ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2...

32
ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ) ชั้นปที3 กระบวนวิชา 554311 ชื่อกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1 ภาคการศึกษาที1 ปการศึกษา 2549 กลุมที1 จํานวน 61 คน กลุมที2 จํานวน 56 คน ชื่ออาจารยผูสอน กลุมที1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว กลุ มที2 ผูชวยศาสตราจารยอําไพ จารุวัชรพาณิชกุล ________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภและการเฝาระวังทารกในครรภ ระยะเวลา: 2 ชั่วโมง (การเรียนการสอนประมาณ 100 นาที และเวลาพักประมาณ 20 นาที) วันที่และเวลาสอน: วันจันทรที12 มิถุนายน 2549 เวลา 16.00 – 17.00 . (1ชั่วโมง) วันจันทรที19 มิถุนายน 2549 เวลา 15.00 – 16.00 . (1ชั่วโมง) วัตถุประสงค : เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ 1. บอกวัตถุประสงคการประเมินทารกในครรภและการเฝาระวังทารกในครรภไดถูกตอง 2. อธิบายหลักการตรวจและการแปลผลการตรวจเพื่อการประเมินภาวะทารกในครรภดวยวิธีทางคลินิก ชีวฟสิกส ชีวเคมี และอิเล็กโทรนิกไดถูกตอง 3. ประเมินภาวะทารกในครรภที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภและระยะคลอดไดถูกตอง หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป): 1. วัตถุประสงคของการประเมินภาวะของทารกในครรภและการเฝาระวังทารกในครรภ 3 ดาน 1. การประเมินอายุครรภ และพัฒนาการของทารกในครรภ 2. การประเมินภาวะการมีชีวิตของทารกในครรภ 3. การประเมินความผิดปกติหรือความพิการแตกําเนิดของทารกในครรภ 2. วิธีการประเมินภาวะของทารกในครรภ 2.1 การประเมินโดยวิธีทางคลินิก ปฏิบัติเปนประจําทั้งในหญิงมีครรภปกติ และเนนเปนพิเศษในรายที่มีภาวะเสี่ยง 2.1.1 การตรวจครรภ ตรวจอยางตอเนื่องทุกครั้งที่มาฝากครรภ (1) การประเมินอายุครรภและประเมินภาวะผิดปกติจากระดับยอดมดลูก (2) ประเมินภาวะการมีชีวิตของทารกไดโดยการสังเกตการเคลื่อนไหวของทารกในครรภและการฟง เสียงหัวใจของทารก 2.1.2 การนับการดิ้นของทารกในครรภ (fetal movement counting) 2.2 การประเมินโดยวิธีทางชีวฟสิกส (biophysical monitoring) 2.2.1 การถายภาพดวยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonography [U/S])—ชนิด ระดับการตรวจ ขอบงชีวิธีทํา และความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.2.2 การถายภาพรังสี (radiography)—ขอบงชีวิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.2.3 Amniography—ขอบงชีวิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.2.4 Amnioscopy—ขอบงชีวิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.2.5 Fetoscopy—ขอบงชีวิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_FetalAssessment _Puntawee

Transcript of ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2...

Page 1: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ชั้นปที่ 3 กระบวนวิชา 554311 ช่ือกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 กลุมที่ 1 จํานวน 61 คน กลุมที่ 2 จํานวน 56 คน ช่ืออาจารยผูสอน กลุมที่ 1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว

กลุมที่ 2 ผูชวยศาสตราจารยอําไพ จารุวัชรพาณิชกุล ________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภและการเฝาระวังทารกในครรภ ระยะเวลา: 2 ชั่วโมง (การเรียนการสอนประมาณ 100 นาที และเวลาพักประมาณ 20 นาที) วันที่และเวลาสอน: วันจันทรที่ 12 มิถุนายน 2549 เวลา 16.00 – 17.00 น. (1ชั่วโมง) วันจันทรที่ 19 มิถุนายน 2549 เวลา 15.00 – 16.00 น. (1ชั่วโมง) วัตถุประสงค: เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. บอกวัตถุประสงคการประเมินทารกในครรภและการเฝาระวังทารกในครรภไดถูกตอง 2. อธิบายหลักการตรวจและการแปลผลการตรวจเพื่อการประเมินภาวะทารกในครรภดวยวิธีทางคลินิก ชีวฟสิกส

ชีวเคมี และอิเล็กโทรนิกไดถูกตอง 3. ประเมินภาวะทารกในครรภที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภและระยะคลอดไดถูกตอง

หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป): 1. วัตถุประสงคของการประเมินภาวะของทารกในครรภและการเฝาระวังทารกในครรภ 3 ดาน

1. การประเมนิอายุครรภ และพัฒนาการของทารกในครรภ 2. การประเมินภาวะการมีชีวิตของทารกในครรภ 3. การประเมินความผิดปกติหรือความพิการแตกําเนิดของทารกในครรภ

2. วิธีการประเมินภาวะของทารกในครรภ 2.1 การประเมินโดยวิธีทางคลินิก ปฏิบัติเปนประจําทั้งในหญิงมีครรภปกติ และเนนเปนพิเศษในรายที่มีภาวะเสี่ยง

2.1.1 การตรวจครรภ ตรวจอยางตอเนื่องทุกครั้งที่มาฝากครรภ (1) การประเมินอายุครรภและประเมินภาวะผิดปกติจากระดับยอดมดลูก (2) ประเมินภาวะการมีชีวิตของทารกไดโดยการสังเกตการเคลื่อนไหวของทารกในครรภและการฟง

เสียงหัวใจของทารก 2.1.2 การนับการดิ้นของทารกในครรภ (fetal movement counting)

2.2 การประเมินโดยวิธีทางชีวฟสิกส (biophysical monitoring) 2.2.1 การถายภาพดวยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonography [U/S])—ชนิด ระดับการตรวจ ขอบงชี้ วิธีทํา

และความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.2.2 การถายภาพรังสี (radiography)—ขอบงชี้ วิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.2.3 Amniography—ขอบงชี้ วิธีทําและความปลอดภยั การแปลผล และการพยาบาล 2.2.4 Amnioscopy—ขอบงชี้ วิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.2.5 Fetoscopy—ขอบงชี้ วิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_FetalAssessment _Puntawee

Page 2: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_PhysioPsychoChange_Puntawee

ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ชั้นปที่ 3 กระบวนวิชา 554311 ช่ือกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 กลุมที่ 1 จํานวน 61 คน กลุมที่ 2 จํานวน 56 คน ช่ืออาจารยผูสอน กลุมที่ 1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว กลุมที่ 2 รองศาสตราจารยยุพิน เพียรมงคล

________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การเปลี่ยนแปลงและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงดานรางกายและจิตสังคม ของสตรีในระยะตั้งครรภปกติและครอบครัวและการวินิจฉัยการตั้งครรภ ระยะเวลา: 3 ชั่วโมง (การเรียนการสอนประมาณ 150 นาที และเวลาพักประมาณ 30 นาที) วันที่และเวลาสอน: วันจันทรที่ 19 มิถุนายน 2549 เวลา 16.00 – 17.00 น. (1ชั่วโมง) วันจันทรที่ 26 มิถุนายน 2549 เวลา 15.00 – 17.00 น. (2ชั่วโมง) วัตถุประสงค: เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงดานรางกายของสตรีในระยะตั้งครรภไดถูกตอง 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงและองคประกอบที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงดานจิตสังคมของสตรีในระยะ

ตั้งครรภและครอบครัวไดถูกตอง 3. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดานรางกายและจิตสังคมของสตรีในระยะตั้งครรภไดถูกตอง 4. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกายและจิตสังคมของสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวไดถูกตอง 5. วินิจฉัยการตั้งครรภไดถูกตอง

หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป): 1. การเปลี่ยนแปลงและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงดานรางกายของสตรีในระยะตั้งครรภ

1.1 การเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่—เปรียบเทียบกับกอนตั้งครรภ สาเหตุหลัก สาเหตุสงเสริม และผลกระทบ การนําไปใชทางคลินิก

1.1.1 มดลูก—น้ําหนัก ขนาด และความจุ การเจริญของมดลูก ตําแหนงของมดลูก 1.1.2 เยื่อบมุดลูกชั้นใน และกลามเนื้อมดลูก 1.1.3 เอ็นยึดมดลูกและเลือดที่มาเล้ียงมดลูก 1.1.4 การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ของมดลูก เชน ความนุม ความยืดหยุน การหดรัดตัวของมดลูก เปน

ตน และ signs ตางๆ ที่พบได เชน Von Fernwald’s sign, Piskacek’s sign, Hegar’s sign, Braxton Hicks’ contractions etc.

1.1.5 ปากมดลูก และ signs ตางๆ ที่พบได เชน Goodell’s sign, mucous plug, etc. 1.1.6 รังไขและทอนําไข 1.1.7 ชองคลอด ฝเย็บ และอวัยวะสบืพันธุภายนอก และ signs ตางๆ ที่พบได เชน Chadwick’s

sign, leukorrhea, etc.

Page 3: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_PhysioPsychoChange_Puntawee

2

1.1.8 ผนังหนาทองและผิวหนังบริเวณอื่นๆ และ signs ตางๆ ที่พบได เชน hyperpigmentation, linea nigra, choasma หรือ melasma gravidarum หรือ mask of pregnancy, striae gravidarum, vascular spider, diastasis recti, pendulus abdomen, etc.

1.1.9 เตานมและหัวนม และ signs ตางๆ ที่พบได เชน prinking sensation, breast engorgement, hyperpigmentation, colostrums,

1.2 การเปลี่ยนแปลงในระบบตางๆ—เปรียบเทียบกับกอนตั้งครรภ สาเหตุหลัก สาเหตุสงเสริม และผลกระทบ การนําไปใชทางคลินิก

1.2.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด—ตําแหนง ขนาด และอัตราการเตนของหัวใจ blood pressure, cardiac output (CO), blood volume, และ signs ตางๆ ที่พบได เชน supine hypotensive syndrome, physiological anemia, ความเขมขนของ fibrinogen เพิ่มขึ้น, etc.

1.2.2 ระบบหายใจ—ศูนยควบคุมการหายใจการเปลี่ยนแปลง residual volume ลดลง แต tidal volume เพิ่มขึ้น อัตราการหายใจอาจเพิ่มขึ้นเล็กนอยหรือคงที่ และ signs ตางๆ ที่พบได เชน อาการหายใจลําบาก หรือ หายใจชวงสั้น (dyspnea) าการหายใจลึกและยาว (hyperventilation) เยื่อบุจมูกบวม (มีอาการคัดจมูก มีน้ํามูกคลายเปนหวัดหรือภูมิแพ), etc.

1.2.3 ระบบทางเดินอาหาร—signs ตางๆ ที่พบได เชน คล่ืนไส (nausea) อาเจียน (vomiting) การอยากรับประทานอาหารแปลกๆ (pica) ทองอืด (flatulence) ทองผูก (constipation) ปวดแสบยอดอก (heart burn), etc. - ปากและชองปาก—เหงือกบวม และเหงือกอักเสบ (gingivitis) งายขึ้น เนื้องอกที่เหงือก

(epulis) น้ําลายมากกวาปกติ (ptyalism), etc. - หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลําไส—ตําแหนงเปลี่ยน esophageal sphincter คลาย

ตัว การเคลื่อนไหวและการดูดซึมของลําไสลดลง มี gastric- emptying time และ intestinal transit time ยาวนานขึ้น, etc.

-ตบั และถุงน้ําดี—การทํางานของตับเปล่ียนแปลงเล็กนอย ปริมาณของ albumin ใน plasma ลดลง แต globulin และ alkaline phosphatase เพิ่มขึ้น cholinesterase enzyme ลดลง ถุงน้ําดีโปงพองเล็กนอยและมีความตึงตัวลดลง การสะสมของน้ําดีมากขึ้นการเกิดอาการคัน และอาจเกิดนิ่วในถุงน้ําดีไดเพิ่มขึ้น, etc.

1.2.4 ระบบทางเดินปสสาวะ—signs ตางๆ ที่พบได เชน albuminuria, glucosuria, frequent urination, etc.

- อัตราการกรองของโกลเมอรูลัส (glomerular filtration rate [GFR]) และการไหลเวียนเลือดที่ไต (Renal plasma flow [RPF]) เปล่ียนแปลง

- กระเพาะปสสาวะ ผนังกระเพาะปสสาวะหนาตัวขึ้นและมีความจุมากขึ้น แตกลามเนื้อเรียบของกระเพาะปสสาวะมีความตึงตัว (tone) ลดลง อาจเสี่ยงตอการติดเชื้อในระบบทางเดินปสสาวะ (urinary tract infection [UTI]) ไดงาย

- ไต กรวยไต และทอไตโตและมีความยาวขึ้นเล็กนอย

Page 4: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_PhysioPsychoChange_Puntawee

3

1.2.5 ระบบกระดูกและกลามเนื้อ—จุดศูนยถวงเล่ือนมาขางหนา เกิดภาวะการโคงงอของกระดูกสันหลัง (lordosis) สวน sacroiliac, sacrococcygeal และ pubic joints เคลื่อนไหวไดมากขึ้น เอ็นยึดขอตอกระดูก pubic symphysis และ sacroiliac joints หลวม อาจเกิดการแยกออกของกระดูกหัวหนาว อาจมีความไมสุขสบายเล็กๆ นอยๆ ของระบบกระดูกและกลามเนื้อ เชน เปนตะคริว อาการปวดหลังปวดเอว ปวดถวงหัวหนาว และ carpal tunnel syndrome (CTS) เปนตน

1.2.6 ระบบตอมไรทอและฮอรโมน—ฮอรโมนจากรกและเยื่อหุมทารก จากรังไข จากตอมใตสมองสวนหนาและสวนหลัง จากตอมไทรอยด และพาราไทรอยด และจากตอมหมวกไต

1.2.7 ระบบเผาผลาญสารอาหาร—carbohydrate, protein, fat, mineral, iron, and fluid metabolism

1.2.8 การเพิ่มของน้ําหนักตัวตามไตรมาส 2. การเปลี่ยนแปลงและผลจากการเปลี่ยนแปลงดานจิตสังคมของสตรีระยะตั้งครรภและครอบครัว

2.1 การเปลี่ยนแปลงของสตรีมีครรภในแตละไตรมาส 2.1.1 ความรูสึกสองฝกสองฝาย (ambivalence) 2.1.2 การยอมรับ (acceptance) 2.1.3 ความสนใจกับส่ิงที่เกิดขึ้นภายในตนเอง (introversion) 2.1.4 ความแปรปรวนทางอารมณ (mood swings) 2.1.5 การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ (changes in body image) 2.1.6 พัฒนกิจของสตรีมีครรภ (tasks of the mother) 2.2 การปรับตัวของสามีในแตละไตรมาส 2.3 องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงดานจิตสังคมของสตรีระยะตั้งครรภและครอบครัว 2.3.1 ความเชื่อและการใหคุณคาเกี่ยวกับการตั้งครรภ 2.3.2 ปจจัยที่เกี่ยวกับสตรีในระยะตั้งครรภ 2.3.3 ครอบครัว 2.3.4 ส่ิงแวดลอมตางๆ

3. สรุปความไมสุขสบายตามไตรมาสและสาเหตุ 4. การวินิจฉัยการตั้งครรภ

4.1 ระยะเวลาของการตั้งครรภครบกําหนด เทากับ 40 ± 2 สัปดาห หรือ 38 – 42 สัปดาห โดยเฉลี่ยเทากับ 280 วัน หรือ 40 สัปดาห หรือ 10 เดือนตามจันทรคติ หรือ 9 เดือนตามปฏิทิน การตั้งครรภแบงเปน 3 ระยะ เรียกวา ไตรมาส (trimester) โดยแตละไตรมาสใชเวลาประมาณ 14 สัปดาห หรือ 3 เดือน ซึ่งในทางปฏิบัติแบงแตละไตรมาสดังนี้

ไตรมาสที่ 1 (first trimester) อายุครรภ 1-14 สัปดาห ไตรมาสที่ 2 (second trimester) อายุครรภ 15-28 สัปดาห ไตรมาสที่ 3 (third trimester) อายุครรภ 29-42 สัปดาห

Page 5: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_PhysioPsychoChange_Puntawee

4

4.2 ขอมูลพื้นฐานในการวินิจฉัยการตั้งครรภ—ขอมูลจากสตรีมีครรภเอง (subjective data) และจากการตรวจพบทางคลินิกตางๆ (objective data) โดยทั่วไปสามารถแบงอาการและอาการแสดงของการตั้งครรภออกเปน 3 กลุม

4.2.1 อาการและอาการแสดงที่คาดวาจะตั้งครรภ (Presumptive signs and symptoms)—เปนการเปล่ียนแปลงดานกายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยาที่สตรีมีครรภสามารถสังเกตพบไดดวยตนเอง เปนอาการที่นาเชื่อถือนอยที่สุดในการชวยวินิจฉัยการตั้งครรภ 4.2.2 อาการแสดงวาอาจตั้งครรภ (probable signs)—เปนการเปลี่ยนแปลงดานกายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยาซึ่งตรวจพบไดในทางคลินิก จงึมีความนาเชื่อถือมากขึ้น 4.2.3 อาการแสดงวาตั้งครรภแนนอน (positive signs) เปนอาการแสดงของทารกในครรภโดยตรง ทําใหมีความนาเชื่อถือที่สุด กิจกรรมการเรยีนการสอน: (รวมเวลาประมาณ 150 นาที) 1. เกริ่นนําและเชื่อมโยงหัวขอเนื้อหานี้กับการเรียนการสอนสําหรับนักศึกษาเฉพาะตอนที่ 1 ทั้งหมดกอนเริ่มการฝก

ปฏิบัติสัปดาหแรกของภาคการศึกษานี้ (รวมประมาณ 5 นาท)ี 2. อธิบายวัตถุประสงคการเรียนการสอน หัวขอเนื้อหาและความเชื่อมโยงกับหัวขอเนื้อหาอื่นๆ และแนวทางการวัดและ

ประเมินผล (รวมประมาณ 5 นาที) 3. บรรยายสรุปตามเอกสารประกอบการสอนและนําเสนอสรุปเนื้อหาสําคัญและภาพประกอบใน PowerPoint

Presentation พรอมทั้งยกตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ ใหนักศึกษาฝกวิเคราะห และเปดโอกาสใหนักศึกษาตอบคําถามจากการวิเคราะหดังกลาว (รวมประมาณ 100 นาท)ี

4. ใหนักศึกษาอภิปรายกลุมยอยพรอมทั้งการนําเสนอในชั้นเรียน (รวมประมาณ 20 นาที) โดยการแบงกลุมยอย กลุมละ 7-8 คน รวม 8 กลุม แลวชวยกันวิเคราะหกรณีศึกษา และนักศึกษาทุกกลุมเขียนผลงานกลุมในกระดาษ แลวนําเสนอโดยใช visualizer

5. เฉลยคําตอบกรณีศึกษา พรอมทั้งเปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามขอสงสัยเพิ่มเติม และสรุปการเรียนการสอน (รวมประมาณ /จ นาท)ี

ส่ือการสอน: 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation: สรุปเนื้อหาสําคัญ ภาพประกอบ ตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ และ

สถานการณทางคลินิกสําหรับการวิเคราะห 3. ใบงาน และตัวอยางกรณีศึกษาสําหรับการอภิปรายกลุมยอย 4. LCD Projector, computer และ visualizer งานที่มอบหมาย: 1. การศึกษาคนควาดวยตนเอง (self-directed learning) เพิ่มเติมจากหนังสืออานเพิ่มเติมและเอกสารวิชาการอื่นๆ

รวมทั้งการใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ของกระบวนวิชา 554311 2. การฝกเขียนสถานการณทางคลินิกและคิดวิเคราะหดวยตนเองหรือ group discussion การวัดและประเมินผล: 1. การสังเกตความสนใจเขาชั้นเรียนตรงเวลา ความสนใจฟงการบรรยาย การรวมคิดวิเคราะห การซักถาม และการตอบ

คําถาม

Page 6: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_PhysioPsychoChange_Puntawee

5

2. การสอบขอเขียน (3 ชั่วโมงเรียน เทากับ 18 คะแนน) ลักษณะขอสอบประกอบดวย 2.1 ขอสอบถูกผิด ขอละ 1/4 คะแนน จํานวน 6 ขอ รวม 1 ½ คะแนน ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 1 & 2 2.2 ขอสอบจับคู ขอละ 1/4 คะแนน จํานวน 6 ขอ รวม 1 ½ คะแนน ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 1 & 2 2.3 ขอสอบ 4 ตัวเลือก ขอละ 1 คะแนน จํานวน 15 ขอ รวม 15 คะแนน—ระดับเขาใจ 11 ขอ (ทดสอบ วัตถุประสงคขอที่ 1, 2, & 3) และระดับนําไปใช 4 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 4 & 5)

หนังสืออานเพิ่มเติม: กรรณิการ กันธะรักษา. (2531). การพยาบาลดานจิตสังคมในระยะตั้งครรภ. เชียงใหม: คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เทียมศร ทองสวัสดิ์. (2531). การพยาบาลในระยะตั้งครรภ.. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นทติ้ง เฮาส. Fraser, D. M., & Cooper, M. A. (2003). Myles textbook for midwives (14 td ed.). Philadelphia: W. B. Saunders. Lowdermilk, D. L., Perry, S. E., & Boak, I. M. (2000). Maternity women’s health care (7th ed.). St. Louis: Mosby. Nichols, H. N., & Zwelling, E. (1997). Maternal-newborn nursing: Theory and practice. Philadelphia: W. B. Saunders. Olds, S. B., London, M. L., & Ladewig, P. A. (2000). Maternal newborn nursing: A family- and community- based approach (6th ed.). United States of America: Prentice-Hall

**************************************

Page 7: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

2.3 การประเมินโดยวิธีทางชีวเคมี (biochemical monitoring) 2.3.1 การตรวจหาระดับ estriol ในปสสาวะ (urine estriol)—ขอบงชี้ วิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล

และการพยาบาล 2.3.2 การตรวจเลือดของหญิงมีครรภ (maternal blood study)—แตละวิธีกลาวถึง ขอบงชี้ วิธีทําและความ

ปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล (1) การตรวจหาระดับฮอรโมน human placental lactogen (hPL) หรือ human chorionic

somatomammotropin (hCS) (2) การตรวจหา alpha-fetoprotein (maternal serum alpha-fetoprotein [MSAFP] (3) การตรวจหาระดับ estrio (4) การตรวจหา alkaline phosphatase และ oxytocinase (5) ารตรวจหาฮอรโมน human chorionic gonadotropin (hCG)

2.3.3 การตรวจตัวอยางเลือดทารก (fetal blood sampling) (1) Percutaneous umbilical blood sampling (PUBS) หรือ Cordocentesis (2) Fetal scalp blood sampling

2.3.4 การตรวจวิเคราะหเนื้อรก (chorionic villus samping: CVS) 2.3.5 การตรวจวิเคราะหน้ําคร่ํา (amniotic fluid analysis)

(1) การตรวจเพื่อประเมินอายุครรภและ fetal maturity - การตรวจ lecithin-sphingomyelin ratio (L/S ratio) - Foam stability test หรือ shake test - การตรวจหาระดับ creatinine - การตรวจ Nile blue test

(2) การตรวจเพื่อประเมินภาวการณมีชีวิตของทารกในครรภ - การตรวจดูสีหรือลักษณะทั่วไปของน้ําคร่ํา - การตรวจระดับ bilirubin

(3) การตรวจหาความผิดปกติทางพันธุกรรม หรือความพิการแตกําเนิด - การตรวจระดับ alpha fetoprotein (AFP) - การตรวจหา enzyme และผลผลิตทาง metabolism บางอยาง - การเพาะเลี้ยงเซลลและตรวจ karyotypin

2.4 การประเมินโดยวิธีทางอิเล็กโทรนิก (electronic monitoring)—แตละวิธีกลาวถึง ขอบงชี้ วิธีทําและความปลอดภัย การแปลผล และการพยาบาล 2.4.1 การบันทึกจากภายนอก (external method หรือ external monitoring) 2.4.2 การบันทึกจากภายใน (internal method หรอื internal monitoring) 2.4.3 ลักษณะการเตนของหัวใจทารกในครรภแบบตางๆ

(1) Baseline fetal heart rate (2) Periodic fetal heart rate

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_FetalAssessment _Puntawee

Page 8: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

3

- Uniform patterns of deceleration Early deceleration หรือ Type I dip Late deceleration หรือ Type II dip

- Variable patterns of deceleration หรือ nonuniform deceleration - Combined (mixed) patterns of deceleration

(3) Fetal heart rate variability 2.4.4 การตรวจเพื่อประเมินภาวะของทารกในครรภ

(1) Nonstress test (NST) หรือ Fetal activity acceleration determination (FAD) (2) Contraction stress test (CST) หรือ Oxytocin challenge test (OCT)

2.4.5 การประเมินโดย Biophysical Profile (BPP) จากการตรวจดวย ultra sound 4 อยางรวมกับผลการตรวจ nonstress test รวมเปน 5 parameters

กิจกรรมการเรยีนการสอน: (รวมเวลาประมาณ 100 นาที) 1. เกริ่นนําและเชื่อมโยงหัวขอเนื้อหานี้กับการเรียนการสอนสําหรับหัวขอเนื้อหากอนหนาหัวขอเนื้อหานี้ (รวมประมาณ 5

นาที) 2. อธิบายวัตถุประสงคการเรียนการสอน หัวขอเนื้อหาและความเชื่อมโยงกับหัวขอเนื้อหาอื่นๆ และแนวทางการวัดและ

ประเมินผล (รวมประมาณ 5 นาที) 3. บรรยายสรุปตามเอกสารประกอบการสอนและนําเสนอสรุปเนื้อหาสําคัญและภาพประกอบใน PowerPoint

Presentation พรอมทั้งยกตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ ใหนักศึกษาฝกวิเคราะห และเปดโอกาสใหนักศึกษาตอบคําถามจากการวิเคราะหดังกลาว (รวมประมาณ 35 + 35 = 70 นาที) ใหนักศึกษาอภิปรายสถานการณทางคลินิกและตอบคําถามกลุมใหญในชั้นเรียน (รวมประมาณ10 นาท)ี

4. เฉลยคําตอบ พรอมทั้งเปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามเพิ่มเติม และสรุปการเรียนการสอน (รวมประมาณ 10 นาที) ส่ือการสอน: 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation: สรุปเนื้อหาสําคัญ ภาพประกอบ ตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ และ

สถานการณทางคลินิกสําหรับการวิเคราะห ใบงาน และตัวอยางสถานการณทางคลินิกสําหรับการอภิปรายกลุมใหญในชั้นเรียน

3. LCD Projector, computer และ visualizer งานที่มอบหมาย: 1. การศึกษาคนควาดวยตนเอง (self-directed learning) เพิ่มเติมจากหนังสืออานเพิ่มเติมและเอกสารวิชาการอื่นๆ

รวมทั้งการใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ของกระบวนวิชา 554311 2. การฝกเขียนสถานการณทางคลินิกและคิดวิเคราะหดวยตนเองหรือ group discussion การวัดและประเมินผล: 1. การสังเกตความสนใจเขาชั้นเรียนตรงเวลา ความสนใจฟงการบรรยาย การรวมคิดวิเคราะห การซักถาม และการตอบ

คําถาม แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_FetalAssessment _Puntawee

Page 9: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

4

2. การสอบขอเขียน (2 ชั่วโมงเรียน เทากับ 12 คะแนน) ลักษณะขอสอบประกอบดวยขอสอบ 4 ตัวเลือก ขอละ 1 คะแนน จํานวน 12 ขอ รวม 12 คะแนน—ระดับเขาใจ 10 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 1 และ 2) และระดับนําไปใช 2 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 3)

หนังสืออานเพิ่มเติม: ธีระ ทองสง. (2544). การตรวจสุขภาพทารกในครรภ (เรียบเรียงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: พี. บี. ฟอเรนบุคส เซนเตอร ธีระพร วุฒยวนิช, ธีระ ทองสง, และจตุพล ศรีสมบูรณ (บรรณาธิการ). (2537). ตําราสูติศาสต ร(พิมพครั้งที่ 3).

กรุงเทพฯ: พี.บี. ฟอเรน บุคสเซนเตอร. วินิต พัวประดิษฐ. (บรรณาธิการ). (2537). การบริบาลครรภเส่ียงสูง (High risk pregnancy management).

กรุงเทพฯ: หมอชาวบาน. สุจิตรา เทียนสวัสดิ์. (2529). การประเมินสภาวะของทารกในครรภและทารกแรกเกิด. เชียงใหม: คณะพยาบาลศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม. Cunningham, F. G., Gant, N. F., Leveno, K. J., Gilstrap III, L. C., & Wenstrom, K. D. (2001). Williams

obstetrics (21st ed.). New York: McGraw-Hill. Dickason, E. J., Silveverman, B. L., & Kaplan, J. A. (1998). Maternal infant nursing care. St. Louis: Mosby. Gorrie, T. M., Mckinney, E. S., & Murray, S. S. (1998). Foundation of maternal-newborn nursing (2nd ed.).

Philadelphia: W. B. Saunders. Littleton, L. Y., & Engebretson, J. C. (2002) Maternal, neonatal, and women’s health nursing. Australia:

Delmar Thomson Learning. Lowdermilk, D. L., Perry, S. E., & Bobak, I. M. (2004). Maternity & women’s health care (8th ed.). St. Louis:

Mosby. Ransom, S. B., Dombrowski, M. P., Mcneeley, S. G., Moghissi, K. S., & Munkarah, A. R. (2000). Practical

strategies in obstetrics and gynecology. Philadelphia: W. B. Saunders. Reeder, S. J., Martin, L. L., Koniak-Griffin, D. (1997). Maternity nursing: Family, newborn, and women’s

health care (8th ed.). Philadelphia: Lippincott. Timor-Tritsch, I., & Monteagudo, A. (1996). Scanning techniques in obstetrics and gynecology. Clinical

obstetrics and gynecology , 39, 167-174. Varney, H. (1997). Varney's midwifery (3rd ed.). London: Jones and Bartlett.

**************************************

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_FetalAssessment _Puntawee

Page 10: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ชั้นปที่ 3 กระบวนวิชา 554311 ช่ือกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 กลุมที่ 1 จํานวน 61 คน กลุมที่ 2 จํานวน 56 คน ช่ืออาจารยผูสอน กลุมที่ 1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว กลุมที่ 2 อาจารยจิราวรรณ ดีเหลือ

________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การประเมินภาวะสุขภาพของสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัว: การคาดคะเนอายุครรภและกําหนดวันคลอด ระยะเวลาที่สอน: 1 ชั่วโมง (การเรียนการสอนประมาณ 50 นาที และเวลาพักประมาณ 10 นาที) วันที่และเวลาสอน: วันจันทรที่ 3 กรกฎาคม 2549 เวลา 15.00 – 16.00 น. วัตถุประสงค: เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความสําคัญ ความหมาย และหลักการคาดคะเนอายุครรภและกาํหนดวันคลอดวิธีการตางๆไดถูกตอง 2. คาดคะเนอายุครรภและกําหนดวันคลอดวิธีการตางๆไดถูกตอง

หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป): 1. ความสําคัญ และความหมาย: การคาดคะเนอายุครรภและกําหนดวันคลอด 2.หลักการและวิธีการตางๆในการคาดคะเนอายุครรภและกําหนดวันคลอด 2.1 Naegele’s rule 2.2 Ultrasonography (U/S) 2.3 Fundal height (FH) 2.3.1 Williams obstetrics method 2.3.2 Modified McDonald’s method 2.3.3 McDonald’s method 2.4 Per vagina (PV) 2.5 Quickening 2.6 Fetal heart sound 2.7 X-rays 2.8 Fetal length 2.8.1 Hasse’s rule 2.8.2 Handy’s or Arey’s rule 3. ความแมนยําของการคาดคะเนอายุครรภและกําหนดวันคลอดวิธีตางๆ 4. สรุปสาระสําคัญ กิจกรรมการเรยีนการสอน: (รวมเวลาประมาณ 50 นาที) 1. เกริ่นนําและเชื่อมโยงหัวขอเนื้อหานี้กับการเรียนการสอนสําหรับนักศึกษาเฉพาะตอนที่ 1 ทั้งหมดกอนเริ่มการฝก

ปฏิบัติสัปดาหแรกของภาคการศึกษานี้ ตั้งคําถามใหนักศึกษาตอบเกี่ยวกับ “ความหมายและความสําคัญของการ

แผนการสอนกระบวนวิชา 54311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_GA&EDC_Puntawee

Page 11: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

คาดคะเนอายุครรภและกําหนดวันคลอด” และ “การคาดคะเนอายุครรภและกําหนดวันคลอดวิธีตางๆ” (รวมประมาณ 5 นาท)ี

2. อธิบายวัตถุประสงคการเรียนการสอน หัวขอเนื้อหาและความเชื่อมโยงกับหัวขอเนื้อหาอื่นๆ และแนวทางการวัดและประเมินผล (รวมประมาณ 5 นาที)

3. บรรยายสรุปตามเอกสารประกอบการสอนและนําเสนอสรุปเนื้อหาสําคัญและภาพประกอบใน PowerPoint Presentation พรอมทั้งยกตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ ใหนักศึกษาฝกวิเคราะห และเปดโอกาสใหนักศึกษาตอบคําถามจากการวิเคราะหดังกลาว (รวมประมาณ 25 นาที)

4. ใหนักศึกษาคํานวณอายุครรภและกําหนดวันคลอดวิธีตางๆ และตอบคําถามเปนรายบุคคล (รวมประมาณ 5 นาที) 5. ใหนักศึกษาอภิปรายกลุมยอยพรอมทั้งการนําเสนอในชั้นเรียน (รวมประมาณ 10 นาที) โดยการแบงกลุมยอย กลุมละ

8-9 คน รวม 7 กลุม แลวชวยกันวิเคราะหกรณีศึกษา เพื่อ - คํานวณอายุครรภและกําหนดวันคลอดทุกวิธี - เขียนผลการคํานวณในกระดาษและสรุปวิธีที่เชื่อถือมากที่สุด แลวนําเสนอโดยใช visualizer

6. เฉลยคําตอบกรณีศึกษาพรอมทั้งเปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามขอสงสัยเพิ่มเติม และสรุปการเรียนการสอน (รวมประมาณ 5 นาท)ี

ส่ือการสอน: 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation: สรุปเนื้อหาสําคัญ ภาพประกอบ ตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ และ

สถานการณทางคลินิกสําหรับการวิเคราะห 3. แบบฝกหัดสําหรับการฝกคํานวณอายุครรภและกําหนดวันคลอดวิธีตางๆ 4. ใบงาน และตัวอยางกรณีศึกษาสําหรับการอภิปรายกลุมยอย 5. LCD Projector, computer และ visualizer งานที่มอบหมาย: 1. การศึกษาคนควาดวยตนเอง (self-directed learning) เพิ่มเติมจากหนังสืออานเพิ่มเติมและเอกสารวิชาการอื่นๆ

รวมทั้งการใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ของกระบวนวิชา 554311 2. การฝกเขียนสถานการณทางคลินิกและคิดวิเคราะหดวยตนเองหรือ group discussion การวัดและประเมินผล: 1. การสังเกตความสนใจเขาชั้นเรียนตรงเวลา ความสนใจฟงการบรรยาย การรวมคิดวิเคราะห การซักถาม และการตอบ

คําถาม การสอบขอเขียน (1 ชั่วโมงเรียน เทากับ 6 คะแนน) ลักษณะขอสอบเปนขอสอบ 4 ตัวเลือก ขอละ 1 คะแนน (6 ขอตอ 1 ชั่วโมงเรียน)—ระดับเขาใจ 4 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 1) และนําไปใช 2 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 2)

หนังสืออานเพิ่มเติม: วราวุธ สุมาวงศ. (2545). คูมือการฝากครรภและการคลอด (ฉบับสูติศาสตรอนุสรณ). กรุงเทพฯ: งานแพทยศาสตร ศึกษา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

**************************************

แผนการสอนกระบวนวิชา 54311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_GA&EDC_Puntawee

Page 12: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ชั้นปที่ 3 กระบวนวิชา 554311 ช่ือกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 กลุมที่ 1 จํานวน 61 คน กลุมที่ 2 จํานวน 55 คน ช่ืออาจารยผูสอน กลุมที่ 1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว กลุมที่ 2 อาจารยจิราวรรณ ดีเหลือ

________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การประเมินภาวะสุขภาพของสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัว: คําศัพทที่เกี่ยวของและการตรวจครรภ ระยะเวลา: 3 ชั่วโมง (การเรียนการสอนประมาณ 150 นาที และเวลาพักประมาณ 30 นาที) วันที่และเวลาสอน: วันจันทรที่ 3 กรกฎาคม 2549 เวลา 16.00 – 17.00 น. (1ชั่วโมง) วันจันทรที่ 17 กรกฎาคม 2549 เวลา 15.00 – 17.00 น. (2ชั่วโมง) วัตถุประสงค: เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายคําศัพทตางๆที่เกี่ยวของกับการตรวจครรภไดถูกตอง 2. อธิบายวัตถุประสงคของการตรวจครรภไดถูกตอง 3. อธิบายหลักการและวิธีการตรวจครรภจากการดู การคลํา และการฟงไดถูกตอง 4. วินิจฉัยสภาพทารกในครรภจากการตรวจครรภไดถูกตอง

หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป): 1. คําศัพทตางๆที่เกี่ยวของกับการตรวจครรภ 1.1 Fetal ovoid: Cephalic & caudal poles 1.2 Fetal parts 1.2.1 Fetal head: Skull (7), sutures (4), fontanels (2), parts (6), and size (diameters& circumferences) 1.2.2 Fetal body: Shoulder, chest, abdomen, and buttock 1.3 Lie: Longitudinal, transverse, and oblique (or unstable) 1.4 Attitude: Flexion, and deflexion (slight degree, moderate degree, & marked degree) 1.5 Presentation and presenting part: Cephalic or head—Vertex, bregma, brow, & face; breech; shoulder & trunk; and compound 1.6 Denominator: Occiput (O), frontal (F), mentum (M), sacrum (S), scapula (Sc) or acromion process (Ac) 1.7 Position: 8 parts of maternal pelvis; all positions related to lie, attitude, presentation, & denominator 2. การตรวจครรภ 2.1 วัตถุประสงคของการตรวจครรภ 2.2 วิธีการตรวจครรภ 2.2.1 การดู (inspection): Abdominal size, shape & lie; fetal movement; and general appearance (abdominal skin, contour, & scar; fetal position; and overriding of fetal head) 2.2.2 การคลํา (palpation): Leopold’s maneuver, anterior shoulder, upper & lower parts of uterus, and overriding of fetal head

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_TermsObsAbdExam_Puntawee

Page 13: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

2.2.3 การฟง (auscultation): Fetal heart location, rate & rhythm; and other sounds (uterine soufflé, umbilical soufflé, fetal shocking, & bowel sound) 3. การวินิจฉัยสภาพทารกในครรภจากการตรวจครรภ (การดู การคลํา และการฟง): Lie, presentation, attitude, denominator, & position; and fetal well-being 4. สรุปสาระสําคัญ กิจกรรมการเรยีนการสอน: (รวมเวลาประมาณ 150 นาที) 1. เกริ่นนําและเชื่อมโยงหัวขอเนื้อหานี้กับการเรียนการสอนสําหรับนักศึกษาเฉพาะตอนที่ 1 ทั้งหมดกอนเริ่มการฝก

ปฏิบัติสัปดาหแรกของภาคการศึกษานี้ ตั้งคําถามใหนักศึกษาตอบเกี่ยวกับ “ความสําคัญของคําศัพทตางๆที่เกี่ยวของกับการตรวจครรภ” และ “วัตถุประสงคของการตรวจครรภและการตรวจครรภวิธีตางๆ” (รวมประมาณ 5 นาที)

2. อธิบายวัตถุประสงคการเรียนการสอน หัวขอเนื้อหาและความเชื่อมโยงกับหัวขอเนื้อหาอื่นๆ และแนวทางการวัดและประเมินผล (รวมประมาณ 10 นาที)

3. บรรยายสรุปตามเอกสารประกอบการสอนและนําเสนอสรุปเนื้อหาสําคัญและภาพประกอบใน PowerPoint Presentation พรอมทั้งยกตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ ใหนักศึกษาฝกวิเคราะห และเปดโอกาสใหนักศึกษาตอบคําถามจากการวิเคราะหดังกลาว (รวมประมาณ 35 + 65 = 100 นาที)

4. ใหนักศึกษาอภิปรายกลุมยอยพรอมทั้งการนําเสนอในชั้นเรียน (รวมประมาณ 20 นาที) โดยการแบงกลุมยอย กลุมละ 7-8 คน รวม 8 กลุม แลวชวยกันวิเคราะหกรณีศึกษา 2 เรื่อง ดังนี้

- นักศึกษา 4 กลุมแรก วิเคราะหกรณีศึกษาเรื่องที่ 1 แลววินิจฉัยสภาพทารกในครรภ (lie, presentation, attitude, denominator, & position; and fetal well-being) ที่สัมพันธกับสรุปผลการตรวจครรภ (การดู การคลํา และการฟง) ที่เขียนไวในกรณีศึกษา

- นักศึกษา 4 กลุมหลัง วิเคราะหกรณีศึกษาเรื่องที่ 2 แลวเขียนผลการตรวจครรภ (การดู การคลํา และการฟง) ที่สัมพันธกับสรุปผลการวินิจฉัยสภาพทารกในครรภ (lie, presentation, attitude, denominator, & position; and fetal well-being) ที่เขียนไวในกรณีศึกษา

- นักศึกษาทุกกลุมเขียนผลงานกลุมในกระดาษ แลวนําเสนอโดยใช visualizer 5. เฉลยคําตอบกรณีศึกษา พรอมทั้งเปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามขอสงสัยเพิ่มเติม และสรุปการเรียนการสอน (รวม

ประมาณ 15 นาท)ี ส่ือการสอน: 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation: สรุปเนื้อหาสําคัญ ภาพประกอบ ตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ และ

สถานการณทางคลินิกสําหรับการวิเคราะห 3. ใบงาน และตัวอยางกรณีศึกษาสําหรับการอภิปรายกลุมยอย 4. LCD Projector, computer และ visualizer งานที่มอบหมาย: 1. การศึกษาคนควาดวยตนเอง (self-directed learning) เพิ่มเติมจากหนังสืออานเพิ่มเติมและเอกสารวิชาการอื่นๆ

รวมทั้งการใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ของกระบวนวิชา 554311 2. การฝกเขียนสถานการณทางคลินิกและคิดวิเคราะหดวยตนเองหรือ group discussion แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_TermsObsAbdExam_Puntawee

Page 14: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

3

การวัดและประเมินผล: 1. การสังเกตความสนใจเขาชั้นเรียนตรงเวลา ความสนใจฟงการบรรยาย การรวมคิดวิเคราะห การซักถาม และการตอบ

คําถาม 2. การสอบขอเขียน (3 ชั่วโมงเรียน เทากับ 18 คะแนน) ลักษณะขอสอบประกอบดวย

2.1 ขอสอบถูกผิด ขอละ 1/4 คะแนน จํานวน 6 ขอ รวม 1 ½ คะแนน ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 1 2.2 ขอสอบจับคู ขอละ 1/4 คะแนน จํานวน 6 ขอ รวม 1 ½ คะแนน ทดสอบวัตถปุระสงคขอที่ 1 2.3 ขอสอบ 4 ตัวเลือก ขอละ 1 คะแนน จํานวน 15 ขอ รวม 15 คะแนน—ระดับเขาใจ 11 ขอ (ทดสอบ วัตถุประสงคขอที่ 2 และ 3) และระดับนําไปใช 4 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 4)

หนังสืออานเพิ่มเติม: วราวุธ สุมาวงศ. (2545). คูมือการฝากครรภและการคลอด (ฉบับสูติศาสตรอนุสรณ). กรุงเทพฯ: งานแพทยศาสตร ศึกษา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

**************************************

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_TermsObsAbdExam_Puntawee

Page 15: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ชั้นปที่ 3 กระบวนวิชา 554311 ช่ือกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 กลุมที่ 1 จํานวน 61 คน กลุมที่ 2 จํานวน 55 คน ช่ืออาจารยผูสอน กลุมที่ 1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว กลุมที่ 2 อาจารยจิราวรรณ ดีเหลือ

________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การประเมินภาวะสุขภาพของสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัว ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง (การเรียนการสอนประมาณ 50 นาที และเวลาพักประมาณ 10 นาที) วันที่และเวลาสอน: วันจันทรที่ 24 กรกฎาคม 2549 เวลา 15.00 – 16.00 น. (1ชั่วโมง) วัตถุประสงค: เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความสําคัญและวัตถุประสงคของการฝากครรภไดถูกตอง 2. ประเมินภาวะสุขภาพของสตรใีนระยะตั้งครรภและครอบครัวจากการซักประวัติ การประเมินดานรางกายและจิต

สังคม ตลอดจนการตรวจทางหองปฏิบัติการไดถูกตอง หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป):

1. ความสําคัญและวัตถุประสงคของการฝากครรภ 2. การประเมินภาวะสุขภาพในระยะตั้งครรภ (prenatal assessment) ของสตรีและครอบครัว

2.1 จากการซักประวัติ (history taking) 2.1.1 ขอมูลพื้นฐานสวนบุคคลและประวัติทางสังคม—ชื่อและนามสกุล อายุ เชื้อชาติ ศาสนา

สถานภาพสมรส การแตงงาน การศึกษา อาชพี รายได ที่อยูปจจุบันและลักษณะของสิ่งแวดลอม แบบแผนการดํารงชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพ วัฒนธรรมและความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ และขอมูลสวนบุคคลของสามี เชน ชื่อและนามสกุล อายุ เชื้อชาติ ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายได การใชยาและสารเสพติด เปนตน

2.1.2 ประวัติทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา—ประวัติประจําเดือน (menarche, menstrual cycle, PMP, และ LMP) ประวัติการคุมกําเนิด ประวัตกิารมีบุตรยาก และประวัติการตั้งครรภและการคลอดในอดีต

2.1.3 ประวัติความเจ็บปวยของสตรีมีครรภทั้งในอดีตและปจจุบัน—ซักประวัติเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บปวยที่อาจมีผลกระทบตอการตั้งครรภ หรือการตั้งครรภมีผลกระทบตอโรค ดังนี้

(1) โรคในวัยเด็กและโรคติดตอ (2) โรคทางพันธุกรรม (3) โรคทางอายุรกรรมและศัลยกรรม (4) การไดรับอุบัติเหตุหรือโรคของกระดูกเชิงกรานและหลัง (5) การผาตัดอวัยวะในอุงเชิงกราน (6) ประวัติการแพยา อาหาร และสารเคมีตางๆ (7) ประวัติการไดรับวัคซีนตางๆ

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_HealthAssessment_Puntawee

Page 16: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

2.1.4 ประวัติความเจ็บปวยของบุคคลในครอบครัว--ซักประวัติเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บปวยของสามี บุตรคนกอน พอแม ญาติพี่นองทั้งฝายสตรีมีครรภและสามีที่อาจมีผลกระทบตอการตั้งครรภ

2.1.5 ประวัติการตั้งครรภปจจุบัน--ซักถามเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของการตั้งครรภ การตรวจสอบการตั้งครรภ วันที่มารดารูสึกวาลูกดิ้นเปนครั้งแรก (quickening) การดิ้นของทารกในครรภ การเปลี่ยนแปลงและอาการไมสุขสบาย อาการผิดปกติหรือภาวะแทรกซอนตางๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางการตั้งครรภ และการปฏิบัติตัวในระยะตั้งครรภ

2.2 จากการประเมินดานรางกาย (physical assessment)--ประเมินการเปลี่ยนแปลงและอาการผิดปกติทางดานรางกายของสตรีมีครรภ 2.2.1 การตรวจรางกายทั่วไป--ความสูง น้ําหนัก เกณฑและการคํานวณ BMI สัญญาณชีพ ความดัน

โลหิต เกณฑและการคํานวณ MAP ลักษณะทั่วไป (รูปราง การทรงตัว ทาเดิน การแตงกาย ความสะอาด ระดับความรูสึกตัว สีหนา ทาทาง อารมณ ความสามารถในการตอบคําถาม การตัดสินใจ และการใชเหตุผล) ศีรษะและ ใบหนา คอ ทรวงอก เตานมและหัวนม ชองทอง กลามเนื้อ กระดูก แขน ขา และผิวหนัง อวัยวะสืบพันธุ และทวารหนัก เกณฑอาการบวมของรางกาย

2.2.2 การตรวจภายใน 2.2.3 การตรวจครรภ

2.3 จากการประเมินดานจิตสังคม (Psychosocial assessment) 2.3.1 การปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงดานจิตสังคมตามไตรมาสของสตรีมีครรภ 2.3.2 การปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงดานจิตสังคมตามไตรมาสของสามี 2.3.3 ภาวะเครียดและการปรับตัวของสตรีมีครรภและครอบครัว 2.3.4 สัมพันธภาพในครอบครัว 2.3.5 ระบบสนับสนุนค้ําจุน

2.4 จากการตรวจทางหองปฏิบัติการ (Laboratory test and screening) เกณฑการแปลผลและการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม 2.4.1 การตรวจปสสาวะ—Albumin และ sugar 2.4.2 การตรวจเลือด-- Hemoglobin (Hb), hematocrit (Hct), venereal disease research

laboratory test (VDRL) และ FTA-ABS (fluorescent treponemal antibody absorption test), human immunodeficiency virus (HIV) โดยวิธี FDA-licensed Elisa, hepatitis B surface antigen (HbsAg), blood group & Rh, osmolality fragility test (OFT), rubella titer, glucose challenge test (GCT) or 1–hour glucose tolerance test, oral glucose tolerance test (OGTT) or 3–hour glucose tolerance test, etc.

2.4.3 Papanicolaou smear (Pap smear) 2.4.4 การตรวจพิเศษอื่นๆ (other fetal-maternal evaluation test) เชน U/S, NST, amniocentesis,

cordocentesis etc. 3. สรุปการประเมินภาวะสุขภาพของสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัว และการนําขอมูลที่ไดมาประมวลและ

วิเคราะหเกี่ยวกับภาวะการตั้งครรภ อาการไมสุขสบาย ภาวะเสี่ยงหรือภาวะแทรกซอนที่พบรวมกับการตั้งครรภ

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_HealthAssessment_Puntawee

Page 17: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

3

รวมทั้งความตองการทางดานรางกาย จิตใจ อารมณและสังคม เพื่อนําไปวางแผนใหการพยาบาลที่เหมาะสมสําหรับสตรีมีครรภและครอบครัวตอไป

กิจกรรมการเรยีนการสอน: (รวมเวลาประมาณ 50 นาที) 1. เกริ่นนําและเชื่อมโยงหัวขอเนื้อหานี้กับหัวขอเนื้อหากอนและที่จะเรียนตอไป (รวมประมาณ 5 นาที) 2. อธิบายวัตถุประสงคการเรียนการสอน หัวขอเนื้อหาและความเชื่อมโยงกับหัวขอเนื้อหาอื่นๆ และแนวทางการวัดและ

ประเมินผล (รวมประมาณ 5 นาที) 3. บรรยายสรุปตามเอกสารประกอบการสอนและนําเสนอสรุปเนื้อหาสําคัญและภาพประกอบใน PowerPoint

Presentation พรอมทั้งยกตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ ใหนักศึกษาฝกวิเคราะห และเปดโอกาสใหนักศึกษาตอบคําถามจากการวิเคราะหดังกลาว (รวมประมาณ 35 นาที)

4. เฉลยคําตอบตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ พรอมทั้งเปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามขอสงสัยเพิ่มเติม และสรุปการเรียนการสอน (รวมประมาณ 5 นาที)

ส่ือการสอน: 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation: สรุปเนื้อหาสําคัญ ภาพประกอบ ตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ และ

สถานการณทางคลินิกสําหรับการวิเคราะห 3. LCD Projector, computer และ visualizer งานที่มอบหมาย: 1. การศึกษาคนควาดวยตนเอง (self-directed learning) เพิ่มเติมจากหนังสืออานเพิ่มเติมและเอกสารวิชาการอื่นๆ

รวมทั้งการใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ของกระบวนวิชา 554311 2. การฝกเขียนสถานการณทางคลินิกและคิดวิเคราะหดวยตนเองหรือ group discussion การวดัและประเมินผล: 1. การสังเกตความสนใจเขาชั้นเรียนตรงเวลา ความสนใจฟงการบรรยาย การรวมคิดวิเคราะห การซักถาม และการตอบ

คําถาม 2. การสอบขอเขียน (1 ชั่วโมงเรียน เทากับ 6 คะแนน) ลักษณะขอสอบประกอบดวย ขอสอบ 4 ตัวเลือก ขอละ 1 คะแนน

จํานวน 6 ขอ รวม 6 คะแนน—ระดับเขาใจ 5 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 1 และขอที่ 2) และระดับนําไปใช 1 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 2)

หนงัสืออานเพิ่มเติม: เทียมศร ทองสวัสดิ์. (มปป). เอกสารประกอบการสอนกระบวนวิชา 560311 เรื่อง การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงมี

ครรภและครอบครัว. เชียงใหม: ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

เบญจวรรณ แกวเวชวงค. (2539). การสงเสริมสุขภาพหญิงมีครรภ. เชียงใหม: ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

พรรณี ศิริวรรธนาภา. (2541). การฝากครรภ. ใน ธีระ ทองสง, และชเนนทร วนาภิรักษ (บรรณาธิการ), สูติศาสตร (เรียบเรียงครั้งที่ 4) หนา 81–100. กรุงเทพฯ: พี. บี. ฟอเรน บุคส เซนเตอร.

ยุพา วิริยะวัฒน และวันชัย จิวิริยะวัฒน. (2534). คูมือการตรวจปสสาวะ. เชียงใหม: คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_HealthAssessment_Puntawee

Page 18: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

4

วราวุธ สุมาวงศ. (2545). คูมือการฝากครรภและการคลอด [CD]. กรุงเทพฯ: งานแพทยศาสตรศึกษา คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศิริพร ขัมภลิขิต. (2539). แบบแผนสุขภาพ : การเก็บรวบรวมขอมูล (พิมพครั้งที่ 4). สงขลา: เทมการพิมพ. Burroughs, A., & Leifer, G. (2001). Maternity nursing: An introductory test (8 th ed.). Philadelphia: W. B.

Saunders. Littleton, L. Y., & Engebretson, J. C. (2002). Maternal neonatal and women’s health nursing. Australia::

Delmar Thomson Learning. Lowdermilk, D. L., & Perry, S. E. (2003). Maternity nursing (6 th ed.). St. Louis: Mosby. Lowdermilk, D. L., Perry, S. E., & Bobak, l. M. (2000). Maternity & women’s health care (7th ed.). St. Louis:

Mosby. Murray, S. S., McKinney, E. S., & Gorrie, T. M. (2001). Foundations of maternal newborn nursing (3 th ed.).

Philadelphia: W. B. Saunders. Olds, S. B., London, M. L., & Ladewig, P. W. (2002). Maternal-newborn nursing: A family and community-

based approach (6 th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall. Pillitteri, A. (2003). Maternal & child health nursing (4th ed.). Philadelphia: Lippincott. Thompson, E. D. (1995). Maternity and pediatric nursing (2 nd ed.). Philadelphia: W. B. Saunders.

**************************************

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_HealthAssessment_Puntawee

Page 19: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ชั้นปที่ 3 กระบวนวิชา 554311 ช่ือกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 กลุมที่ 1 จํานวน 61 คน กลุมที่ 2 จํานวน 55 คน ช่ืออาจารยผูสอน กลุมที่ 1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว กลุมที่ 2 อาจารยจิราวรรณ ดีเหลือ

________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ การชวยเหลือเบื้องตน และการสงตอเพื่อการรักษา ระยะเวลาที่สอน: 2 ชั่วโมง วันที่และเวลาสอน: ครั้งที่ 1 วันจันทรที่ 24 กรกฎาคม 2549 เวลา 16.00 – 17.00 น. และ ครั้งที่ 2 วันจันทรที่ 31 กรกฎาคม 2549 เวลา 15.00 – 16.00 น. วัตถุประสงค: เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายวัตถุประสงคของการคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภไดถูกตอง 2. อธิบายความหมาย ชนิด และการแบงกลุมภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภไดถูกตอง 3. วิเคราะหขอมูลเพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภและผลกระทบตอสุขภาพของมารดาและ

ทารกไดถูกตอง 4. อธิบายหลักการชวยเหลือเบื้องตนและการสงตอสตรีมีครรภที่มีภาวะเสี่ยงเพื่อรับการรักษาไดถูกตอง 5. อธิบายบทบาทของพยาบาลในการดูแลสตรีมีครรภที่มีภาวะเสี่ยงไดถูกตอง 6. นําหลักการชวยเหลือเบื้องตนและระบบการสงตอมาประยุกตกับสตรีในระยะตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยงได

อยางถูกตอง หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป

1. การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ (prenatal high risk screening) 1.1 วัตถุประสงคของการคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ 1.2 ความหมายและชนิดของภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ

1.2.1 ภาวะเสี่ยงดานปจจัยสวนบุคคลและพื้นฐานทางสังคม (socio-demographic risk) 1.2.2 ภาวะเสี่ยงทางจิตสังคม (psychosocial risk) 1.2.3 ภาวะเสี่ยงทางดานสภาพแวดลอม (environmental risk) 1.2.4 ภาวะเสี่ยงทางชีวภาพ (biophysical risk)

1.3 การแบงกลุมภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ 1.3.1 ภาวะเสี่ยงต่ํา (low risk) 1.3.2 ภาวะเสี่ยงปานกลาง (moderate risk) 1.3.3 ภาวะเสี่ยงสูง (high risk)

1.4 การวิเคราะหขอมูลเพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงและผลกระทบตอสุขภาพของมารดาและทารก 1.4.1 ภาวะเสี่ยง

แผนการสอน 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_HRscreening_Puntawee

Page 20: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

1.4.2 ผลกระทบตอสุขภาพของมารดา 1.4.3 ผลกระทบตอสุขภาพของทารก

2. หลักการชวยเหลือเบื้องตน และการสงตอเพื่อรับการรักษา 2.1 การคนหาสตรีในระยะตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยง

2.1.1 เกณฑเส่ียงหรือเครื่องมือ (screening tools) ที่นํามาใช เชน - เกณฑเส่ียงอยางงาย 20 ขอของกระทรวงสาธารณสุข - เกณฑเส่ียงของบุญปรีดี ศิริวงศ (2537)

2.1.2 การคัดกรองภาวะเสี่ยงทุกครั้งที่มาฝากครรภ 2.2 การดูแลรักษาสตรีในระยะตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยง

2.2.1 ตัวอยางการดูแลตามภาวะเสี่ยงเพื่อปองกันผลกระทบตอสุขภาพของมารดาและทารกของ Coppens & James (1999)

2.3 การสงตอสตรีในระยะตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยง 2.3.1 สตรีในระยะตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยงต่ํา 2.3.2 สตรีในระยะตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยงปานกลาง 2.3.3 สตรีในระยะตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยงสูง

3. บทบาทของพยาบาลในการดูแลสตรีมีครรภที่มีภาวะเสี่ยง โดยใชกระบวนการพยาบาล 3.1 การรวบรวมขอมูล 3.2 การแปลผลขอมูล 3.3 การวินิจฉัยทางการพยาบาล 3.4 การวางแผนการพยาบาล 3.5 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผน 3.6 การประเมินผล

กิจกรรมการเรยีนการสอน: ครั้งที่ 1 รวมเวลาประมาณ 50 นาท ี1. เกริ่นนําและเชื่อมโยงหัวขอเนื้อหานี้กับการเรียนการสอนสําหรับนักศึกษา (เฉพาะตอนที่ 1 ทั้งหมด) กอนเริ่มการฝก

ปฏิบัติสัปดาหแรกของภาคการศึกษานี้ และหัวขอเนื้อหาอื่นๆที่เรียนไปแลวของกระบวนวิชานี้ พรอมทั้งอธิบายวัตถุประสงค กิจกรรมการเรียนการสอนของหัวขอนี้ และแนวทางการวัดและประเมินผล (รวมประมาณ 10 นาที)

2. ตั้งคําถามใหนักศึกษาตอบเกี่ยวกับ “วัตถุประสงคและความสําคัญของการคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ” และ “ความหมาย ชนิด และการแบงกลุมภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภ” (รวมประมาณ 5 นาที)

3. บรรยายสรุปตามเอกสารประกอบการสอน และนําเสนอสรุปเนื้อหาสําคัญและตาราง/แผนภูมิประกอบใน PowerPoint Presentation พรอมทั้งยกตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ (รวมประมาณ 30 นาที)

4. มอบหมายงานใหนักศึกษาทั้งหมดทบทวนความรูจากเอกสารประกอบการเรียนการสอนมาลวงหนา สําหรับการเรียนการสอนครั้งที่ 2: การวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษา เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภและผลกระทบตอสุขภาพของมารดาและทารก (รวมประมาณ 5 นาที)

แผนการสอน 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_HRscreening_Puntawee

Page 21: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

3

ครั้งที่ 2 รวมเวลาประมาณ 50 นาท ี5. ใหนักศึกษาทั้งหมดฝกวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษา เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภและผลกระทบ

ตอสุขภาพของมารดาและทารก และใหนักศึกษาตอบคําถามเปนรายบุคคลจากการวิเคราะหดังกลาว พรอมทั้งเฉลยคําตอบกรณีศึกษา (รวมประมาณ 40 นาที)

6. เปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามขอสงสัยเพิ่มเติม และสรุปการเรียนการสอน (รวมประมาณ 10 นาที) ส่ือการสอน: 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation: สรุปเนื้อหาสําคัญ และตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ 3. กรณีศึกษาสําหรับฝกคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีในระยะตั้งครรภและผลกระทบตอสุขภาพของมารดาและทารก 4. LCD Projector, computer และ visualizer งานที่มอบหมาย: 1. การศึกษาคนควาดวยตนเอง (self-directed learning) เพิ่มเติมจากหนังสืออานเพิ่มเติมและเอกสารวิชาการอื่นๆ

รวมทั้งการใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ของกระบวนวิชา 554311 2. การฝกเขียนสถานการณทางคลินิกและคิดวเิคราะหดวยตนเองหรือ group discussion การวัดและประเมินผล: 1. การสังเกตความสนใจเขาชั้นเรียนตรงเวลา ความสนใจฟงการบรรยาย การรวมคิดวิเคราะห การซักถาม และการตอบ

คําถาม 2. การสอบขอเขียน (2 ชั่วโมงเรียน เทากับ 12 คะแนน) ลักษณะขอสอบเปนขอสอบ 4 ตัวเลือก ขอละ 1 คะแนน (6 ขอ

ตอ 1 ชั่วโมงเรียน)—ระดับเขาใจ 8 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 1, 2, 4 และ 5) และนําไปใช 4 ขอ (ทดสอบวัตถุประสงคขอที่ 3 และ 6)

หนังสืออานเพิ่มเติม: วินิต พัวประดิษฐ และ สมพล พงศไทย. (2537). การใชเกณฑเส่ียงในการบริการอนามัยแมและเด็ก. ใน วินิต พัว

ประดิษฐ (บรรณาธิการ), การบริบาลครรภเส่ียงสูง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพหมอชาวบาน. ศิริพร ฉัตรโพธิ์ทอง. (2536). การพยาบาลเพื่อลดความเครียดในหญิงตั้งครรภที่มีภาวะเสี่ยง. วารสารพยาบาล, 42

(2), 131-145. Murray, S. S., McKinney. E. S., & Gorrie, T. M. (2003). Foundations of maternal newborn nursing (3rd

ed.). Philadelphia: W. B. Saunders. Coppens, M., & James, D. (1999). Organization of prenatal care and identification of risk. In D. K James, P. J.

Steer, C. P. Weiner, & B. Gonik, (Eds.), High risk pregnancy management options (2 nd ed.). Philadelphia: W. B. Saunders.

**************************************

แผนการสอน 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_HRscreening_Puntawee

Page 22: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

แผนการสอน ภาคทฤษฏี ระดับ ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ชั้นปที่ 3 กระบวนวิชา 554311 ช่ือกระบวนวิชา การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 กลุมที่ 1 จํานวน 61 คน กลุมที่ 2 จํานวน 56 คน ช่ืออาจารยผูสอน กลุมที่ 1 ผูชวยศาสตราจารยพันทวี เชื้อขาว

กลุมที่ 2 ผูชวยศาสตราจารยอําไพ จารุวัชรพาณิชกุล ________________________________________________________________________________________ เรื่อง/หัวขอ: การสงเสริมการดูแลตนเองของสตรีและครอบครัวในระยะตั้งครรภ ระยะเวลา: 3 ชั่วโมง (การเรียนการสอนประมาณ 150 นาที และเวลาพักประมาณ 30 นาที) วันที่และเวลาสอน: วันจันทรที่ 31 กรกฎาคม 2549 เวลา 16.00 – 17.00 น. (1ชั่วโมง) วันจันทรที่ 7 สิงหาคม 2549 เวลา 15.00 – 17.00 น. (2ชั่วโมง) วัตถุประสงค: เมื่อส้ินสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายการสงเสริมการดูแลตนเองในระยะตั้งครรภตามไตรมาสของสตรีและครอบครัวไดถูกตอง 2. อธิบายหลักการพยาบาลเพื่อปองกันและบรรเทาความไมสุขสบายในระยะตั้งครรภตามไตรมาสไดถูกตอง 3. อธิบายหลักการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภเพื่อการเลี้ยงบุตรดวยนมมารดาไดถูกตอง 4. อธิบายการสงเสริมการปรับตัวดานจิตสังคมของสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวไดถูกตอง

หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป): 1. การใหคําแนะนําเพ่ือสงเสริมสุขภาพของสตรีในระยะตั้งครรภ 2 ลักษณะ คือ

1.1 การใหคําแนะนําเปนรายบุคคล จะชวยใหสตรีมีครรภมีโอกาสระบายความรูสึกและกลาที่จะปรึกษาปญหา ตางๆ ทําใหความกลัวและความวิตกกังวลลดลง รวมทั้งสามารถแกไขปญหาไดทันทวงที

1.2 การใหคําแนะนําเปนกลุม จะชวยใหสตรีมีครรภมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณซึ่งกัน และกัน และมีสวนรวมในการอภิปรายเพิ่มขึ้น การจัดกลุมอาจแบงตามไตรมาส ปญหา หรือวัตถุประสงคเฉพาะก็ได 2. การสงเสริมการดูแลตนเองของสตรีและครอบครัวในระยะตั้งครรภ

2.1 ภาวะโภชนาการ สตรีมีครรภควรรับประทานอาหารใหครบทั้ง 5 หมู ในแตละวัน ดังนี้ 2.1.1 โปรตีน 2.1.2 คารโบไฮเดรต 2.1.3 ไขมัน 2.1.4 วิตามินและแรธาตุ การรับประทานอาหารที่ถูกสวนจะไดรับวิตามินและแรธาตุตางๆ อยางเพียงพอ วิตามินที่ละลายในไขมัน (วิตามินเอ วิตามินดี และวิตามินอี) จะถูกเก็บสะสมไวในเนื้อเยื่อตางๆ ของรางกาย ถาไดรับมากเกินจําเปนและเปนเวลานานๆ อาจทําใหเกิดอันตรายได

(1) วิตามินเอ (2) วิตามินบี 1 (thiamine) (3) วิตามินบี 2 (riboflavin) (4) วิตามินบี 6 (pyridoxine) (5) วิตามินบี 12

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_SelfCarePromotion_Puntawee

Page 23: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

(6) วิตามินซี (ascorbic acid) (7) วิตามินดี (8) วิตามินอี (9) วิตามินเค (10) แคลเซียมและฟอสฟอรัส (11) เหล็ก (12) กรดโฟลิค (folic acid) (13) ไอโอดีน

2.1.5 น้ํา 2.2 อาหาร เครื่องดื่ม และสารเสพติดที่ควรหลีกเลี่ยง--อาหารรสจัด ของหมักดอง เครื่องดื่มที่มีสวนผสมของ

แอลกอฮอล เครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ และน้ําอัดลม งดสูบบุหรี่

2.3 การพักผอน

2.4 การทํางาน

2.5 การออกกําลังกาย—หลักสําคัญของการออกกําลังกาย การวางทาทางและการทรงตัวที่ถูกตอง และทาบริหารกลามเนื้อสวนตางๆ ของรางกาย เชน ทาบริหารศีรษะและคอ (head and neck rotation) ทาบริหารแขน ไหล และ ทรวงอก (arm stretch) ทาบริหารกลามเนื้อสีขาง (rib cage lifting) ทาบริหารขา (leg exercise) และเทา (foot rotation) ทาบริหารกลามเนื้อหลัง หนาทอง สะโพก (pelvic rocking) ทาบริหารกลามเนื้อหลังสวนลาง หนาทอง และอุงเชิงกราน (pelvic tilt) ทาบริหารกลามเนื้อขา (knee press) ทาบริหารกลามเนื้อบริเวณชองคลอด อุงเชิงกราน และฝเย็บ (kegel exercise) เปนตน

2.6 การเดินทาง

2.7 การรักษาสุขอนามัยสวนบุคคล 2.7.1 การรักษาความสะอาดรางกายทั่วไป 2.7.2 การรักษาความสะอาดชองปาก ปาก และฟน 2.7.3 การรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ

2.8 การแตงกาย

2.9 การมีเพศสัมพันธ

2.10 การมาตรวจครรภตามนัด 3. การปฏิบัติตนเพื่อปองกันและแกไขบรรเทาความไมสุขสบายในระยะตั้งครรภ

3.1 อาการไมสุขสบายในไตรมาสที่ 1—สาเหตุ สาเหตุสงเสริม และผลกระทบ การปองกันและบรรเทาอาการ 3.1.1 อาการคลื่นไสและอาเจียน (nausea and vomiting หรือ morning sickness) อาจมีอาการอื่นรวมดวย เชน เบื่ออาหาร ออนเพลีย วิงเวียนศีรษะ สะอึก จุกเสียดยอดอก น้ําลายมาก กระหายน้ํา เปนตน บางรายอยากรับประทานอาหารเฉพาะอยาง (craving) หรือรับประทานของแปลกๆ ที่ไมใชอาหาร (pica) สวนใหญมักเกิดในตอนเชา

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_SelfCarePromotion_Puntawee

Page 24: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

3

จึงเรียกวา morning sickness ถามีอาการคลื่นไสอาเจียนมากตลอดวันเรียกวาแพทองรุนแรง (hyperemesis gravidarum) ทําใหรางกายขาดน้ํา ขาดอาหารและเสียสมดุลของน้ําและอีเล็คโตรไลท จําเปนตองไดรับการรักษา 3.1.2 น้ําลายออกมาก (ptyalism) 3.1.3 เหงือกอักเสบ (gingivities) 3.1.4 คัดจมูก (nasal congestion) 3.1.5 ตกขาว (leukorrhea) 3.1.6 ปสสาวะบอย (frequent urination หรือ micturation) 3.1.7 อารมณแปรปรวน (mood swings)

3.2 อาการไมสุขสบายในไตรมาสที่ 2—สาเหตุ สาเหตุสงเสริม และผลกระทบ การปองกันและบรรเทาอาการ

3.2.1 อาการแสบรอนยอดอก (heart burn) 3.2.2 ทองอืด (flatulance) 3.2.3 ทองผูก (constipation) 3.2.4 ริดสีดวงทวาร (haemorrhoids) 3.2.5 เสนเลือดดําขอดพอง (varicose vein) 3.2.6 เปนลม (faintness) 3.2.7 ปวดเจ็บและชาที่ขอและนิ้วมือ (periodic numbness & tingling of fingers) 3.2.8 ปวดหลัง (backache) 3.2.9 ปวดเสียวบริเวณทองนอย (round ligament pain)

3.2.10 อาการคันผิวหนัง (itching)

3.3 อาการไมสุขสบายในไตรมาสที่ 3—สาเหตุ สาเหตุสงเสริม และผลกระทบ การปองกันและบรรเทาอาการ 3.3.1 หายใจลําบาก (dyspnea) 3.3.2 เจ็บบริเวณสีขางเหนือกระดูกซี่โครง (rib soreness) 3.3.3 ตะคริว (leg cramp) 3.3.4 ปวดตนขาราวไปที่ขาหรือสะโพก (localized pain over joint or in buttock) 3.3.5 อาการบวม (edema) 3.3.6 นอนไมหลับ (insomnia)

4. อาการเตือนหรืออาการนําเขาสูระยะคลอด และการมาโรงพยาบาลกอนวันนัดตรวจ

4.1 อาการเตือนหรืออาการนําเขาสูระยะคลอด (premonitory signs) 4.1 1ปสสาวะบอย (frequent of urination หรือ micturation) 4.1.2 อาการทองลด (lightening/subcidence) 4.1.3 อาการเจ็บครรภเตือน (false labour pain)

4.1.4 อาการเจ็บครรภจริง (true labour pain) 4.1.5 มีมูกปนเลือด (mucous bloody show) 4.1.6 ถุงน้ําคร่ํารั่วหรือแตก (leakage of amniotic fluid หรือ rupture of membranes)

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_SelfCarePromotion_Puntawee

Page 25: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

4

4.2 อาการและอาการแสดงที่บงบอกถึงอันตรายที่ตองมาโรงพยาบาลกอนวันนัดตรวจ

4.2.1 อาการคลื่นไสอาเจียนอยางรุนแรง

4.2.2 ปวดศีรษะ ตาพรามัว

4.2.3 จุกเสียดยอดอก

4.2.4 บวมมาก น้ําหนักเพิ่มมาก

4.2.5 เลือดออกทางชองคลอด อาจมีหรือไมมีอาการปวดทองรวมดวย

4.2.6 ทารกดิ้นนอยลง/หยุดดิ้น หรือดิ้นแรงผิดปกติ

4.2.7 มีไข

4.2.8 ปสสาวะบอยและแสบขัด

4.2.9 ตกขาวผิดปกติ มีกล่ินเหม็น คันชองคลอด

4.2.10 ถุงน้ําคร่ํารั่วหรือแตก 5. การสงเสริมการปรับตัวดานจิตสังคมของสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัว 5.1 ในไตรมาสแรก--การตอบสนองของสตรีตอการตั้งครรภ ความสนใจเอาใจใสในการดูแลตนเองในระหวางการตั้งครรภ 5.2 ในไตรมาสที่ 2--ความรูสึกตอรูปรางที่เปล่ียนไป สัมพันธภาพระหวางบิดามารดาและทารก การชวยเหลือ ใหกําลังใจ และสรางความมั่นใจใหแกสตรีมีครรภ 5.3 ในไตรมาสที่ 3--ปฏิสัมพันธกับทารกในครรภ และการตอบสนองของทารกในครรภ การสรางสัมพันธภาพกับมารดาของตนเองและมารดาของสาม ีสัมพันธภาพกับสมาชิกอื่นในครอบครัว และบุตรคนกอนการแสดงออกถึงความรูสึกเกี่ยวกับบทบาทการเปนบิดามารดา หรือการปรับตัวในบทบาทใหม 6. การเตรียมตัวเพ่ือการคลอดบุตรในสถานบริการ

6.1 การเตรียมเครื่องใชสําหรับทารก 6.2 การเตรียมเครื่องใชสําหรับมารดา 6.3 การเตรียมตัวเพื่อมาคลอดในสถานบริการ—เตรียมเอกสาร เตรียมของใชที่จําเปนสําหรับสตรีมีครรภและบุตร เตรียมรางกาย 7. การสงเสริมสัมพันธภาพระหวางมารดาและครอบครัวกับทารกในระยะตั้งครรภ

7.1 สัมพันธภาพ (attachment) ในระยะตั้งครรภ

7.1.1 สตรีมีครรภที่มีความผูกพันกับทารกจะแสดงพฤติกรรมหรือความรูสึกตางๆ ดังนี้ การแสดงบทบาทการเปนมารดา การยอมรับความเปนบุคคลของทารกในครรภ การมีปฏิสัมพันธกับทารกในครรภ การสนใจคุณลักษณะและรูปรางหนาตาของทารกในครรภ การอุทิศตนเพื่อทารกในครรภ

7.1.2 พฤติกรรมกรรมที่แสดงถึงการขาดสัมพันธภาพ (lack of attachment) ในระยะตั้งครรภ อารมณแปรปรวนงาย แยกตัว หมกมุน บนถึงความไมสุขบายตางๆ ไมมีการเตรียมตัวเพื่อการคลอดและการเตรียมของใชในระยะใกลคลอด

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_SelfCarePromotion_Puntawee

Page 26: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

5

7.2 การสงเสริมสัมพันธภาพระหวางบิดามารดากับทารก--เริ่มตั้งแตระยะกอนตั้งครรภ และระยะตั้งครรภ

8. หลักการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภเพ่ือการเล้ียงบุตรดวยนมมารดา

8.1 แนวทางการปฏิบัติเพื่อความสําเร็จในการเลี้ยงบุตรดวยนมมารดา—โดยอาศัยการปฏิบัติตามบันได 10 ขั้นสูความสําเร็จในการเลี้ยงทารกดวยนมมารดา (ten steps to successful breast feeding) ขององคการอนามัยโลก (WHO) และองคการทุนเพื่อเด็กแหงสหประชาชาติ (UNICEF)

8.2 หลักการพยาบาลในการสงเสริมการเลี้ยงทารกดวยนมมารดา

8.3 แนวทางการปฏิบัติในระยะตั้งครรภ กิจกรรมการเรยีนการสอน: (รวมเวลาประมาณ 150 นาที) 1. เกริ่นนําและเชื่อมโยงหัวขอเนื้อหานี้กับการเรียนการสอนทั้งหมด (รวมประมาณ 5 นาที) 2. อธิบายวัตถุประสงคการเรียนการสอน หัวขอเนื้อหาและความเชื่อมโยงกับหัวขอเนื้อหาอื่นๆ และแนวทางการวัดและ

ประเมินผล (รวมประมาณ 5 นาที) 3. บรรยายสรุปตามเอกสารประกอบการสอนและนําเสนอสรุปเนื้อหาสําคัญและภาพประกอบใน PowerPoint

Presentation พรอมทั้งยกตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ ใหนักศึกษาฝกวิเคราะห และเปดโอกาสใหนักศึกษาตอบคําถามจากการวิเคราะหดังกลาว (รวมประมาณ 90 นาที)

4. ใหนักศึกษาอภิปรายกลุมยอยพรอมทั้งการนําเสนอในชั้นเรียน (รวมประมาณ 30 นาที) โดยการแบงกลุมยอย กลุมละ 7-8 คน รวม 8 กลุม แลวชวยกันวิเคราะหกรณีศึกษาตามใบงาน นักศึกษาทุกกลุมเขียนผลงานกลุมในกระดาษ แลวนําเสนอโดยใช visualizer

5. เฉลยคําตอบกรณีศึกษา พรอมทั้งเปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามขอสงสัยเพิ่มเติม และสรุปการเรียนการสอน (รวมประมาณ 20 นาท)ี

ส่ือการสอน: 1. เอกสารประกอบการสอน 2. PowerPoint Presentation: สรุปเนื้อหาสําคัญ ภาพประกอบ ตัวอยางสถานการณทางคลินิกที่เกี่ยวของ และ

สถานการณทางคลินิกสําหรับการวิเคราะห 3. ใบงาน และตัวอยางกรณีศึกษาสําหรับการอภิปรายกลุมยอย 4. LCD Projector, computer และ visualizer งานที่มอบหมาย: 1. การศึกษาคนควาดวยตนเอง (self-directed learning) เพิ่มเติมจากหนังสืออานเพิ่มเติมและเอกสารวิชาการอื่นๆ

รวมทั้งการใชบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-learning) ของกระบวนวิชา 554311 2. การฝกเขียนสถานการณทางคลินิกและคิดวิเคราะหดวยตนเองหรือ group discussion การวัดและประเมินผล: 1. การสังเกตความสนใจเขาชั้นเรียนตรงเวลา ความสนใจฟงการบรรยาย การรวมคิดวิเคราะห การซักถาม และการตอบ

คําถาม 2. การสอบขอเขียน (3 ชั่วโมงเรียน เทากับ 18 คะแนน) ลักษณะขอสอบประกอบดวย ขอสอบ 4 ตัวเลือก ขอละ 1

คะแนน จํานวน 18 ขอ รวม 18 คะแนน—ระดับเขาใจ 12 ขอ และระดับนําไปใช 6 ขอ แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_SelfCarePromotion_Puntawee

Page 27: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

6

หนังสืออานเพิ่มเติม: กระทรวงสาธารณสุข. (2538). เอกสารประกอบการฝกอบรมเรื่องการเลี้ยงลูกดวยนมแมสําหรับบุคลากรทางการแพทย

และการสาธารณสุข. โครงการสายสัมพันธแม-ลูก (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร.

มานี ปยะอนันต, ชาญชัย วันทนาศิริ, สิงหเพ็ชร สุขสมปอง, และมงคล เบญจาภิบาล. (บรรณาธิการ). (2544). สูติศาสตร (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พี. เอ. ลีฟวิ่ง.

ประทักษ โอประเสริฐสวัสดิ์, วินิต พัวประดิษฐ, และสุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล. (บรรณาธิการ). (2540). สูติศาสตรรามา ธิบดี 2 (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง.

อภิรัช สกุลณียา. (2548). การสงเสริมสุขภาพสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัว. เอกสารประกอบการสอนกระบวนวิชา 554311 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Cunningham, F. G., Gant, N. F., Leveno, K. J., Gilstrap III, L. C., & Wenstrom, K. D. (2001). Williams obstetrics (21st ed.). New York: McGraw-Hill.

Gorrie, T. M., Mckinney, E. S., & Murray, S. S. (1998). Foundation of maternal-newborn nursing (2nd ed.). Philadelphia: W. B. Saunders.

Lawrence, R. A. (1999). Breastfeeding: A guide for medical profession. St. Louis: Mosby. Littleton, L. Y., & Engebretson, J. C. (2002). Maternal, neonatal, and women health nursing. Australia:

Delmar. Lowdermilk, D. L., & Perry, S. E. (2004). Maternity & women’s health care (8th ed.). St. Louis: Mosby. Novak, J. C., & Broom, B. L. (1999). Maternal and child health nursing (9th ed.). Missouri: Mosby. O’Connor, V., & Kovacs, G. (2003). Obstetrics, gynaecology, and women’s health. Melbourne, Australia:

BPA Print Group. Ransom, S. B., Dombrowski, M. P., Mcneeley, S. G., Moghissi, K. S., & Munkarah, A. R. (2000). Practical

strategies in obstetrics and gynecology. Philadelphia: W. B. Saunders. World Health Organization. (1998). Evidence for the ten steps to successful breast feeding. Geneva: The

Author. Wong, D. L., Perry, S. E., & Hockenberry, M. J. (2002) Maternal child nursing care (2nd ed.). China: Mosby.

**************************************

แผนการสอนกระบวนวิชา 554311 ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 File: 554311_2006Sem1_LessonPlan_SelfCarePromotion_Puntawee

Page 28: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม แผนการสอน ภาคทฤษฎี ระดับ ปริญญาตรี กระบวนวิชา 554311: การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 จํานวนนักศึกษา 117 คน แบงเปน 2 ตอนๆ ละ 61 และ 56 คน ชื่ออาจารยผูสอน ผศ.อภิรัช สกุลณียา (ตอนที่1) และ อ.จิราวรรณ ดีเหลือ (ตอนที่2)

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เร่ือง/หัวขอ การเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด ระยะเวลาที่สอน 2 ช่ัวโมง วัตถุประสงค เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ

1. อธิบายความสําคัญและประโยชนในการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอดไดถูกตอง

2. อธิบายวัตถุประสงคของการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอดไดถูกตอง 3. อธิบายแนวคิด หลักการ และเทคนิคการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด

ไดถูกตอง 4. อธิบายกรอบแนวคิดและรูปแบบการจัดอบรมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอดได

ถูกตอง หัวขอเนื้อหา (แสดงหัวขอยอยพอสังเขป)

1. ความสําคัญและประโยชนในการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด 2. วัตถุประสงคของการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด 3. แนวคิด หลักการ และเทคนิคการเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด

(การคลอดดวยวิธีธรรมชาติ การคลอดดวยวิธีจิตปองกัน การคลอดดวยตนเอง) 4. กรอบแนวคิดและรูปแบบการจัดอบรมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด

กิจกรรมการเรียนการสอน ช้ีแจงวัตถุประสงคของการเรียนการสอนและแจกเอกสารประกอบการสอนเรื่อง การเตรียมสตรีในระยะต้ังครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด

1. สอบถามพื้นฐานความรูนักศึกษาที่เคยเรียนวิชาการพยาบาลผดุงครรภ 1 มากอน 2. อธิบายประกอบภาพใน power point ตามเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอน 3. สาธิตการฝกเทคนิคการหายใจเพื่อผอนคลายความเจ็บปวดในระยะคลอด 4. อภิปรายในชั้นเรียนและเปดโอกาสใหนักศึกษาสอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนการสอน 5. สรุปเนื้อหาทั้งหมดและประเมินความรูความเขาใจของนกัศึกษาโดยการสอบถามนักศึกษา 4-5 คน พรอมทั้งอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักศึกษายังตอบไมไดหรือไมแนใจ

Page 29: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

สื่อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน และ power point 2. วิดิทัศนเรื่องการเตรียมหญิงมีครรภเพื่อการคลอด 3. Computer & LCD Projector

งานที่มอบหมาย นักศึกษาทบทวนความรูจากวิชาการพยาบาลผดุงครรภ 1 การวัดและประเมินผล

1. การสังเกตจากการมีสวนรวมของผูเรียนในการซักถามและอภิปราย 2. การทดสอบโดยใชแบบเลือกตอบ จํานวน 12 ขอ (สอบปลายภาค)

เอกสารอางอิงหลัก เจียรนัย โพธิ์ไทรย. (2544). หลักการสงเสริมการคลอดดวยตนเอง. เชียงใหม : แพรการพิมพ. เทียมศร ทองสวัสดิ์. (2531). การเตรียมมารดาเพื่อการคลอด. เชียงใหม : ศูนยสงเสริมตําราและ

เอกสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อภิรัช สกุลณียา. (ม.ป.ป). การเตรียมสตรีในระยะตั้งครรภและครอบครัวเพื่อการคลอด. เอกสารประกอบการ

สอนกระบวนวิชา 560311. ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Robertson, A. (1994). Empowring women : Teaching active birth in the 90’s . Camperdown: ACE Graphics. Dickason, E. J., Silverman, B. L., & Kaplan, J. A. (1998). Maternal-infant nursing care (3rd ed.). St Louis:

Mosby. Gorrie, T. M., Mckinney, E. S., & Murray, S. S. (1998). Foundation of maternal-newborn nursing (2nd ed.).

Philadelphia: W. B. Saunders. การประเมินผลภายหลังการสอนเสร็จสิ้น นักศึกษามีความเขาใจในเนื้อหา แตยังไมไดขึ้นฝกปฏิบัติ ทําใหมองเห็นภาพการคลอดตามแนวคิดตางๆ ไดไมชัดเจน

-----------------------------------------------------------------------------------

Page 30: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม แผนการสอน ภาคทฤษฎี ระดับ ปริญญาตรี กระบวนวิชา 554391: การพยาบาลผดุงครรภ 1

ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2549 จํานวนนักศึกษา 117 คน แบงเปน 2 ตอนๆ ละ 61 และ 56 คน ชื่ออาจารยผูสอน อ.พจนีย ภาคภูมิ (ตอนที่ 1) และ รศ.ยุพิน เพียรมงคล (ตอนที่ 2)

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เร่ือง/หัวขอ ภาวะมีบุตรยาก ระยะเวลาที่สอน 1 ช่ัวโมง วัตถุประสงคเฉพาะ: เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน ผูเรียนสามารถ

1. อธิบายความหมายและสาเหตุของภาวะมีบุตรยากไดถูกตอง 2. อธิบายการวินิจฉัยและการรักษาภาวะมีบุตรยากไดถูกตอง 3. อธิบายภาวะทางจิตสังคมของคูสมรสที่มีบุตรยากไดถูกตอง 4. อธิบายหลักการพยาบาลคูสมรสที่มีบุตรยากไดถูกตอง 5. นําหลักการพยาบาลและการใหคําปรึกษาคูสมรสที่มีบุตรยากไปประยุกตไดอยางเหมาะสม

หัวขอเนื้อหาโดยสังเขป 1. ความหมายและอุบัติการณของภาวะมีบุตรยาก 2 การจําแนกชนิดของภาวะมีบุตรยาก

2.1 Primary infertility 2.2 Secondary infertility

3. สาเหตุ การวินิจฉัย และการรักษา 3.1 ฝายชาย 3.2 ฝายหญิง 3.3 สาเหตุรวมทั้งฝายชาย และฝายหญิง

4. ภาวะจิตสังคมของคูสมรสทีม่ีบุตรยาก 4.1 ปญหาครอบครวัและสังคม 4.2 Psychological tasks

5. หลักการพยาบาลคูสมรสที่มีบุตรยาก 5.1 การประเมิน 5.2 การใหคําปรึกษาและคําแนะนํา

Page 31: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

2

กิจกรรมการเรียนการสอน 1. แจกเอกสารประกอบการสอน 2. แจงวัตถุประสงคการเรียนการสอน 3. บรรยายประกอบ power point presentation 4. ยกตัวอยางสถานการณ จากประสบการณที่พบในคลินิก ประกอบในประเด็นที่เกี่ยวของ 5. อธิบายซ้ําในประเด็นที่ไมเขาใจ

สื่อการสอน

1. เอกสารประกอบการสอน (จํานวน 10 หนา) 2. power point เรื่อง ภาวะมีบุตรยาก

งานที่มอบหมาย

ทบทวนบทเรียน การวัดและประเมินผล

1. สังเกตจากความสนใจในการเรียน และการตอบคําถาม 2. การซักถามและการแสดงความคดิเห็นของนักศึกษา 3. การทดสอบโดยใชแบบเลือกตอบ จํานวน 6 ขอ (สอบกลางภาคครั้งที่ 1)

เอกสารอางอิงหลัก ธีระ ทองสง, จตุพล ศรีสมบูรณ, และอภิชาติ โอฬารรัตนชัย. (2539). นรีเวชวิทยา (เรียบเรียงครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พี.บี. ฟอเรน บุคสเซนเตอร. ธีระพร วุฒยวนิช. (2546). เทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ. เชียงใหม: นพบุรีการพิมพ. พนิตย จิวะนันทประวัติ. (2543). คูมือสําหรับคนมีลูกยากและอยากมีลูก (ฉบับปรับปรุงใหม). (พิมพครั้งที่ 1). นนทบุรี: สนุกอาน อเนก อารีพรรค. (2548). เพศศาสตร ใน อเนก อารีพรรค (บรรณาธิการ), สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทยแหงประเทศไทย. Murray, S. S., McKinney, E. S., & Gorrie, T. M. (2002). Foundations of maternal- newborn nursing (3rd ed.).

Philadelphia: W. B. Saunders. Lowdermilk, D. L., & Perry, S. E. (2004). Maternity & women’s health care (8th ed.). St. Louis: Mosby.

Page 32: ชา554311 ชาการพ 1านวน 2านวน 1 วยศาสตราจา 2 วยศาสตราจารยintraserver.nurse.cmu.ac.th/mis/download/sar/sar_2549__2_8_2_1_2.8.2.pdf ·

3

การประเมินผลภายหลังการสอนเสร็จสิ้น สังเกตความสนใจและการตอบคําถาม การปรับปรุงแผนการสอน

1) วางแผนและจัดทําแผนการสอนใหทันสมัยขึ้น 2) ปรับเนื้อหาและสื่อการสอนใหทันสมัยมากขึ้นและเหมาะสมสําหรับการนําไปใชในขณะฝกปฏิบัติ

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------