หลักสูตรการทำอิฐบล๊อก

32
หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา หลักสูตรการทําอิฐบล็อก กลุมอาชีพอุตสาหกรรม สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

description

การทำอิฐบล๊อก

Transcript of หลักสูตรการทำอิฐบล๊อก

หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา

หลักสูตรการทําอิฐบล็อกกลุมอาชีพอุตสาหกรรม

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ

2

คํานํา

การจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ตองมุงเนนการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุมเปาหมาย ใหสามารถประกอบอาชีพ สรางรายไดท่ีมั่งคั่งและมั่นคง เปนบุคคลที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่นและสังคม เนนการจัดการศึกษาที่ยึดพื้นที่เปนฐาน โดยสถานศึกษาตองวิเคราะหศักยภาพ 5 ดาน ของแตละพื้นที่ ไดแก ศักยภาพดานทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพดานภูมิอากาศ ศักยภาพดานภูมิประเทศ ศักยภาพดานศิลปวัฒนธรรมประเพณี และศักยภาพดานทรัพยากรมนุษย และวิเคราะหขอมูลวิถีการดําเนินชีวิต ความตองการ และประชาชนในภูมิภาคตางๆ ที่เปนผูใชบริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะหขอมูลดังกลาวจะนํามาสูการกําหนดหลักสูตรอาชีพที่สถานศึกษาจะจัดการเรียนการสอน

การจัดการศึกษาของสํานักงาน กศน. เพื่อตอบสนองนโยบายดังกลาว จึงตองปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรยีนรู ที่เนนการปฏิบัติจริง มีการศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูจากผูมีประสบการณในอาชีพโดยตรง ผูสอนเปนวิทยากรที่มีความรู ความสามารถ และเปนผูประกอบการในอาชีพนั้น ๆ ใหความสําคัญตอการประเมินผลการจบหลักสูตรที่เนนทักษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ที่ไดมาตรฐานออกสูตลาดได การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงตองปรับใหมโดยการพัฒนาใหครบวงจร ประกอบดวย ชองทางการประกอบอาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพรอมแหลงเงินทุน และใหผูเรียนที่เรียนจบจากหลักสูตรอาชีพมีความมั่นใจวาจะสามารถประกอบอาชีพสรางรายได ไดอยางแทจริง จึงขอใหสถานศึกษาที่นําหลักสูตรที่ไดพัฒนาแลวนั้น นํามาคัดเลือกใหเหมาะสมกับความตองการของพื้นที่ และนําไปอนุมัติใชในการจัดการเรียนการสอนตอไป

หลักสูตรอาชีพที่พัฒนาขึ้นไดปรับปรุงจากหลักสูตรอาชีพที่สถานศึกษาในแตละจังหวัดพัฒนาเปนฉบับรางมาแลว สํานักงาน กศน. นํามาพัฒนาเนื้อหาสาระใหครบวงจรและกําหนดระยะเวลาในการเรียนใหเหมาะสม โดยไดรับความรวมมือเปนอยางดีจาก สถาบัน กศน.ภาค สํานักงาน กศน.จังหวัด สถานศึกษา วิทยากร ภูมิปญญา และผูที่เกี่ยวของ มารวมพิจารณาและตรวจสอบความถูกตองจึงทําใหการดําเนินการจัดทําหลักสูตรในครั้งนี้เสร็จสิ้นไปดวยดี สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

(นายประเสริฐ บุญเรือง)เลขาธิการ กศน.ธันวาคม 2554

3

สารบัญ หนา

คํานําสารบัญความเปนมา 1หลักการของหลักสูตร 1จุดหมาย 2กลุมเปาหมาย 2ระยะเวลา 2โครงสรางหลักสูตร 2

- ชองทางการประกอบอาชีพ- ทักษะการประกอบอาชีพ- การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ- โครงการประกอบอาชีพ

การจัดกระบวนการเรียนรู 4ส่ือการเรียนรู 4การวัดและประเมินผล 5การจบหลักสูตร 5เอกสารหลักฐานการศึกษา 5การเทียบโอน 5บรรณานุกรมภาคผนวกคณะผูจัดทํา

4

หลักสูตรการทําอิฐบล็อกประสานจํานวน 60 ชั่วโมง

กลุมวิชาอาชีพอุตสาหกรรม

ความเปนมาสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวง

ศึกษาธิการ เปนอีกหนวยงานท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับการจัดการศึกษา กลุมเปาหมายผูท่ีไมมีอาชีพหรือผูท่ีมีอาชีพแตตองการพัฒนาอาชีพของตนเองใหมั่นคง ไดตระหนักถึงการใชทรัพยากรธรรมชาติเพื่อใหเกิดประโยชนอยางสูงสุด จึงไดจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพใหมั่นคง โดยมีโครงสรางหลักสูตรที่มีเนื้อหาสาระยืดหยุน สอดคลองกับบริบทของชุมชน การวัดและประเมินควรมีความหลากหลายชัดเจนและเนนใหสามารถนําความรูทักษะไปประกอบอาชีพไดอยางมั่นคง

ในปจจุบันโครงการกอสรางอสังหาริมทรัพยในปจจุบันเติบโตขึ้นอยางมาก โดยวัสดุที่ใชในการกอสรางจึงมีรูปแบบที่หลากหลายและนาสนใจ ทั้งใหความสวยงาม ความแข็งแรง และรักษาธรรมชาติมากย่ิงข้ึน อิฐบล็อกประสานเปนอิฐชนิดหน่ึงท่ีสามารถนําไปใชเปนวัสดุในการกอสรางได โดยสรางจากทราย ดิน ลูกรัง หินฝุน นํามาผสมกันกับซีเมนตและน้ํา อัดเปนกอน จึงเปนอิฐประเภทหนึ่งที่มีแนวโนมไดรับความนิยมมากขึ้น

หลักสูตรการทําอิฐบล็อกประสาน ไดพัฒนาขึ้นมีโครงสรางหลักสูตร ประกอบดวยชองทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ และโครงการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน จํานวน 50 ชั่วโมง การจัดการเรียนรูเนนการฝกปฏิบัติจริง การจัดประเมินผลสอดคลองกับกลุมเปาหมายมีการประเมินความรูความสามารถ และสรางผลิตภัณฑเปนอาชีพการทําอิฐบล็อกไดอยางมั่นคงและยั่งยืน

หลักการของหลักสูตรหลักสตูรการทําอิฐบล็อกประสาน มีหลักการ ดังนี้1. เปนหลักสูตรที่มีความยืดหยุนดานการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล 2. เนนการบรูณาการใหสอดคลองกับศักยภาพดานตาง ๆ ทั้ง 5 ดาน ของพื้นทีไ่ดแก

2.1 ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่2.2 ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ2.3 ศักยภาพของภูมิประเทศ2.4 ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่2.5 ศักยภาพ สถานที่และทําเลที่ตั้งของพื้นที่

5

3. สงเสริมใหมีความรวมมือในการดําเนินงานจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํารวมกับภาคีเครือขาย4. สงเสริมใหมีการเทียบโอนความรูและประสบการณเขาสูหลักสูตรการศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551 5. สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองโดยการดําเนินงานพัฒนาอาชีพและการมีงานทํา ดวย อบรม/

สัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพผูเรียนในดานตาง ๆ ใหมีความพรอมที่จะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

จุดหมายหลักสตูรการทําอิฐบล็อกประสาน มีจุดมุงหมายดังนี้1. ใหเห็นชองทางการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสานที่ใชในงานกอสราง2. ใหมีความรูความสามารถในการนําวัตถุดิบและวัสดุมาใชในการทําอิฐบล็อกประสานเปนอาชีพได3. ใหสามารถบรหิารจัดการดําเนินงานอาชีพการทําอิฐบล็อกประสานได4. ใหมีคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ

กลุมเปาหมาย

กลุมเปาหมายคือ ประชาชนที่ไมมีงานทําในพื้นทีแ่ละประชาชนผูที่มีอาชีพและตองการพัฒนาอาชีพ โดยเฉพาะผูประกอบการ SME, OTOP และผูประกอบอาชีพทั่วไปในพืน้ที่

ระยะเวลา จํานวน 50 ชั่วโมง

โครงสรางหลักสูตร1. ชองทางการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน จํานวน 8 ช่ัวโมง

1.1 ความสําคัญของการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน1.2 ความเปนไปไดในการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน 1.3 แหลงเรียนรู 1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพ

2. ทักษะการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน จํานวน 35 ช่ัวโมง2.1 ข้ันเตรียมการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน

2.1.1 การเลือกใชวัตถุดิบและอัตราสวนท่ีเหมาะสมในการทําอิฐบล็อกประสาน 2.1.2 การเลือกใชเครื่องมือและวัสดุอุปกรณที่ใชในการทําอิฐบล็อกประสาน

2.2 การผลิตและขั้นตอนในการผลิตอิฐบล็อกประสาน

6

- การผสมดิน- การอัดบล็อกดวยแรงคนและเครื่องจักร- การวางและบมอิฐสด- การเผา- การตรวจสอบคุณภาพอิฐ- การขนสง

3. การบริหารจัดการใน การทําอาชีพอิฐบล็อกประสาน จํานวน 9 ช่ัวโมง3.1 การเริ่มตนจัดตั้งธุรกิจ

3.1.1 การวางแผนธุรกิจ3.1.2 ประเภทการจัดตั้ง( ธุรกิจครอบครัว/การรวมกลุม/หางหุนสวน/บริษัท)3.1.3 การจดทะเบียน (การคา / การจดทะเบียนภาษี )

3.2 หลักการตลาด 4 PS3.2.1 Product (กระบวนการผลิต)3.2.2 Place ( สถานที)่3.2.3 Price (ราคา)3.2.4 Promotion ( การประชาสัมพันธ)

3.3 เงินทุน 3.3.1 แหลงเงินทุน3.3.2 ตนทุน (ตนทุนคงที่ / ตนทุนผันแปร)

3.4 การกําหนดราคา การจําหนาย3.5 ระบบบัญชี / การเงิน

3.5.1 การลงบัญชี 5 เลม (สมุดรายวันซ้ือ/รายวันขาย/รายวันรับ/รายวันจาย/รายวันท่ัวไป)3.5.2 การเงิน (การควบคุมรายรับรายจาย / วางแผนการเงิน การบริหาร

ลูกหน้ีการคา / เจาหน้ี / ระยะเวลาในการใหเครดิต3.6 การจัดการสินคาคงคลัง

3.6.1 การดูแลจัดเก็บ3.6.2 รูปแบบการขนสง/การประกันภัยการขนสง3.6.3 การวางแผน Stock สินคา

3.7 ตลาดผลิตภัณฑ 3.7.1 ตลาดภายในทองถิน่

7

3.7.2 ตลาดภายในประเทศ3.7.3 ตลาดตางประเทศ/ตลาดอาเซียน/ตลาดภูมิภาคอ่ืนท่ัวโลก

3.8 การบริหารความเส่ียง3.8.1 คูแขงทางการคา3.8.2 ภัยการทํางาน / ภัยธรรมชาติ /ภัยเศรษฐกิจ3.8.3 สภาพคลองการเงิน (เจาหน้ี – ลูกหนี้ )3.8.4 ภัยการขนสง

3.9 การบริหารทรัพยากรบุคคล 3.9.1 ตนทุนคาแรง / เงินเดือน / โบนัส3.9.2 กองทุนเงินทดแทน / ประกันสังคมและสวัสดิการอ่ืนๆ

3.10 เทคนิคการบริหาร3.10.1 การประเมินความพึงพอใจ3.10.2 หนวยงานของรัฐ / เอกชนท่ีใหการสงเสริมธุรกิจ3.10.3 วิธีการบํารุงรักษาอุปกรณและเคร่ืองมือท่ีใชในการผลิต

4. โครงการอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน จํานวน 12 ช่ัวโมงภาคทฤษฎี 3 ชั่วโมงภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมง

4.1 ความสําคัญของโครงการประกอบอาชีพ4.2 ประโยชนของโครงการประกอบอาชีพ4.3 องคประกอบของโครงการประกอบอาชีพ 4.4 การเขียนโครงการประกอบอาชีพ4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคลองของโครงการประกอบอาชีพ

การจัดกระบวนการเรียนรู- ศึกษาขอมูลจากเอกสาร/ภูมิปญญา- การศึกษาดูงานจากแหลงเรียนรู- แลกเปล่ียนเรียนรู- ฝกปฏิบัติจริง

8

ส่ือการเรียนรูสื่อการเรียนรูของหลักสูตรการทําอิฐบล็อกประสาน ประกอบดวย1. ส่ือเอกสาร ไดแก ตํารา / หนังสือ / วารสาร2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส ไดแก CD / DVD / PW3. สื่อบุคคล / ภูมิปญญา / ปราชญชาวบาน4. ส่ือแหลงเรียนรูในชุมชน / สถานท่ีสําคัญตาง ๆ5. สื่อเทคนิค / วิธีการ ไดแก การบรรยาย การสาธิต เวทีชาวบาน6. อ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของการทําอิฐบล็อกประสาน

การวัดและประเมินผล1. การประเมินความรูภาคทฤษฏีระหวางเรียนและจบหลักสูตร2. การประเมินผลงานระหวางเรียนจากการปฏิบัติ ไดผลงานท่ีมีคุณภาพสามารถสรางรายได และจบ

หลักสูตร

การจบหลักสูตร1. มีเวลาเรียนและฝกปฏิบัติไมนอยกวารอยละ 802. มีผลการประเมินผานตลอดหลักสูตรไมนอยกวารอยละ 603. มีผลงานการทําอิฐบล็อกท่ีไดมาตรฐานเปนท่ีพึงพอใจของลูกคา อยางนอย 5 คน และผานการทํา

แผนธุรกิจจึงจะไดรับวุฒิบัตร

เอกสารหลักฐานการศึกษา1. หลักฐานการประเมินผล2. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร3. วุฒิบัตร ออกโดยสถานศกึษา

การเทียบโอนผูเรียนท่ีจบหลักสูตรน้ีสามารถนําไปเทียบโอนผลการเรียนรูกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกท่ีสถานศึกษาไดจัดทําข้ึน

9

ภาคผนวก

10

แบบโครงการอาชีพ

1. ชื่อโครงการอาชีพ2. ช่ือผูรับผิดชอบโครงการ (ลงชื่อ)

3. ที่ปรึกษา 1. 2.

4. หลักการและเหตุผล.

5. วัตถุประสงค

6. เปาหมาย ดานปริมาณ

ดานคุณภาพ

7. ข้ันตอนและแผนการดําเนินงานการเตรียมการ

การเตรียมสถานท่ี

การดําเนินงาน

11

8. ระยะเวลาดําเนินโครงการ9. สถานท่ีประกอบการ10. รูปแบบผลิตภัณฑ/บริการ

ผลิตภัณฑ/บริการ ลักษณะเดน1. 2. 3.

1. 2. 3.

11. การวางแผนบริหารจัดการแผนการตลาด

แผนการผลิต

แหลงวัตถุดิบ

แผนบริหารจัดการ

1212. ประมาณการตนทุนการผลิตและการกําหนดราคาจัดจําหนาย

ผลิตภัณฑ/บริการ ตนทุน ราคาขาย ราคาขายของคูแขง (ถามี)1. 2. 3.

1. 2. 3.

1. 2. 3.

1. 2. 3.

12

13. ประมาณการรายรับและรายจายในการประกอบอาชีพตอเดือน

รายรับ บาท ราคาจาย บาทจากยอดขายจากรายไดอื่น

คาเชาสถานที่คาวัตถุดิบ/วัสดุเพ่ือผลิตคาแรงงานคาสาธารณูปโภค (คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท)คาใชจายอ่ืน....

14.ทรัพยากร/งบประมาณทรัพยากร งบประมาณ

15. แผนการปฏิบัติงาน

ป พ.ศ.กิจกรรมดําเนินงาน มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. หมายเหตุ

16. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ1) 2) 3) 4)

17. ปญหา / อุปสรรค /ขอเสนอแนะ

13

18. การประเมินผล (ตนเองของผูเรียน)

(ลงช่ือ) ผูเสนอโครงการ ( )

วันท่ี เดือน พ.ศ.

ความเห็นของอาจารยท่ีปรึกษา

(ลงช่ือ) อาจารยท่ีปรึกษา

( )วันท่ี เดือน พ.ศ.

ความเห็นของการตรวจสอบโครงการ

(ลงช่ือ) ผูวิเคราะหโครงการ

( )วันท่ี เดือน พ.ศ.

ผลการพิจารณาโครงการ ( ) อนุมัติใหดําเนินการได ( ) อนุมัติในหลักการ

ลงชื่อ...........................................ผูวิเคราะหโครงการ ( .........................................) ผูอํานวยการ กศน. อําเภอ.....................................

14

ตัวอยาง รางโครงการอาชีพ

1. ชื่อโครงการอาชีพ จําหนายอาหารสําเร็จรูป

2. ช่ือผูรับผิดชอบโครงการ นางสาวอารียา ศิริมาลา

3. ที่ปรึกษา 1. นายรอบรู สอนดี2. นางสมศรี ดีพรอมจริง

4. หลักการและเหตุผลอาหารเปนสิ่งจําเปนสําหรับทุกคน คนทุกคนตองรับประทานอาหารทุกวัน โดยคนในชุมชนของสวน

ใหญประกอบอาชีพนอกบาน ไมมีเวลาในการประกอบอาหารเอง นอกจากนั้นชุมชนใกลเคียงมีสํานักงานของเอกชนซึ่งมีพนักงานจํานวนมาก แตในบริเวณชุมชนมีรานจําหนายอาหารสําเร็จรูปนอย ไมเพียงพอตอความตองการของลูกคา และบางรานมีคุณภาพอาหารและการบริการไมคอยดี ราคาขายปานกลาง ดังนั้น จากความรูและทักษะการฝกทักษะอาชีพ การบริหารจัดการในอาชีพจําหนายอาหารสําเร็จรูปและขอมูลบริบทชุมชนดังกลาว จึงไดมีความคิดเห็นวา นาจะมีสวนแบงตลาดในการจําหนายอาหารสําเร็จรูปไดอีก โดยมีความม่ันใจวา จะประกอบอาชีพจําหนายอาหารสําเร็จรูปไดอยางมีคุณภาพ และตอเนื่อง

5. วัตถุประสงค1. เพ่ือเปนชองทางในการประกอบอาชีพ2. เพ่ือประกอบอาชีพจําหนายอาหารสําเร็จรูปใหเกิดรายได3. เพ่ือใหประชาชนในชุมชนไดรับประทานอาหารสําเร็จรูปท่ีมีคุณภาพ หลากหลาย และราคา

ยอมเยาว

6. เปาหมาย ดานปริมาณ

1. ปรุงและจําหนายอาหารสําเร็จรูปทุกวัน วันละ 5 – 10 อยาง 2. มีรายไดหลังจากหักคาใชจายแลว ไมนอยกวา 800 – 1,000 บาท ตอวัน

ดานคุณภาพ- ดําเนินงานอาชีพจําหนายอาหารสําเร็จรูปไดอยางมีคุณภาพ และตอเน่ือง

15

7. ข้ันตอนและแผนการดําเนินงาน ข้ันตอนการดําเนินงาน 7.1 การเตรียมการ

- ศกึษาสาํรวจขอมูล เชน แหลงและราคาวัตถุดิบประเภทตางๆท่ีตองใช รวมท้ัง ตรวจสอบความพรอมของเคร่ืองมืออุปกรณท่ีตองใชในการปรุงและจําหนายอาหารสําเร็จรูป

- สํารวจตลาด และความนิยมประเภทอาหารสําเร็จรูป - กําหนดรายการอาหารท่ีจะจําหนาย - กําหนดวันเร่ิมจําหนาย - เขียนโครงการ - ขออนุมัติโครงการ - เตรียมหาทุน 7.2 การเตรียมสถานท่ี - จัดตกแตงสถานท่ี - เตรียมวัสดุอุปกรณ 7.3 การดําเนินงาน - ประชาสัมพันธกลุมลูกคาเปาหมาย - ดําเนินงานปรุงอาหารและจัดจําหนาย - จัดทําบัญชี ประเมินการปฏิบัติงานเปนรายวัน / รายสัปดาห /รายเดือน - ประเมินสรุปเม่ือปฏิบัติงานเสร็จส้ินตามระยะเวลาท่ีกําหนด - เสนอแนวทางการพัฒนาอาชีพ

8. ระยะเวลาดําเนินโครงการ1 มกราคม – 30 กันยายน 2555

9. สถานท่ีประกอบการบานของนางสาวอารียา ศิริมาลา เลขท่ี 99 ชุมชนบานลาง ตําบลบางพระ อําเภอเมือง จังหวัดตราด

10. รูปแบบผลิตภัณฑ/บริการผลิตภัณฑ/บริการ ลักษณะเดน

1. อาหารสําเร็จรูป2. อาหารปนโต3. อาหารสําหรับงานเล้ียงเล็กๆ ตามเทศกาล

1. สด ใหม สะอาด 2. ราคาไมแพง3. ทําจากวัตถุดิบในทองถ่ิน

16

11. การวางแผนบริหารจัดการ11.1 แผนการตลาด

1) ลกูคากลุมเปาหมาย 1. ลูกคาในชุมชนท่ีทํางานนอกบาน ไดแก พนักงานบริษัท หางราน ขาราชการ ประชาชนท่ัวไป2. กลุมจัดเล้ียง เชน งานสังสรรค งานวันเกิด วันสําคัญอ่ืนๆ3. ลูกคาจากชุมชนอ่ืนๆ

2) การโฆษณา 1. แผนพับใบปลิว2. ติดปายโฆษณาตามสถานท่ีตาง ๆ ในตัวเมือง ตลาด และชุมชนใกลเคียง3. การบอกตอ

3) ประชาสัมพันธ- ในวันเปดกิจการวันแรก ทางรานจะมีการแจกของชํารวยใหลูกคาท่ีมารับประทานอาหารในราน

และซ้ือกลับบาน4) การสงเสริมการขาย

- ซ้ืออาหาร 5 อยาง/คร้ัง แถม นํ้าพริก 1 ถุง- บัตรสะสมแตม ซ้ืออาหารครบ 20 คร้ัง แถม แกง 1 ถุง

11.2 แผนการผลิต1. เนนความหลากหลายของอาหาร2. เนนคุณภาพ สด ใหม รสชาติดี อรอยคงท่ีสมํ่าเสมอ3. มีการบริการจัดเล้ียงนอกสถานท่ี

11.3 แหลงวัตถุดิบ1. วัตถุดิบในทองถิ่น2. วัตถุดิบตามฤดูกาล3. วัตถุดิบท่ีเปนอาหารสดตองจัดการหมุนเวียนวันตอวัน สวนอาหารแหงสัปดาหละ 1 ครั้ง

11.4 แผนบริหารจัดการ1. เปนธุรกิจในครัวเรือน2. ลูกคาสะดวกสบาย มีท่ีจอดรถ

17

12. ประมาณการตนทุนการผลิตและการกําหนดราคาจัดจําหนาย

ผลิตภัณฑ/บริการ ตนทุน (บาท) ราคาขาย (บาท) ราคาขายของคูแขง (ถามี)1. แกง2. ตมยํา3. ผัดผักรวมมิตร4. ตมจืด5. นํ้าพริก

20 บาท25 บาท20 บาท20 บาท20 บาท

25 บาท30 บาท25 บาท25 บาท25 บาท

30 บาท30 บาท30 บาท30 บาท25 บาท

13. ประมาณการรายรับและรายจายในการประกอบอาชีพตอเดือน

รายรับ บาท ราคาจาย บาทจากยอดขายจากรายไดอื่น

30,000 - 3,000 -

คาเชาสถานท่ีคาวัตถุดิบ/วัสดุเพ่ือผลิตคาแรงงานคาสาธารณูปโภค (คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท)คาใชจายอ่ืน

ไมมี15,000 - 5,000 -

800 -

500 - รวม 33,000- รวม 21,000 -

14. ทรัพยากร / งบประมาณ ทรัพยากร

- ใชคนในครอบครัว- ใชเคร่ืองมืออุปกรณ เคร่ืองครัว ท่ีมีอยูแลว

งบประมาณ- จํานวนเงินทุนท่ีขอรับการสนับสนุน เร่ิมโครงการ 5,000 บาท

18

15. แผนการปฏิบัติงาน

ป พ.ศ. 2555กิจกรรมดําเนินงานมค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค.

หมายเหตุ

การเตรียมการ- สํารวจตลาด และ

ความนิยมประเภทอาหารสําเร็จรูป

- กําหนดรายการอาหารท่ีจะจําหนาย

- เขียนโครงการ- ขออนุมัติโครงการ- เตรียมหาทุน

กําหนดทุกวันเพื่อไมใหรายการอาหารชํ้า

การเตรียมสถานท่ี- จัดตกแตงสถานท่ี- เตรียมวัสดุอุปกรณ

การดําเนินงาน- ประชาสัมพันธ

กลุมลูกคาเปาหมาย- ดําเนินงานปรุง

อาหารและจัดจําหนาย - จัดทําบัญชี

ประเมินการปฏิบัติงานเปนรายวัน / รายสัปดาห- ประเมินสรุปเม่ือ

ปฏิบัติงานเสร็จส้ินตามระยะเวลาท่ีกําหนด

- เสนอแนวทางการพัฒนาอาชีพ

ประชาสัมพันธไมใชเวลานานเพื่อไมใหลูกคาลืม

16. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

19

1. สามารถประกอบอาชีพจําหนายอาหารสําเร็จรูปไดอยางตอเน่ือง มีรายไดท่ีสามารถนําไปใชในการดํารงชีวิตและนําไปใชในการพัฒนาอาชีพไดอยางตอเน่ือง 2. การดํารงชีวิตมีความม่ันคงมากข้ึนเปนลําดับ

17. ปญหา / อุปสรรค /ขอเสนอแนะ- การหาเงินทุนจากแหลงอ่ืน

18. การประเมินผล 1. ประเมินผลจากการจัดทําบัญชี 2. ประเมินผลจากขอมูลสรุปผลเม่ือเสร็จส้ินโครงการตามระยะเวลาท่ีกําหนด

(ลงช่ือ) อารียา ศิริมาลา ผูเสนอโครงการ ( นางสาวอารียา ศิริมาลา )

วันท่ี 30 เดือน มกราคม พ.ศ. 2555

20

(ตัวอยาง) แบบประเมินโครงการ

โครงการ................................................................. ตามหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทํา

คําช้ีแจง ใหพิจารณาเอกสารโครงการ พรอมวิเคราะห และประเมินตามประเด็นท่ีกําหนด โดยใหทําเคร่ืองหมาย / ลงใน ( ) หนาขอความท่ีตรงกับความคิดเห็น.............................................................................................................................................................1. องคประกอบในโครงการ

( ) มีครบ ( ) มีไมครบ ขาดหัวขอ..............................2. ช่ือโครงการชัดเจน ครอบคลุมเน้ือหาสาระของโครงการ

( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน3. ระบุผูรับผิดชอบโครงการ

( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน4. ระบุท่ีปรึกษาโครงการ

( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน5. หลักการและเหตุผล

5.1 ความสอดคลองกับปญหาและความตองการ ( ) สอดคลอง ( ) ไมสอดคลอง5.2 ความชัดเจนของปญหาและความตองการ

( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน6. วัตถุประสงค

6.1 ความสอดคลองกับหลักการและเหตุผล ( ) สอดคลอง ( ) ไมสอดคลอง6.2 ความสอดคลองกับเปาหมาย ( ) สอดคลอง ( ) ไมสอดคลอง6.3 ความสอดคลองกับผลท่ีคาดวาจะไดรับ ( ) สอดคลอง ( ) ไมสอดคลอง6.4 ความเปนไปได

( ) มีความเปนไปได ( ) เปนไปไมได

21

7. เปาหมาย 7.1 ความสอดคลองกับวัตถุประสงค ( ) สอดคลอง ( ) ไมสอดคลอง 7.2 การระบุหนวยนับ ( ) วัดได ( ) วัดไมได 7.3 ความเปนไปได ( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

8. ข้ันตอนและแผนการดําเนินงาน 8.1 การกําหนดข้ันตอน ( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน8.2 การกําหนดระยะเวลาตามแผนการดําเนินงาน ( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน 8.3 สอดคลองกับวัตถุประสงค ( ) สอดคลอง ( ) ไมสอดคลอง 8.4 ความเปนไปได ( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

9. ระยะเวลาดําเนินการ ( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

10. สถานที่ประกอบอาชีพ ( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน

11. รูปแบบผลิตภัณฑ/บริการ( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

12. การวางแผนบริหารจัดการแผนการตลาด

( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมไดการผลิต

( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมไดแหลงวัตถุดิบ

( ) เพียงพอความตองการ ( ) ไมเพียงพอความตองการ

22

แผนการบริหารจัดการ( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

13. ประมาณการตนทุนการผลิตและการกําหนดราคาจัดจําหนาย( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

14. ประมาณการรายรับและรายจายในการประกอบอาชีพตอเดือน( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

15. ทรัพยากร / งบประมาณ15.1 ความเปนไปไดของทรัพยากรท่ีใช ( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได15.2 เปรียบเทียบงบประมาณกับเปาหมาย ( ) คุมคา ( ) ไมคุมคา15.3 ความเปนไปไดของงบประมาณกับงานอาชีพ ( ) เปนไปได ( ) เปนไปไมได

16. ผลท่ีไดรับจากโครงการ16.1 สอดคลองกับหลักการและเหตุผล ( ) สอดคลอง ( ) ไมสอดคลอง16.2 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต ( ) ไมมี ( ) มี คือ................................................

17. ปญหา / อุปสรรค /ขอเสนอแนะ( ) มี ( ) ไมได

18. การประเมินผล 18.1 ระบุวิธีการประเมินผล ( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน

18.2 ระบุเคร่ืองมือหรือแหลงขอมูลท่ีใชในการประเมินผล ( ) ชัดเจน ( ) ไมชัดเจน

(ลงชื่อ) ผูประเมินโครงการ

( )วันท่ี เดือน พ.ศ.

23

ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิเคราะหโครงการ

( ) อนุมัติใหดําเนินการได ( ) อนุมัติในหลักการ ( ) ปรับปรุงใหม

(ลงชื่อ) ผูวิเคราะหโครงการ ( )

หัวหนา กศน. ตําบล วันท่ี เดือน พ.ศ.

ผลการพิจารณาโครงการ

( ) อนุมัติใหดําเนินการได ( ) อนุมัติในหลักการ

(ลงชื่อ) ผูวิเคราะหโครงการ ( )

ผูอํานวยการ กศน. อําเภอ วันท่ี เดือน พ.ศ.

24

ใบงานสําหรับการศึกษาดูงาน

สถานที่วิทยากรอาชีพท่ีศึกษาดูงาน

ข้ันตอนการประกอบอาชีพท่ีศึกษาดูงาน1)2)3)4)5)อุปกรณการประกอบอาชีพท่ีศึกษาดูงาน

ระยะเวลาของการผลิต/บริการเทคนิคการประกอบอาชีพ (เชน เจียวไขฟู ตองใสนํ้ามันเยอะๆ ใสมะนาวเล็กนอย)

แนวทางและวิธีการแกปญหา

25

การจัดสถานท่ีของแหลงเรียนรู

การจัดจําหนาย/บริการ

รายได/คาใชจายในการประกอบอาชีพ

การหาแหลงเงินทุน

ความเปนไปไดท่ีจะประกอบอาชีพท่ีไดศึกษาดูงาน (เสนทางความกาวหนา หรือ ความเจริญเติบโตของอาชีพท่ีศึกษาดูงาน)

อาชีพท่ีศึกษาดูงานสอดคลองกับความตองการของทาน หรือ ไม

(ลงช่ือ) ผูเรียน/ผูศึกษาดูงาน ( ) วันท่ี เดือน พ.ศ.

26

รายละเอียดโครงสรางหลักสูตรการทําอิฐบล็อกประสาน

จํานวนเรื่อง จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรูทฤษฎี ปฏิบัติ

1. ชองทางการประกอบอาชีพ

2.1 ใหสามารถอธิบายถึงความสําคัญของการประกอบอาชีพและวิธีการเพ่ิม มูลคาของผลิตภัณฑได2.2 สามารถอธิบายความเปนไปไดในการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกได2.3 ใหสามารถบอกแหลงการเรียนรู/ ภูมิปญญาดานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการตัดสินใจประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อก

2.1 ความสําคัญของการประกอบอาชีพ2.2 ความเปนไปไดของการประกอบอาชีพ2.3 แหลงเรียนรู / ภูมิปญญา2.4 ทิศทางการประกอบอาชีพ

2.1 ศึกษาขอมูลจากเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส สถานประกอบการ ส่ือของจริง ส่ือบุคคลในชุมชน เพ่ือนําขอมูลมาวิเคราะหและใชในการประกอบอาชีพท่ีมีความเปนไปไดในชุมชน2.2 วิเคราะหอาชีพท่ีจะสามารถเลือกประกอบอาชีพไดในชุมชนจากขอมูลตาง ๆ2.3 ศึกษาดูงานในสถานประกอบการ แหลงเรียนรูตางๆ ในอาชีพท่ีตัดสินใจเลือก2.4 ตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพโดยใชกระบวนการคิดเปนและมีความเปนไปไดตามศักยภาพท้ัง 5 ดานในแตละพ้ืนท่ี

3 2

2. ทักษะการประกอบอาชีพ

2.1 ใหสามารถอธิบายข้ันตอนของการเตรียมการประกอบอาชีพ2.2 ใหสามารถบอกถึงวัตถุดิบ/อัตราสวนผสมท่ีใชในการผลิตอิฐบล็อกได

2.1 ข้ันเตรียมการประกอบอาชีพการทําอฐิบล็อกประสาน

2.1.1 การเลือกใชวัตถุดิบและอัตราสวนท่ีเหมาะสมในการทําอิฐบล็อกประสาน

2.1 จัดใหผูเรียนศึกษาเอกสารเก่ียวกับการทําอิฐบล็อกประสาน2.2 อภิปรายและเปล่ียนเรียนรู2.3 จัดผูเรียนไปศึกษาดูงานในแหลงเรียนรูชุมชน พรอมจดบันทึก

5

-

-

30

27

จํานวนเรื่อง จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรูทฤษฎี ปฏิบัติ

2.3 ใหสามารถฝกปฏิบัติการผลิตอิฐบล็อกประสานตามกระบวนการและขั้นตอนใน การผลิตและนําเทคนิคความรูท่ีมีเพ่ือการผลิตอิฐบล็อกประสานในรูปรางตาง ๆ ได

2.1.2 การเลือกใชเคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณท่ีใชในการทําอิฐบล็อกประสาน

2.13 การผลิตและข้ันตอนในการผลิตอิฐบล็อกประสาน

- การผสมดิน- การอัดบล็อกดวยแรงคน

และเครื่องจักร- การวางและบมอิฐสด- การเผา- การตรวจสอบคุณภาพอิฐ- การขนสง

2.4 จัดทําแผนการฝกทักษะการประกอบอาชีพการทําอิฐบล็อกประสาน2.5 จดบันทึกผลการเรียนรู2.6 ดําเนินการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร

3. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ

3.1 ใหสามารถอธิบายการคิดตนทุน/การวางแผนการจําหนาย/ยุทธวิธีทางการตลาด/การบริหารความเส่ียง/การกําหนดราคาขายของอิฐบล็อกประสานได3.2 ใหสามารถบอกวิธีการจัดเก็บรักษาผลิตภัณฑได

3.1 การเร่ิมตนจัดต้ังธุรกิจ3.1.1 การวางแผนธุรกิจ3.1.2 ประเภทการจัดตั้ง( ธรุกิจ

ครอบครัว/การรวมกลุม/หางหุนสวน/บริษัท)

3.1.3 การจดทะเบียน (การคา / การจดทะเบียนภาษี )

การบริหารจัดการดานการผลิต จัดใหผูเรียน1. สํารวจและศึกษาแหลงวัสดุ อุปกรณและการใชประโยชนของแหลงทรัพยากรธรรมชาติ และทุนตาง ๆ2. การกําหนดและการควบคุมคุณภาพผลผลิตท่ีตองการ3. ศึกษาการลดตนทุนการผลิตแตคุณภาพคงเดิม

3 -

28

จํานวนเรื่อง จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรูทฤษฎี ปฏิบัติ

3.3 ใหสามารถอธิบายถึงวิธีการบํารุงรักษาอุปกรณและเคร่ืองมือท่ีใชในการทําอิฐบล็อกประสานได

3.2 หลักการตลาด 4 PS3.2.1 Product (กระบวนการผลิต)3.2.2 Place ( สถานที)่3.2.3 Price (ราคา)3.2.4 Promotion (การ

ประชาสัมพันธ)3.3 เงินทุน

3.3.1 แหลงเงินทุน3.3.2 ตนทุน (ตนทุนคงที่ / ตนทุน

ผันแปร)3.4 การกําหนดราคา การจําหนาย3.5 ระบบบัญชี / การเงิน

3.5.1 การลงบัญชี 5 เลม (สมุดรายวันซ้ือ/รายวันขาย/รายวันรับ/รายวันจาย/รายวันท่ัวไป)

3.5.2 การเงิน (การควบคุมรายรับรายจาย / วางแผนการเงิน การบริหารลูกหนี้การคา / เจาหน้ี / ระยะเวลาใน

4. ศึกษา วิเคราะห ปจจัยความเส่ียงท่ีคาดวาจะเกิดข้ึน และมีแนวทางในการจัดการความเส่ียงการบริหารจัดการการตลาด จัดใหผูเรียนศึกษา1. ขอมูลการตลาด และวิเคราะหความตองการของตลาด2. กําหนดทิศทาง เปาหมาย และแผนการจัดการตลาดท่ีเก่ียวของกับการทําอิฐบล็อกประสาน3. ดําเนินการตามกระบวนการจัดการการตลาด เชน การคิดตนทุนการผลิต การกําหนดราคาขาย การสงเสริมการขาย การกระจายสินคา ฯลฯการบริหารจัดการเงินทุน จัดใหผูเรียนศึกษา1. ขอมูลดานเงินทุน ตนทุน และวิเคราะหความตองการของเงินทุน2. กําหนดทิศทาง เปาหมาย และแผนดานการเงินท่ีเก่ียวของกับการทําอิฐบล็อกประสาน3. ดําเนินการตามระบบบัญชี การเงิน ไดแก การจัดทําสมุดรายวันซ้ือ/รายวันขาย/รายวันรับ/รายวันจาย/รายวันท่ัวไป ฯลฯ

29

จํานวนเรื่อง จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรูทฤษฎี ปฏิบัติ

การใหเครดิต3.6 การจัดการสินคาคงคลัง

3.6.1 การดูแลจัดเก็บ3.6.2 รูปแบบการขนสง/การ

ประกันภัยการขนสง3.6.3 การวางแผน Stock สินคา

3.7 ตลาดผลิตภัณฑ 3.7.1 ตลาดภายในทองถ่ิน3.7.2 ตลาดภายในประเทศ3.7.3 ตลาดตางประเทศ/ตลาด

อาเซียน/ตลาดภูมิภาคอ่ืนท่ัวโลก3.8 การบริหารความเส่ียง

3.8.1 คูแขงทางการคา3.8.2 ภัยการทํางาน / ภัยธรรมชาติ /

ภัยเศรษฐกิจ3.8.3 สภาพคลองการเงิน (เจาหน้ี –

ลูกหนี้ )3.8.4 ภัยการขนสง

30

จํานวนเรื่อง จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรูทฤษฎี ปฏิบัติ

3.9 การบริหารทรัพยากรบุคคล 3.9.1 ตนทุนคาแรง / เงินเดือน /

โบนัส3.9.2 กองทุนเงินทดแทน /

ประกันสังคมและสวัสดิการอ่ืนๆ3.10 เทคนิคการบริหาร

3.10.1 การประเมินความพึงพอใจ3.10.2 หนวยงานของรัฐ / เอกชนท่ี

ใหการสงเสริมธุรกิจ3.10.3 วิธีการบํารุงรักษาอุปกรณ

และเคร่ืองมือท่ีใชในการผลิต4. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ

4.1 สามารถอธิบายความสําคัญของโครงการประกอบอาชีพได4.2 สามารถอธิบายประโยชนของโครงการประกอบอาชีพได4.3 สามารถอธิบายองคประกอบของโครงการประกอบอาชีพการได

4.1 ความสําคัญของโครงการประกอบอาชีพ4.2 ประโยชนของโครงการประกอบอาชีพ4.3 องคประกอบของโครงการประกอบอาชีพ 4.4 การเขียนโครงการประกอบอาชีพ

4.1 จัดใหผูเรียนศึกษาเน้ือหาจากใบความรู เรื่อง ความสําคัญของโครงการอาชีพ ประโยชนของโครงการอาชีพ องคประกอบของโครงการอาชีพ แลวจัดกิจกรรมการสนทนาแลกเปล่ียนขอมูลความคิดเห็น เพ่ือสรางแนวคิดในการดําเนินกิจกรรมการเรียนรู4.2 จัดใหผูเรียนศึกษาสาระขอมูลจากใบความรู เร่ือง

½

½

1

1

-

-

-

6

31

จํานวนเรื่อง จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรูทฤษฎี ปฏิบัติ

4.4 สามารถเขียนโครงการประกอบอาชีพได4.5 สามารถประเมินความเหมาะสมและสอดคลองของโครงการประกอบอาชีพได

4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคลองของโครงการประกอบอาชีพ

ตัวอยางการเขียนโครงการอาชีพท่ีดี เหมาะสม และถูกตอง พรอมจัดการอภิปราย เพื่อสรุปแนวคิดเปนแนวทางในการเขียนโครงการอาชีพท่ีดี เหมาะสม และถูกตอง 4.3 จัดใหผูเรียนฝกปฏิบัติ การเขียนโครงการอาชีพ 4.4 กําหนดใหผูเรียนฝกปฏิบัติการประเมินความเหมาะสมและสอดคลองของโครงการอาชีพ4.5 จัดใหผูเรียนปรับปรุงโครงการอาชีพ ใหมีความเหมาะสมและถูกตอง4.6 กําหนดใหผูเรียนเขียนโครงการอาชีพของตนเอง เพ่ือเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณดําเนินงานอาชีพ และใชในการดําเนินการประกอบอาชีพตอไป

- 3

32

คณะผูจัดทํา

ที่ปรึกษา1. นายประเสริฐ บุญเรือง เลขาธิการ กศน.2. นายชัยยศ อิ่มสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.3. นายวัชรินทร จําป รองเลขาธิการ กศน.4. นายกุลธร เลิศวิริยะกุล ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานพัฒนาหลักสูตร5. นางศุทธินี งามเขตต ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา/ภูมิปญญา1. นางทัชชกร พันธุสกุล สํานักงาน กศน.จังหวัดระยอง2. นางสาวรัชณีวรรณ ทองคําสุก สํานักงาน กศน.จังหวัดระยอง

คณะทํางาน1. นางสาวอรุณโรจน ทองงาม สถาบัน กศน.ภาคกลาง 2. นายวัลภัทร เขียวดี สถาบันภาค กศน.กทม. 3. นางปราณี มงคลเสริม สํานักงาน กศน.จังหวัดอํานาจเจริญ 4. นางสาวภัทรี ดาโรจน ภูมิปญญา จังหวัดอํานาจเจริญ5. นายดําหริย คลองแคลว สํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี 6. นางกชพร โครตธี ภูมิปญญา จังหวัดกาญจนบุรี 7. นางสาวเรณูมาศ นะมะราช สํานกังาน กศน.จังหวัดชัยภูมิ 8. นางสาวมะลิวรรณ เหงากอก ภูมิปญญา จังหวัดชัยภูมิ 9. นางสาวจันทรเทวี มนัสชนก ภูมิปญญา จังหวัดระยอง 10. นางดุษฎี ศรีวัฒนาโรทัย ขาราชการบํานาญ11. นายสุธี วรประดิษฐ สํานักงาน กศน. จังหวัดตราด12. นางสาวสุดใจ บุตรอากาศ หนวยศึกษานิเทศก13. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน14. นายกิตติพงศ จันทวงศ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน