ภัยคุกคามทางไซเบอร์

3
ภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มาพร้อมกับยุคเศรษฐกิจดิจิทัล น.ส.วาสนา แก้วผนึกรังษี ผู้ปฏิบัติงานประจารองประธาน กสทช. อย่างที่ทราบกันดีว่าในปัจจุบันพัฒนาการทางเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมและ เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทสาคัญ ได้นาโลกไปสู่ยุคไซเบอร์ที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตและ ระบบเครือข่าย เป็นตัวขับเคลื่อนการดาเนินการต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เช่น การ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ระบบควบคุมบังคับบัญชาทางทหาร การสื่อสารโทรคมนาคม หรือแม้กระทั่งการดาเนินงานต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น กุญแจสาคัญต่อการพัฒนาขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศชาติ ประเทศไทยมีการใช้งานเครือข่าย 3G บนความถี่ย่าน 2.1 GHz เมื่อประมาณกลางปี 2555 ซึ่งถือว่าช้ากว่าหลายๆประเทศ แต่กลับเป็นประเทศที่ประชาชนมีการโอนย้ายเครือข่ายจาก 2G ไปยังเครือข่าย 3G เร็วที่สุดในโลก อีกทั้งยังพบว่า ในปี 2558 มีผู้ใช้งาน Facebook ใน ประเทศไทยทั้งหมด 35 ล้านราย เพิ่มขึ้น 34.6% [ข้อมูล ณ 17 เมษายน 2558, Zocialinc.com] ส่วนการใช้งานแอพพลิเคชันไลน์ (Line) มีจานวน 33 ล้านราย ในปี 2557 มากเป็นอันดับสองรอง จากประเทศญี่ปุ่น และมีการดู Youtube มากเป็นอันดับสองของทวีปเอเซียรองจากญี่ปุ่น [Yozzo, 2014 ] รวมทั้งการใช้งาน Twitter 3.4 ล้านราย และการใช้งาน Instragram 2 ล้านราย [Zocialinc.com, 2015] นับว่ามีการเติบโตอย่างก้าวกระโดดภายในช่วงปีท่ผ่านมา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สามารถผลักดันประเทศให้เข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยยึดหลักการ สร้างชาติ สร้างคน มีปัญญาเป็นทุนในการสร้างงานและสร้างรายได้ต่อไป จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าเทคโนโลยีไร้สายมีอานาจด้านข้อมูลข่าวสารแก่ผู้บริโภคในทุกด้าน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อีกทั้งยังเป็นตัวผลักดันทาใหเกิดนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและธุรกิจตามมาอย่างมากมาย เช่น การสร้างแอพพลิเคชั่นบนมือถือ เทคโนโลยีเชิงพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ (M-Commerce) เป็นต้น จนเกิดผลกระทบอย่าง มากในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เนื่องจากเทคโนโลยีได้เปลี่ยนสภาวะทางเศรษฐกิจ ของประเทศและของโลกให้เป็นไปอย่างก้าวกระโดด

Transcript of ภัยคุกคามทางไซเบอร์

Page 1: ภัยคุกคามทางไซเบอร์

ภัยคุกคามทางไซเบอรท์ี่มาพร้อมกับยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

น.ส.วาสนา แก้วผนึกรังษี ผู้ปฏิบัติงานประจ ารองประธาน กสทช.

อย่างท่ีทราบกันดีว่าในปัจจุบันพัฒนาการทางเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทส าคัญ ได้น าโลกไปสู่ยุคไซเบอร์ท่ีมีการใช้อินเทอร์เน็ตและระบบเครือข่าย เป็นตัวขับเคลื่อนการด าเนินการต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกประเทศ เช่น การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การท าธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ระบบควบคุมบังคับบัญชาทางทหาร การสื่อสารโทรคมนาคม หรือแม้กระทั่งการด าเนินงานต่าง ๆ ของหน่วยงานรัฐ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นกุญแจส าคัญต่อการพัฒนาขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศชาติ ประเทศไทยมีการใช้งานเครือข่าย 3G บนความถี่ย่าน 2.1 GHz เมื่อประมาณกลางปี 2555 ซึ่งถือว่าช้ากว่าหลายๆประเทศ แต่กลับเป็นประเทศท่ีประชาชนมีการโอนย้ายเครือข่ายจาก 2G ไปยังเครือข่าย 3G เร็วท่ีสุดในโลก อีกท้ังยังพบว่า ในปี 2558 มีผู้ใช้งาน Facebook ในประเทศไทยท้ังหมด 35 ล้านราย เพิ่มขึ้น 34.6% [ข้อมูล ณ 17 เมษายน 2558, Zocialinc.com] ส่วนการใชง้านแอพพลิเคชันไลน์ (Line) มีจ านวน 33 ล้านราย ในปี 2557 มากเป็นอันดับสองรองจากประเทศญี่ปุ่น และมีการดู Youtube มากเป็นอันดับสองของทวีปเอเซียรองจากญี่ปุ่น [Yozzo, 2014 ] รวมท้ังการใช้งาน Twitter 3.4 ล้านราย และการใช้งาน Instragram 2 ล้านราย [Zocialinc.com, 2015] นับว่ามีการเติบโตอย่างก้าวกระโดดภายในช่วงปีท่ีผ่านมา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถผลักดันประเทศให้เข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยยึดหลักการสร้างชาติ สร้างคน มีปัญญาเป็นทุนในการสร้างงานและสร้างรายได้ต่อไป

จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าเทคโนโลยีไร้สายมีอ านาจด้านข้อมูลข่าวสารแก่ผู้บริโภคในทุกด้าน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อีกท้ังยังเป็นตัวผลักดันท าให้เกิดนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและธุรกิจตามมาอย่างมากมาย เช่น การสร้างแอพพลิเคชั่นบนมือถือ เทคโนโลยีเชิงพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนท่ี (M-Commerce) เป็นต้น จนเกิดผลกระทบอย่างมากในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เนื่องจากเทคโนโลยีได้เปล่ียนสภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศและของโลกให้เป็นไปอย่างก้าวกระโดด

Page 2: ภัยคุกคามทางไซเบอร์

แน่นอนว่าเมื่อมีการใช้งานเพ่ิมมากขึ้นบนเครือข่าย การบุกรุกทางอิเล็กทรอนิกส์ก็จะเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ซึ่งในมิติความมั่นคงของชาตินั้น การบุกรุกทางอิเล็กทรอนิกส์จะท าให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงท่ัวโลก เนื่องจากเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมได้เพิ่มพลังอ านาจให้แก่ผู้ไม่หวังดีต่อประเทศชาติและต่อโลกเช่นกัน และยิ่งแอพลิเคชั่นและซอฟแวร์ได้ถูกพัฒนาจนมีความชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพสูงมากขึ้นเท่าใด เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีใช้อยู่ในท้องตลาดท่ัวไปก็ยิ่งมีขีดความสามารถเท่าเทียมกับเทคโนโลยีของหน่วยงานความมั่นคงของรัฐมากขึ้นเท่านั้น เนื่องจากผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก และง่ายยิ่งขึ้น จนท าให้ผู้ท่ีคิดจะท าการก่อการร้ายมทีางเลือกในการปฏิบัติมากขึ้นและซับซ้อนขึ้น ยากแก่การตรวจจับ ประกอบกับการโจมตีท่ีสามารถท าได้จากที่ใดก็ได้ในโลกโดยผ่านระบบ Cyberspace ซึ่งสงครามไซเบอร์เป็นภัยคุกคามในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กรภาคเอกชน องค์กรภาครัฐ และระดับประเทศ ในปัจจุบันค าว่า “Cyber security” ได้ถูกกล่าวอย่างกว้างขวาง จนถึงระดับนานาชาติท่ีให้ความส าคัญมากขึ้น บริษัทนอร์ตัน รายงานตัวเลขความเสียหายจากการโจมตีผ่านไซเบอร์ ในปี 2012 ว่ามีมูลค่าสูงถึง 113 พันล้านเหรียญสหรัฐ มีเหยื่อรายใหม่เกิดขึ้น 378 ล้านรายต่อปี หรือ 1 ล้านรายต่อวัน หรือประมาณ 12 รายต่อวินาที ซึ่งมากกว่าอัตราการเกิดของประชากรโลกเสียอีก

ส าหรับประเทศไทย นโยบาย Digital Economy จะสามารถสร้างโอกาสทางธุรกิจมากมายในประเทศ ขณะท่ีภัยคุกคามทางไซเบอร์ก็เกิดขึ้นพร้อมๆกันไปด้วย ข้อมูลจากส านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ทรอนิกส์ (ETDA) รายงานว่าประเทศไทยเป็นอันดับ 3 ใน 10 ประเทศในภูมิภาคอาเซียน ท่ีมีความเสี่ยงด้านไซเบอร์ และการคาดการณ์ว่าในปี 2558 นี้ภัยคุกคามไซเบอร์ส่วนใหญ่จะมาจากการใช้งานอุปกรณ์ส่ือสารเคลื่อนท่ี และ Internet of Thing Security ในปัจจุบัน พอหรือยัง

ปัจจุบัน คนท้ังโลกได้เริ่มให้ความสนใจกับอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต โดยมีข้อก าหนดและผลิตภัณฑ์มากมายท่ีพัฒนามาเพื่อป้องกันอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตนี้ ท้ังการป้องกันโครงข่าย การตรวจจับ อุดช่องโหว่ รวมถึงการติดตามเมื่อเกิดอาชญากรรมขึ้น แต่เป็นท่ีชัดเจนว่า แม้ว่าผู้ให้บริการจะพยายามพัฒนาวิธีการป้องกันการโจรกรรมข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นอย่างดีเพียงใดก็ตาม แต่ก็ยังมีผู้ไม่หวังดีสามารถมาขโมยรหัสผ่าน หรือมาดักขโมยข้อมูลได้อยู่ดี และได้มีการพัฒนาวิธีการใหม่ๆ ท่ีเราคาดไม่ถึงอยู่เสมอ แม้แต่ประเทศท่ีให้ความส าคัญแก่ระบบ Cyber security สูง ก็ยังไม่สามารถหาวิธีป้องกันท่ีสมบูรณ์ได้ จึงได้แต่

Page 3: ภัยคุกคามทางไซเบอร์

ประกาศเตือนผู้ใช้มิให้เชื่อมต่อกับเครือข่าย WiFi ท่ีไม่รู้จัก ไม่ให้คลิกเชื่อมต่อเว็บไซต์ท่ีแปลกปลอม และให้ระมัดระวังการหลอกลวงทางอีเมล เป็นต้น

ในประเทศไทย มีแนวโน้มของอาชญากรรมอิเล็กทรอนิกส์ข้ามชาติท่ีทวีความรุนแรงมากขึ้น มีอาชญากรจากต่างประเทศเข้ามาก่ออาชญากรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศ หากไม่มีการป้องกันท่ีดีพอ ประเทศไทยก็มีความเสี่ยงในการถูกใช้เป็นศูนย์กลางในการก่ออาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ เนื่องจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ นับวันก็จะมีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากผู้โจมตีจะสามารถคิดค้นวิธีการใหม่ๆ ท่ีแวดวง Cyber security ยังไม่เคยพบเจอมาก่อน และมีการใช้เทคนิคต่างๆที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ท าให้รูปแบบภัยคุกคามมีความก้าวล้ ามากขึ้น ทุกวันนี้ภัยคุกคามมลีักษณะล่องหนมากขึ้น สามารถเล็ดลอดการตรวจจับเบื้องต้นได้ และการใช้ช่องโหว่ท่ีแทบจะตรวจไม่พบเพื่อเจาะเข้าสู่เป้าหมาย ท าให้ในบางครั้งระบบรักษาความปลอดภัยเครือข่ายไม่สามารถรับมือกับการโจมตีใหม่ๆ นี้ได้

ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งท่ีประเทศไทยจะต้องเสริมสร้างความแข็งแกร่งด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการท าธุรกรรมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ด้วยการสร้างความร่วมมือในทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม รวมไปถึงนานาประเทศ ในการสร้างความพร้อมของบุคลากร เครื่องมือ กระบวนการในการรับมือการโจมตีทางโลกไซเบอร์ การมีกฎหมายและนโยบายจากภาครัฐท่ีชัดเจน การให้ความรู้แก่ประชาชน ตลอดจนการตระหนักอยู่เสมอว่าอาจถูกคุกคามทางไซเบอร์ได้ทุกเมื่อ สิ่งส าคัญประการหนึ่งในการผลักดันประเทศไปสู่ Digital Economy คือโครงสร้างพื้นฐานทางด้านโทรคมนาคมและอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เปิดช่องทางการให้บริการในรูปแบบดิจิทัลมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ และใช้ประโยชน์ได้อย่างท่ัวถึง เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพิ่มศักยภาพทางธุรกิจ ซึ่งจะท าให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นทางด้านความปลอดภัยข้อมูลและความมั่นคงไซเบอร์ สร้างบรรยากาศท่ีดีในการใช้งาน สุดท้ายจะเป็นการดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติได้