ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf ·...

45
คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน 1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด ภูมิรักษ์นาฏรามัญ จะนาไปใช้กับผู้เรียนประกอบ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(นาฏศิลป์) ชั้นประถมศึกษาปีท5 2. ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรูจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรูการวัดผลและประเมินผล ในแต่ละเล่มให้เข้าใจอย่างชัดเจน 3. ตรวจสอบและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผลที่กาหนด ให้พร้อม 4. ก่อนทาการสอน ครูผู้สอนควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียนและกาหนดข้อตกลง ร่วมกัน 5. ให้นักเรียนทากิจกรรมก่อนเรียนในแต่ละกิจกรรม เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 6. ขณะประกอบกิจกรรมครูควรเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนานักเรียนที่มีปัญหา 7. เมื่อเรียนรู้จบแล้วในแต่ละกิจกรรม ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนแต่ละชุด เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ แล้วนาผลการวัด ก่อนและหลังเรียน มาเปรียบเทียบเพื่อทราบผล การพัฒนาในแต่ละเรื่อง 1

Transcript of ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf ·...

Page 1: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน

1. การใช้เอกสารประกอบการเรียนชุด ภูมิรักษ์นาฏรามัญ จะน าไปใช้กับผู้เรียนประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(นาฏศิลป์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

2. ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล ในแต่ละเล่มให้เข้าใจอย่างชัดเจน

3. ตรวจสอบและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผลที่ก าหนด ให้พร้อม

4. ก่อนท าการสอน ครูผู้สอนควรชี้แจงบทบาทและหน้าที่ของผู้เรียนและก าหนดข้อตกลงร่วมกัน

5. ให้นักเรียนท ากิจกรรมก่อนเรียนในแต่ละกิจกรรม เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 6. ขณะประกอบกิจกรรมครูควรเป็นที่ปรึกษาให้ค าแนะน านักเรียนที่มีปัญหา 7. เมื่อเรียนรู้จบแล้วในแต่ละกิจกรรม ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียนแต่ละชุด

เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ แล้วน าผลการวัด ก่อนและหลังเรียน มาเปรียบเทียบเพื่อทราบผลการพัฒนาในแต่ละเรื่อง

1

Page 2: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ค ำแนะน ำส ำหรับนักเรียน

ในกำรเรียนรู้เอกสำรประกอบกำรเรียนในแต่ละเล่ม นักเรียนควรท ำควำมเข้ำใจขั้นตอน ในกำรใช้ ดังนี้

1. อ่านค าแนะน าการใช้เอกสารประกอบการเรียนในแต่ละเล่มให้เข้าใจ 2. ท ากิจกรรมก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐาน 3. ศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรียนให้เข้าใจ ถ้านักเรียนไม่เข้าใจให้ขอค าแนะน า

จากครูผู้สอน 4. เมื่อศึกษาเนื้อหาเข้าใจแล้ว ให้ท ากิจกรรมหลังเรียน เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจที่ได้รับ

และจะได้น าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน

2

Page 3: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

แผนผังที่ 1 ผังมโนทัศน์ประเภทของนำฏศิลป์ไทย

ประเภทของนำฏศิลป์ไทย

โขน

ร ำและระบ ำ

ละคร

กำรแสดงพื้นเมือง

3

Page 4: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

เอกสารประกอบการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(นาฏศิลป์) ชุด ภูมิรักษ์นาฏรามัญ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 เรื่อง ประเภทของนาฏศิลป์ไทย เป็นเอกสารที่เรียบเรียงขึ้นมา เพื่อมุ่งหวังให้นักเรียน ผู้สนใจได้ศึกษาค้นคว้า เสริมความรู้ความเข้าใจ ตามจุดประสงค์ ต่อไปน้ี

1. บอกประเภทของนาฏศิลป์ไทยได้ 2. รู้จักและบอกลักษณะการแสดงของโขน ละคร ร าและระบ าได้ 3. รู้จักและบอกความหมายของการแสดงพ้ืนเมืองได้ถูกต้อง 4. อธิบายเหตุและปัจจัยพื้นฐานความแตกต่างของการแสดงพื้นเมืองได้

4

Page 5: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ประเภทของนำฏศิลป์ไทย

โขน

นาฏศิลป์ไทยสามารถแบ่งประเภท ตามลักษณะของรูปแบบการแสดง โดยแบ่งออก

เป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 4 ประเภท ได้แก ่ โขน ละคร ร าและระบ า การแสดงพื้นเมือง ดังนี ้ โขน เป็นศิลปะการแสดงช้ันสูงของไทยและเป็นนาฏศิลป์ในราชส านัก เชื่อกันว่าได้รับอิทธิพล

มาจาก การแสดงชักนาคดึกด าบรรพ์ กระบี่กระบอง และ หนังใหญ่ ปรากฏหลักฐานการแสดงโขนตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โขนนิยมแสดงเรื่อง รามเกียรติ์ สามารถแบ่งการแสดงโขนออกเป็น 6 ประเภท ดังนี ้ 1. โขนกลำงแปลง โขนกลางแปลง เป็นการแสดงโขนที่เก่าแก่ที่สุด นิยมเลือกตอนที่ใช้นักแสดงจ านวนมาก เช่น ตอน ยกรบ บนเวทีส าหรับการแสดงใช้กลางสนามหรือลานกว้างใช้ธรรมชาติรอบๆ ตัวเป็นฉาก

ภาพที่ 1 การแสดงโขนกลางแปลง จัดการแสดงชุดยกรบ โดยใช้สภาพแวดล้อมจริงเป็นฉาก ที่มา : https://thapom78.wordpress.com

2. โขนนั่งรำว หรือ โขนโรงนอก โขนชนิดนี้ ตัวละครจะนั่งร าบนราวกระบอกไม้ไผ่ แทนการนั่งบนเตียงหรือตั่ง จึงเรียกว่า โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนด้วยขณะแสดงแทนการเปิดหน้าร าแบบโขนทั่วไป

ภาพที่ 2 การแสดงโขนนั่งราว โดยผู้แสดงนั่งแสดง บนราวกระบอกไม้ไผ่ พระรามและลักษมณ์สวมศีรษะ ที่มา : https://siamrath.co.th/n/947

5

Page 6: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

3. โขนโรงใน

เป็นการแสดงโขนที่ได้รับอิทธิพลมาจากการแสดงละครใน เช่น ความสวยงามอ่อนช้อย ของท่าร า มีการร่ายร าประกอบการขับร้อง ซึ่งการแสดงโขนดั้งเดิม นิยมร่ายร าประกอบเพลง หน้าพาทย์และเสียงพากย์เจรจาเท่านั้น ภาพที่ 3 การแสดงโขนโรงในชุดเกี้ยวเบญกายแปลง ซึ่งมีการขับร้องตามแบบละครใน ทีม่า : https://campus.campus-star.com

4. โขนหน้ำจอ

เป็นการแสดงโขนด้านหน้าจอหนังใหญ่ จอหนังมีลักษณะเป็นผ้าขาวสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ เย็บริมกรอบผ้า ด้วยผ้าสีแดง บางครั้งมีการแสดงหนังใหญ่ผสมกับการแสดงโขน หรือนักแสดงโขน ถอดหวัโขนออกแต่ยังคงแต่งชุดยืนเครือ่ง แล้วเชิดหนังใหญ่หน้าจอหนัง

ภาพที่ 4 การแสดงโขนหน้าจอ ที่มา : http://www.finearts.go.th

6

Page 7: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

5. โขนฉำก เมื่อวิวัฒนาการทางด้านการแสดงเจริญมากขึ้น จึงได้มีการจัดสร้างฉากตามแนวคิดการแสดงละครแบบตะวันตก โดยการสร้างฉากที่สมจริงให้สอดคล้องกับการแสดงโขนประกอบฉากต่างๆ เช่น การสร้างฉากพลับพลากลางป่าของพระราม เป็นต้น

ภาพที่ 5 การแสดงโขนฉาก ทีเ่ป็นพลับพลาพระราม ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/minmint/2007/12/03/entry-1/comment

6. โขนสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ ในรัชกำลที่ 9

เป็นการแสดงโขนที่เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนาถบพิตรรัชกาลที่ 9 โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 ทรงเป็น ผู้ก่อตั้งขึ้นถือเป็นการแสดงโขนที่สมบูรณ์แบบมากที่สุด มีการศึกษาการแต่งกายโขนโบราณ การสร้างเอกลักษณ์ของ การแต่งหน้า มีการปรับรูปแบบ บทการแสดง ให้มีความกระชับเหมาะสม และ น าเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ประกอบการแสดง ทั้งในเรื่องของ ฉาก แสงสีเสียง เทคนิคต่างๆ เพื่อให้การแสดงสมจริงมากยิ่งขึ้น การแสดงโขนสมเด็จฯ ได้รับความสนใจ จากประชาชนและเยาวชนเป็นอย่างมาก และแสดงครั้งแรกในปี พ.ศ.2550 ตอน พรหมาศ

ภาพที่ 6 การแสดงโขนสมเด็จฯ ที่ใช้เทคนิคทันสมัย ประกอบการแสดง ที่มา : http://drphot.com/lifestyle/archives/1788

7

Page 8: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ละคร

ละคร หมายถึง การแสดงหรือการละเล่นที่เป็นเรื่องราวหรือเป็นชุดเป็นตอน มีตัวละครประกอบการแสดง เน้นการร่ายร าแบบตีบทตามบทละคร ละครทางด้านนาฏศิลป์ไทย จ าแนกออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.ละครร าแบบด้ังเดิม ประกอบด้วย ละครชาตรี ละครนอก และละครใน 2.ละครร าแบบปรับปรุง ประกอบด้วย ละครดึกด าบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา

นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 8 เกิดละครรูปแบบใหม่ขึ้นจ านวนมากซึ่งได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตก เช่น ละครร้อง ละครพูด ละครพูดสลับล า ละครสังคีต ละครหลวงวิจิตรวาทการ ละครเพลง เป็นต้น ซึ่งละครแต่ละชนิดจะมีรูปแบบเฉพาะตัว ในที่นี้จะขออธิบายเกี่ยวกับละครร าแบบด้ังเดิมและละครร าแบบปรับปรุง ดังต่อไปนี ้

ละครร ำแบบดั้งเดิม

ละครร าแบบดั้งเดิมทางด้านนาฏศิลป์ไทย มี 3 ประเภท ซึ่งเรียงตามล าดับความเก่าแก่ของละคร ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก และละครใน

ละครชำตรี เป็นละครร าที่เก่าแก่ที่สุด มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา นับเป็นละครชนิดแรกที่ไทยเริ่มมีการแสดงเป็นเรื่องราว ระยะแรกเริ่มผู้แสดงเป็นชายล้วน มีตัวละครเพียง 3 ตัว คือ นายโรง(พระเอก) นาง(นางเอก) และตลกหรือจ าอวด แต่ปัจจุบันมีการใช้นักแสดงทั้งชายหญิงผสมกัน ละครชาตรีนิยมแสดงเรื่อง พระสุธน-มโนราห์ และรถเสน

ภาพที่ 7 ละครชาตรี เรื่อง พระสุธน-มโนราห์ ตอน พระสธุนเลือกคู่ ที่มา : www.google.com/search?q=พระสุธนเลือกคู ่

8

Page 9: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ละครนอก เป็นการแสดงละครเพื่อความสนุกสนานของชาวบ้านนอกก าแพงวัง นิยมใช้ผู้ชายในการแสดงทั้งหมด มีการใช้ภาษาสองแง่สองง่าม เน้นความสนุกสนาน ด าเนินเรื่องรวดเร็ว นิยมแสดงได้ทุกเรื่องโดยเฉพาะเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ เช่น สังข์ทอง คาวี มณีพิชัย ไชยเชษฐ์ ไกรทอง เป็นต้น แต่จะไม่แสดงละคร 3 เรื่องดังต่อไปนี้ คือ รามเกียรติ์ อิเหนา และ อุณรุท ซึ่งเป็นประเภทละครใน

ภาพที ่8 การแสดงละครนอกเรื่อง ไชยเชษฐ์ ใช้นักแสดงผู้ชายทั้งสิ้น ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2560

ละครใน เป็นละครที่แสดงในวัง ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน ได้รับอิทธิพลการแสดงมาจากละครนอก แล้วน ามาปรับให้สวยงามเหมาะสมตามแบบของราชส านัก เน้นความไพเราะสวยงามของบทละคร ท่าร า นักแสดงงาม ดนตรีไพเราะ เครื่องแต่งกายงดงามแสดงได้เพียง 3 เรื่อง ได้แก่ รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา

ภาพที่ 9 การแสดงละครใน เรื่อง อิเหนา ตอน บุษบาชมศาล ที่มา : สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม, 2559

9

Page 10: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ละครร ำแบบปรับปรุง

เป็นการแสดงละครร าที่พัฒนาให้มีความแตกต่างและแปลกใหม่ไปจากเดิม มี 3 ประเภท ได้แก่ ละครดกึด าบรรพ์ ละครพันทาง และ ละครเสภา ละครดึกด ำบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) มีลักษณะวิธีการแสดง คือตัวละครร้องและเจรจาด้วยตนเองแต่จะมีลูกคู่ช่วยร้องประกอบ ละครดึกด าบรรพ์เปลี่ยนเสียงเครื่องดนตรีให้นุ่มนวลมากขึ้น มีการเพิ่มฆ้องหุ่ย 7 ลูก เข้าไปเพื่อให้มีเสียงดังกังวาน และถือเป็นเอกลักษณ์ของละครชนิดนี ้

ภาพที่ 10 การแสดงละครดึกด าบรรพ์ เรื่อง คาวี ตอน เผาพระขรรค ์ที่มา : https://sites.google.com/site/keziahphichitkankun/lakhr-dukdabrrph

ละครพันทำง หรือ ละครผสมสำมัคคี เป็นการน ารูปแบบนาฏศิลป์ของต่างชาติ ต่างภาษาเข้ามาผสมกับนาฏศิลป์ไทย ทั้งการแต่งกาย ท านองเพลง ภาษา ท่าร า เพื่อให้มีเอกลักษณ์ของชาตินั้นๆ ผู้ริเริ่มละครพันทาง คือ เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธ ารง (เพ็ง เพ็ญกุล) ได้น านิทานหรือวรรณกรรมของต่างชาต ิต่างภาษามาท าละครพันทาง เช่น ราชาธิราช ผู้ชนะสิบทิศ เป็นต้น

ภาพที่ 11 การแสดงละครพันทาง เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามรบกามนี ทีม่า : https://variety.thaiza.com/lifestyle/407852

10

Page 11: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ละครเสภำ มีลักษณะการแสดงคล้ายละครนอก รวมทั้งเพลงร้อง ท านองดนตรี การแต่ง

กายของตัวละครแต่มีข้อบังคับอยู่อย่างหนึ่งคือ ต้องมีขับเสภาแทรกอยู่ด้วยจึงจะเป็นละครเสภา เรื่องที่มีบทขับเสภาและนิยมแสดงกันอย่างแพร่หลาย คือเรื่องขุนช้างขุนแผน

ร ำและระบ ำ

ร าและระบ า มีปรากฏในการแสดงทั้ง โขน ละคร และการแสดงเบ็ดเตล็ดทั่วไป ซึ่งมีหลาย

รูปแบบ ร าและระบ ามีลักษณะแตกต่างกัน คือ ร า หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการร่ายร าประกอบท านองเพลง มุ่งเน้นความสวยงาม เป็นการอวดฝีมือของนักแสดงแต่ละบุคคล โดยแบ่งออกเป็นประเภท ดังนี้

ร าเด่ียว คือ การร่ายร าที่เน้นความงดงามของกระบวนท่าร าของผู้แสดง ใช้ผู้แสดงเพียง 1 คน แต่มุ่งเน้นลีลาความงามของท่าร าอย่างมาก เช่น ฉุยฉายพราหมณ์ ร าพลายชุมพล มโนราห์บูชายัญ เป็นต้น

ภาพที่ 12 การแสดงละครเสภา เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน พลายบัวเกี้ยวนางตานี ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2560

ภาพที่ 13 ฉุยฉายพราหมณ ์ที่มา : ศิริวัฒน์ ข าเกิด, 2555

ภาพที่ 14 ร าพลายชุมพล ที่มา : ศิริวัฒน์ ข าเกิด, 2555

11

Page 12: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ร าคู ่คือ การร่ายร าที่ใช้นักแสดง 2 คน ร าคู่กันท่าร าสอดคล้องสัมพันธ์กัน ท่าร าจะเหมือนกันหรือไม่เหมือนกันก็ได้ เช่น ร าหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา ร าเมขลารามสูร ร ารจนาเสี่ยงพวงมาลัย เป็นต้น

ภาพที่ 15 ร าหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา ภาพที่ 16 ร ารจนาเสี่ยงพวงมาลัย ทีม่า : http://www.thaiticketmajor.com ทีม่า : https://www.bloggang.com

ภาพที่ 17 ร าเมขลารามสูร ที่มา : https://ramakien.wordpress.com

12

Page 13: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ร าหมู่ คือ การร่ายร าที่ใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คนขึ้นไป ท่าร ามีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน

ท่าร าจะเหมือนกนัหรือไม่เหมือนกันก็ได้ เช่น ร าโคม ร าสีนวล ร าวงมาตรฐาน เป็นต้น

ภาพที่ 20 ร าวงมาตรฐาน ทีม่า : http://www.sysp.ac.th

ภาพที่ 18 ร าโคม ที่มา : Siam Thai, 2016

ภาพที่ 19 ร าสีนวล ที่มา : https://sites.google.com

13

Page 14: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ระบ า คือ ศิลปะการร่ายร าที่แสดงพร้อมกัน ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปเป็นหมู่เป็นชุดไม่ด าเนิน เป็นเรื่องราว ท่าร าบางครั้ง มีความหมายเข้ากับเนื้อร้อง บางครั้งไม่มีความหมายกับเนื้อร้อง มุ่งเน้นความสวยงามพร้อมเพรียงของท่าร า การแปรแถว เครื่องแต่งกาย เป็นหลัก ระบ าแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ระบ ามาตรฐาน และระบ าที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ระบ ามาตรฐาน เป็นระบ าที่ครูอาจารย์ทางด้านนาฏศิลป์ได้คิดประดิษฐ์ขึ้น เป็นแบบแผน ไม่สามารถปรับเปลี่ยนท่าร าได้ ต้องปฏิบัติตามกฎขนบประเพณี นิยมแต่งกายยืนเครื่อง เช่น ระบ าเทพบันเทิง ระบ ากฤดาภินิหาร ระบ าพรหมาสตร์ เป็นต้น

ภาพที่ 21 ระบ ากฤดาภินิหาร

ที่มา : https://sites.google.com

ระบ าที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ หมายถึง ระบ าที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ตามวาระโอกาสต่างๆ ตามจุดประสงค์ของงานนั้นๆ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ปรับปรุงจากพื้นบ้านพื้นเมือง ปรับปรุง จากอากัปกิริยาของสัตว์ ปรับปรุงให้เข้ากับเหตุการณ์ส าคัญ ปรับปรุงขึ้นใช้เป็นสื่อการสอน ปรับปรุงประกอบชุดการแสดงโขน-ละคร 1) ปรับปรุงจากพื้นบ้านพื้นเมือง เป็นการน าอาชีพวิถีชีวิตท้องถิ่นของแต่ละท้องที่ มาประดิษฐ์เป็นการแสดงระบ าทางด้านนาฏศิลป์ เช่น ระบ านาเกลือ เป็นการน าวิถีชีวิตของชาวเมืองสมุทรสาคร มาสร้างเป็นระบ า เป็นต้น

ภาพที่ 22 อาชีพการท านาเกลือของชาวจังหวัดสมุทรสาคร ที่มา : https://www.honestdocs.co

14

Page 15: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

2) ปรับปรุงจากอากัปกิริยาของสัตว์ เป็นการน ากิริยาอาการของสัตว์มาประดิษฐ์เป็นการแสดงทางด้านนาฏศิลป์ เช่น ระบ านกยูง ระบ าไก่ ระบ าม้า ระบ ากุญชรเกษม เป็นต้น

ภาพที่ 23 ระบ านกยูง (มยุราภิรมย์) ภาพที่ 24 ระบ าม้า ที่มา : www.isan.clubs.chula.ac.th ที่มา : www.isan.clubs.chula.ac.th

3) ปรับปรุงให้เข้ากับเหตุการณ์ส าคัญ เป็นระบ าที่ประดิษฐ์ขึ้นในโอกาสวันนักขัตฤกษ์ หรือวันส าคัญต่างๆ เช่น วันลอยกระทง มีการสร้างระบ าพระประทีป ให้เข้ากับเทศกาล เป็นต้น

4) ปรับปรุงขึ้นใช้เป็นสื่อการสอน เป็นระบ าที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อใช้ประกอบบทเรียน เช่น ระบ าสูตรคูณ ระบ าวรรณยุกต์ ระบ าเลขไทย เป็นต้น 5) ปรับปรุงประกอบชุดการแสดงโขน-ละคร เป็นระบ าที่ใช้สอดแทรกประกอบการแสดงโขน-ละครบางเรื่องบางตอน นิยมท าเป็นการแสดงเบ็ดเตล็ด เช่น ระบ าบันเทิงกาสร ใช้ในการแสดงโขนชุดพาลีสอนน้อง ระบ านพรัตน์ ใช้ในการแสดงละครนอก เรื่องสุวรรณหงส์ เป็นต้น

ภาพที่ 25 ระบ าบันเทิงกาสร ภาพที่ 26 ระบ านพรัตน์ ทีม่า : www.bloggang.com ทีม่า : www.videomoviles.com

15

Page 16: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กำรแสดงพื้นเมือง

หมายถึง การแสดงที่เกิดขึ้นตามท้องถิ่นต่างๆ และเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนั้นๆ ตามแต่ละภูมิภาคประเทศไทย แบ่งการแสดงพื้นเมืองออกเป็น 4 ภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) และ ภาคใต ้

กำรแสดงพื้นเมือง เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอันล้ าค่าที่บรรพบุรุษไทยได้อนุรักษ์ สร้างสรรค์ และสืบทอดไว้เป็นเอกลักษณ์ประจ าท้องถิ่นของตนเอง เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้ รัก และภาคภูมิใจในคุณค่าในศิลปะไทยในแขนงนี้ จึงเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่จะต้องช่วย สืบทอด จรรโลง และธ ารงไว้เป็นสมบัติของชาติสืบไป

การแสดงแต่ละภาคจะมีลักษณะ รูปแบบทีแ่ตกต่างกันออกไปซึ่งเกิดจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. สภำพทำงภูมิศำสตร์

มีอิทธิพลต่อการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นของแต่ละภาค เนื่องจากในสมัยอดีตการคมนาคมติดต่อกับส่วนกลางยากล าบาก ในภูมิภาคที่อยู่ห่างไกลจึงมักจะรับวัฒนธรรมจากประเทศใกล้เคียง เข้ามาในสังคมนั้น 2. ประเพณี

ในแต่ละท้องถิ่นย่อมมี ขนบ ธรรมเนียม ประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนนั้นๆ ทั้งนี้ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง เพื่อสร้างความส าคัญให้กับชุมชนของตนเองเพื่อให้ได้รับ การยอมรับจากสังคม 3. ศำสนำ

ประเทศไทยนับเป็นประเทศหนึ่งที่มีความเป็นประชาธิปไตยในเรื่องการนับถือศาสนาส่งผลให้ประชาชนมีโอกาสในการเลือกนับถือศาสนาได้อย่างอิสระ การนับถือศาสนาจึงส่งผลต่อ ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี และส่งผลถึงแนวคิดการแสดงพ้ืนเมืองในท้องถิ่นตนเอง 4. ควำมเชื่อ

เป็นเรื่องที่มีความผูกพันในวิถีชีวิตของคนไทยมานาน ความเชื่อมีผลท าให้เกิดรูปแบบของประเพณีต่างๆ อันเป็นผลต่อการแสดงพื้นเมืองอย่างยิ่งในแต่ละท้องถิ่น 5. ค่ำนิยม

ค่านิยมเป็นสิ่งส าคัญขั้นพื้นฐานในการท าความเข้าใจถึงพฤติกรรมบุคคล เพราะพฤติกรรมหรือการแสดงออกของบุคคล ย่อมขึ้นอยู่กับลักษณะค่านิยมที่ผู้นั้นมีอยู่ ค่านิยมที่เรามักพบในแต่ละท้องถิ่นแต่ละภาคจะมีลักษณะต่างๆ ได้แก่ การศึกษา ความมั่นคง การท าบุญ ความสนุกสนาน ความรักสามัคคีในครอบครัวและชุมชน เป็นต้น

165

Page 17: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กำรแสดงพื้นเมืองภำคเหนือ การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ เน้นจังหวะนุ่มนวล อ่อนช้อย และโดยมากจะเรียกการร่ายร า ว่า การฟ้อน เช่น ฟ้อนเจิง ฟ้อนดาบ ฟ้อนขันดอก ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเงี้ยว เป็นต้น ฟ้อนเล็บ

เป็นการฟ้อนร าโดยการสวมเล็บสีทองที่นิ้วมือ ทั้ง 8 นิ้ว ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือร่ายร าประกอบท านองเพลงที่อ่อนช้อย นุ่มนวล แต่งกายด้วยชุดพื้นเมือง แต่เดิมการฟ้อนเล็บมีเฉพาะในคุ้มหลวง ผู้ที่มีบทบาทส าคัญในการฟ้อน คือ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ และให้นางก านัลฝ่ายในฝึกฟ้อนถวายรัชกาลที่ 7 เมื่อครั้งเสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือ เมื่อปี พ.ศ.2470 การแสดงฟ้อนเล็บ นิยมแสดงในงานรื่นเริงต่างๆ และอวมงคล

ภาพที่ 27 พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ในรชักาลที่ 5 ที่มา : https://www.baanjomyut.com

ภาพที่ 28 ฟ้อนเล็บ ที่มา : https://www.bloggang.com

17

Page 18: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ฟ้อนเงี้ยว เป็นการร่ายร าในลักษณะของชาวไทยภูเขาเผ่าหนึ่ง เรียกว่า “เงี้ยว” มีภูมิล าเนาอยู่ทางภาคเหนือของไทย นักแสดงใช้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง แต่งกายด้วยชุดชาวเขา ในมือถือใบไม้ทั้งสองข้าง บทร้องมีลักษณะเป็นบทอวยพรเพื่อเป็นการปัดเป่าสิ่งไม่ดีออกไป เนื้อเพลงกล่าวถึง การไหว้บูชาและขอพรพระรัตนตรัย นิยมแสดงในงานรื่นเริงต่างๆ งานมงคล หรืองานอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมต่างๆ

ภาพที่ 29 ฟ้อนเงี้ยว ที่มา : www.finearts.go.th/performing

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มวัฒนธรรมใหญ่ คือ อีสานเหนือติดกับประเทศลาว และอีสานใต้ติดกับกัมพูชา การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือเน้นความสนุกสนาน รื่นเริง การแสดงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ น าวิถีชีวิตความเป็นอยู่ อาชีพ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มาสร้างสรรค์ให้เป็นนาฏศิลป์ เรียกว่า เซิ้งและฟ้อน แต่โดยมาก นิยมเรียกว่า เซิ้ง เช่น เซิ้งตังหวาย เซิ้งโปงลาง เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบข้าว เซิ้งแหย่ไข่มดแดง เรือมอันเร ดึงครก ดึงสาก เป็นต้น

เซิ้งกระติบข้ำว

แต่เดิมเป็นการฟ้อนร าตามจังหวะเพลงทั่วไป ไม่ได้มีแบบแผนเมื่อราวปี พ.ศ.2517 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ต้องการน าการแสดงต้อนรับสมเด็จพระนาง อะเลียนาและเจ้าหญิงบีทริกซ์ แห่งประเทศเนเธอแลนด์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- อดุลยเดชฯบรมนาถบพิตร ทรงมีรับสั่งให้ห้อยกระติบข้าวแล้วร่ายร า เมื่อได้รับความแพร่หลายและ มีกระติบข้าวห้อยอยู่ที่ตัว จึงเรียกติดปากกันต่อมาว่า เซิ้งกระติบข้าว หรือ เซิ้งกระติ๊บ นิยมแสดง ในงานรื่นเริงต่างๆ งานมงคล หรืองานอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ใช้วงดนตรีอีสาน

ภาพที่ 30 เซิ้งกระติบข้าว ที่มา : หนังสือวิพธิทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์

(2542, 24)

18

Page 19: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ไข่มดแดง ถือเป็นอาหารประจ าถิ่นภาคตะวันออเฉียงเหนือ ภาควิชานาฏศิลป์ วิทยาลัยครูบุรีรัมย์ จึงสร้างสรรค์ท่าร าขึ้น เพื่ออนุรักษ์อาชีพแหย่ไข่มดแดงไว้โดยอาจารย์ประชัน คะเนวัน และอาจารย์ดรรชนี อุบลเลิศ เป็นผู้เขียนวิธีการเก็บไข่มดแดง

แต่งกายชุดพื้นเมืองอีสาน ฝ่ายชายนุ่งกางเกงขาก๊วยหรือโสร่งก็ได้ สวมเสื้อคอกลมแขนสั้น มีผ้าขาวม้าคาดเอว และใช้ผ้าขาวม้าโพกศีรษะ ฝ่ายหญิงนุ่งผ้าซิ่นความยาวคลุมหัวเข่า สวมเสื้อ แขนกระบอก ห่มสไบแพรวา

อุปกรณ์ประกอบการแสดง คือ ครุใส่น้ า ตะกร้าผูกไว้ที่ปลายไม้ ผ้าส าหรับกวนมดแดง ใช้ดนตรีอีสานลายเซิ้ง ประกอบการแสดง

ภาพที่ 31 เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ที่มา : หนังสือวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางค์ศิลป์ (2547, 36)

ภำคกลำง

ภาคกลางมีภูมิภาคลักษณะพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ า การเดินทางในอดีตนิยมใช้เรือ เป็นพาหนะ อาชีพโดยมากเกี่ยวกับเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง โดยมากนิยมการร้องเพลงระหว่างชายหญิง หลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตของ ไร่ นา สวน ต่างๆ โดยให้เกิดความสนุกสนาน ใช้ภาษาสองแง่สองง่าม และไหวพริบปฏิภาณในการต่อกลอน เน้นการละเล่นที่สนุกสนาน รื่นเริง น าวัฒนธรรมวิถีชีวิตมาสร้างสรรค์ เป็นการแสดงพื้นเมือง เช่น เต้นก าร าเคียว ระบ าชาวนา ร าเถิดเทิง ร าโทน ร้องเพลงเหยอ่ย เพลงพวงมาลัย เพลงอีแซว เพลงเรือ เป็นต้น

19

Page 20: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ร ำเถิดเทิง

การเล่น “เทิงบ้องกลองยาว” หรือ “เถิดเทิง” สันนิษฐานว่า ไทยได้รับอิทธิพลมาจากพม่า เป็นการร่ายร าระหว่างชายหญิง กับวงดนตรีกลองยาว ประกอบด้วย ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง และ กลองยาว ด้วยจังหวะที่สนุกสนาน การแต่งกาย ผู้ชาย นุ่งกางเกง สวมเสื้อคอกลม มีผ้าคาดเอว และศีรษะ และสะพายกลองยาวประกอบการแสดงหญิง สวมเสื้อแขนกระบอก นุ่งผ้าถุง ห่มสไบ การแสดงเถิดเทิงหรือร ากลองยาวนี้ นิยมแสดงในงานรื่นเริงต่างๆของไทย ได้รับความแพร่หลาย อย่างมาก

เต้นก ำร ำเคียว

เป็นการละเล่นในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าวของชาวภาคกลาง บริเวณอ าเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งประชาชนส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม เมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ชาวบ้าน จะออกมาช่วยกัน หรือ ที่เรียกว่า “ลงแขกเกี่ยวข้าว” และระหว่างเกี่ยวข้าวก็ร้องล าท าเพลง ไปด้วยเพื่อความสนุกสนาน ลักษณะการแสดงเป็นการร้องกลอนโต้ตอบกันระหว่างชายหญิง ผู้ชายนิยมสวมกางเกงขาก๊วย ใส่เสื้อหมอห้อม มีผ้าขาวม้าคาดเอว และสวมหมวก ฝ่ายหญิงนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก สวมงอบ ทั้งชายและหญิงในมือขวาถือเคียวและมือซ้าย ถือรวงข้าว

ภาพที่ 32 ร าเถิดเทิง หรือ ร ากลองยาว ที่มา : https://sites.google.com

ภาพที่ 33 การละเล่นเต้นก าร าเคียว ที่มา : https://sites.google.com/site/ajanthus/te

20

Page 21: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

ภำคใต้

ภาคใต้เป็นภาคที่อุดมไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติ มีทั้งแม่น้ า ทะเล ภูเขา ป่าไม้ มีประเพณีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ และมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและภาษา แบ่งออก เป็นสองกลุ่มวัฒนธรรมหลัก ได้แก่ ไทยพุทธ และไทยมุสลิม ลักษณะการแสดงของภาคใต้มีจังหวะกระชับ สนุกสนาน เสี ยง เพลงและดนตรี มีการผสมระหว่ างวัฒนธรรมไทยและมลายู การแสดงพื้นเมืองภาคใต้มีความหลากหลายอย่างมาก ได้แก่ โนราห์ หนังตะลุง ลิเกป่า รองเง็ง ตาลีกีปัส ระบ าร่อนแร่ เป็นต้น โนรำห์

เป็นการแสดงพื้นเมืองทางภาคใต้ที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน การแสดงโนราห์ เป็นที่นิยมอย่างมากในภาคใต้ เป็นวัฒนธรรมของกลุ่มชาวไทยพุทธ ลักษณะการแสดงนักแสดงร่ายร าประกอบกับดนตรี และมีการร้องเพลงประกอบ มีท่าร า เครื่องแต่งกายและดนตรีเป็นแบบแผน นิยมแสดง ในงานรื่นเริงต่างๆ รวมถึงงานมงคลและอวมงคล

ภาพที่ 34 การแสดง มโนราห์ หรือ โนราห ์

ที่มา : มหาวิทยาลัยทักษิณสงขลา https://www.77kaoded.com/content/18555 ตำรีกีปัส เป็นการแสดงพื้นเมืองของชาวไทยมุสลิมในภาคใต้ ตารีกีปัส เป็นภาษาถิ่น ตารี หมายถึง ระบ ากีปัส หมายถึง พัด ตารีกีปัส หมายถึง ระบ าพัด สามารถแสดงได้ทั้งชายหญิง หรือ หญิงล้วน ฝ่ายหญิง แต่งกาย โดยสวมเสื้อบานงแขนยาว ตัวเสื้อยาวคลุมสะโพก นุ่งผ้าปาเต๊ะ สวมเครื่องประดับ ฝ่ายชาย แต่งกาย สวมเสื้อคอตั้งแขนยาว กางเกงขายาว นุ่งผ้าซอแกะทับกางเกง สวมหมวกมุสลิม

21

Page 22: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

การแสดงชุดนี้ได้รับการฟิ้นฟูโดยคณะครู จากโรงเรียนยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี การแต่งกาย แต่งกายด้วยชุดพื้นเมืองตามวัฒนธรรมมลายู ในมือถือพัดทั้ง 2 ข้าง ใช้วงดนตรีภาคใต้ตอนล่าง สามารถแสดงในงานรื่นเริง และงานทางวัฒนธรรม

ภาพที่ 35 ระบ าตารีกีปัส ที่มา : http://cream-za.blogspot.com/2018/01/blog-post_52.html

22

Page 23: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรม

23

Page 24: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 2 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (โขน,ละคร)

ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด ......................1) นาฏศิลป์ไทยจ าแนกได้ทัง้หมด 4 ประเภท ......................2) โขน มีวิวัฒนาการมาจาก การเล่นชักนาคดึกด าบรรพ์ การแสดงหนังตะลุง การละเลน่กระบี่กระบอง ......................3) การแสดงโขนมีเอกลักษณ์อยู่ที่การสวมหน้ากากหรือศีรษะโขน ......................4) การแสดงโขนนิยมแสดงเรื่อง อิเหนา อุณรุท ......................5) โขนกลางแปลง จัดแสดงที่ลานกว้างโดยใช้ธรรมชาติเป็นฉาก นิยมแสดง ตอนยกทพัและสู้รบ ......................6) ละครเป็นการแสดงที่เป็นเรื่องราว จ าแนกเป็นละครแบบดั้งเดิม และละครแบบปรับปรุง ......................7) ละคร ที่จัดในประเภทของนาฏศิลป์ไทยหมายถึงละครร าแบบด้ังเดิม เท่านั้น ......................8) ละครดึกด าบรรพ์ จัดเป็นประเภทละครร าแบบปรับปรุง ......................9) ละครเสภา จัดเป็นละครแบบดั้งเดิม ......................10) ละครร้อง ละครสังคีต ละครพูด เป็นวิวัฒนาการของละครร า แบบปรับปรุง

24

Page 25: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมที่ 2 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (โขน,ละคร) ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด

......................1) นาฏศิลป์ไทยจ าแนกได้ทัง้หมด 4 ประเภท ......................2) โขน มีวิวัฒนาการมาจาก การเล่นชักนาคดึกด าบรรพ์ การแสดงหนังตะลุง การละเล่นกระบี่กระบอง ......................3) การแสดงโขนมีเอกลักษณ์อยู่ที่การสวมหน้ากากหรือศีรษะโขน ......................4) การแสดงโขนนิยมแสดงเรื่อง อิเหนา อุณรุท ......................5) โขนกลางแปลง จัดแสดงที่ลานกว้างโดยใช้ธรรมชาติเป็นฉาก นิยมแสดง ตอนยกทพัและสู้รบ ......................6) ละครเป็นการแสดงที่เป็นเรื่องราว จ าแนกเป็นละครแบบดั้งเดิม และละครแบบปรับปรุง ......................7) ละคร ที่จัดในประเภทของนาฏศิลป์ไทยหมายถึงละครร าแบบด้ังเดิม เท่านั้น ......................8) ละครดึกด าบรรพ์ จัดเป็นประเภทละครร าแบบปรับปรุง ......................9) ละครเสภา จัดเป็นละครแบบดั้งเดิม ......................10) ละครร้อง ละครสังคีต ละครพูด เป็นวิวัฒนาการของละครร า แบบปรับปรุง

25

Page 26: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 2 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (โขน,ละคร)

ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด ......................1) นาฏศิลป์ไทยจ าแนกได้ทัง้หมด 4 ประเภท ......................2) โขน มีวิวัฒนาการมาจาก การเล่นชักนาคดึกด าบรรพ์ การแสดงหนังตะลุง การละเลน่กระบี่กระบอง ......................3) การแสดงโขนมีเอกลักษณ์อยู่ที่การสวมหน้ากากหรือศีรษะโขน ......................4) การแสดงโขนนิยมแสดงเรื่อง อิเหนา อุณรุท ......................5) โขนกลางแปลง จัดแสดงที่ลานกว้างโดยใช้ธรรมชาติเป็นฉาก นิยมแสดง ตอนยกทพัและสู้รบ ......................6) ละครเป็นการแสดงที่เป็นเรื่องราว จ าแนกเป็นละครแบบดั้งเดิม และละครแบบปรับปรุง ......................7) ละคร ที่จัดในประเภทของนาฏศิลป์ไทยหมายถึงละครร าแบบด้ังเดิม เท่านั้น ......................8) ละครดึกด าบรรพ์ จัดเป็นประเภทละครร าแบบปรับปรุง ......................9) ละครเสภา จัดเป็นละครแบบดั้งเดิม ......................10) ละครร้อง ละครสังคีต ละครพูด เป็นวิวัฒนาการของละครร า แบบปรับปรุง

26

Page 27: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมที่ 2 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (โขน,ละคร) ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด

......................1) นาฏศิลป์ไทยจ าแนกได้ทัง้หมด 4 ประเภท ......................2) โขน มีวิวัฒนาการมาจาก การเล่นชักนาคดึกด าบรรพ์ การแสดงหนังตะลุง การละเลน่กระบี่กระบอง ......................3) การแสดงโขนมีเอกลักษณ์อยู่ที่การสวมหน้ากากหรือศีรษะโขน ......................4) การแสดงโขนนิยมแสดงเรื่อง อิเหนา อุณรุท ......................5) โขนกลางแปลง จัดแสดงที่ลานกว้างโดยใช้ธรรมชาติเป็นฉาก นิยมแสดง ตอนยกทพัและสู้รบ ......................6) ละครเป็นการแสดงที่เป็นเรื่องราว จ าแนกเป็นละครแบบดั้งเดิม และละครแบบปรับปรุง ......................7) ละคร ที่จัดในประเภทของนาฏศิลป์ไทยหมายถึงละครร าแบบด้ังเดิม เท่านั้น ......................8) ละครดึกด าบรรพ์ จัดเป็นประเภทละครร าแบบปรับปรุง ......................9) ละครเสภา จัดเป็นละครแบบดั้งเดิม ......................10) ละครร้อง ละครสังคีต ละครพูด เป็นวิวัฒนาการของละครร า แบบปรับปรงุ

27

Page 28: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 3 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ร ำและระบ ำ) ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด

.....................1) ร า คือ การแสดงลีลาการเคลื่อนไหวของผู้แสดงประกอบเพลงที่มีท านอง หรือบทร้อง .....................2) การแสดงหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา จดัเป็นการแสดงชุดร าเด่ียว .....................3) ร าสีนวล ร าโคม จัดเป็นประเภทของการร าหมู่ .....................4) ระบ า คือ ศิลปะแห่งการร าที่ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป .....................5) ระบ า เน้นการแสดงที่เป็นเรื่องราว .....................6) ระบ าเทพบนัเทิง จัดเป็นประเภท ระบ ามาตรฐาน .....................7) ระบ าที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ค านึงถึงจุดประสงค์ของการแสดงเป็นส าคัญ .....................8) ระบ ากฤดาภินิหาร เป็นระบ าแบบปรับปรุงจากท่าร่ายร าของเทวดา นางฟ้า .....................9) ระบ านกยูง เป็นระบ าปรับปรุงจากท่าทางของสัตว์ .....................10) ระบ านาเกลือ ปรับปรุงขึ้นเพื่อสะท้อนอาชีพของชาวจังหวัดสมุทรสาคร

28

Page 29: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 3 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ร ำและระบ ำ) ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด

.....................1) ร า คือ การแสดงลีลาการเคลื่อนไหวของผู้แสดงประกอบเพลงที่มีท านอง หรือบทร้อง .....................2) การแสดงหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา จดัเป็นการแสดงชุดร าเด่ียว .....................3) ร าสีนวล ร าโคม จัดเป็นประเภทของการร าหมู่ .....................4) ระบ า คือ ศิลปะแห่งการร าที่ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป .....................5) ระบ า เน้นการแสดงที่เป็นเรื่องราว .....................6) ระบ าเทพบนัเทิง จัดเป็นประเภท ระบ ามาตรฐาน .................... .7) ระบ าที่ปรบัปรุงขึ้นใหม่ ค านึงถึงจุดประสงค์ของการแสดงเป็นส าคัญ .....................8) ระบ ากฤดาภินิหาร เป็นระบ าแบบปรับปรุงจากท่าร่ายร าของเทวดา นางฟ้า .....................9) ระบ านกยูง เป็นระบ าปรับปรุงจากท่าทางของสัตว์ .....................10) ระบ านาเกลือ ปรับปรุงขึ้นเพื่อสะท้อนอาชีพของชาวจังหวัดสมุทรสาคร

29

Page 30: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 3 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ร ำและระบ ำ) ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด

.....................1) ร า คือ การแสดงลีลาการเคลื่อนไหวของผู้แสดงประกอบเพลงที่มีท านอง หรือบทร้อง .....................2) การแสดงหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา จดัเป็นการแสดงชุดร าเด่ียว .....................3) ร าสีนวล ร าโคม จัดเป็นประเภทของการร าหมู่ .....................4) ระบ า คือ ศิลปะแห่งการร าที่ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป .....................5) ระบ า เน้นการแสดงที่เป็นเรื่องราว .....................6) ระบ าเทพบนัเทิง จัดเป็นประเภท ระบ ามาตรฐาน .....................7) ระบ าที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ ค านึงถึงจุดประสงค์ของการแสดงเป็นส าคัญ .....................8) ระบ ากฤดาภินิหาร เป็นระบ าแบบปรับปรุงจากท่าร่ายร าของเทวดา นางฟ้า .....................9) ระบ านกยูง เป็นระบ าปรับปรุงจากท่าทางของสัตว์ .....................10) ระบ านาเกลือ ปรับปรุงขึ้นเพื่อสะท้อนอาชีพของชาวจังหวัดสมุทรสาคร

30

Page 31: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 3 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ร ำและระบ ำ) ชื่อ....................................................... ชัน้ ............... เลขที่ ..........

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย หนา้ข้อที่ผิด

.....................1) ร า คือ การแสดงลีลาการเคลื่อนไหวของผู้แสดงประกอบเพลงที่มีท านอง หรือบทร้อง .....................2) การแสดงหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา จดัเป็นการแสดงชุดร าเด่ียว .....................3) ร าสีนวล ร าโคม จัดเป็นประเภทของการร าหมู่ .....................4) ระบ า คือ ศิลปะแห่งการร าที่ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป .....................5) ระบ า เน้นการแสดงที่เป็นเรื่องราว .....................6) ระบ าเทพบนัเทิง จัดเป็นประเภท ระบ ามาตรฐาน .................... .7) ระบ าที่ปรบัปรุงขึ้นใหม่ ค านึงถึงจุดประสงค์ของการแสดงเป็นส าคัญ .....................8) ระบ ากฤดาภินิหาร เป็นระบ าแบบปรับปรุงจากท่าร่ายร าของเทวดา นางฟ้า .....................9) ระบ านกยูง เป็นระบ าปรับปรุงจากท่าทางของสัตว์ .....................10) ระบ านาเกลือ ปรับปรุงขึ้นเพื่อสะท้อนอาชีพของชาวจังหวัดสมุทรสาคร

31

Page 32: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 4 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำย เหตุและปัจจัยพื้นฐำนควำมแตกต่ำงของกำรแสดงพื้นเมอืง)

ชื่อ................................................................... ชั้น ............... เลขที่ .............

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1) การแสดงพื้นเมืองหมายถึงสิ่งใด จงอธิบาย ตอบ ............................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………................................……………………………... 2) ปัจจัยทีส่่งผลให้การแสดงพ้ืนเมือง มีความแตกต่างกันมีอะไรบ้าง ตอบ .............................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ………………………………………………………................................…………………………………………………... 3) นักเรียนคดิว่าการแสดงพื้นเมืองมีความส าคัญต่อวัฒนธรรมไทย อยา่งไร จงอธิบาย ตอบ .................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ……………………................................……………………………………………………………………………………...

32

Page 33: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 4 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำย เหตุและปัจจัยพื้นฐำนควำมแตกต่ำงของกำรแสดงพื้นเมอืง)

ชื่อ................................................................... ชั้น ............... เลขที่ .............

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1) การแสดงพื้นเมืองหมายถึงสิ่งใด จงอธิบาย ตอบ ............................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………................................……………………………... 2) ปัจจัยทีส่่งผลให้การแสดงพ้ืนเมือง มีความแตกต่างกันมีอะไรบ้าง ตอบ .............................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ………………………………………………………................................…………………………………………………... 3) นักเรียนคดิว่าการแสดงพื้นเมืองมีความส าคัญต่อวัฒนธรรมไทย อยา่งไร จงอธิบาย ตอบ .................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ……………………................................……………………………………………………………………………………...

การแสดงที่เกิดขึ้นตามท้องถิ่นและตามพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละภูมิภาค โดยอาจมีการพัฒนา ดัดแปลงมาจากการละเล่นพ้ืนเมืองของท้องถิ่นนั้นๆ การแสดงพ้ืนเมือง โดยมีด้วยกันทั้งหมด 4 ภาค (อยู่ในดุลพินิจครูผู้สอน)

สภาพภูมิศาสตร์ ประเพณี ศาสนา ความเชื่อ และค่านยิม (อยู่ในดุลพินิจครูผู้สอน)

เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ าค่า ที่บรรพบุรุษไทยได้สั่งสม สร้างสรรค์ และสืบทอดไว้เป็นเอกลักษณ์ประจ าชาติ เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และรัก ในคุณค่าในศิลปะไทยในแขนงนี้ เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และพร้อมที่จะ ช่วยสืบทอด จรรโลง และธ ารงไว้เป็นสมบัติของชาติสืบไป (อยู่ในดุลพินิจครูผู้สอน)

33

Page 34: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 4 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำย เหตุและปัจจัยพื้นฐำนควำมแตกต่ำงของกำรแสดงพื้นเมอืง)

ชื่อ................................................................... ชั้น ............... เลขที่ .............

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1) การแสดงพื้นเมืองหมายถึงสิ่งใด จงอธิบาย ตอบ ............................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………................................……………………………... 2) ปัจจัยทีส่่งผลให้การแสดงพ้ืนเมือง มีความแตกต่างกันมีอะไรบ้าง ตอบ .............................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ………………………………………………………................................…………………………………………………... 3) นักเรียนคดิว่าการแสดงพื้นเมืองมีความส าคัญต่อวัฒนธรรมไทย อยา่งไร จงอธิบาย ตอบ .................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ……………………................................……………………………………………………………………………………...

34

Page 35: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 4 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (ควำมหมำย เหตุและปัจจัยพื้นฐำนควำมแตกต่ำงของกำรแสดงพื้นเมอืง)

ชื่อ................................................................... ชั้น ............... เลขที่ .............

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1) การแสดงพื้นเมืองหมายถึงสิ่งใด จงอธิบาย ตอบ ............................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………................................……………………………... 2) ปัจจัยทีส่่งผลให้การแสดงพ้ืนเมือง มีความแตกต่างกันมีอะไรบ้าง ตอบ .............................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................... ………………………………………………………................................…………………………………………………... 3) นักเรียนคดิว่าการแสดงพื้นเมืองมีความส าคัญต่อวัฒนธรรมไทย อยา่งไร จงอธิบาย ตอบ .................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ……………………................................……………………………………………………………………………………...

การแสดงที่เกิดขึ้นตามท้องถิ่นและตามพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละภูมิภาค โดยอาจมีการพัฒนา ดัดแปลงมาจากการละเล่นพ้ืนเมืองของท้องถิ่นนั้นๆ การแสดงพ้ืนเมือง โดยมีด้วยกันทั้งหมด 4 ภาค (อยู่ในดุลพินิจครูผู้สอน)

สภาพภูมิศาสตร์ ประเพณี ศาสนา ความเชื่อ และค่านยิม (อยู่ในดุลพินิจครูผู้สอน)

เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ าค่า ที่บรรพบุรุษไทยได้สั่งสม สร้างสรรค์ และสืบทอดไว้เป็นเอกลักษณ์ประจ าชาติ เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และรัก ในคุณค่าในศิลปะไทยในแขนงนี้ เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และพร้อมที่จะ ช่วยสืบทอด จรรโลง และธ ารงไว้เป็นสมบัติของชาติสืบไป (อยู่ในดุลพินิจครูผู้สอน)

35

Page 36: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 5 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคเหนอื ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรียนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคละ 1 ภาพ การแสดง แล้ววเิคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

36

Page 37: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 5 (ก่อนเรียน)

ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคเหนอื ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรียนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคละ 1 ภาพ การแสดง แล้ววเิคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

วัฒนธรรมการแต่งกายตามท้องถิ่นของตนเอง

งานรื่นเริง และงานมงคล

วงปี่พาทย์เครื่องห้า หรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ

ครูลมุล ยมะคุปต ์ได้น าลีลาฟ้อนเงี้ยว ปรับปรุงขึ้นใหม ่ ในหลักสูตรวิชาเมื่อ พ.ศ.2478 บทร้องมีลักษณะเป็นบทอวยพร

ฟ้อนเงี้ยว เซิ้งกระต๊ิบ

แก๊บ (กรับ) กลองเถิดเทิง กลองแต๊ะ โหม่ง และฉาบ

จังหวะฟ้อนเงี้ยวจะปานกลาง จังหวะเซิ้งกระติ๊บจะรวดเร็ว

งานรื่นเริง และงานมงคล

การละเล่นพื้นเมือง ของชาวนาฏศิลป์ภูไท เพลงที่มีท านองและ จังหวะเร็ว ผู้แสดงสะพายกระติ๊บข้าว

37

Page 38: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 5 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคเหนอื ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรียนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคละ 1 ภาพ การแสดง แล้ววเิคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

38

Page 39: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 5 (หลังเรียน)

ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคเหนอื ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรียนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคละ 1 ภาพ การแสดง แล้ววเิคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

วัฒนธรรมการแต่งกายตามท้องถิ่นของตนเอง

งานรื่นเริง และงานมงคล

วงปี่พาทย์เครื่องห้า หรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ

ครูลมุล ยมะคุปต ์ได้น าลีลาฟ้อนเงี้ยว ปรับปรุงขึ้นใหม ่ ในหลักสูตรวิชาเมื่อ พ.ศ.2478 บทร้องมีลักษณะเป็นบทอวยพร

ฟ้อนเงี้ยว เซิ้งกระต๊ิบ

แก๊บ (กรับ) กลองเถิดเทิง กลองแต๊ะ โหม่ง และฉาบ

จังหวะฟ้อนเงี้ยวจะปานกลาง จังหวะเซิ้งกระติ๊บจะรวดเร็ว

งานรื่นเริง และงานมงคล

การละเล่นพื้นเมือง ของชาวนาฏศิลป์ภูไท เพลงที่มีท านองและ จังหวะเร็ว ผู้แสดงสะพายกระติ๊บข้าว

39

Page 40: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 6 (ก่อนเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคกลำง ภำคใต้)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรยีนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคละ 1 ภาพการแสดง แล้ววิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคกลำง ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ภำคใต ้ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

40

Page 41: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 6 (ก่อนเรียน)

ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคกลำง ภำคใต้)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรียนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคละ 1 ภาพการแสดง แล้ววิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคกลำง ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ภำคใต ้ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

ร าเถิดเทิง

เชื่อกันว่าร ากลองยาวมีถิ่นก าเนิด มาจากชนบท ต่อมากรมศิลปากรได้น ามาปรับปรุงและซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย

ฉิ่ง กรับ โหม่ง กลองยาว

งานรื่นเริง และงานมงคล

การแต่งกายเป็นเอกลักษณ์ของตนเองตามภูมิภาค อุปกรณ์ร าเถิดเทิง คือ กลองยาว

(เฉลย ให้อยู่ในดุลพินิจของครูผูส้อน)

โนราห ์

เกิดขึ้นมาเมือ่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยการน าเอา เรื่อง พระสุธน-มโนราห์มาแสดง เป็นละครชาตรี ส่วนก าเนิดของโนราสันนิษฐาน กันว่าได้รับอิทธิพลจากการ ร่ายร าของอินเดีย โบราณก่อนสมัยศรีวิชัย

ฉิ่ง ทับ กลอง ปี่ใน

งานรื่นเริง และงานมงคล

อุปกรณ์ร าโนราห์ คือ สวมเล็บ

41

Page 42: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

กิจกรรมที่ 6 (หลังเรียน)

เรื่อง ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคกลำง ภำคใต้)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรียนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคละ 1 ภาพการแสดง แล้ววิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคกลำง ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ภำคใต ้ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

42

Page 43: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

เฉลยกิจกรรมท่ี 6 (หลังเเรียน)

ประเภทของนำฏศิลป์ไทย (กำรแสดงพื้นเมืองภำคกลำง ภำคใต้)

ชื่อ....................................................... ชั้น ............... เลขที่ .......... ค าชี้แจง : ให้นักเรียนหาภาพการแสดงพื้นเมือง ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคละ 1 ภาพการแสดง แล้ววิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของการแสดง

ภำคกลำง ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ภำคใต ้ชื่อกำรแสดง.................................................... ………………………........................…………………. ประวัติกำรแสดง.............................................. ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... เครื่องดนตรี................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกำสที่ใช้ในกำรแสดง..................................... ....................................................................... ....................................................

ควำมเหมือน

.......................................................................

.......................................................................

...........................

ควำมแตกต่ำง

........................................................................

........................................................................

....................................................

วิเครำะห์กำรแสดงพื้นเมือง

ร าเถิดเทิง

เชื่อกันว่าร ากลองยาวมีถิ่นก าเนิด มาจากชนบท ต่อมากรมศิลปากรได้น ามาปรับปรุงและซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย

ฉิ่ง กรับ โหม่ง กลองยาว

งานรื่นเริง และงานมงคล

การแต่งกายเป็นเอกลักษณ์ของตนเองตามภูมิภาค อุปกรณ์ร าเถิดเทิง คือ กลองยาว

(เฉลย ให้อยู่ในดุลพินิจของครูผูส้อน)

โนราห ์

เกิดขึ้นมาเมือ่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยการน าเอา เรื่อง พระสุธน-มโนราห์มาแสดง เป็นละครชาตรี ส่วนก าเนิดของโนราสันนิษฐาน กันว่าได้รับอิทธิพลจากการ ร่ายร าของอินเดีย โบราณก่อนสมัยศรีวิชัย

ฉิ่ง ทับ กลอง ปี่ใน

งานรื่นเริง และงานมงคล

อุปกรณ์ร าโนราห์ คือ สวมเล็บ

43

Page 44: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร

บรรณำนุกรม กรสรวง ดีนวลพะเนาว์, (2556). ร ำไทย. มหาวิทยาลัยรามค าแหง. รุจี ศรีสมบัติ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์, (2554). สำรำนุกรมนำฏศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ :

ธนรัชการพิมพ์. ศิลปากร. กรม, (2550). ทะเบียนข้อมลู วิพิธทัศนำ ชุดระบ ำ ร ำ ฟ้อน เล่ม 2.

กรุงเทพฯ. สารานุกรมไทย ส าหรับเยาวชน เล่ม 13. สุมิตร เทพวงษ์, (2548). นำฏศิลป์ไทย : นำฏศิลป์ส ำหรับครูประถม-อุดมศึกษำ. กรุงเทพฯ: โอเดยีนสโตร์. เว็ปไซด ์ เรื่อง โขน. สืบค้นวันที่ 2 พฤษภาคม 2561, จาก www.sanook.com เรื่อง ละคร. สืบค้นวันที่ 2 พฤษภาคม 2561, จาก https://sites.google.com/site/

dramaticarttuppschool/lakhrthiy?fbclid=IwAR2Mx_OTbEgviF3I1tr2FcotYOcK l37K6z34bcCeeKWh_p7aNl6OPmtWHIc

เรื่อง ร า. สืบค้นวันที่ 2 พฤษภาคม 2561, จาก https://suparat3016.wordpress.com เรื่อง ระบ า. สืบค้นวันที่ 2 พฤษภาคม 2561, จาก http://joylovenickhun.blogspot.com เรื่อง เหตุและปัจจัยพื้นฐานความแตกต่างของการแสดงพ้ืนเมือง. สืบค้นวันที่ 10 พฤษภาคม 2561, จาก https://prezi.com/qkaqcun7ypcd/presentation/ เรื่อง การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ. สืบค้นวันที่ 10 พฤษภาคม 2561, จาก

http://www.acteerstudio.org/การแสดงภาคเหนือ เรื่อง การแสดงพื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สืบค้นวนัที่ 10 พฤษภาคม 2561, จาก http://chitasamta.blogspot.com/ เรื่อง การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง. สืบค้นวันที่ 10 พฤษภาคม 2561, จาก

thaidance.wordpress.com/การละเล่นพ้ืนเมือง/การแสดงพ้ืนเมืองภาคกลาง/ เรื่อง การแสดงพ้ืนเมืองภาคใต้. สืบค้นวันที่ 10 พฤษภาคม 2561, จาก thaidance.wordpress.com/การละเล่นพ้ืนเมือง/การแสดงพ้ืนเมืองภาคใต้/

44

Page 45: ค ำแนะน ำส ำหรับครูผู้สอน 2.pdf · โขนนั่งราว ตัวละครพระและนาง นิยมสวมหัวโขนดวยขณะแสดงแทนการเปิดหนาร