ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ

1
ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจประเทศไทย ประเทศ ที่ไดชื่อวามีการปกครอง โดยระบอบประชาธิปไตย แตยังคงมีการเรียกรอง ประชาธิปไตยมาโดยตลอด ตั้งแตมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณายา สิทธิราช มาเปนการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ทําไม?คงเปนคําถาม ที่เกิดขึ้นในใจทุกคน มีทานผูรูกลาวไววา แทจริงแลว สิ่งที่ประเทศไทยขาด คือ ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจซึ่งศัพทใหมที่ผูเขียน เพิ่งไดเรียนรูจากการประชุมแหงหนึ่งที่มีแตผูมีความรูและ ผานประสบการณในแวดวงเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมมา อยางโชกโชน การขาดประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจคืออะไร? อาจอธิบาย ไดยาก แตสิ่งที่เราทุกคนสามารถเห็นไดทั่วไป คือ ความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศมาโดย ตลอด คําพูดที่วา คนจนก็ยิ่งจน คนรวยก็ยิ่งรวย เห็นจะเปนภาพที่ชัดเจนมากขึ้นในชวงหลายสิบปที่ผานมา คนรวยเห็นโอกาส เห็นชองทางการทําธุรกิจ ในขณะทีคนจนยังคงสรางหนี้เพียงเพื่อการประทังชีวิตไปวันวัน ทําไมจึงเปนเชนนั้น... การจะหาคําตอบ คงตองยอนเวลากลับไปตั้งแตเกิด เขา เหลานั้น เกิดมาในครอบครัว สังคม และสภาพแวดลอม ที่เปนอยางไร ก็จะหลอหลอมใหเด็กที่เกิดมาเติบโตไป ตามแนวทางนั้น โอกาสทางการศึกษาที่พวกเขาไดรับ ยอมสงผลตอเสนทางการทํามาหากินและอาชีพในอนาคต ของเด็กเหลานีที่ผานมา ภาครัฐทุกยุคสมัย มิไดนิ่งดูดาย มีโครงการ ตางๆ มากมายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ไม วาจะเปน การเพิ่มคาจางขั้นต่ําอยางกาวกระโดด การ แกปญหาหนี้สินดวยการพักหนี้ การจัดตั้งกองทุน หมูบาน และโครงการตางๆ อีกมากมาย แตผูเขียนไม แนใจวา เปนความโชคดีหรือความโชครายของประชาชน กับความชวยเหลือที่ภาครัฐหยิบยื่นใหแบบที่เปนการ แกปญหาที่ปลายเหตุ และผลักภาระและคาใชจายที่เกิดขึ้น ไปยังหนวยงานตางๆ ทั้งสถานศึกษาและสถานพยาบาล และแนนอน นั่นยอมสงผลตอคุณภาพของการใหบริการ เศรษฐกิจและสังคมตองเติบโตไป ดวยกันอยางสมดุลย คาจางขั้นต่ําทีเพิ่มขึ้นอยางกาวกระโดดกับความ พยายามที่จะใหประชาชนมีรายไดเฉลี่ย ตอหัวที่สูงขึ้นเทียบเทาประเทศทีพัฒนาแลว อาจไมใชตัวบงชี้ที่ดีของ การเติบโตทางเศรษฐกิจที่แทจริง การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ผูเขียนคิดวา ประเทศไทย อาจตองกลับมาพิจารณาตั้งแตฐานรากของชีวิต โดยเฉพาะอยางยิ่ง การสาธารณสุขและสาธารณูปโภคทีสงผลตอคุณภาพชีวิตของประชาชน และการศึกษาที่มี คุณภาพเทาเทียมกันของประชาชนทั้งที่อยูในสวนกลาง และสวนภูมิภาค อยางไรก็ดี การแกปญหาสังคมไทย ไมใชหนาที่ของ ภาครัฐเพียงฝายเดียว หากแตประชาชนเองก็ตองมีการ ปรับเปลี่ยนคานิยมในการดํารงชีวิตจากสังคมแหงการ บริโภคและวัตถุนิยม เปนสังคมแหงการเรียนรูและ พัฒนาตนเองอยูเสมอบนพื้นฐานของเศรษฐกิจแบบ พอเพียง By J.A.

Transcript of ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ

“ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ”

ประเทศไทย ประเทศที่ไดชื่อวามีการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย แตยังคงมีการเรียกรองประชาธิปไตยมาโดยตลอด

ต้ังแตมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณายาสิทธิราช มาเปนการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข “ทําไม?” คงเปนคําถามที่เกิดข้ึนในใจทุกคน

มีทานผูรูกลาวไววา แทจริงแลว ส่ิงที่ประเทศไทยขาด คือ “ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ” ซึ่งศัพทใหมที่ผูเขียนเพ่ิงไดเรียนรูจากการประชุมแหงหน่ึงที่มีแตผูมีความรูและผานประสบการณในแวดวงเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมมาอยางโชกโชน

การขาดประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจคืออะไร? อาจอธิบายไดยาก แตส่ิงท่ีเราทุกคนสามารถเห็นไดทั่วไป คือ ความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจที่เกิดข้ึนในประเทศมาโดยตลอด คําพูดท่ีวา “คนจนก็ย่ิงจน คนรวยก็ย่ิงรวย” เห็นจะเปนภาพที่ชัดเจนมากข้ึนในชวงหลายสิบปที่ผานมา คนรวยเห็นโอกาส เห็นชองทางการทําธุรกิจ ในขณะท่ีคนจนยังคงสรางหน้ีเพียงเพ่ือการประทังชีวิตไปวันวัน ทําไมจึงเปนเชนน้ัน...

การจะหาคําตอบ คงตองยอนเวลากลับไปต้ังแตเกิด เขาเหลาน้ัน เกิดมาในครอบครัว สังคม และสภาพแวดลอม ที่เปนอยางไร ก็จะหลอหลอมใหเด็กที่เกิดมาเติบโตไปตามแนวทางน้ัน โอกาสทางการศึกษาที่พวกเขาไดรับยอมสงผลตอเสนทางการทํามาหากินและอาชีพในอนาคตของเด็กเหลาน้ี

ที่ผานมา ภาครัฐทุกยุคสมัย มิไดน่ิงดูดาย มีโครงการตางๆ มากมายเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ไมวาจะเปน การเพ่ิมคาจางข้ันตํ่าอยางกาวกระโดด การแกปญหาหน้ีสินดวยการพักหน้ี การจัดต้ังกองทุนหมูบาน และโครงการตางๆ อีกมากมาย แตผูเขียนไมแนใจวา เปนความโชคดีหรือความโชครายของประชาชนกับความชวยเหลือที่ภาครัฐหยิบย่ืนใหแบบที่ เปนการแกปญหาที่ปลายเหตุ และผลักภาระและคาใชจายที่เกิดข้ึนไปยังหนวยงานตางๆ ทั้งสถานศึกษาและสถานพยาบาล และแนนอน น่ันยอมสงผลตอคุณภาพของการใหบริการ

เศรษฐกิจและสังคมตองเติบโตไปดวยกันอยางสมดุลย คาจางข้ันตํ่าท่ีเ พ่ิมข้ึนอยางกาวกระโดดกับความพยายามที่จะใหประชาชนมีรายไดเฉลี่ยตอหัวที่ สูง ข้ึนเทียบเท าประเทศที่พัฒนาแลว อาจไมใชตัวบงชี้ที่ดีของการเติบโตทางเศรษฐกิจที่แทจริง

การพัฒนาประเทศอยางย่ังยืน ผูเขียนคิดวา ประเทศไทยอาจต องกลับมา พิจารณา ต้ังแต ฐ านรากของชี วิ ต โดยเฉพาะอยางย่ิง การสาธารณสุขและสาธารณูปโภคที่สงผลตอคุณภาพชีวิตของประชาชน และการศึกษาที่มีคุณภาพเทาเทียมกันของประชาชนทั้งที่อยูในสวนกลางและสวนภูมิภาค

อยางไรก็ดี การแกปญหาสังคมไทย ไมใชหนาที่ของภาครัฐเพียงฝายเดียว หากแตประชาชนเองก็ตองมีการปรับเปลี่ยนคานิยมในการดํารงชีวิตจากสังคมแหงการบริโภคและวัตถุนิยม เปนสังคมแหงการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยูเสมอบนพ้ืนฐานของเศรษฐกิจแบบพอเพียง

By J.A.