผลกระทบวิกฤตในป 2540 ที่ทานเห็นวารุนแรงตอธุรกิจทานมีอะไรบาง (ดานการเงิน ดานบุคคล ดานทรัพยากรอื่น ๆ ) 3.2 การจัดการและวิธีแกปญหา

3.2.1ดานการเงิน บริหารรายรับ รายจาย บริหารหนี้สิน บริหารเงินสดอยางไร3.2.2ดานบุคคล การจัดการคนเขาออก การชดเชย การแบงงานกันทํา3.2.3ดานทรัพยากร เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ

ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางของธุรกิจ แนวทางการจัดการในอนาคต และความคิดเห็นอื่นๆเกี่ยวกับธุรกิจกอสราง ……………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 99: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

91

ภาคผนวก ข.ประวัติบริษัท

กิจการขนาดเล็ก 1. หางหุนสวนจํากัด บุญศิริสํารวจและกอสราง

ขอมูลทั่วไปประกอบธุรกิจรับเหมากอสราง เปดดําเนินการตั้งแต ป พ. ศ. 2535 ในรูปหางหุนสวน

จํากัด รวมระยะเวลาในการประกอบธุรกิจ 21 ป โดยมีเงินทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท ปจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 10 ลานบาทตอป สําหรับเงินทุนที่ใชในกิจการเปนเงินทุนในสวนของเจาของกิจการทั้งสิ้น จํานวนพนักงานในองคการเริ่มแรกประมาณ 15 คน ปจจุบันพนักงานมีจํานวน 20 คน

ประเภทงานกอสราง ไดแก งานโยธา ถนนคอนกรีต และงานทอระบายน้ํามีลักษณะรับเหมาในชวงระยะสั้นโครงการประมาณ 3-6 เดือน ประมาณ ความยาว 300-800 เมตร ผูวาจางงาน หนวยงานราชการเปนสวนใหญ ไดแก สํานักงานเทศบาลศรีราชา สํานักงานเทศบาลนครแหลมฉบัง และงานเอกชนบางสวน

การรับงานใชวิธีติดตอดวยตนเอง การประมูลงาน และ การแนะนําจากลูกคา สัดสวนบุคลากรในองคการ มีลักษณะดังนี้

ผูบริหารระดับสูง คิดเปนรอยละ 2.00ผูบริหารระดับกลาง คิดเปนรอยละ 2.00ผูบริหารระดับตน คิดเปนรอยละ 2.00พนักงาน คิดเปนรอยละ 6.00ชางฝมือ คิดเปนรอยละ 8.00กรรมกร คิดเปนรอยละ 80.00

2.หางหุนสวนจํากัด รัตนเฟอรนีเจอรขอมูลทั่วไปประกอบธุรกิจรับเหมากอสราง เปดดําเนินการตั้งแต ป พ. ศ. 2539 ในรูปหางหุนสวน

จํากัด รวมระยะเวลาในการประกอบธุรกิจ 17 ป โดยมีเงินทุนจดทะเบียน 500,000 บาท ปจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 10 ลานบาท สําหรับเงินทุนที่ใชในกิจการเปนเงินทุนในสวนของเจาของกิจการทั้งสิ้น จํานวนพนักงานในองคการเริ่มแรก ประมาณ 10 คน ปจจุบันพนักงานมีจํานวน 30 คน

Page 100: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

92

ประเภทงานกอสราง ไดแก งานกอสรางอาคารที่พักอาศัย การรับงานใชวิธีติดตอดวยตนเอง และ การแนะนําจากลูกคา สัดสวนบุคลากรในองคการ มีลักษณะดังนี้

ผูบริหารระดับสูง คิดเปนรอยละ 2.00ผูบริหารระดับกลาง คิดเปนรอยละ 2.00ผูบริหารระดับตน คิดเปนรอยละ 2.00พนักงาน คิดเปนรอยละ 6.00ชางฝมือ คิดเปนรอยละ 18.00กรรมกร คิดเปนรอยละ 70.00

กิจการขนาดกลาง1. บริษัทซัคเซสแลนด 50 จํากัด

ขอมูลทั่วไปประกอบธุรกิจรับเหมากอสราง เปดดําเนินการตั้งแต ป พ. ศ. 2538 ในรูปบริษัท จํากัด

รวมระยะเวลาในการประกอบธุรกิจ 18 ป โดยมีเงินทุนจดทะเบียน 5,000,000 บาท ปจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 50-70 ลานบาทตอป สําหรับเงินทุนที่ใชในกิจการเปนเงินทุนในสวนของเจาของกิจการ และกูยืมจากสถาบันการเงินบางสวน จํานวนพนักงานในองคการเริ่มแรก ประมาณ 20 คน ปจจุบันพนักงานมีจํานวน 60 คน

โครงสรางพนักงานมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจเปนสําคัญ ในปจจุบันองคการมีจํานวนพนักงานเขาออกประมาณรอยละ 30 ไดแกคนงานประเภทกรรมกรซึ่งเปนปญหาสําคัญของงานธุรกิจรับเหมากอสรางที่ยังตองแกไขอยางตอเนื่อง

ประเภทงานกอสรางขององคการ ไดแก งานกอสรางอาคาร โรงงาน อพารทเมนท คอนโดมิเนียม บานจัดสรร

การรับงานใชวิธีติดตอดวยตนเอง การประมูลงาน และ การแนะนําจากลูกคาสัดสวนบุคลากรในองคการ มีลักษณะดังนี้

ผูบริหารระดับสูง คิดเปนรอยละ 3.00ผูบริหารระดับกลาง คิดเปนรอยละ 8.00ผูบริหารระดับตน คิดเปนรอยละ 5.00พนักงาน คิดเปนรอยละ 12.00ชางฝมือ คิดเปนรอยละ 2.00กรรมกร คิดเปนรอยละ 70.00

Page 101: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

93

2. บริษัทสิทธิเกรียงไกร จํากัด ขอมูลทั่วไปประกอบธุรกิจรับเหมากอสราง เปดดําเนินการตั้งแต ป พ. ศ. 2535 ในรูปบริษัท จํากัด รวม

ระยะเวลาในการประกอบธุรกิจ 21 ป โดยมีเงินทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท ปจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 90 ลานบาทตอป สําหรับเงินทุนที่ใชในกิจการเปนเงินทุนในสวนของเจาของกิจการทั้งสิ้น จํานวนพนักงานในองคการเริ่มแรก ประมาณ 200 คน ปจจุบันในองคการมีการปรับโครงสรางองคกรใหเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ ทําใหมีพนักงานคงเหลือประมาณ 60 คน จากการปรับโครงสรางนี้เองทําใหบริษัทสามารถดําเนินธุรกิจอยูได แมวาธุรกิจจะมีการแขงขันกันรุนแรงเพียงใดก็ตาม

ประเภทงานกอสราง ไดแก การกอสรางโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ ผูวาจางสวนใหญ คือชาวไตหวัน วิธีการรับงานในแตละครั้ง เจาของติดตอเอง ซึ่งการติดตอลูกคาจะผานสมาคมไตหวันแหงประเทศไทย การไดรับงานสวนมากเปนลักษณะลูกคาพูดปากตอปาก ถึงประสิทธิภาพของบริษัทในดานการกอสราง ความรับผิดชอบ ทําใหมีงานตอเน่ืองตลอดป

สัดสวนบุคลากรในองคการ มีลักษณะดังนี้ผูบริหารระดับสูง คิดเปนรอยละ 8.00ผูบริหารระดับกลาง คิดเปนรอยละ 15.00ผูบริหารระดับตน คิดเปนรอยละ 20.00พนักงาน คิดเปนรอยละ 20.00ชางฝมือ คิดเปนรอยละ 10.00กรรมกร คิดเปนรอยละ 27.00

กิจการขนาดใหญ1. บริษัท ยูนิตี้กรุป จํากัด

ขอมูลทั่วไปประกอบธุรกิจรับเหมากอสราง เปดดําเนินการตั้งแต ป พ. ศ. 2538 ในรูปบริษัท จํากัด

รวมระยะเวลาในการประกอบธุรกิจ 18 ป โดยมีเงินทุนจดทะเบียน 2 ,000,000 บาท ปจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 100 ลานบาทตอป สําหรับเงินทุนที่ใชในกิจการเปนเงินทุนในสวนของเจาของกิจการทั้งสิ้น จํานวนพนักงานในองคการเริ่มแรก ประมาณ 30 คน ปจจุบันพนักงานมีจํานวน 200 คน

Page 102: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

94

ระเภทงานกอสราง ไดแก โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ ทั้งงานเอกชน และ หนวยงานของรัฐ การรับงานใชวิธีติดตอดวยตนเอง การประมูลงาน และ การแนะนําจากลูกคา สัดสวนบุคลากรในองคการ มีลักษณะดังนี้

ผูบริหารระดับสูง คิดเปนรอยละ 8.00ผูบริหารระดับกลาง คิดเปนรอยละ 15.00ผูบริหารระดับตน คิดเปนรอยละ 20.00พนักงาน คิดเปนรอยละ 20.00ชางฝมือ คิดเปนรอยละ 10.00กรรมกร คิดเปนรอยละ 27.00

2. บริษัทชลบุรีเมืองทอง เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ขอมูลทั่วไป ประกอบธุรกิจรับเหมากอสราง เปดดําเนินการตั้งแต ป พ. ศ. 2516 ในรูปบริษัท จํากัด

รวมระยะเวลาในการประกอบธุรกิจ 40 ป โดยมีเงินทุนจดทะเบียน 5 ,000,000 บาท ปจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียนมากกวา 100 ลานบาทตอป สําหรับเงินทุนที่ใชในกิจการเปนเงินทุนในสวนของเจาของกิจการและการกูยืมจากสถาบันการเงินบางสวน จํานวนพนักงานในองคการเริ่มแรก ประมาณ 40 คน ปจจุบันพนักงานมีจํานวน 150 คน

ประเภทงานกอสราง ไดแก โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญทั้งงานเอกชน และ หนวยงานของรัฐ งานรัฐวิสาหกิจ การรับงานใชวิธีติดตอดวยตนเอง การประมูลงาน และ การแนะนําจากลูกคา สัดสวนบุคลากรในองคการ มีลักษณะดังนี้

ผูบริหารระดับสูง คิดเปนรอยละ 5.00ผูบริหารระดับกลาง คิดเปนรอยละ 10.00ผูบริหารระดับตน คิดเปนรอยละ 15.00พนักงาน คิดเปนรอยละ 30.00ชางฝมือ คิดเปนรอยละ 30.00กรรมกร คิดเปนรอยละ 10.00

Page 103: โดย นายพชร วัชรรุ งเมธาmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Pachara_Watchara... · 2014-10-07 · (1) หัวข อสารนิพนธ

95

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-นามสกุล นายพชร วัชรรุงเมธาวัน เดือน ปเกิด 12 พฤษภาคม 2503สถานที่เกิด จังหวัดพิษณุโลก

ประวัติการศึกษาพ.ศ. 2553 บริหารธุรกิจบัณฑิต

สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2555 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตกลุมวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางานพ.ศ.2530 ชางสํารวจควบคุมงานกอสรางขยายโรงกลั่นน้ํามันไทยออยล อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2533 - 2535 หัวหนาชางสํารวจ – ประมาณราคา นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง อําเภอ

ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

พ.ศ.2535 -2540 หุนสวนผูจัดการ – หางหุนสวนจํากัดบุญศิริสํารวจและกอสราง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

พ.ศ.2540 -ปจจุบัน ประธานบริษัท – บริษัท ซัคเซส แลนด50 จํากัด อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี