คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100...

12
100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที7 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร (Executive Summary) รอบที2 ปี 2560 วันที20-21 ก.ย. 2560 4.1 ระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.1.1 ITA ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ ศู นย์ปราบปรามการทุจริต การจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 /แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เฉพาะงบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง) การป้องกันเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน การตอบสนองข้อร้องเรียน ตัวชี้วัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ 38. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA (ร้อยละ 85) (1) ตัวชี้วัด : 79 ร้อยละ 85 ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA เกณฑ์การประเมิน หน่วยรับประเมินมีผลการประเมินได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 85 รอบที2 เป็นการประเมินตามแบบประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ ( Evidence Base Integrity & Transparency Assessment : EBIT ) EBIT จานวน 11 ข้อ ผลลัพธ์ : หน่วยรับประเมิน จานวน 20หน่วยงานผ่านเกณฑ์การประเมิน 15 หน่วยงาน คิดเป็นร้อยละ 75 (และอยู่ระหว่างการอุทธรณ์คะแนนอีก5 หน่วยงาน) 1. วิเคราะห์สถานการณ์ ความสาคัญสภาพปัญหาของพื้นทีหน่วยงานที่รับการประเมินจังหวัดละ 5 หน่วย ประกอบด้วย 1) สานักงานสาธารณสุขจังหวัด/โรงพยาบาล ศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 2) โรงพยาบาลชุมชนจังหวัดละ 2 แห่ง 3) สานักงานสาธารณสุขอาเภอจังหวัดละ 2 แห่ง รวมทั้งสิ้น 20 หน่วย จากการตรวจประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ของหน่วยงาน EBITจานวน 11ข้อ รอบที2 พบว่ามี หน่วยงานที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์การประเมินตามเกณฑ์ (มากกว่า 85คะแนน) คิดเป็นร้อยละ 75 2. ปัจจัยความสาเร็จ (Key Success) 1) การพัฒนาคณะทางานหน่วยงานรับตรวจ - ให้มีความรู้ความเข้าใจต่อกระบวนการประเมิน ITA เพื่อพัฒนางานประจาและเอกสารหลักฐานทีดาเนินงานในงานประจาของหน่วยงานให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ - มีการดาเนินงานอย่างมีส่วนร่วมจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) คณะผู้ตรวจประเมิน - มีการทางานเป็นทีมและในรูปแบบของคณะกรรมการ - มีเครือข่ายการดาเนินงานในทุกระดับ จังหวัด / อาเภอ คณะ 4 การบริหารจัดการ

Transcript of คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100...

Page 1: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

100

รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่ 7 บทสรุปส าหรับผู้บริหาร (Executive Summary) รอบที่ 2 ปี 2560 วันที่ 20-21 ก.ย. 2560

4.1 ระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.1.1 ITA ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ ศูนย์ปราบปรามการทุจริต การจัดท าแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 /แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เฉพาะงบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง) การป้องกันเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน การตอบสนองข้อร้องเรียน

ตัวช้ีวัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ 38. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA (ร้อยละ 85)

(1) ตัวช้ีวัด : 79 ร้อยละ 85 ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA เกณฑ์การประเมิน หน่วยรับประเมินมีผลการประเมินได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 85 รอบที่ 2 เป็นการประเมินตามแบบประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ ( Evidence Base Integrity & Transparency Assessment : EBIT ) EBIT จ านวน 11 ข้อ

ผลลัพธ์ : หน่วยรับประเมิน จ านวน 20หน่วยงานผ่านเกณฑ์การประเมิน 15 หน่วยงาน คิดเป็นร้อยละ 75 (และอยู่ระหว่างการอุทธรณ์คะแนนอีก5 หน่วยงาน)

1. วิเคราะห์สถานการณ์ ความส าคัญสภาพปัญหาของพ้ืนที่ หน่วยงานที่รับการประเมินจังหวัดละ 5 หน่วย ประกอบด้วย 1) ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด/โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 2) โรงพยาบาลชุมชนจังหวัดละ 2 แห่ง 3) ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอจังหวัดละ 2 แห่ง รวมทั้งสิ้น 20 หน่วย จากการตรวจประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ของหน่วยงาน EBITจ านวน 11ข้อ รอบที่ 2 พบว่ามีหน่วยงานที่ได้คะแนนผ่านเกณฑ์การประเมินตามเกณฑ์ (มากกว่า 85คะแนน) คิดเป็นร้อยละ 75

2. ปัจจัยความส าเร็จ (Key Success)

1) การพัฒนาคณะท างานหน่วยงานรับตรวจ - ให้มีความรู้ความเข้าใจต่อกระบวนการประเมิน ITA เพ่ือพัฒนางานประจ าและเอกสารหลักฐานที่

ด าเนินงานในงานประจ าของหน่วยงานให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ - มีการด าเนินงานอย่างมีส่วนร่วมจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2) คณะผู้ตรวจประเมิน

- มีการท างานเป็นทีมและในรูปแบบของคณะกรรมการ - มีเครือข่ายการด าเนินงานในทุกระดับ จังหวัด / อ าเภอ

คณะ 4 การบริหารจัดการ

Page 2: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

101

3. ปัญหา/อุปสรรคที่พบ 1) ผู้ตรวจประเมินมีจ านวนน้อย และในแต่ละบุคคลมีความรู้ ความเข้าใจและวิธีคิดของผู้ตรวจประเมิน

แตกต่างกัน ส่งผลให้การพิจารณาการให้คะแนนมีความแตกต่างกัน 2) ผู้รับผิดชอบด้าน ITA บางแห่งภาระงานมาก ท าให้การประสาน และการรวบรวมเอกสารเชิงประจักษ์ช้า

หรือ ไม่ได้ท า 3) หน่วยรับประเมินมีการสื่อสารภายในองค์กรไม่เพียงพอ ท าให้การด าเนินงานด้าน ITA และการจัดท า

หลักฐานเชิงประจักษ์ ไม่สมบูรณ์

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา 1) ให้มีนโยบายการด าเนินด้านITAอย่างต่อเนื่องและขยายผลเพ่ิมจ านวนหน่วยงาน เช่น รพ.สต. ขยายผลใน

การด าเนินการทั่วทั้งองค์กร 2) ให้การสนับสนุนบุคลากรและงบประมาณในการด าเนินงาน 3) ให้พัฒนาเข้าสู่งานประจ าทุกหน่วยงานทั่วทั้งองค์กร 4) การพัฒนาผู้ตรวจประเมินให้มีมาตรฐานในการตรวจประเมิน 5) จัดท าคู่มือหรือแนวทางการประเมินเพื่อเป็นเครื่องมือและสื่อสารให้ผู้รับและผู้ตรวจมีความเข้าใจที่ตรงกัน

5. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง Best Practice (ถ้ามี) - 4.1.2 การบริหารจัดการด้านยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ ส านักบริหารการสาธารณสุข สป. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2557 จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา

ตัวช้ีวัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ 39. ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม (ร้อยละ 20)

ผลลัพธ์ : มูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของหน่วยงาน (เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาทั้งหมด)

1. วิเคราะห์สถานการณ์ ความส าคัญสภาพปัญหาของพ้ืนที่ การตอบสนองนโยบายการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ของเขตสุขภาพที่ 7 ส่วนใหญ่สามารถท าได้ตามเปูาหมาย ในภาพรวม คือจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ได้ถึงร้ อยละ 41.46 เพ่ิมขึ้นจากการผลงานการตรวจราชการรอบแรกที่ท าได้ร้อยละ 40.43 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดซื้อร่วมยา ท าได้ตามเปูาหมาย คือ ร้อยละ 40.74 เพิ่มขึ้นจากรอบแรกท่ีท าได้ร้อยละ 38.69 ด้านเวชภัณฑ์มิใช่ยา ในภาพรวมท าได้ร้อยละ 42.59 ในรายละเอียดในกลุ่มเวชภัณฑ์มิ ใช่ยา ส่วนใหญ่สามารถจัดซื้อร่วมได้ตามเปูาหมาย ในส่วนของวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ จัดซื้อร่วมได้สูงมากถึงร้อยละ 66.19 วัสดุการแพทย์สามารถซื้อร่วมได้ตามเปูาหมายได้ทุกจังหวัด ภาพรวมเขตอยู่ที่ร้อยละ 27.95 ในส่วนของวัสดุทันตกรรม มีบางจังหวัดที่ยังท าไม่ได้ตามเปู าหมาย ถือเป็นโอกาสพัฒนาต่อไป ส่วนวัสดุ X-Ray ในภาพรวมเขตสามารถจัดซื้อร่วมได้ตามเปูาหมายที่ร้อยละ 76.82 แต่มีบางจังหวัด ไม่ได้จัดซื้อร่วมเรื่องจากเปลี่ยนไปใช้ระบบ Digital จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก พบว่าในภาพรวมเขต 7 มีการจัดซื้อร่วมยาโดยวิธีสอบราคา/ประกวดราคา/E-bidding ในภาพรวม เป็นมูลค่า 275,948,091.32 บาท คิดเป็นร้อยละ 9.57 ของมูลค่าการจัดซื้อทั้งหมด เป็นร้อยละ 23.09 ของการจัดซื้อร่วมทั้งหมด และเป็นร้อยละ 38.74 ของการจัดซื้อร่วมยาทั้งหมด

Page 3: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

102

2. ปัจจัยความส าเร็จ (Key Success) 1) มีการรวมกลุ่มกันท างานเป็นเครือข่ายระหว่างจังหวัดภายในเขต และภายในจังหวัดด้วยกัน 2) การก ากับติดตามของผู้บริหารในทุกระดับ ทั้งส่วนกลาง ระดับเขต และในจังหวัด 3) 3. มีการระบบเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ในทุกรูปแบบ อาทิ มีการใช้ Social media มาใช้ในการ

ท างาน เช่น Line Group , Facebook Group รวมถึง Video Conference จากส่วนกลาง 4) Benchmarking Management และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3. ปัญหา/อุปสรรคที่พบ 1) การด าเนินการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ยาร่วมระดับจังหวัดยังมีความล่าช้า (ด าเนินการโดยวิธีสอบ และ

E-bidding) 2) ยาและวัสดุการแพทย์ บางรายการไม่สามารถซื้อร่วมได้ ตามราคาอ้างอิงระดับเขตเนื่องจากบริษัทผู้ขายไม่

สามารถขายให้ได้ระบบ e-GP ที่มีปัญหาการใช้งานอย่างหนาแน่น ระบบล่มในบางครั้ง 3) ไม่มีเจ้าหน้าที่พัสดุเฉพาะด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ที่มีความเชี่ยวชาญ ในการด าเนินการจัดซื้อจัดหาร่วม

และการด าเนินการจัดซื้อด้วยวิธี E-bidding ระดับจังหวัด/เขต จึงท าให้ขั้นตอนการด าเนินงานล่าช้า 4) ระบบฐานข้อมูลการรายงานผลงานบริหารเวชภัณฑ์ยังไม่สามารถวิเคราะห์ผลงานได้ทันที และเป็นปัจจุบัน 5) การก ากับติดตามผลการด าเนินงานในบางจังหวัดไม่สม่ าเสมอ ขาดการวิเคราะห์ปัญหา และผลงานเชิงลึก

ในแต่ละรายการประเภทวัสดุต่างๆ ผู้รับผิดชอบการด าเนินงานด้านเวชภัณฑ์มิใช่ยา หลายประเภท เช่น วัสดุทันตกรรม วัสดุ การแพทย์ เวชภัณฑ์มิใช่ยา และวัสดุรังสีการแพทย์ ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการด าเนินการตามระเบียบฯพัสดุ และระเบียบการจัดซื้อท่ีเกี่ยวข้อง

6) การตรวจสอบภายในระดับจังหวัดยังไม่ครอบคลุมด้านวัสดุ ทันตกรรม และ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา 1) ควรมีการก าหนด Focal point และพัฒนาศักยภาพของ Focal point แต่ละกลุ่มวัสดุในการก ากับติดตาม

ผลการด าเนินงานตามประเภทวัสดุ (อาจเป็น พบส. แต่ละวิชาชีพ) 2) ได้มีการจัดตั้ง CPO (Chief Pharmaceutical Officer) ระดับเขตขึ้นมาแล้ว และมีค าสั่งแต่งตั้ง

คณะกรรมการเรียบร้อยแล้ว อยากให้มีบทบาทในการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเวชภัณฑ์ อันเป็นบทบาทหนึ่ง ของ CPO Board ต่อไป

3) ควรมีการอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่พัสดุ และผู้ปฏิบัติให้มีความรู้และปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดยเร่งด่วน

4) ต้องมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาระดับเขต และใช้เพ่ือการควบคุมก ากับ และมีความเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลสารสนเทศจากกระทรวงฯ ให้สามารถประมวลผลการด าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และครอบคลุมการรายงานตามข้อก าหนดของตัวชี้วัดตรวจราชการ เพ่ือลดปัญหาการท างานซ้ าซอน

5. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง Best Practice (ถ้ามี) จังหวัดกาฬสินธุ์ มีการจัดซื้อร่วมแบบท าสัญญา (สอบราคา/ ประกวดราคา/ e-bidding) ในสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง หากเทียบกับจังหวัดอ่ืนในเขต ประมาณครึ่งหนึ่ง ของการจัดซื้อร่วมทั้งหมด (ร้อยละ 23.24 ในร้อยละ 48.26 ) จังหวัดร้อยเอ็ดมีแผน Rationale Lab Use ระดับจังหวัดเพ่ือให้มีการสั่งใช้แล็บให้เหมาะสม และน าผลการตรวจมาใช้กับการรักษาและติดตามอาการ (จะเริ่มด าเนินการในปี 2561) จังหวัดขอนแก่นได้ก าหนดให้ทุกหน่วยงานด าเนินการตรวจสอบภายในด้านพัสดุ ซึ่งการตรวจสอบภายในด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาได้บูรณาการการด าเนินงานร่วมกับทีมตรวจสอบภายในของจังหวัด โดยแต่งตั้งคณะกรรมการวิชาชีพและผู้เกี่ยวข้องในการบริหารยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาของทุกโรงพยาบาลร่วมเป็นกรรมการตรวจสอบภายในของจังหวัด

Page 4: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

103

ทุกจังหวัดในเขต 7 สามารถก าหนดบัญชีรายการยาของจังหวัด (Provincial Drug List) ได้ส าเร็จ สอดคล้องตาม Service plan รวมถึงการก าหนดเงื่อนไขการใช้ยาเพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การวางนโยบาย และแนวทาง Utilization โดยเฉพาะโรงพยาบาลระดับ A-M ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบส่งต่อยาและการตามจ่ายค่ายา

4.2 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์ คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย - คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย (ill define) ผ่านเกณฑ์คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 คุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - คุณภาพข้อมูลเวชระเบียน การบันทึกข้อมูลและการวินิจฉัยมีความครบถ้วนถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

ตัวช้ีวัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ 40. ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล (ร้อยละ 80) ผลลัพธ์ : 1. คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย (ill define) ที่ไม่ทราบสาเหตุไม่เกินร้อยละ 25

: ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 7 ร้อยละ 31.35 ซึ่งถือว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์

2. หน่วยบริการการบันทึกข้อมูลและการวินิจฉัยมีความครบถ้วนถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ครอบคลุมสถานบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

: ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 7 ร้อยละ 18.74 ซึ่งถือว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์

1. วิเคราะห์สถานการณ์ ความส าคัญสภาพปัญหาของพ้ืนที่ สถานการณ์ปัจจุบันข้อมูลการตายของประเทศไทยจากฐานข้อมูลมหาดไทย พบว่า มีข้อมูลการตายที่ไม ่

ทราบสาเหตุ (Ill-Defined) คิดเป็นร้อยละ 30 ที่ไม่สามารถนำมาจัดล าดับสาเหตุการตายได้ คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย (ill define) ของจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 7 รอบ 9 เดือน ดังนี้ จังหวัดขอนแก่น ร้อยละ 35.38 จังหวัดมหาสารคาม ร้อยละ 29.16 จังหวัดร้อยเอ็ด ร้อยละ 25.51 และจังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 29.79 ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 7 ร้อยละ 31.35 สถานการณ์การตายที่ไม ่ทราบสาเหตุ(Ill-Defined) ในพ้ืนที่เขตสุขภาพที่ 7 ตั้งแต่ปี 2556-2559 เกินกว่าร้อยละ 25 โดยพบว่าในปี 2557 การตายที่ไม ่ทราบสาเหตุต่ าสุด ร้อยละ 23.18 ปี2556 สูงสุดร้อยละ 30.98 และในปี 2560 ในช่วงการติดตามตรวจราชการรอบที่ 2 มีการตายที่ไม ่ทราบสาเหตุร้อยละ 31.35 ซึ่งถือว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์

ข้อมูลบริการส ุขภาพจากปีงบประมาณ 2560 ที่หน่วยบริการต้องมีการบันทึกข้อมูลและการวินิจฉัยให้มีความครบถ้วนถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ครอบคลุมสถานบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการด าเนินงานของจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 7 รอบ 9 เดือน ดังนี้ จังหวัดขอนแก่น ร้อยละ 2.43 จังหวัดมหาสารคาม ร้อยละ 9.38 จังหวัดร้อยเอ็ด ร้อยละ 58.4 และจังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7.30ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 7 ร้อยละ 18.74 ซึ่งถือว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์

2.ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ (รอบท่ี 2 ข้อมูล 9 เดือน ต.ค.59-มิ.ย.60) ผลงานรอบ 9 เดือนในภาพรวมมีประเด็นการติดตาม กิจกรรมที่ส าคัญ 3 กิจกรรม ทุกจังหวัดด าเนินการเสร็จเรียบร้อย ได้แก่

1) การจัดอบรมฟ้ืนฟูการบันทึกสาเหตุการตายส าหรับนายทะเบียนในกรณีตายนอกสถานพยาบาลจะด าเนินการ เมษายน 2560

2) มีการจัดอบรมฟ้ืนฟูการบันทึกสาเหตุการตายให้กับแพทย์ที่ท างานอยู่เดิมในโรงพยาบาล ครบทุกจังหวัด 3) จังหวัดมีการจัดอบรมการบันทึกสาเหตุการตายให้แพทย์ใช้ทุนจบใหม่ ครบทุกจังหวัด

Page 5: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

104

3.ปัจจัยความส าเร็จ (Key Success) 1) ผู้บริหารมีนโยบายที่ชัดเจนและมีแผนงานที่ถ่ายทอดลงสู่ พ้ืนที่ มีการจัดโครงสร้างกลไกการท างาน

มีคณะกรรมการทุกระดับ 2) มีกระบวนการท างานเป็นทีมสหวิชาชีพที่ เข็มแข็ง มีการก าหนดแนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการ

คุณภาพข้อมูล (PDCA) 3) ผู้บริหารมีการสนับสนุนงบประมาณในการจัดการอบรมให้ความรู้ในการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ

อย่างต่อเนื่อง 4) มีระบบก ากับ/ติดตามจากผู้บริหารมีการนิเทศติดตามภายในจังหวัด 5) มีการประชุมสรุปประเด็นปัญหา/อุปสรรค รวมถึงเสนอแนวทางแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 6) มีช่องทางการสื่อสารข้อมูลผ่านทาง Social network เช่น application, Line , facebook, website

หน่วยงาน ความเสี่ยงต่อการท าให้การขับเคลื่อนไม่ประสบผลส าเร็จ

1) ความครอบคลุมของการอบรมให้ความรู้ในการบันทึกเวชระเบียนและการตรวจสอบเวชระเบียนส าหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

2) ความครอบคลุมของการอบรมให้ความรู้การลงสาเหตุการตาย ส าหรับนายทะเบียน 3) ความครอบคลุมของการอบรมให้ความรู้การลงสาเหตุการตาย ส าหรับแพทย์ทั้งแพทย์จบใหม่และแพทย์ที่

ปฏิบัติงานในปัจจุบัน 4) การสะท้อนกลับปัญหาไปยังผู้ปฏิบัติงาน เพ่ือปรับปรุงแก้ไข

4.ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 1) บุคลากรยังขาดองค์ความรู้ / ความเข้าใจในการบันทึกเวชระเบียนในระดับ รพ.สต. ที่ถูกต้องตามมาตรฐาน

ของ สนย. ก าหนด 2) คณะกรรมการตรวจสอบเวชระเบียนที่ผ่านการอบรมท่ีจัดโดยเขตสุขภาพ ยังมีไม่ครบทุก รพ.สต. 3) การบันทึกสันนิษฐานสาเหตุการตาย เป็นบทบาทของหน่วยทะเบียนราษฎร์ บุคลากรสาธารณสุขยัง ไม่มี

ร่วมสันนิษฐานการ 4) ตายจึงท าให้ข้อมูลระบุสาเหตุการตายอาจคลาดเคลื่อนได้ 5) ขาดสารสนเทศที่จ าเป็นระบุปัญหาสาเหตุการตายเพ่ือสะท้อนกลับข้อมูลไปยังหน่วยบริการเพ่ือปรับปรุง

แก้ไข 6) ขาดเครื่องพิมพ์ Sticker ยา โปรแกรมการบันทึกข้อมูลยังไม่มีการปรับปรุง Update รหัสที่ถูกต้อง

5.ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผู้บริหาร/ต่อระเบียบกฎหมาย 1) ควรมีการ MOU หรือแนวทางกับกระทรวงมหาดไทย ในการให้บุคลากรสาธารณสุข มีส่วนร่วมในการ

สันนิษฐานสาเหตุการตายก่อนนายทะเบียนลงสาเหตุการตาย 2) ส่วนกลางควรจัดท าระบบการสะท้อนกลับสาเหตุการตายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องครอบคลุมทุกระดับและ

ทันสมัย 3) ควรมีการพัฒนาองค์ความรู้บุคลากร เกี่ยวกับการลงสาเหตุการตายและการตรวจสอบเวชระเบียน ให้

ครอบคลุมทุกระดับ 4) ควรมีนโยบายในการให้ Vendor ทุกโปรแกรมยกเลิกการใช้โปรแกรมส าเร็จรูป ICD ที่ใช้ในการค้นหารหัส 5) ควรมีการปรับแนวทางระบบการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลเวชระเบียนเป็นรูปแบเดียวกันทั้ง สปสช. และ

สนย.

6. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง Best Practice (ถ้ามี) -

Page 6: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

105

4.3 การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) การบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินภายในจังหวัด ความครอบคลุมของหน่วยปฏิบัติการในพื้นที่ การบันทึกข้อมูลในโปรแกรมระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) ปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัด

ตัวช้ีวัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ 41. ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินปี 2560 (ร้อยละ 95.5) ผลลัพธ์ : 41. ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2560 ร้อยละ 70.35

1. วิเคราะห์สถานการณ์ ความส าคัญสภาพปัญหาของพ้ืนที่ ระบบ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น

เริ่มจัดระบบ ปี 2548 ปี 2548 ปี 2548 ปี 2548 ALS 14 20 41 26 BLS 8 10 18 23 FR 113 153 236 190 ความครอบคลุม 78.8 91.04 100 84.82

2. ข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ (ระบุรายการข้อมูลที่จ าเป็นส าหรับการตรวจติดตามที่จ าเป็นในแต่ละประเด็น)

ตัวช้ีวัด รายการ ข้อมูล

ข้อมูล 9 เดือน ต.ค. – มิ.ย. 2560 มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ภาพรวมเขต

ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2560

เปูาหมายปี 2560

51,569 68,587 42,815 110,363 273,334

ผลงาน 9 เดือน 39,133 47,149 29,458 76,548 192,288 ร้อยละเทียบเปูาหมาย

79.15 69.70 65.71 69.36 70.35

3. ประเด็นส าคัญที่เป็นความเสี่ยงต่อการท าให้การขับเคลื่อนนโยบายหรือการด าเนินงานไม่ประสบความส าเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซึ่งได้จากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการตรวจติดตาม

1) โปรแกรม (ITEMS) มีการปรับปรุงระบบใหม่บ่อยครั้ง นอกจากนั้นโปรแกรม (ITEMS) เกิดความล่าช้าต้องใช้เวลาในการอัพเดทโปรแกรมบ่อยครั้ง มีปัญหาข้อมูลพื้นฐานบางครั้งไม่ครบถ้วน

2) การพยายามขยาย อปท. ให้ครอบคลุมพ้ืนที่ทั้งจังหวัด แต่ อปท. ขาดงบประมาณในการด าเนินงาน 3) อปท. มีงบประมาณไม่เพียงพอส าหรับการจัดซื้อรถ เพ่ือใช้ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 4) บุคลากรไม่เพียงพอ ขาดขวัญก าลังใจ 5) งบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอ 6) กฎระเบียบด้านการเงินในระดับ อปท. ไม่ชัดเจน 7) การประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ไม่ถึงแก่นแท้การใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ท าให้มีทั้งการไม่เรียกใช้บริการ

หรอืเรียกใช้บริการไมมีคุณภาพ เช่น เจ็บปุวยไม่ฉุกเฉินก็เรียก 1669 เป็นต้น 8) น้ าท่วมบางพื้นที่ ท าให้ยากล าบากต่อการปฏิบัติการฉุกเฉิน

Page 7: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

106

4. ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย/ ต่อส่วนกลาง/ ต่อผู้บริหาร/ ต่อระเบียบกฎหมาย 1) พิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนในการปฏิบัติงานที่ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ 2) พัฒนาคุณภาพของหน่วยปฏิบัติการ เช่น การประเมินความรุนแรง การให้การช่วยเหลือเบื้องต้น การแจ้ง

เหตุที่มีคุณภาพของประชาชน รวมทั้งการพัฒนาการแพทย์ฉุกเฉินในผู้สูงอายุ 3) พัฒนาโปรแกรม ITEMS ให้ใช้ง่าย สะดวก มากขึ้น 4) มีกลุ่มงานการแพทย์ฉุกเฉิน แยกต่างหากใน สสจ. 5) ระดับส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข สพฉ. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง จะต้องผลักดัน

ให้ระเบียบการใช้จ่ายเงินของ สตง. เอื้อต่อการบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉิน ของ อปท. 6) ประชาสัมพันธ์การแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้นให้มากข้ึน

5. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง (ถ้ามี) 1) ความครอบคลุมของหน่วยกู้ชีพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) ระบบการแบ่งเขตพ้ืนที่การปฏิบัติงานอย่างครอบคลุมและไม่ทับซ้อน 3) โครงสร้างศูนย์สั่งการที่ได้มาตรฐานและเข้าถึงทุกกลุ่ม เช่น ผู้พิการทางการได้ยิน ชาวต่างชาติ

4.4 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ กลุ่มประกันสุขภาพ สป. 1. หน่วยบริการได้รับการจัดสรรที่พอเพียงต่อการให้บริการ มีรายได้ไม่ต่ ากว่าค่าใช้จ่าย 2. การบริหาร ติดตาม ก ากับแผนการเงินการคลัง ด้วยแผนทางการเงิน (Plan FIN Management)ทุกเดือน 3. การประเมินกระบวนการท างาน (FAI) 4. ประเมินประสิทธิภาพในการด าเนินงานโดยใช้ดัชนี 7 ตัว 5. การตรวจสอบบัญชีหน่วยบริการทุกแห่ง/คะแนนคุณภาพบัญชีผ่านเกณฑ์ 6. มีเครือข่ายด้านการเงินการคลังและการพัฒนาศักยภาพบุคลากร

ตัวช้ีวัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ 42. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน (ไม่เกินร้อยละ 8) หน่วยบริการในสังกัด สป.สธ ระดับ รพศ./รพท./รพช.สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการใน

พ้ืนที่ (ไม่เกินร้อยละ 8)

1.วิเคราะห์สถานการณ์ ความส าคัญสภาพปัญหาของพ้ืนที่ ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ 2560 พบว่า หน่วยบริการในพื้นที่ไม่มีปัญหาการเงิน ระดับ 7 แต่พบภาวะวิกฤต

ทางการเงินระดับ 4 จ านวน 5 แห่ง ระดับ 5 จ านวน 3 แห่ง และระดับ 6 จ านวน 11 แห่ง หน่วยบริการสุขภาพในพ้ืนที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน (ไม่เกินร้อยละ 20) ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 7 มีหน่วยบริการที่มีต้นทุนต่อหน่วยเกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับเดียวกันจ านวน 23 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.9 หน่วยบริการทุกแห่งในเขตสุขภาพที่ 7 มีแผนทางการเงิน (Planfin) และมีการพัฒนาระบบการประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI และเขตสุขภาพท่ี 7 มีคะแนนรวม FAI เท่ากับร้อยละ 94.4 (เปูาหมาย ไม่น้อยกว่า 90%)

2.ปัจจัยความส าเร็จ (Key Success) 1) ผู้บริหารทุกระดับให้ความส าคัญ 2) มีระบบเฝูาระวัง/เตือนภัยทางการเงินการคลัง 3) มีรายงานสถานการณ์การเงินทุก เดือนเพื่อตัดสินใจในการบริหาร

Page 8: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

107

3.ปัญหา/อุปสรรคที่พบ 1) บุคลากรทุกระดับขาดความรู้ ความเข้าใจด้านการเงิน/บัญชี 2) ระบบฐานข้อมูลทางการเงินยังขาดความน่าเชื่อถือ 3) บุคลากรส่วนใหญ่เป็นลูกจ้างชั่วคราว ไม่ได้รับการบรรจุ ท าให้ขาดขวัญก าลังใจในการท างาน 4) การจัดสรรไม่เพียงพอ ไม่เป็นธรรมและรูปแบบการจัดสรรมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

4.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา 1) การจัดท า Planfin ยังไม่เชื่อมโยงระบบงานที่เกี่ยวข้องเท่าที่ควร จึงควรจัดระบบเชื่อมโยง เพ่ือน าไปสู่การ

จัดท าแผนและก ากับแผนให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล 2) เนื่องจากโรงพยาบาลมีแนวโน้มที่จะวิกฤติทางการเงินหลายแห่ง จึงขอให้ CFO ทุกระดับวิเคราะห์

สถานการณ์อย่างต่อเนื่อง ควรตรวจสอบและทบทวนงบทดลอง, เงินบ ารุง, Fixed Cost, ค่าตอบแทน, การลงทุน

5. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง Best Practice (ถ้ามี) -

4.5 การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ ส านักวิชาการสาธารณสุข สป. 1. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกจังหวัดในเขตสุขภาพได้รับการพัฒนาศักยภาพเพ่ือสนับสนุนงานวิจัย 2. เขตสุขภาพมีผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพ เพ่ือน าไปใช้ประโยชน์ 3.ระบบฐานข้อมูลงานวิจัย /R2R ในระดับเขตสุขภาพ 4. ระบบฐานข้อมูล/R2R ด้านสุขภาพท่ีให้หน่วยงานต่างๆน าไปใช้ประโยชน์

ตัวช้ีวัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ 43. ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพท่ีให้หน่วยงานต่างๆน าไปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ 20)

ผลลัพธ์ : 1. มีจ านวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือเพ่ิมศักยภาพทีมสนับสนุน

งานวิจัยอย่างน้อย 1 คน/จังหวัดจ านวนทั้งสิ้น 56 คน คิดเป็น 100 % 2. มีผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพ อย่างน้อย 5 เรื่อง/จังหวัด จ านวนทั้งสิ้น 817 เรื่อง คิดเป็น 100 % 3. ทุกจังหวัดมีหน่วยงานและมีคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย/ ได้จัดท า SOP คิดเป็น 100 % 4. การพิจารณาจริยธรรมวิจัย อย่างต่อเนื่อง 4 ครั้ง/ปี และมีการด าเนินการในส่วนของคณะกรรมการระดับ

จังหวัด (สสจ) และระดับโรงพยาบาลจังหวัด คิดเป็น 100 % 5. ทุกจังหวัดด าเนินการจัดการฐานข้อมูลผลงานวิจัย/R2R ในระดับเขตสุขภาพ คิดเป็น 100 % 6. มีการด าเนินการน าผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพให้หน่วยงานต่างๆ น าไปใช้ประโยชน์ในระดับจังหวัดทุก

จังหวัด จ านวนทั้งสิ้น 321 ผลงาน จาก 817 ผลงาน คิดเป็น 39.29 %

1. วิเคราะห์สถานการณ์ ความสาคัญสภาพปัญหาของพ้ืนที่ การด าเนินการพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพในระดับเขตบริการสุขภาพที่ 7 ด าเนินการภายใต้โครงสร้างของคณะกรรมการใน 3 ระดับ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการระดับเขตประกอบด้วยคณะกรรมการจาก 4 จังหวัด (ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคามและกาฬสินธุ์) โดยมีผู้ตรวจราชการเป็นประธานคณะกรรมการอ านวยการ และ สาธารณสุขนิเทศก์ เป็นประธานคณะกรรมการด าเนินงาน 2) คณะกรรมการระดับจังหวัด มีสาธารณสุขจังหวัดเป็นประธาน การด าเนินงานอยู่ภายใต้โครงสร้างกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข ยกเว้นจังหวัดขอนแก่นด าเนินงานภายใต้กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล และกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ 3) คณะกรรมการระดับโรงพยาบาล โดยผู้อ านวยการโรงพยาบาลเป็นประธาน

Page 9: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

108

ทุกจังหวัดมีแผนงาน โครงการพัฒนางานวิจัย วิชาการอย่างชัดเจนทั้ งในระดับจังหวัด และระดับโรงพยาบาล มีการสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือเพ่ิมศักยภาพทีมสนับสนุนงานวิจัยมากกว่า 1 คน มากที่สุดคือจังหวัดมหาสารคามจ านวน 39 คน รองลงมาคือจังหวัดขอนแก่น 9 คน กาฬสินธุ์ 4 คน และร้อยเอ็ด 4 คน สามารถผลิตผลงานวิจัย และวิชาการน าเสนอในระดับประเทศมากกว่า 100 เรื่อง จังหวัดที่มีผลงานได้รับรางวัลดีเด่นระดับประเทศ ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ และมหาสารคาม มีคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ในระดับโรงพยาบาลจังหวัดทุกจังหวัด โดยเฉพาะคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ของโรงพยาบาลขอนแก่นเป็นโรงพยาบาลศูนย์แห่งแรกที่ผ่านการรับรองจาก FERCAP-CISCER และมีคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ในส่วนของส านักงานสาธารณสุขจังหวัดใน ครบทั้ง 4 จังหวัด ส าหรับจังหวัดกาฬสินธุ์ได้บูรณาการคณะกรรมการระดับจังหวัดเป็นชุดเดียวกันกับคณะกรรมจริยธรรมของโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ และด าเนินการพิจารณาจริยธรรมเฉลี่ยทุกจังหวัดมากกว่า 4 ครั้ง/ปี ทุกจังหวัดมีการจัดการฐานข้อมูลผลงานวิจัย/R2R อย่างเป็นรูปธรรมโดยในรูปแบบ Website และด าเนินเนินการน าผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพให้หน่วยงานต่างๆ น าไปใช้ประโยชน์มากกว่าร้อยละ 20 สรุป ระดับการพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพในระดับโรงพยาบาลมีความเข้มแข็งและด าเนินการอย่างต่อเนื่องในระดับโรงพยาบาลจังหวัดทุกจังหวัด และมีวารสารงานวิจัยของโรงพยาบาลจังหวัดทุกจังหวัด

2. ปัจจัยความส าเร็จ (Key Success) 1) การสนับสนุนเชิงนโยบายในระดับจังหวัด และมีงบประมาณสนับสนุน 2) มีโครงสร้าง ผู้รับผิดชอบ จัดตั้งคณะกรรมการ มีแผนงาน โครงการในการขับเคลื่อนงานวิจัยวิชาการอย่าง

เป็นรูปธรรม 3) มีผู้ประสานงานระดับจังหวัดที่มีความเข้มแข็ง สามารถเชื่อมประสานให้เกิดการด าเนินงานในภาพรวม

ของจังหวัด 4) ทุน และศักยภาพของคณะกรรมการวิจัย นักวิจัยระดับโรงพยาบาลจังหวัด และโรงพยาบาลมีความเข้มแข็ง

บุคลากรจบการศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอกมีจ านวนมาก 5) การสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนการพัฒนางานด้านวิจัยและการจัดการความรู้

3. ปัญหา/อุปสรรคที่พบ 1) การประสาน และบูรณาการการท างานร่วมกันระหว่างสสจ .และโรงพยาบาลจังหวัดยังไม่ชัดเจน และไม่

ต่อเนื่อง มีการท างานแยกส่วนกันระหว่างสสจ.กับโรงพยาบาลจังหวัดในบางจังหวัด 2) ขาดการเชื่อมโยง และการประสานงานในระดับเขต ท าให้ส่วนกลางหรือส านักวิชาการ กร ะทรวง

สาธารณสุขได้รับข้อมูลระดับจังหวัดไม่ครบถ้วน 3) คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในระดับจังหวัดในบางส่วนยังขาดความพร้อม และยังไม่สอดคล้องกับ

มาตรฐาน SOP 4) จ านวนผู้ที่ผ่านการอบรม Facilitator Advance Course เพ่ือเป็นผู้ที่สนับสนุนงานวิจัยยังมีน้อยส่งผลให้

การขับเคลื่อนไม่ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ และขาดเวทีในการน าใช้ศักยภาพของ Facilitators ส่งผลให้ขาดความมั่นใจในการกระตุ้น/ขับเคลื่อนการพัฒนางานวิชาการและวิจัย

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา 1) จัดกระบวนการ เวที เพ่ือสนับสนุนการน าใช้ประโยชน์จากงานวิจัยในหน่วยงานต่างๆ และติด ตาม

ประเมินผลการน าใช้ประโยชน์จากงานวิจัย 2) คณะกรรมการระดับเขตควรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) การด าเนินงานด้านการวิจัยและพัฒนาองค์

ความรู้ด้านสุขภาพระดับจังหวัด

Page 10: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

109

3) คณะกรรมการระดับเขตควรจัดท าแผนงาน โครงการที่ชัดเจน เพ่ือใช้เป็นกลไกในการขับเคลื่อนขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพ

4) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพทีมสนับสนุนงานวิจัย (Facilitators) เพ่ือเป็นกลไกในการพัฒนางานวิจัยให้ครอบคลุมพ้ืนที่รับผิดชอบทั้งในระดับอ าเภอ และจังหวัดน าใช้ศักยภาพผู้เชี่ยวชาญในระดับอ าเภอ ระดับจังหวัดและระดับเขตเพ่ือเป็นกลไกการพัฒนาและขับเคลื่อนงานวิชาการและวิจัย

5) น าใช้ศักยภาพของเครือข่ายวิจัยในพ้ืนที่ เช่นคณะกรรมจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัย หรือของโรงพยาบาลจังหวัดในการด าเนินงานด้านจิยธรรมวิจัยในมนุษย์ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการด าเนินงาน และเป็นไปตามมาตรฐาน SOP

5. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง Best Practice (ถ้ามี)

จังหวัด ผลงาน นวัตกรรมที่เป็นแบบอย่าง ร้อยเอ็ด 1.งานวิจัยที่ได้รับรางวัล R2R ดีเด่น ระดับทุติยภูมิ ในโครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจ าสู่

งานวิจัยระดับประเทศ งานวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในการเกิดโปแตสเซียมในเลือดต่ าในผู้ปุวยที่มีภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่ าชนิดรุนแรง โรงพยาบาลพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด 2.น้ าผึ้ง กับแผลเบาหวานชนิดขาดเลือด งานผู้ปุวยนอกชั้น 4 โรงพยาบาลร้อยเอ็ด 3.การเข้าถึงระบบบริการ EMS ของเครือข่ายบริการสุขภาพอ าเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นการพัฒนาต่อยอด โดยน าโปรแกรม GIS ระบุพิกัด เชื่อมโยง 43 แฟูม เพ่ือให้การเข้าถึงบริการ EMS ได้รวดเร็วขึ้น โดยเฉพาะผู้ปุวย MI และ Stroke ร่วมกับการพัฒนาทักษะของประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. รู้ทันโรคและอาการเตือนที่ส าคัญ ในพ้ืนที่ต้นแบบ 2 หมู่บ้าน

ขอนแก่น 1. การพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ปุวยอายุรกรรมหลังหัวใจหยุดเต้นด้วการลดอุณหภูมิของร่างกาย หอผู้ปุวยหนักอายุรกรรมและโรคหัวใจ โรงพยาบาลขอนแก่น

2. การพัฒนาการวางแผนจ าหน่ายผู้ปุวยเด็กท่ีใช้เครื่องช่วยหายใจที่บ้านโดยการมีส่วนร่วม

3. การพัฒนาการวางแผนจ าหน่ายผู้ปุวยเด็กโรคปอดอักเสบโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและผู้ดูแล

มหาสารคาม 1.ผลงาน R2R เรื่อง การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขด้านการวิจัย R2R เครือข่ายบริการสุขภาพยางสีสุราช อ.ยางสีสุราช จ.มหาสารคาม โดย นางกาญจนา จันทะนุย โรงพยาบาลยางสีสุราช ซึ่งเป็นผลงานการพัฒนาทางด้านวิชาการและวิจัยที่สนับสนุนให้ CUP ยางสีสุราชซึ่งเป็น CUP ขนาดเล็ก มีผลงานด้านวิชาการและวิจัยปรากฏชัดเจนและสามารถเป็นแบบอย่างการพัฒนาด้านวิชาการส าหรับพื้นที่อ่ืนได ้

กาฬสินธุ์ มีผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมและสามารถเป็นแบบอย่าง Best Practice ได้แก่ 1. ผลลัพธ์การฟ้ืนฟูไตผู้ปุวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ต าบลบึงวิชัย อ าเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์” 2. การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลภาวะช็อกในผู้ปุวยเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น” รพ.กาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ 3. การพัฒนาทีมผู้ก่อการดีในการปูองกันการจมน้ าในเด็กโดยการมีส่วนร่วมของเทศบาลต าบลหลุบ

จ.กาฬสินธุ์

Page 11: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

110

4.6 การตรวจสอบภายใน ประเด็นตรวจราชการ : ผู้รับผิดชอบ กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. หน่วยงานมีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงเพียงพอเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ หน่วยงานได้รับการประเมินประสิทธิภาพการด าเนินงานครอบคลุมทุกแห่ง (ได้รับการตรวจสอบจากคณะกรรมการ

ภาคีเครือข่ายตรวจสอบภายในระดับเขตระดับจังหวัด)

ตัวช้ีวัด / ผลลัพธ์ที่ต้องการ - 1. วิเคราะห์สถานการณ์ ความส าคัญสภาพปัญหาของพ้ืนที่

คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด และคณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคี เครือข่ายระดับอ าเภอ ที่ได้รับแต่งตั้งตามค าสั่งส านักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 4 จังหวัดประกอบด้วย จังหวัดขอนแก่น ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ และมหาสารคาม ได้จัดท าแผนการตรวจสอบภายในประจ าปี 2560 ในภาพรวมยังมีบางแห่งที่ยังไม่ครอบคลุมทุกระดับของหน่วยงานภายใต้สังกัดส านักงานสาธารณสุขจั งหวัด ซึ่งประกอบด้วย โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล และได้จัดส่งแผนการตรวจสอบประจ าปี 2560 ไปยังกลุ่มตรวจสอบภายใน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรียบร้อย ซึ่งจากการนิเทศพบว่าภาพรวมการรวบรวมรายงานผลการตรวจสอบภายใน หลังจากเสร็จสิ้นการตรวจสอบแล้วเสนอนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และหน่วยรับตรวจยังล่าช้า ท าให้ผลการตรวจสอบไม่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขได้ทันการณ์ส่วนหนึ่งเกิดจากการส่งข้อมูลของผู้รับผิดชอบตรวจสอบแต่ละภารกิจล่าช้ารวมทั้งผู้ปฏิบัติมีภาระงานอ่ืนที่อยู่ในความรับผิดชอบจ านวนมาก การแก้ไขข้อทักท้วงของการตรวจราชการและนิเทศงานรอบที่ 1 ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ทั้ง 4 จังหวัดมีการแก้ไขข้อทักท้วงตามที่ผู้นิเทศได้ให้ข้อเสนอแนะแต่อย่างไรก็ตามยังคงมีบางประเด็นที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขหรืออยู่ในกระบวนการแก้ไขท าให้การแก้ไขยังไม่ครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ โดยเฉพาะประเด็นเรื่องลูกหนี้เงินยืมราชการค้างนานเกินก าหนด การประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง 5 มิติ หน่วยบริการมีการประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง 5 มิติ ตามความเสี่ยงที่แท้จริง และจัดท ารายงานแผน-ผลการพัฒนาองค์กร 5 มิติ จัดส่งให้กลุ่มตรวจสอบภายในฯ ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2560 แต่ยังไม่ครบทุกหน่วยบริการ เขตสุขภาพที่ 7 ได้รับจัดสรรงบอาเซียนตาม “โครงการสนับสนุนเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2560 เพียง 3 จังหวัดคือ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ และ มหาสารคาม และไม่ได้รับจัดสรรงบอาเซียน 1 จังหวัดคือ จังหวัด ร้อยเอ็ด การรายงานผลการตรวจสอบภายในตามแผนการตรวจสอบภายในประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2560 รอบ 6 เดือน ยังไม่ครบถ้วนทุกจังหวัด

2.ปัญหา/อุปสรรคที่พบ 1) การทบทวนประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ยังขาดการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการและบุคลากรแต่ละ

ฝุาย รวมทั้งขาดการสื่อสารท าความเข้าใจและให้ความส าคัญกับกระบวนบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน เพ่ือให้สอดรับการมาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินก าหนด ยังเน้นรูปแบบมากเนื้อหาสาระในเชิงปฏิบัติ

2) คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด มีภาระงานที่รับผิดชอบมาก ส่งผลต่อการจัดส่งรายงานผลการตรวจสอบล่าช้า ท าให้ผลการตรวจสอบของหน่วยรับตรวจไม่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขได้ทันการณ์ 3) เจ้าหน้าที่มีการโยกย้ายบ่อยเนื่องจากปรับเปลี่ยนสายงาน ท าให้การด าเนินงานขาดความต่อเนื่อง รวมถึงเจ้าหน้าที่ใหม่ยังขาดประสบการณ์ และฝุายงานต่างขาดการสอบทานความถูกต้องของกระบวนการปฏิบัติงานในกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะฝุายงานการเงินและบัญชี

Page 12: คณะ 4 การบริหารจัดการ · 100 รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขภาพรวมเขตสุขภาพที่

111

ข้อเสนอแนะ 1) ควรส่งเสริมสนับสนุนให้มีการประเมินผลระบบควบคุมภายใน ประเมินบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ าเสมอ

และต่อเนื่อง เพ่ือส่งเสริมให้การด าเนินงานลดความเสี่ยง เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 2) เห็นควรให้มีการวิเคราะห์ผลการตรวจสอบภายในทุกสิ้นปีเพ่ือจัดระบบควบคุมภายในให้หน่วยรับตรวจถือ

ปฏิบัติจากจุดอ่อนที่พบจากการตรวจสอบภายใน 3) การก าหนดขอบเขตการตรวจสอบให้ครอบคลุมตามนโยบายส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขก าหนด

โดยเฉพาะการตรวจสอบด้านการเบิกจ่ายค่าตอบแทน การตรวจสอบการใช้รถราชการ การตรวจสอบการฝึกอบรม และการตรวจสอบด้านพัสดุ เมื่อพบจุดอ่อนให้ก าหนดแนวทางการพัฒนาต่อไป

4) ให้ทบทวนคู่มือการปฏิบัติแต่ละภารกิจเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 5) น าข้อเสนอแนะหรือข้อทักท้วงจากการตรวจสอบภายใน มาพัฒนาหรือปรับปรุงงานให้ดีขึ้น

3. ปัจจัยความส าเร็จ (Key Success) การสนับสนุนและส่งเสริมจากผู้บริหารในการก าหนดนโยบายให้ความส าคัญกับคุณภาพการบริหารจัดการ

ภายใน โดยเฉพาะความตระหนักและการให้ความส าคัญกับระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงรวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนให้งานตรวจสอบภายในมีโครงสร้างที่ชัดเจนขึ้นตรงต่อผู้บริหารสูงสุด

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา การสนับสนุนจากผู้บริหารในการขับเคลื่อนผลักดัน และให้ความส าคัญกับงานตรวจสอบภายในและการควบคุม

ภายใน ซึ่งเป็นเครื่องมือของผู้บริหารจะท าให้ระบบงานตรวจสอบภายในและควบคุมภายในของหน่วยงาน มีประสิทธิภาพมากขึ้น

5. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง Best Practice (ถ้ามี) -