แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช...

36
รายงานการประชุมระดมความคิด เรื่อง แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช วันที21 มิถุนายน 2550 โรงแรมเซ็นจูรี่พารค กรุงเทพฯ โดย ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

Transcript of แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช...

Page 1: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

รายงานการประชุมระดมความคิด

เรื่อง

แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

วันที่ 21 มิถุนายน 2550

ณ โรงแรมเซ็นจูรี่พารค กรุงเทพฯ

โดย

ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยชีีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

Page 2: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

1

สารบัญ หนา

การบรรยายพิเศษเรื่อง ยุทธศาสตรและแผนที่นําทางการวิจัยและพัฒนาพันธุวิศวกรรม พืชและความปลอดภัยทางชีวภาพ .............................................................................................2 การบรรยายพิเศษเรื่อง สถานภาพการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมในระดับสากล…….…………4 ประชุมระดมความคิดเพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช...................……..12 ภาคผนวกที่ 1 สถานภาพการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมในระดับสากล………………………..16 ภาคผนวกที่ 2 รายนามผูเขารวมประชุม....................................................................................30

Page 3: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

2

บรรยายพิเศษ เร่ือง ยุทธศาสตรและแผนท่ีนําทางการวิจัยและพัฒนาพันธุวิศวกรรมพืชและความปลอดภัยทางชีวภาพ

ดร. รุจ วัลยะเสว ี ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ

พันธุวิศวกรรมนับเปนเครื่องมือที่ใชในการปรับปรุงพันธุพืชหรือใชประโยชนจากพืช เพ่ือใหไดอาหาร

เพียงพอ นําไปสูสุขภาพที่ดีขึ้น ตลอดจนชวยในการรักษาสิ่งแวดลอม ปจจุบันมีการนําพันธุวิศวกรรมมาใชเพ่ือใหเกิดประโยชนทั้งในดานความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน เวชกรรม อุตสาหกรรม และส่ิงแวดลอม

ยุทธศาสตรเสริมสรางความสามารถดานการวิจัยและพัฒนาพืชจีเอ็มโอและความปลอดภัยทางชีวภาพ (พ.ศ. 2551 - 2554) เปนยุทธศาสตรที่ครอบคลุมตั้งแตตนน้ําของการพัฒนาพืชจีเอ็มโอ ซึ่งจําเปนตองใชเทคโนโลยีที่เกี่ยวของในหลายระดับ และไมจําเปนตองรอจนกระทั่งพัฒนาพืชจีเอ็มโอสําเร็จจึงจะไดผลิตภัณฑ แตในระหวางขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีพ้ืนฐาน ไมวาจะเปนการพัฒนาระบบการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ หรือยีนที่ตองการ สามารถนํามาพัฒนาเปนผลิตภัณฑในรูปแบบตางๆ ไดทั้งส้ิน หลังจากการนําเทคโนโลยีพ้ืนฐานทั้งหมดมารวมกันพัฒนาเพื่อใหไดพืชจีเอ็มโอตนแบบแลว กอนที่จะอนญุาตใหมีการใชพืชจีเอ็มโอในเชิงพาณิชยจะตองมีการทดสอบความปลอดภยัทางชีวภาพ และมีการสื่อสารกับสังคม จนกระทั่งไดรับการยอมรับ ซึ่งถือเปนปลายน้ําของการทดสอบพืชจีเอ็มโอ ในยุทธศาสตรและแผนที่นําทางนี้ ประกอบดวยรายละเอียดการสรางความสามารถของประเทศไทย ต้ังแตตนน้ําของการเริ่มวิจัยและพัฒนา จนกระทั่งถึงปลายน้ํากอนมีการใชประโยชนอยางแทจริง ซึ่งประกอบไปดวยยุทธศาสตร 4 ยุทธศาสตร ไดแก

1. เสริมสรางความสามารถของนักวิจัยไทยใหทันตอความกาวหนาของเทคโนโลยี และสามารถแขงขัน เพ่ือใหเกิดความสามารถในการพึ่งพาตนเองไดตลอดกระบวนการ การที่ประเทศไทยมีเทคโนโลยีทั้งหลายดังกลาวเปนของตนเอง จะเปนการลดการพึ่งพาตางชาติ ทําใหไทยไมจําเปนตองซื้อเทคโนโลยีจากตางประเทศ สามารถเปล่ียนจากประเทศผูซื้อเทคโนโลยีไปเปนประเทศผูขายเทคโนโลยีได เทคโนโลยีพ้ืนฐานในการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม ไดแก เทคโนโลยีการถายฝากยีน การคนหายีนที่ควบคุมลักษณะตางๆ เชน ทนแลง ทนเค็ม หรือทนน้ําทวม เปนตน

2. พัฒนาพืชจีเอ็มโอที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม เนนกลุมพืชที่มีความสําคัญลําดับสูง โดยพิจารณาจากศักยภาพของผลิตภัณฑ คุณคาทางสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น รวมท้ังความสามารถทางเทคโนโลยีที่มีอยูของประเทศ ซึ่งหลักเกณฑในการพิจารณาเหลานี้ขึ้นกับสถานการณตางๆ และมีปจจัยประกอบมาก จึงตองมีการวิเคราะหผลกระทบที่จะเกิดขึ้น และอาจตองมีการทบทวนชนิดของพืชที่จะพัฒนาเปนระยะๆ

3. สรางความสามารถในการทดสอบและควบคุมความปลอดภัยทางชีวภาพภาคสนามและสภาพไรนา โดยสรางตนแบบในการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพในระดับภาคสนามและสภาพไรนา เพ่ือสรางความสามารถในการควบคุมและประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ และพัฒนาเทคนิคใหมเพ่ือสนับสนุนการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ

4. สรางความเขาใจและการมีสวนรวมของสังคม เนนการกระตุนใหสังคมมีความสนใจในการเรียนรู เพ่ือใหสามารถตัดสินใจเลือกรับขอมูลขาวสารที่มีความถูกตอง และเลือกส่ิงที่ใหประโยชนสูงสุดตอตนเอง ส่ิงแวดลอม และการพัฒนาของประเทศ โดยการสรางกิจกรรมและสื่อที่เหมาะสมสําหรับแตละกลุม ยุทธศาสตรจะบรรลุเปาหมาย จําเปนตองมีมาตรการและเงื่อนไขเพื่อใหยุทธศาสตรดังกลาวประสบความสําเร็จได ไดแก การมีนโยบายใหมีการทดสอบความปลอดภัยในระดับภาคสนาม โดยมีการกําหนดพื้นที่ทดสอบ

Page 4: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

3

ระบบการบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญาและทรัพยากรชีวภาพเพื่อนํามาใชประโยชนในงานวิจัยไดอยางเต็มที่ การสรางและพัฒนากําลังคน รวมท้ังการมีโครงสรางพ้ืนฐานในการรองรับงานวิจัยทั้งดานพันธุวิศวกรรมและดานความปลอดภัยทางชีวภาพอยางตอเนื่อง ผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการดําเนินการตามยุทธศาสตรดังกลาว จะสามารถสรางฐานเทคโนโลยี สําหรับพัฒนาพืชจีเอ็มโอใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสรางความสามารถในการแขงขัน ทําใหเกิดผลิตภัณฑพืชจีเอ็มโอตนแบบที่กอใหเกิดความสําคัญทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม สงผลใหเกิดผลิตภัณฑที่ไดจากฐานความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของนักวิจัยไทย ซึ่งสามารถนํามาใชขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทยใหพัฒนาอยางกาวกระโดดได ทั้งนี้ การจะบรรลุตามยุทธศาสตรไดจําเปนตองมีแผนปฏิบัติการในแตละยุทธศาสตรที่ชัดเจน โดยเฉพาะในยุทธศาสตรที่ 1 และ 2 ซึ่งถือเปนตนน้ําของการพัฒนา

Page 5: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

4

บรรยายพิเศษ เร่ือง สถานภาพการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมในระดับสากล

ดร. ปาริชาติ เบิรนส ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ

ดร. รักชนก โคโต มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

สถานภาพการปลูกดัดแปลงพันธุกรรมในเชิงการคามีการปลูกเพ่ิมขึ้นในทุกปๆ โดยพืชดัดแปลงพันธุกรรม

หลักที่มีการปลูกกันมาก ไดแก ถ่ัวเหลือง ขาวโพด ฝาย และคาโนลา แมแตประเทศในสหภาพยุโรป ไมวาจะเปนประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส สาธารณรัฐเชค โรมาเนีย ตางมีการปลูกพืชดัดแปลงพันธุกรรมในเชิงการคาทั้งนส้ิน สําหรับประเทศในภูมิภาคเอชียไดมีการดําเนินงานวิจัยเพ่ือพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมเปนจํานวนมาก ยกตัวอยางเชน ประเทศฟลิปปนสซึ่งมีแผนที่จะปลูกมะละกอดัดแปลงพันธุกรรมในเชิงการคา

ในการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางพืชดัดแปลงพันธุกรรม ขั้นตอนการถายยีน (transformation) ถือเปนขั้นตอนที่สําคัญ ปจจุบันการถายยีนเขาสูพืชนั้น สามารถกระทําไดโดย 2 วิธีหลัก ไดแก การใชเชื้อแบคทีเรีย Agrobacterium และการเครื่องยิงอานุภาค (particle bombardment) ซึ่งวิธีหลังจะมีขอไดเปรียบที่สามารถทําไดเร็ว และใชไดในพืชหลายชนิดมากกวา

เปาหมายหลักของการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม คือตองการใหไดพืชที่มีลักษณะที่ตองการ อาทิ เพ่ิมคุณคาทางอาหาร เพ่ิมปริมาณผลผลิต ทั้งนี้ การพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมสามารถแบงออกเปน 3 รุน (รูปที่ 1) ไดแก

• รุนที่ 1 เปนการพัฒนาในระยะเริ่มตน เนนใหมีลักษณะความตานทาน ทนทาน เพ่ือใหมีการเจริญเติบโตไดดีขึ้น อาทิ ตานทานตอโรคแมลง หรือสารกําจัดวัชพืช (พืชดัดแปลงพันธุกรรมที่มีการปลูกในเชิงการคาสวนใหญจัดอยูในกลุมนี้)

• รุนที่ 2 เปนการเพิ่มเติมลักษณะพิเศษบางประการ เชน ธาตุอาหาร เพ่ือเปนการเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ

• รุนที่ 3 เปนการพัฒนาเพ่ือใชในเชิงการแพทย เชน วัคซีน และเภสัชภัณฑตางๆ เปนตน

รูปที่ 1 Third generation of GM plants (Yonekura-Sakakibara and Saito ค.ศ. 2006)

Page 6: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

5

แนวโนมดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความซับซอนของงานที่เพ่ิมมากขึ้น จึงไดมีการพัฒนาเทคนิคตางๆ เพ่ือรองรับการวิจัยและพัฒนา ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 เทคนิคใหมเพ่ือการวิจัยและพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม

เทคนิค/วิธีการ วัตถุประสงค

Gene stacking เพ่ือใหไดลักษณะที่ตองการหลายๆ ลักษณะ เชน ตานทานไวรัสหลายชนิด หรือตานทานทั้งไวรัส แมลง และสารกําจัดวัชพืช เปนตน

New selectable maker เพ่ือพัฒนา marker ชนิดใหมเพ่ือทดแทน antibiotic resistance marker เชน positive selection โดยการใสยีนที่ทําใหพืชสามารถใชคารบอนจาก manitol หรือ xyloseได [Mannose isomerase (manA) และ xylose isomerase (XylA) ซึ่งยีนเหลานี้ไมเปนอันตรายตอมนุษย] ไปพรอมกับยีนที่ตองการ แลวจึงทําการคัดเลือกโดยการเลี้ยงบนอาหารที่มี manitol หรือ xylose เปนแหลงคารบอน การดึง selectable marker ออกภายหลัง หรือการทํา marker free เชน ระบบ Cre-lox และ MAT vector เปนตน

Novel promoter เพ่ือควบคุมการแสดงออกของยีนผานการใช promoter ใหมๆ นอกเหนือจาก 35S promoter เชน tissue specific promoter ใหมีการแสดงออกเฉพาะจุด อาทิ ใหมีการแสดงออกเฉพาะในเนื้อเย่ือลําเลียง ใบ รังไข ราก เมล็ด หรือ inducible promoter คือใหมีการแสดงออกเมื่อมีการกระตุนเพ่ือเปนการประหยัดพลังงาน เชน เมื่อไดรับเชื้อโรค หรืออยูภายใตสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสม (abiotic stress) เปนตน

Chloroplast transformation เพ่ือใหมีการแสดงออกของยีนสูง มีผลจาก positional effects นอย การถายยีนไดครั้งละหลายยีน และเปน Maternal inheritant คือมีการถายทอดยีนเฉพาะในเกสรตัวเมีย เนื่องจากในเกสรตัวผู (pollen) ไมมี chloroplast ทําใหงายตอการควบคุมการกระจายตัวของยีน (gene flow)

อยางไรก็ตาม ขั้นตอนในการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมนั้น ตองผานการบวนการหลายขั้นตอน กวาจะ

ไดรับการอนุมัติใหมีการจําหนายในเชิงการคา (ดังรูป 2) ประกอบดวย 3 ระยะ ไดแก ระยะที่ 1 ตรวจสอบกลไกการทํางานของยีน หรือโปรตีนที่สนใจ ยีนที่สนใจมีประวัติการใช

ที่ปลอดภัย และการใชยีน หรือโปรตีนที่สนใจมีผลกระทบกับสภาพแวดลอม หรือ ระบบนิเวศนหรือไม

ระยะที่ 2 ตรวจสอบลักษณะทางคุณภาพ วาพืชที่ไดรับการดัดแปลงทางพันธุกรรมมี ลักษณะตามตองการหรือไม

ระยะที่ 3 ทดสอบความปลอดภัยดานอาหาร ทั้งการใชเปนอาหารมนุษยและอาหารสัตว และความปลอดภัยตอส่ิงแวดลอม

Page 7: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

6

รูปที่ 2 Three phases of GM plant development

ทั้งนี้ งานวิจัยดานพืชดัดแปลงพันธุกรรมสวนใหญยังจัดอยูในชวงที่ 1 (discovery) โดยอาจงานวิจัยพันธุวิศวกรรมพืชไดเปน 5 กลุมใหญๆ (ภาคผนวก 1) คือ

ไดมีการศึกษาและวิจัยเพ่ือใชพันธุวิศวกรรมในการปรับปรุงพันธุ ทั้งในพืชไรและพืชสวน เพ่ือใหไดลักษณะที่ตองการตางๆ โดยลักษณะที่มีการศึกษา ไดแก 1. ตานทานตอ Biotic stress

1.1 พืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อใหตานทานแมลงศัตรูพืช ลักษณะที่มีการนํามาใชกันมากคือการใสยีนของแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ที่เรียกกันวายีน Bt

(cry1Aa, cry1Ab, cry1Ac gene) ทําใหพืชสามารถสรางสาร δ-enterotoxin ซึ่งสงผลใหมีความตานทานตอแมลงศัตรูพืชสกุล Lepidoptera, Diptera และ Coleoptera โดยเนนทดลองในกลุมพืชใหมๆ เชน ขาว กระเทียม ปาลมน้ํามัน อัลฟลฟา (Alfalfa) และทดสอบความตานทานตอแมลงชนิดตางๆ มากขึ้น โดยมีการปลูกฝาย และขาวโพด Bt ในเชิงการคาแลว

นอกจากนี้ยังมียีนที่มีการศึกษากันอีกหลายชนิด ไมวาจะเปนยีนในกลุม proteinase inhibitor เชน cystatin proteinase inhibitor ที่มีคุณสมบัติเปน broad spectrum คือ ตานทานไดทั้งแมลงศัตรูพืช (Leafhopper) และไสเดือนฝอย หรือยีน proteinase inhibitor (PI) ตานทานตอ light-brown apple moth โดยมีการทดลองในมันฝรั่ง

ถ่ัวเหลือง ขาวโพด คาโนลา ออย และแอปเปล หรือยีน cholesterol oxidase, lectin และ β–glucosidase (BGL1) เพ่ือใหตานทานแมลงปากดูด (sup-sucking insects) เปนตน

1.2 พืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อใหตานทานโรคพืชท่ีเกิดจากเชื้อไวรัส สวนใหญจะเปนการถายยีน Coat protein ของไวรัสเขาไปในพืช ผานการทํา sense strand, antisense-

strand หรือใชเทคนิค RNA interference (RNAi) โดยมีการศึกษาในมะละกอ (ตานทาน Papaya Ring Spot Virus),

กลุมท่ี 1 พืชเศรษฐกิจ (economic crop)

Page 8: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

7

มะเขือเทศ (ตานทาน Cucumber Mosaic Virus), พลัม (ตานทาน Plum Pox Virus), กลวยไมในสกุล Phalaenopsis และสกุล Dendrobium (ตานทาน Cymbidium Mosaic Virus)

1.3 พืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อใหตานทานโรคพืชท่ีเกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย มีการศึกษาเกี่ยวกับกลไกการปองกันตัวเองของพืช (Defense mechanism) ตอจุลินทรีย อาทิ การ

ตอบสนองแบบ hypersensitive หรือการสง signal molecule ไปยังเซลลอ่ืนๆ เพ่ือกระตุนกลไกในการตานทานโรค เชน ยีน ferredoxin-like protein (pflp)1 และ wasabi defensin protein ซึ่งตานทานตอเชื้อ Erwinia carotovora, ยีน thaumatin ตานทานตอเชื้อ Pythium aphanidermatum และ Rhizoctonia solani, ยีน germin protein (oxalate oxidase) ตานทานตอเชื้อในสกุล Sclerotinia และยีน chitinase เปนตน โดยมีการศึกษาในยาสูบ มันฝรั่ง มะเขือเทศ และกลวยไมในสกุล Phalaenopsis และสกุล Oncidium

2. ตานทานตอ Abiotic stress

สําหรับการสรางพืชเพ่ือเพ่ิมความทนทานตอสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสม ทั้งความแลง (drought stress), ความเค็ม (salt stress), ความหนาวเย็น (cold stress) หรืออุณหภูมิสูงนั้น มีการใชยีนในกลุมที่เปน transcription factor, signal transduction component gene, transporter protein gene หรือยีนที่เกี่ยวของกับการสราง osmolyte เชน ยีน SacB (Levan sucrase; Bacillus subtilis) เพ่ือใหเกิดการสรางและสะสมน้ําตาล fructan ทําให

สามารถทนทานตอความแหงแลง หรือยีน P5CS (γ-Pyrroline-5-carboxylate synthase) ซึ่งชวยในการสรางและสะสม proline เพ่ือใหเกิดความทนทานตอความเค็ม เปนตน

นอกจากนี้ยังมียีนบางยีนที่สามารถเพิ่มความตานทานทั้งตอ biotic และ abiotic stress เชน ยีน mtID (Mannitol-1-phosphate dehydrogenase ซึ่งสามารถเพิ่มความตานทานตอ fungal wilts จากเชื้อ Escherichia coli และเพ่ิมความตานทานตอภาวะแลง ความทนทานตอความเค็ม และความหนาวเย็นอีกดวย

3. ตานทานตอสารกําจัดวัชพืช (Herbicide tolerance)

เนื่องจากวัชพืชมีผลทําใหปริมาณและคุณภาพของผลผลิตลดลง ตลอดจนสารกําจัดวัชพืชบางชนิดมีความเปนพิษสูง สงผลกระทบตอสุขภาพของเกษตรกร ผูบริโภค และส่ิงแวดลอม ทําใหมีความพยายามในการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่ตานทานตอสารกําจัดวัชพืชที่มีความเปนพิษต่ํา หรือสลายตัวเร็ว เพ่ือใหมีสารพิษตกคางอยูในผลผลิตและส่ิงแวดลอมในปริมาณนอย หรือมีการคงอยูในชวงระยะเวลาที่ส้ันที่สุด โดยพบวามีการใชสารกําจัดวัชพืชลดลงอยางมีนัยสําคัญ ภายหลังจากที่มีการปลูกถ่ัวเหลืองตานทานสารกําจัดวัชพืชในเชิงการคา (Doane Market Research, ค.ศ. 2000)

ยีนที่มีการใชเพ่ือพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมใหตานทานตอสารกําจัดวัชพืช ไดแก ยีนที่เกี่ยวของกับการสรางกรดอะมิโนบางชนิด ซึ่งพืชที่ไมไดรับยีนจะไมสามารถสรางกรดอะมิโนจําเปนเหลานี้ไดเมื่อไดรับสารกําจัดวัชพืชชนิดนั้นๆ เชน ยีน bar (phosphinothricin-N-acetyltransferase), ยีน EPSPS (3-enolpyruvyl shikimic acid-5-phosphate synthase) จากแบคทีเรีย และยีน 2, 4-D monooxygenase โดยมีการศึกษาในถ่ัวเหลือง คาโนลา อัลฟลฟา มันฝรั่ง และฝาย

1 ยีน Feridoxin-liked protein นอกจากจะชวยใหมีความตานทานตอเชื้อ Erwinia carotovora แลว ยังสามารถใชเปน selectable marker สําหรับการถายยีนในกลวยไมไดอีกดวย

Page 9: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

8

4. เพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ (Quality improvement) ในการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อเพ่ิมคุณภาพของผลิตภัณฑนั้น มีการศึกษาในหลายแงมุม เชน

4.1 เพิ่มประสิทธิภาพในการตรึงคารบอนไดออกไซด ไดมีการทดลองถายยีน Phosphoenolpyruvate carboxylase (pepc) ซึ่งเปนยีนจากพืช C4 เขาสูพืช C3

เชน ถายยีนจากขาวโพดไปยังขาว เพ่ือใหมีประสิทธิภาพในการตรึงคารบอนไดออกไซดไดดีขึ้น สงผลใหมีการเจริญเติบโตไดดี และมีผลผลิตสูงขึ้น

4.2 ยืดระยะเวลาการเก็บรักษา เปนการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการภายหลังการเก็บเกี่ยว เพ่ือยืดอายุการปกแจกันของดอกไม และชะลอ

การสุกของผักและผลไม ดวยการยับย้ังการสรางเอทิลีนซึ่งเปนฮอรโมนที่เกี่ยวของกับการสุกและการเสื่อมของผลผลิต (Ripening and senescence hormone) โดยการใชเทคโนโลยี antisense หรือ RNAi กับยีน ACC synthase หรือ ACC oxidase2 เพ่ือลดหรือยับย้ังการสรางเอทิลีน หรือยับย้ังการตอบสนองตอเอทิลีนจากภายนอก ผานการปรับเปล่ียนยีน ethylene receptor (ETR1) เพ่ือยับย้ังการทํางานของ ethylene receptor

4.3 เพิ่มคุณคาทางโภชนาการ

งานวิจัยพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อเพ่ิมคุณคาทางโภชนาการนั้นมีอยูหลายงานวิจัยดวยกัน เชน การพัฒนาขาวสีทอง (Golden rice) ซึ่งมีสารโปรวิตามินเอสูงดวยการใสยีนจากดอกแดฟโฟดิล และแบคทีเรีย Erwinia uredovara ในขาวสายพันธุญี่ปุน (Japonica rice) และสายพันธุอินดิกา (indica rice) และยังมีการศึกษาตอในพืชชนิดอื่นๆ อาทิ ขาวสาลี ขาวบารเลย กลวย มันสําปะหลัง และมันเทศ โดยนอกจากจะใหมีวิตามินเอสูงแลว ยังมีการใชเทคนิค stacking gene เพ่ือใหมีวิตามินอี และแรเหล็ก (ยีน feritin เพ่ิมปริมาณธาตุเหล็ก, ยีน phytate และยีน cysteine ชวยในการดูดซึมธาตุเหล็ก) มากขึ้น เพ่ือแกปญหาภาวะทุพโภชนาการของประชากรในกลุมประเทศโลกที่สาม

นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเพ่ือพัฒนาพืชใหมีปริมาณสารตานอนุมูลอิสระ (antioxidant) สูง ไดแก แครอทที่มี

β-carotene สูง3 มะเขือเทศที่มี lycopene สูง ตลอดจนการวิจัยในถ่ัวเหลืองและ rapeseed เพ่ือปรับปรุงคุณภาพของน้ํามัน ใหมีการสรางกรดไขมันอิ่มตัว (ลิโนเลอิก) ลดลง เพ่ิมปริมาณกรดไขมันไมอ่ิมตัว (โอเลอิก) โดยการปรับโครงสรางของไขมันใหเปนแบบ trans ผานการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึ่มของไขมันอีกดวย (ยีน streptomyces-3-hydroxysteroid oxidase เปล่ียน phytosterols เปน phytostanols) สําหรับกลุมพืชอาหารสัตว (forage crop) มีการทําวิจัยในอัลฟลฟาใหมีปริมาณลิกนิน (lignin) ลดลง ดวยการทํา antisense ในยีนที่เกี่ยวของกับระบบการสังเคราะหลิกนินภายในพืช เพ่ือใหสัตวสามารถยอยอาหารไดงายขึ้น

4.4 เพิ่มทางเลือกใหม ในกลุมไมดอกไมประดับ มีงานวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนสีดอก โดยมีบริษัทฟลอริยีน (Florigene) และ

บริษัทซันทอรี (Suntory) ในประเทศญี่ปุนเปนผูนํา และประสบความสําเร็จในการพัฒนาคารเนชั้นและกุหลาบสีน้ําเงิน จากเทคโนโลยี antisense แลว

2 ACC synthase และ ACC oxydase เปนเอนไซมสําคัญในกระบวนการสรางเอทิลีนภายในพืช 3 แครอทดัดแปลงพันธุกรรมสายพันธุ BetaSweet® ซ่ึงพัฒนาข้ึนโดยมหาวิทยาลัย Texas A&M มีปริมาณ β-carotene มากกวาแครอทปกติประมาณ 50% และมีสี dark maroon-purple เน่ืองจากมีการใสยีนในการสราง anthocyanin ลงไปดวย

Page 10: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

9

งานวิจัยในเรื่องพืชพลังงาน หรือพืชที่สามารถนํามาใชเปนตัวตั้งตนในการผลิตพลังงานตางๆ เชน ไบโอเอทานอล ไบโอดีเซล ไบโอกาซ กาซไฮโดรเจน และไบโอโซลาเซลลนั้น ถือวายังอยูในระยะเริ่มตน คือ มุงเนนการเพ่ิมประสิทธิภาพในการถายยีน โดยมีการทําวิจัยในพืชหลายชนิด อาทิ duck weed ปาลมน้ํามัน ออย และมันสําปะหลัง โดยมุงพัฒนาใน 4 ประเด็น คือ

1) ใหมีการเจริญเติบโตเร็วและผลผลิตสูงหรืออีกนัยหนึ่งคือเพ่ิมประสิทธิภาพในการสังเคราะหดวยแสงนั่นเอง

2) เพ่ิมความสามารถในการทนทานตอ abiotic และ biotic stress อาทิเชน ทนแลง ทนสภาพดินเค็ม ทนตอสภาพความเปนกรด-ดางของดิน หรือตานทานโรคและแมลงไดดี

3) เพ่ิมประสิทธิภาพในการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึ่มของแปงและเซลลูโลส โดยการเปลี่ยนโครงสราง

แปงเพ่ือใหงายตอการหมัก (High Extractable Starch (HES) Hybrids – เพ่ิม β หรือ α amylase) หรือเพ่ิม cellulolytic enzyme โดยการใสยีน Endoglucanase (E1) เพ่ือใหสามารถยอยเซลลูโลสไดงายขึ้น

4) เพ่ิมประสิทธิภาพในการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึ่มของไขมัน เชน เปล่ียนจาก palmetic acid ใหเปน oleic acid

การวิจัยและพัฒนาพืชเพ่ือเวชกรรมกําลังไดรับความสนใจเปนอยางสูง โดยอาจแบงงานวิจัยในดานนี้ออก

ไดเปน 3 กลุม คือ 1. การผลิต Edible vaccines

เชน วัคซีน herpes, วัคซีนไวรัสตับอักเสบบีในกลวย, วัคซีนไวรัสตับอักเสบซี, วัคซีน AIDS, วัคซีนมาลาเรีย, วัคซีน chlorela toxin B หรือวัคซีนปองกันฟนผุที่ใชยีนซึ่งดัดแปลงจากแบคทีเรียที่ทําลายเคลือบฟน (Streptococcus mutants) 2. การผลิต Plantibodies

มีงานทดลองในการชักนําใหพืชผลิต antibody ในพืชหลายชนิด อาทิ ยาสูบ อัลฟลฟา มันฝรั่ง และถ่ัวเหลือง โดยมีทั้งงานวิจัยที่ผลิตเพียงบางสวนของ antibody เชน anti-mouse major histocompatibility complex (MHC) class II, immunoglobulin for dental caries IgG1(slgA-G), tumor-associated marker antigen (scFv T84.66 against carcinoembryogenic antigen และงานวิจัยเพ่ือใหพืชสามารถผลิต antibody ที่สมบูรณ (plantibody factories) โดยการใสยีนที่ผลิตโปรตีนในการเชื่อมตอสวนตางๆ ของ antibody เขาไปในเซลลพืช แลวจึงนําเซลลที่ไดมาทําการถายยีนที่สรางแตละสวน (heavy chain, light chain) ของ antibody เขาไปอีกครั้ง เซลลพืช

นั้นก็จะทําการผลิต antibody ที่สมบูรณออกมา โดยมีการทดลองในยาสูบใหผลิต human β-(1, 4)-

galactosyltransferase (β-GalT linker gene)4

4 ในการผลิต antibody จากยาสูบน้ีใชวิธีการเลี้ยงเซลลในระบบปด และสกัดสารจากเซลลโดยตรง ไมไดทําการ regenerate ข้ึนมาเปนตนยาสูบ

กลุมท่ี 2 พืชพลังงาน (Energy plant)

กลุมท่ี 3 พืชเพื่อเวชกรรม (Biopharmaceutical farming)

Page 11: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

10

3. การผลิตโปรตีนท่ีมีคุณสมบัติทางยา (Pharmaceutical protein) มีงานวิจัยในยาสูบ ขาว มันฝรั่ง ขาวโพด มัสตารด ใหผลิตโปรตีนที่มีคุณสมบัติทางเวชกรรมหลายชนิด

อาทิ Human protein C (serum protease), Human hirudin, N-acetyl-neuraminic acid, Human secreted alkaline phosphatase, Human serum albumin, Human epidermai growth factor เปนตน

ปจจุบันมีผูทําการวิจัยในพืชหลายชนิด เชน ขาวโพด ยาสูบ ขาว คาโนลา มันฝรั่ง กลวย มะเขือเทศ

อัลฟลฟา safflower duckweed และสาหรายเซลลเดียว เปนตน ซึ่งกระบวนการชักนําใหพืชผลิตสารที่ตองการแบงออกไดเปน 2 วิธี คือ

1) การถายยีนเขาสูพืชโดยตรง (Direct expression/ stable transformation) โดยอาจถายยีนเขาสูนิวเคลียส เพ่ือใหมีการแสดงออก (ผลิตสาร) อยางตอเนื่อง (constitutive expression) หรือใหมีการแสดงออกเฉพาะที่ เชน เฉพาะในเมล็ด (seed specific expression) ก็ได นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่ถายยีนเขาใน chloroplast เนื่องจากภายใน chloroplast ไมมีการยับย้ังกันเองของยีนทําใหมีการแสดงออกไดไมจํากัด สามารถผลิตโปรตีนไดในปริมาณมาก อีกทั้งการเชื่อมตอของยีนใน chloroplast จะเปนแบบ homologous ทําใหรูตําแหนงที่แนนอน และเนื่องจาก pollen ไมมี chloroplast จึงงายตอการควบคุมการกระจายตัวของยีน

2) การถายยีนเขาสูเชื้อไวรัส (transient transformation) โดยใหไวรัสไปกระตุนการสรางโปรตีนในพืชในชวงส้ันๆ และทําการเก็บเกี่ยว

ที่ผานมา การผลิตสารสําคัญทางเวชกรรมในสิ่งมีชีวิตจะทําในแบคทีเรีย รวมไปถึงเซลลเพาะเลี้ยงของสัตวเล้ียงลูกดวยนมและแมลง (mammalian and insect cell culture) แตการใชพืชเปนโรงงานผลิตมีขอไดเปรียบหลายประการ อาทิ ราคาถูกกวาประมาณ 10 – 100 เทา เพ่ิมปริมาณการผลิตไดงาย รวดเร็ว ปลอดภัยเนื่องจากไมมีเชื้อโรค อีกทั้งยังงายตอการสกัดและการนําไปใช

การสกัดโปรตีนจากพืชสามารถทําไดหลายวิธี เชน การสกัดออกมาโดยตรง การเชื่อมโปรตีนเปาหมายดวย histidine tag หรือ elastin-like polypeptide (ELP) ซึ่งจะทําใหสามารถใชความรอนในการแยกโปรตีนออกมาไดงายขึ้น การสกัดโปรตีนจากสารคัดหล่ังของราก (Rhizosecretion) หรือจากการคายน้ํา (Phytoguttation)

สําหรับงานวิจัยพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่ออุตสาหกรรมนั้น อาจแบงออกเปนงานวิจัยเพ่ืออุตสาหกรรมแตละประเภท ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมสิ่งทอ

นอกจากการพัฒนาฝายดัดแปลงพันธุกรรมตานทานหนอนเจาะสมอฝายแลว ยังมีการศึกษากลไกการสรางใยฝายเพื่อใหไดเสนใยที่นุม สวมใสสบาย โดยใชยีน keratin จากขนกระตาย 2. อุตสาหกรรมพลาสติก

เพ่ือตอบสนองตอความตองการพลาสติกที่ยอยสลายได (biodegradable plastic) ที่เพ่ิมขึ้นจึงมีงานวิจัยเกี่ยวกับการสรางเม็ดพลาสติกยอยสลายไดชนิด polyhydroxyalkanoate (PHA) หรือ polyhydroxybutyrate (PHB) ในเนื้อเยื่อพืช อาทิ ในยาสูบ และ Arabidopsis

กลุมท่ี 4 พืชเพื่ออุตสาหกรรม (Industrial plant)

Page 12: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

11

3. อุตสาหกรรมกระดาษและเยื่อกระดาษ ปญหาสําคัญของอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ คือ การกําจัดลิกนิน ซึ่งนอกจากจะสิ้นเปลืองคาใชจายแลว สาร

ซักฟอกที่ใชยังตกคางเปนพิษตอส่ิงแวดลอมอีกดวย ดังนั้นจึงมีงานวิจัยที่มุงลดปริมาณการสรางลิกนินภายในพืช เพ่ือใหงายตอการยอยมากขึ้น โดยมีงานทดลองวิจัยในยูคาลิปตัส loblolly pine และ silver birch

4. อุตสาหกรรมอื่นๆ ในป ค.ศ. 2004 มีการทําวิจัยในยาสูบและมันฝรั่ง เพ่ือใหมีการผลิตโปรตีนของใยแมงมุม ซึ่งเสนใยที่ไดจาก

โปรตีนชนิดนี้มีคุณสมบัติเหนียวกวาเสนใยชนิดอื่นๆ และยังมีน้ําหนักเบา สามารถนําไปใชในการทําเส้ือเกราะกันกระสุน ตลอดจนใชในเชิงการแพทยไดเปนอยางดี นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเพ่ือใหพืชสามารถผลิต protein base material ชนิดอื่นๆ อาทิ fibrous glues, human elastin และคอลลาเจน อีกดวย

นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาพืชบางชนิดที่สามารถนําไปประยุกตใชไดกับอุตสาหกรรมหลายประเภท เชน มันสําปะหลังที่ไมมี amylase ที่สามารถใชในอุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมกระดาษและอุตสาหกรรมอาหาร อยางไรก็ตามลักษณะบางประการ เชน ความตานทานตอ biotic และ abiotic stress ตางๆ ก็เปนลักษณะจําเปนที่จะตองมีการพัฒนาเพ่ือใหไดปริมาณผลผลิตตามตองการ

วัตถุประสงคหนึ่งของการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมเพ่ือใหตานทานแมลงศัตรูพืช ก็เพ่ือลดปริมาณการ

ใชสารเคมีที่ใชในการกําจัดศัตรูพืชใหนอยลง นอกจากนั้น ยังมีการใชเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาพืชสําหรับการดูดซับหรือกําจัดสารพิษ (phytoremediation) โดยพืชจะดูดสารพิษมากักเก็บไว หรือเปล่ียนสารพิษใหอยูในรูปที่ไมเปนพิษ หรือเปนพิษนอยกอนจะปลดปลอยสูส่ิงแวดลอม ตัวอยางของพืชที่มีการพัฒนาเพื่อใชในการทํา phytoremediation ไดแก คาโนลา ยาสูบ และมะเขือเทศที่ใสยีน ACC deaminase จากวัชพืช เพ่ือใหสามารถเจริญเติบโตและดูดซับสารตะกั่วไดมากขึ้น หรือการพัฒนายาสูบโดยใสยีน nitroreductase เพ่ือใหสามารถดูดซับสาร Trinitrotoluene (TNT) และ Cyclotrimethylenetrinitramine (RDX) ที่เปนวัตถุระเบิดได นอกจากนี้ ยังมีการชักนําใหพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่มียีนดังกลาวเกิด hairy root เพ่ือใหสามารถดูดซับโลหะหนักไดดีขึ้นอีกดวย

กลุมท่ี 5 พืชเพื่อสิ่งแวดลอม (Environmental application)

Page 13: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

12

ประชุมระดมความคิดเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

ดร. นเรศ ดํารงชยั สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแีหงชาติ

ผูดําเนินรายการ 1. กรมวิชาการเกษตร

• สถาบันวิจัยพืชสวนขอนแกน มีการพัฒนามะละกอดัดแปลงพันธุกรรมตานทานไวรัสใบดางจุดวงแหวน ขณะนี้อยูระหวางประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ

• สํานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ อยูระหวางการพัฒนาเบญจมาศและเยอรบีราดัดแปลงพันธุกรรม เพ่ือใหมีสีสันหลากหลาย และยืดอายุการปกแจกนั

2. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

• ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร อยูระหวางการศึกษาการถายยีนในแหนเล็ก เพ่ือนําไปสูการประยุกตเชิงผลิตสารเวชกรรมตอไป

3. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

• มะละกอ ดําเนินการถึงขั้นการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพในระดับโรงเรือน

• พริกตานทานไวรัสเสนใบดางประพริก ไดพัฒนาจนถึงรุนที่ 2 แลว อยูระหวางรอการทดสอบความปลอดภยัทางชีวภาพ

• มะเขือเทศตานทานโรคใบหงิกเหลืองและปราศจากยีนคัดเลือก (marker-free) ไดพัฒนาจนไดพืชรุนที่ 1 แลว อยูระหวางการคัดเลือกพันธุเพ่ือทดสอบความตานทาน และทดสอบความปลอดภัยทางชี่วภาพตอไป

• กลวยไมเพ่ือยืดอายุการปกแจกัน อยูระหวางการพัฒนาพืชตนแบบ

• ไมน้ําเรืองแสง อยูระหวางการพัฒนาพืชตนแบบ

4. มหาวิทยาลัยเชียงใหม

• คณะวิทยาศาสตร มีการศึกษาเพื่อหาเทคนิคเพ่ือการถายฝากยีนประเทศไทย ดวยการใชอิเล็กตรอนพลังงานต่ําถายฝากเขาสูพืชโดยตรงโดยไมตองอาศัยผานกระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ประเด็นท่ี 1 สถานภาพการวิจัยพืชดัดแปลงพันธุกรรมในประเทศไทย

Page 14: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

13

5. มหาวิทยาลัยมหิดล

• สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตรพัฒนามะละกอดัดแปลงพันธุกรรมตานทานโรคไวรัสใบดางจุดวงแหวน

6. มหาวิทยาลัยขอนแกน

• มีการวิจัยเบ้ืองตนในออย โดยศึกษาอัตราจการถายยีนในตนออย

7. หนวยปฏิบัติการวิจัยกลาง ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ

• มีแผนการศึกษาในพืชหลายชนิด ไดแก ปาลมน้ํามัน ปทุมมา และขาว เปนตน ขณะนี้อยูระหวางการศึกษาวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพ่ือใชในการถายยีนตอไป

8. ภาคเอกชน

• บริษัท เอสซีจีเปเปอร จํากัด (มหาชน) รวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน อยูระหวางการพัฒนายูคาลิปตัสดัดแปลงพันธุกรรม เพ่ือลดลิกนิน และเพ่ิมเนื้อเย่ือสําหรับใชในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ

กลุมท่ี 1 กลุมพืชที่ประเทศมีความพรอม เปนกลุมพืชที่ประเทศไทยมีการพัฒนามาจนกระทั่งไดผลิตภัณฑแลว ไดแก มะละกอดัดแปลงพันธุกรรมตานทานไวรัสใบดางจุดวงแหวน มะเขือเทศตานทานไวรัสใบหงิกเหลือง หรือสับปะรดตานทานสารกําจัดวัชพืช เปนตน ซึ่งงานวิจัยเหลานี้ควรมีการตอยอดเพ่ือใหผลิตภัณฑเหลานั้นไดเกิดการใชประโยชนจริง โดยใชเปนตนแบบ (model) ในการสรางความสามารถเรื่องการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ และระบบการดูแลดานความปลอดภัยสําหรับพืชชนิดอื่นๆ ตอไป รวมท้ังการใหการศึกษาสาธารณะและการสื่อสารความเสี่ยง กลุมท่ี 2 กลุมพืชที่จะสรางโอกาสใหมใหกับประเทศ

เปนกลุมพืชที่จะสรางโอกาสใหมใหกับประเทศได โดยพิจารณาถึงแนวโนมปญหาของโลกในอนาคต ไดแกภาวะโลกรอน ปญหาความแหงแลง ปญหาดินเค็ม ปญหาโรคแมลง และปญหาดานพลังงาน โดยพิจารณาจากปจจัยดังกลาวรวมกับจุดแข็งของประเทศ และกําหนดพืชที่คาดวาจะมีศักยภาพในการเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูง (high value product) ที่ควรมุงเปาในการพัฒนา ดังตารางที่ 1

ประเด็นท่ี 2 กลุมพืชท่ีประเทศไทยควรมุงเนนพัฒนา

Page 15: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

14

ตารางที่ 1 สรุปพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่ควรพัฒนา

พืชอาหารและการแพทย พืชพลังงาน biomass พืชไมดอกไมประดับ

พืชสิ่งแวดลอม ดูดซับโลหะหนัก ชวยทําความสะอาด

แหลงน้ํา พืชอุตสาหกรรม

ชนิดพืช ลักษณะ ชนิดพืช ลักษณะ ชนิดพืช ลักษณะ ชนิดพืช ลักษณะ ชนิดพืช ลักษณะ มะละกอ ตานทานไวรัส ชะลอการ

สุก ออย ตานทานโรคหนอนกอ

โรคใบขาว เพิ่ม fiber เพิ่ม yield

กลวยไม สีสันแปลกตา ยืดอายุการปกแจกัน ตานทานแมลง ตานทานไวรัส

ไมน้ํา ดูดซับสารพิษ ยูคาลิปตัส อายุสั้น ลดลิกนิน เพิ่มความยาวของ fiber

พริก ตานทานไวรัส ปาลมน้ํามัน อายุสั้น เพิ่ม yield ปทุมมา สีสันแปลกตา พุทธรักษา โคลนยีนจากจุลินทรียเพื่อบําบัดน้ําเสีย

สัก ตานทานดวงเจาะเนื้อไม

มะเขือเทศ ตานทานไวรัส สบูดํา เพิ่ม yield ตนตี้ย ออกดอกพรอมกัน (รีฟฟยีน ใน Arabidopsisทําใหออกดอกเร็วและตนเตี้ยลง) ตานทานหนอนศัตรูพืช ลดสารพิษในเมล็ด

เบญจมาศ ยืดอายุการปกแจกัน ตานทานแมลง

ผักบุง โคลนยีนจากจุลินทรียเพื่อบําบัดน้ําเสีย

ไมยมหอม ตานทานดวงเจาะเนื้อไม

สับปะรด ตานทานสารกําจัดวัชพืช มันสําปะหลัง

Waxy cassava เพิ่ม yield พันธุระยอง 9 (เพื่อผลิตเปนพลังงานโดยเฉพาะ - ยังมีปญหาเรื่อง process)

เยอรบีรา ตานทานแมลง ผักตบชวา โคลนยีนจากจุลินทรียเพื่อบําบัดน้ําเสีย

ยางพารา ลดโปรตีนที่ทําใหเกิดการแพ พัฒนาระบบการถายยีน อ.รพีพรรณ ทําเรื่องยางเปนเครื่องสําอางค ประเทศจีนพัฒนายางใหมีปริมาณเนื้อไมสูง ควรเนนศึกษาวิจัยการทํา regeneration ซึ่งทําไดยาก สวน transformation ทําไดไมยาก

ขาว ตานทานโรคเชื้อรา เพิ่มคุณคาทางโภชนาการ

ขาวฟางหวาน

ยังไมเห็นชองทางทํา GM โรคหนอนเจาะลําตน

ไมน้ํา สรางความแปลกใหม เชนเรืองแสง ประเทศไทยมีความสามารถในการทํา tissue culture ไดดีมาก

พืชเสนใย

แหนเล็ก Edible vaccine ขาวโพด ใช biomass นอกเหนือจากฝกที่เปนอาหาร

พืชใช latex

สาหรายเซลลเดียว

Edible vaccine มะละกอ ยาง เครื่องสําอาง

ชิงเฮาซู ทํายามาลาเรีย ยงัขาดระบบการถายยีน และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ผักโขม ผลิตวัคซีนปองกันพิษสุนัขบา

Page 16: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

15

เนื่องจาก ยุทธศาสตรเสริมสรางความสามารถดานการวิจัยและพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมและความปลอดภัยทางชีวภาพ มีกรอบระยะเวลาชวง พ.ศ. 2551 – 2554 แตการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรมบางชนิดจําเปนตองอาศัยระยะเวลามากกวา 3 ป เพ่ือเปนการสรางความสามารถใหเกิดกับประเทศอยางยั่งยืน จึงควรแบงการพัฒนาออกเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะที่ 1 ระยะสั้น (3 - 5 ป) เปนระยะการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร โดยมุงเนนพืชที่มีศักยภาพในการสรางโอกาสใหมใหกับประเทศ และเปนพืชวงชีวิตส้ัน สามารถพัฒนาไดสําเร็จภายใน 3 ป ไดแก

• ไมดอกไมประดบั ไดแก กลวยไม ปทุมมา เบญจมาศ เยอรบีรา และมะลิ เปนตน

• ไมน้ํา กําลังพัฒนาวิธีการถายยีน มีศักยภาพสูง (กรมประมง สนใจผลักดัน) ระยะที่ 2 ระยะกลาง (5-10 ป)

• พืชพลังงาน ไดแก มันสําปะหลัง สบูดํา ออย และขาวโพด เปนตน ระยะที่ 3 ระยะยาว (10 ปข้ึนไป)

• ไมยืนตนตางๆ ไดแก ยูคาลิปตัส ปาลมน้ํามัน ไมสัก ไมหอม และยางพารา เปนตน

Page 17: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

16

ภาคผนวก 1 สถานภาพการพัฒนาพืชดัดแปลงพันธกรรมในระดับสากล

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

กลุมที่ 1 พืชเศษฐกิจ Nemesia strumosa

U. of Tsukuba / Japan

สราง N. strumosa GM ที่บรรจุ missense mutation ของmelon ethylene receptor gene (Cm-ETR1) เพื่อยับยั้ง ethylene signal transduction สงผลใหสามารถยืดอายุการปกแจกันไดนานขึ้น

melon ethylene receptor gene Cm-ETR1/H69A

CaMV35S

nptII gene

Stem /A.tumefaciens strain GV2260

N/A • ใช promoter ที่มีการแสดงออกมากขึ้น เชน 2x หรือ 4x CaMV35S หรือ floral specific promoter

• ประยุกตใชเทคนิคนี้เมื่อตองการยับยั้งการทํางานของยีนใด ๆ หรือตองการยับยั้งการสราง ethylene ในพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Cui et al., 2004

กลวยไม Oncidium

Institute of BioAgricultural Sciences / Republic of China

สรางกลวยไมออนซิเดีนม GM ที่สามารถผลิต ferredoxin-like protein (pflp) ไดเพื่อปองกันการเขาทําลายของแบคทีเรีย Erwinia carotovora

Pflp gene CaMV35S

hpt gene Protocorm หรือ Protocormliked bodies (PLBs) / A. tumefaciens strain EHA105

3.4% ยีน ferredoxin-like protein นี้นอกจากมีคุณสมบัติในการตานทานตอเชื้อ E. carotovora แลวยังมีคุณสมบัติ เปนที่ไดรับยีน selectable marker ไดอีกดวย โดยสามารถคัดเลือกเซลลพืชไดโดยการเพาะเชื้อดังกลาวบน PLBs ที่กําลังไดรับการถายยีน เซลลที่ไดรับยีนเทานั้นจากสามารถมีชีวิตอยูได ดั้งนั้นจึงสามารถใชยีนดังกลาวเปน selectable marker สําหรับการถายยีนในกลวยไมชนิดอื่น ๆ ได

Liau et al., 2003 You et al., 2003

Page 18: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

17

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

กลวยไม Phalaenopsis

Chiba U. /japan

สรางกลวยไมฟาแลนนอปซิสGM ที่สามารถผลิต wasabi defensin protein ไดเพื่อปองกันการเขาทําลายของแบคทีเรีย Erwinia carotovora

wasabi defensin gene / Wasabia japonica

CaMV35S

hpt gene Embryogenic cell suspension / A. tumefaciens strain EHA101

78 % • ทดสอบความตานทานตอ เชื้อโรคพืชชนิดอื่น ๆ

• ประยุกตใชยีน wasabi defensin กับพืชชนิดอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Sjahril et al., 2006

กลวยไม Brassia, Cattleya, Doritaenopsis

U. of Rhode Island /USA

ทดสอบประสิทธิภาพการถายยีนในกลวยไม 3 สกุล โดยใชเครื่องยิงอนุภาค (Microprojectile bombardment)

bar gene

CaMV35S

bar gene

PLBs / particle bombardment

นอยกวา 10 % • ทดสอบ risk assessment Knapp et al., 2003

กลวยไม Phalaenopsis

National Taiwan U. / Taiwan

สรางกลวยไมฟาแลนนอปซิส GM ที่สามารถผลิต CymMV coat protein และ pepper ferredoxin-like protein ได (gene stacking) เพื่อปองกันการเขาทําลายของไวรัส Cymbidium Mosaic Virus และ แบคทีเรีย Erwinia carotovora

CymMV coat protein cDNA (CP) และ sweet pepper ferredoxin- like protein cDNA (Pflp)

Ubiquitin และ

CaMV35S

hpt gene PLBs/ particle bombardment และ A. tumefaciens strain EHA101

N/A • ทดสอบความตานทานตอ เชื้อโรคพืชชนิดอื่น ๆ

• ถายยีนที่มีประโยชนอื่น ๆ เพิ่มเติม

• ทดสอบ risk assessment

Chan et al., 2005

กลวยไม Dendrobium

National Taiwan U. / Taiwan

สรางกลวยไมสกุลหวาย GM ที่สามารถผลิต CymMV coat protein เพื่อปองกันการเขาทําลายของไวรัส Cymbidium Mosaic Virus

CymMV coat protein cDNA (CP) /Cymbidium sinesis

CaMV35S

hpt gene PLBs/ particle bombardment

N/A • ถายยีนที่มีประโยชนอื่น ๆ เพิ่มเติม

• ทดสอบ risk assessment

Chang et al., 2005

กลวยไม Phalaenopsis ‘CH835’

National Taiwan U. / Taiwan

สรางกลวยไมสกุล GM ที่สามารถผลิต CymMV coat protein เพื่อปองกันการเขาทําลายของไวรัส Cymbidium Mosaic Virus

CymMV coat protein cDNA (CP) /Cymbidium sinesis

Maize Ubiquitin promoter

hpt gene Protocormliked bodies (PLBs)/ particle bombardment

N/A • ถายยีนที่มีประโยชนอื่น ๆ เพิ่มเติม

• ทดสอบ risk assessment

Chan and Chan, 2005

Page 19: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

18

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

ขาว IRRI (IR68899B)

Gen. & Biochem. Divis. / Philippines

สรางขาว GM (Bt-rice) ที่ตานทานตอแมลง stem borer

cryIA(b) / Bacillus thuringiensis

CaMV 35S

co-transformed with plasmid pGL2 (hygromycin phosphotransferase gene)

Embryogenic calli / Bombardments

20% • ประยุกตใชเทคนิคนี้กับพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

M. F. Alam, et al.,1999

ขาว Taipei 309 และ ออย hybrid cv. H62-4671

U. of Hawaii/ USA

ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมการแสดงออกของsugarcane polyubiquitin promoters 2 ชนิด เปรียบเทียบกับ maize Ubi-1 promoter พบวา ubi9 ใหประสิทธิภาพการควบคุมการแสดงออกไดดีกวา maize Ubi-1 สวน ubi4 ใหประสิทธิภาพต่ําที่สุด แตเมื่อกระตุนดวยอุณหภูมิสูงพบวา ubi4 มีการแสดงออกไดเพิ่มขึ้น ในขณะที่ ubi9 แสดงออกลดลง และเมื่อเพิ่มสวนของ MAR (Flanking Nuclear Matrix Attachment Regions) ใน construct ของ ubi9 พบวาชวยเพิ่มประสิทธิภาพการแสดงออกไดมากขึ้น

Gus gene

sugarcane polyubiquitin promotersubi4 และ ubi9 จาก เปรียบเทียบกับ maize Ubi-1 promoter

ขาวใชhygromyciresistance(hpt) gene และ ออยใช Kanamycin resistance (nptII gene)

(ขาว) แคลลัสจาก mature seed และ scutellum/ A. tumefaciens strain EHA105 (ออย) embryogenic callus / particle bombardment

N/A • ประยุกตใช promoter นี้กับพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอื่น ๆ

• ทดสอบ promoter กับ target genes อื่น ๆ โดยเฉพาะคุณสมบัติ Heat stress tolerance ของ ubi 4

Wei et al., 2003

ขาว Indica rice

U. of Calcutta, India Agriculturl

สรางขาว GM ที่มีการแสดงออกของยีน Phosphoenolpyruvate carboxylase (pepc) จาก ขาวโพด เพื่อใหขาวมีกระบวนการตรึง CO2 เชนเดียวกับพืช C4 เพื่อเพิ่มอัตราการสังเคราะหแสง ซึ่งอาจสงผลใหขาวมีผลผลิตเพิ่มขึ้น และเพิ่มความทนทานตอภาวะแลง

maize pepc gene

maize pepc gene promoter

hpt gene และ nptII gene

Embryo genic calli / biolistic transformation.

N/A ทดสอบการมีปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น และลักษณะความทนทานตอภาวะแลง

Bandyopadhyay et al., 2007

Page 20: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

19

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

ขาว Bt-Indica Basmati rice B-370

U. of Punjab /Pakistan

ทดสอบ risk assessment ของ Bt-Indica Basmati rice B-370 ในระดับไรนา โดยทดสอบการแสดงออกของยีนโดยเทคนิคทางชีวโมเลกุล ทดสอบความตานทานตอแมลง และทดสอบผลกระทบตอแมลงที่ไมใชเปาหมาย

cry1Ac และ cry2A genes

CaMV 35S

N/A N/A N/A • ประยุกตใชเทคนิคนี้กับพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Bashir et al., 2005

ขาวโพด 4 inbred lines

Chinese Academy of Sci./ China

สามารถสรางระบบการถายยีนเขาสูขาวโพดโดย Agrobacterium ไดสําเร็จ

gus-intron (uidA-intron) /E. coli

CaMV35S

bar gene (phosphinothricin acetyltransferase gene; PPT-resistant)

Immature Embryos / A. tumefaciens strain EHA105, LBA4404 and nopaline GV3101

2.59-4.20% พันธุของขาวโพด

สามารถใชเทคนิคที่พัฒนาขึ้นกับขาวโพดสายพันธุอื่น หรือพืชใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดอื่น

Xueqing Huang & Zhiming Wei, 2005

คารเนชั่น

สรางคารเนชั่น GM ที่สามารถยับยั้งการแสดงออกของยีน carnation ACC synthase โดยใช sense หรือ antisense orientation เพื่อลดหรือยับยั้งการสราง ethylene

DC-ACS1 / carnation (sACS transgene และaACS transgene)

CaMV35S

hpt gene และ nptII gene

A. tumefaciens strain EHA101

N/A • ประยุกตใชเทคนิคนี้เมื่อตองการยับยั้งการทํางานของยีนใด ๆ หรือตองการยับยั้งการสราง ethylene ในพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Iwazaki et al., 2004

ฝาย

Chinese Aca.of Agr. Sci./ China

ทดสอบความตานทานตอสารกําจัดวัชพืช 2,4-D ของฝาย GM ที่มียีน 2,4-D monooxygenase (tfdA) gene

2,4-D monooxygenase (tfdA) gene

CaMV35S

nptII gene

N/A N/A • ประยุกตใชเทคนิคนี้กับพืชชนิดอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Zhang et al., 2001

มะเขือ Eggplants

U. of Delhi-South Campus/ India

สรางมะเขือ GM ที่สรางmannitol ได และทําใหทนทานตอ abiotic stress (ทนแลง ทนเค็ม และ ทนอุณหภูมิต่ํา ) และสงเสริมลักษณะตานทานตอ biotic stress (การเขาทําลายโดยเชื้อโรคพืช)

Mannitol-1-phosphate dehydrogenase (mtlD)/ E. coli

CaMV35S

nptII gene Leaf disc/ A. tumefaciens strain LBA4404

32-73 % • ทดสอบความทนทานตอ abiotic stress และลักษณะตานทานตอ biotic stress อื่น ๆ

• ประยุกตใชยีน mtlD กับพืชปลูกอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Prabhavathi et al., 2002 Prabhavathi and Rajarn, 2007

Page 21: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

20

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

มะเขือเทศ U. of London/ UK

สรางมะเขือเทศ GM ที่มีการแสดงออกของยีน cinnamate 4-hydroxylase (CYP73A24) เพื่อใหมะเขือเทศสราง antioxidant (rutin และ naringenin)

sense ของยีน CYP73A24

CaMV35S

nptII gene

Leaf strips/ A. tumefaciens

N/A • ประยุกตใชเทคนิคนี้กับพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Millar et al., 2007

มะเขือเทศ Shanghai Academy of Agri. Sci./ China

สรางมะเขือเทศ GM ที่สามารถยับยั้งการแสดงออกของยีน 1-Aminocyclopropane-1-carboxylate oxidase (ACO) โดยใช RNA interference (RNAi) เพื่อลดหรือยับยั้งการสราง ethylene สงผลใหผลมะเขือเทศสุกชาลงตามระดับของ RNAi ในตนมะเขือเทศ

ACO gene CaMV35S

hpt gene A. tumefaciens strain LBA4404

N/A • ประยุกตใชเทคนิคนี้เมื่อตองการยับยั้งการทํางานของยีนใด ๆ หรือตองการยับยั้งการสราง ethylene ในพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Xiong et al., 2005

มันฝรั่ง

U. of Leeds/ UK

ทดสอบ มันฝรั่ง GM ที่มีการแสดงออกของ protease inhibitor 2 ชนิด เพื่อใหตานทานตอ leafhopper ในระดับไรนา เปรียบเทียบกับแปลงปลูกพืชทดลองที่มีการจัดการปกติ

chicken egg white cystatin (CEWc) and oryza cystatin I (Oc-I_D86)

N/A Kanamycin resistance (Neomycin phosphotransferase gene; nptII)

N/A N/A ทดสอบ risk assessment เพิ่มเติม

S.E. Cowgill & H.J. Atkinson, 2003

มันฝรั่ง

U. of Leeds/ UK

ทดสอบความตานทานตอpotato cyst nematode (Globodera pallida) ในมันฝรั่ง GM ที่มีการแสดงออกของ cysteine proteinase inhibitor ในระดับไรนา

cysteine proteinase inhibitor

CaMV35S (constitutive promoter)

N/A leaf discs / A.tumefaciens LBA4404

N/A ทดสอบ risk assessment Urwin et al., 2001

Page 22: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

21

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

มันฝรั่ง

U. of Victoria /Canada

ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมการแสดงออกของ wound-inducible (win3.12)

Gus (uidA) reporter gene/ hybrid poplar

wound-inducible (win3.12) promoter

nptII Petioles/ A.tumefaciens strain MP90

100% regeneration

ใช promoter นี้ในการควบคุมการแสดงออกของยีนที่มีประโยชนอื่นๆ โดยเฉพาะยีนตานทานตอการเขาทําลายของโรคพืชและแมลงตาง ๆ

Yevtushenko et al., 2004

ยาสูบ

U. of Delhi / India

สรางยาสูบ GM ที่มียีน thaumatin เพื่อปองกันการเขาทําลายของเชื้อรา Pythium aphanidermatum and Rhizoctonia solani

thaumatin gene / Thaumatococcus daniellii

CaMV35S

nptII gene

leaf disc/ Agrobacterium strains LBA4404

N/A

• ทดสอบความตานทานตอเชื้อรากอโรคพืชอื่น ๆ

• ประยุกตใชยีน thaumatin กับพืชชนิดอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Rajam et al., 2007

เรปซีด และถั่วเหลือง

Monsanto Company /USA

สรางเรบซีด และถั่วหลือง GM ที่มีการแสดงออกของยีน Streptomyces 3-hydroxysteroid oxidase เพื่อเปลี่ยนสารในกลุม phytosterols ใหเปน photostanols เนื่องจากphotostanols สามารถลด LDL cholesterol ใน serum ไดดีกวา phytosterols และผลิตไดนอยมากในพืช

Streptomyces 3-hydroxysteroid oxidase gene / S.hygroscopicus

napin promoter ที่เชื่อมตอกับ chloroplast targeting signal sequence

nptII gene

hypocotyls (B. napus ) และ Cotyledon (G. max) / A.tumefaciens

N/A • ประยุกตใชเทคนิคนี้กับพืชชนิดอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment

Venkatramesh et al., 2002

หัวหอม Shallots

Wagening U./ Natherlands

สรางหัวหอม GM ที่สามารสราง Bt-toxin ภายใตการควบคุมการแสดงออกของ chrysanthemum Rubissco small subunit promoter ที่ตานทานตอ beet armyworm ได 100 %

Cry1Ca หรือ H04 /

B.thuringiensis

Rubissco SSU promoter (constitutive promoter)

hpt gene Callus from mature embryos / A.tumefaciens strain AGL0

3.68 % ผลิต bulbs เพื่อใชทดสอบ risk assessment ตอไป

Zheng et al., 2005

อัลฟาฟา

Samuel Roberts Noble Found./ USA

เปรียบเทียบการยับยั้งการแสดงออกของยีนโดยใช sense และ antisense ของยีน 2 ยีนที่มีผลตอการสราง lignin ใน Alfalfa โดยยับยั้งการแสดงออกของยีน caffeic acid 3-O-

Sense และantisense ของยีนCOMT และ antisense ของยีน

Phenylalanine ammonia-lyase (PAL2 promoter) Bean

Bar gene

Embryogenic calli / A.tumefaciens

N/A • ประยุกตเพื่อเพิ่มคุณคาใหกับพืชอาหารสัตวอื่น ๆ หรือใชเทคนิคนี้เพื่อลดการสราง lignin กับพืชที่นํามาทําเยื่อกระดาษเพื่อลดการใชสารฟอก

Guo et al., 2001

Page 23: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

22

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

methyl- transferase (COMT) เพื่อลดการสราง s lignin และยีน caffeoyl coenzyme 3-O-methyltransferase (CCoAOMT) เพื่อลดการสราง G lignin

CCoAOMT / alffalfa

vascular tissue specific promoter

• ทดสอบ risk assessment

อัลฟาฟา

Samuel Roberts Noble Found./ USA

เปรียบเทียบการยับยั้งการแสดงออกของยีนในกลุมCytochrome P450 โดยใช antisense ของยีน 3 ยีนที่มีผลตอการสราง ligninชนิดตาง ๆ ใน Alfalfa โดยยับยั้งการแสดงออกของยีน cinnamate 4-hydroxylase (C4H), coumaroyl shikimate 3-hydroxylase(coumarate 3-hydroxylase ; C3H) coniferaldehyde 5- hydroxylase (ferulate 5-hydroxylase; F5H)

antisense ของยีน C4H (M. sativa), C3H (Arabidopsis) และ F5H (M. sativa)

PAL2 promoter Bean vascular tissue specific promoter

nptII gene

Leaf disc /A.tumefaciens strain GV3101

N/A • ประยุกตใชเทคนิคดังกลาวเพื่อเพิ่มคุณคาใหกับพืชอาหารสัตวอื่น ๆ หรือใชเทคนิคนี้เพื่อลดการสราง lignin กับพืชที่นํามาทําเยื่อกระดาษเพื่อลดการใชสารฟอก

• ทดสอบ risk assessment

Reddyet al., 2005

อัลฟาฟา Samuel Roberts Noble Found./ USA

ศึกษาผลของการยับยั้งการแสดงออกของยีนโดยใช antisense ของยีน hydroxycinnamoyl CoA : Shikimate hydroxycinnamoyl transferase (HCT) ตอการผลิต lignin การพัฒนาของพืช และคุณภาพของอาหารสัตว

antisense ของยีน HCT / alffalfa

PAL2 promoter Bean vascular tissue specific promoter

bar gene

Leaf disc / A.tumefaciens strain GV3101

N/A • ประยุกตใชเทคนิคดังกลาวเพื่อเพิ่มคุณคาใหกับพืชอาหารสัตวอื่น ๆ หรือใชเทคนิคนี้เพื่อลดการสราง lignin กับพืชที่นํามาทําเยื่อกระดาษเพื่อลดการใชสารฟอก

• ทดสอบ risk assessment

Shadle et al., 2007

แอบเปล Royal Gala

Victorian AgriBiosci. Centre / Australia

สรางแอปเปล GM ที่มี proteinase inhibitor (PI) เพื่อปองกันการเขาทําลายของ Epiphyas postvittiana (light-brown apple moth)

proteinase inhibitor (PI)/ N. alata

2x CaMV35S

nptII gene

leaf disc / Agrobacterium strains LBA4404 และ CZ707

2.86 % (strains LBA4404) และ 0.55 % (strains CZ707)

• ทดสอบความตานทานตอแมลงชนิดอื่น ๆ

• ประยุกตใชยีน proteinase • inhibitor กับพืชชนิดอื่น ๆ • ทดสอบ risk assessment

Maheswaranet al., 2007

Page 24: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

23

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

กลุมที่ 2 พืชพลังงาน

ปาลมน้ํามัน

U. of Kebangsaan Malaysia /Malaysia

สรางปาลมน้ํามัน GM ที่ตานทานตอแมลง stem borer

cryIA(b) gene / B. thuringiensis

rubisco promoter

hpt gene Immature Embryos/ Bombardments

81% transient expression

การทดลองนี้คัดเลือก transgenicplant โดยการตรวจสอบโดยวิธี GUS histochemical assay เทานั้น ไมไดทําการคัดเลือกโดยสารปฏิชีวนะ hygromycin เนื่องจากสารปฏิชีวนะนี้เปนพิษตอเนื้อเยื่อพืชมากจนทําใหการถายยีนไมสําเร็จ และสวนของพืชที่ใชถายยีนคือ Immature Embryos ซึ่งมีแนวโนมใหเกิดเปนตนไดอยูแลว ดังนั้นตนปาลมที่ไดอาจมีลักษณะเปน variegated คือมีเซลลบางเซลลของตนพืชที่ไมมียีน

Lee et al., 2006

มันสําปะหลัง

Wageningen U./ Nether lands

สรางมันสําปะหลัง GM ที่ยับยั้งการทํางานของ granule-bound starch synthase I (GBSSI) โดยเทคนิค antisense เพื่อใหเปน amylose-free starch เพื่อปรับปรุงคุณภาพของ มันสําปะหลัง ในอุตสหกรรมกระดาษ สิ่งทอ และอาหาร

Antisense ของยีน GBSSI

CaMV35S

nptII gene

Friable embryogenic callus / Particle Bombardment

N/A Raemakers et al., 2005

แหน Duckweed

North Carolina State U. /USA

สรางแหน GM ที่มีการผลิตเอนไซม Endoglucanase (E1) จากแบคทีเรีย Acidothermus cellulolyticus ใหสามารถยอยเซลลูโลสของตนพืชเองใหเปนน้ําตาล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอทานอล

Endoglucanase (E1) /Acidothermus cellulolyticus

CaMV35S

nptII gene

A. tumefaciens N/A • การใช CaMV35S เพื่อควบคุมการแสดงออกของยีน E1 อาจไมเหมาะสม ทําใหมีอัตราการแสดงออกนอย อาจแกไขโดยใชโปรโมเตอรที่แสดงออกแบบoverxepression

• ทดสอบการทํางานของเอนไซม E1 ในตน duckweed GM

Sun et al., 2007

Page 25: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

24

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

ออย U.de de São Paulo /Brazil

สรางออย GM ที่มีการแสดงออกของ soybean proteinase inhibitors 2 ชนิดคือ SBBI และ SKTI เพื่อยับยั้งการเขาทําลายของ sugarcane borer Diatraea saccharalis

soybean proteinase inhibitors

maize ubiquitin promoter (Ubi-1)

nptII gene

Embryogenic callus /particle bombardment

N/A • ทดสอบความตานทานตอ แมลงอื่น ๆ

• ทดสอบในระดับโรงเรือน และ ไรนา ตอไป

• ประยุกตใชกับพืชชนิดอื่น ๆ • ทดสอบ risk assessment

Falco and Silva-Filho, 2003

ออย Louisiana State U. Agr.l Center / USA

ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมการแสดงออกของ rice ubiquitin promoter (RUBQ2) เปรียบเทียบกับ maize Ubi-1 promoter และ CaMV35s promoter พบวาในออย RUBQ2 promoter ควบคุมการแสดงออกของยีน gus ไดสูงที่สุด

Gus gene

rice ubiquitin promoter (RUBQ2)

nptII gene

Embryogenic callus / A. tumefaciens strain LBA 4404 and AGL1

15% ใช promoter นี้ในการควบคุมการแสดงออกของยีนที่มีประโยชนอื่น ๆ ตอไป

Liu et al., 2003

กลุมที่ 3 พืชเพื่อเวชภณัฑ

ยาสูบ Chonbuk National U./ Korea

ผลิต anti-mouse major histocompatibility complex (MHC) class II monoclonal antibody ในยาสูบ GM

Anti-MHC class II heavy and light chain gene / mouse

CaMV35S

hpt gene Leaf disc/ A. tumefaciens strain LBA4404

N/A • สามารถผลิต anti MHC class II monoclonal antibody ที่สมบูรณ และสามารถทํางานได ในยาสูบ GM

• ประยุกตใช เทคนิคดังกลาวในการสราง plantiboby อื่น

Hong et al., 2007

ยาสูบ Osaka U./ Japan

สรางยาสูบ GM ที่สามารถผลิต mouse monoclonal antibody ไดโดยเทคนิดที่เรียกวา stacking gene โดยนํายาสูบดัดแปลงพันธุ (GT6) ซึ่งสามารถสรางเอนไซม human β-(1,4)-galactosyltransferase (β-GalT) ไดมาผลิตเปนเซลล

heavy and light chain gene / mouse

CaMV35S

hpt gene Cell suspension/ A. tumefaciens strain LBA4404

N/A ประยุกตใช เทคนิคดังกลาวในการสราง plantiboby อื่น ๆ โดยใช เซลลแขวนลอยของยาสูบGM (GT6) ซึ่งสามารถสรางเอนไซม β-GalT เปนโรงงานในการผลิต

Fujiyama et al., 2007

Page 26: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

25

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

แขวนลอย แลวถายยีนที่กําหนดการสราง heavy และ light chain ของ mouse monoclonal antibody เพื่อใหยาสูบสามารถเชื่อมตอ Fc region ของ Heavy chain อยางสมบูรณ โดยอาศัยการทํางานของเอนไซม β-GalT

ยาสูบ Bright Yellow 2 (BY2) และ อัลฟาฟา

Université de Rouen /France

สรางยาสูบและอัลฟาฟา GM ที่มีการสรางเอนไซมที่เกี่ยวของกับกระบวนการ terminal sialic acids ในการสราง N-linked glycans ของกระบวนการผลิตยาในพืช (recombinant pharmaceutical proteins) ซึ่งกระบวนการนี้จะทําใหยามี half-life ในกระแสเลือดนานขึ้น ซึ่งในพืชไมมีกระบวนการดังกลาว

Neu5Ac lyase / E. coli และ Neu5Ac synthase (neuB2) / C.jejuni

CaMV35S

nptII gene

(ยาสูบ) suspension-cultured cells/ A. tumefaciens strain LBA4404 (อัลฟาฟา) suspension-cultured cells / A. tumefaciens strain AGL-1

N/A ทดลองถายยีนที่กําหนดการสราง recombinant pharmaceutical proteins ในยาสูบและอัลฟาฟา GM นี้ แลวศึกษาผลการทํางานของเอนไซมดังกลาว

Paccalet et al., 2007

ยาสูบ

Rutgers U. / USA

ชักนําใหยาสูบ GM ที่มีการแสดงออกของยีน human secreted alkaline phosphatase(SEAP) เกิด hairy root และทดสอบการปลดปลอย recombinant protein จาก hairy root (Rhizosecretion) ซึ่งพบวาวิธีการนี้พืชสามารถปลดปลอยโปรตีนใดมากกวา adventitious transgenic roots ปกติ 5–7 เทา

human secreted alkaline phosphatase (SEAP)

CaMV35S

nptII gene

A. rhizogenes

N/A • ใชเทคนิด Rhizosecretion กับฺ biopharmaceutical plant อื่น

• เลือกใช root specific promoter เชน rol ยีน แทนการใช constitutive promoter

Gaume et al., 2003

ยาสูบ และ มะเขือเทศ

Arizona State U. /USA

สรางยาสูบ และ มะเขือเทศ GM ที่สามารถผลิต particle ของไวรัส 2 ชนิดไดแก hepatitis B surface antigen (HBsAg) และNorwalk virus capsid protein (NVCP)

HBsAg และ NVCP

2X CaMV 35S promoter เชื่อมตอกับ5’ UTR ของtobacco etch virus

nptII gene

Leaf disc/ A. tumefaciens strain LBA4404

N/A • ทดสอบการเปน plant vaccines ในสัตวอื่น ๆ เชน กระตาย หรือ หมู

• ทดสอบ risk assessment

Huang et al., 2005

Page 27: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

26

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

ยาสูบ Guy’s Hospital /UK

ทดสอบการปลดปลอย murine monoclonal IgG1 จากรากยาสูบ ดวยวิธี Rhizosecretion จากการเลี้ยงแบบ hydroponic ในอาหารเหลว และในอาหารเหลวที่เติม gelatin โดยพบวาในอาหารเหลวที่เติม gelatin มีการสะสมของ IgG มากกวาอาหารเหลวปกติ

murine monoclonal IgG1

N/A N/A N/A N/A - Drake et al., 2003

ยาสูบ Agr. & AgriFood Canada / Canada

สรางยาสูบ GM เพื่อทดสอบการทํางานของ elastin-like polypeptide (ELP) ในการเปน thermally responsive tags เพื่อชวยในการแยกโปรตีนเปาหมายจากพืชดวยความรอนได โดยไมเสื่อมสภาพ

(pIL4-HIS, pIL4-ELP, pIL10-HIS, pIL10-ELP, และ MaSp2-ELP

2x CaMV35S

N/A Leaf discs/ A. tumefaciens s

N/A ถายยีนใน chloroplast เพือเพิ่มปริมาณการสรางโปรตีน

Patel et al., 2007

กลุมที่ 4 พืชเพื่ออุตสาหกรรม

Silver brich (Betula pendula Roth)

U.of Helsinki/ Finland

ทดสอบผลกระทบของ Silver brich GM ที่ยั้บยั้งการทํางานของยีน 4-coumarate : coenzyme A ligase (4CL) ตอจุลินทรียในดิน 2 กลุมคือ leaf litter และ Mycorrhiza ในระดับหองปฏิบัติการ

antisense ของยีน 4CL / brich

CaMV35S

nptII gene

A. tumefaciens strain C58C1

N/A ทดสอบ risk assessment ในระดับอื่น ๆ ตอไป

Seppanen et al., 2007

ตนสน loblolly pine

East Carolina University/ USA

สรางตนสน GM ที่บรรจุยีน mannitol-1-phosphate dehydrogenase (Mt1D) และ glucitol-6-phosphate dehydrogenase (GutD) เพื่อใหทนทานตอภาวะแลง

ยีน Mt1D และยีน GutD ใน construct เดียวกัน

CaMV35S

nptII gene

Cullus จาก mature zygotic embryos / A. tumefaciens strain LBA 4404

6.2–14.1%

• ทดสอบความทนทานในสภาพไรนา หรือพื้นที่จริง

• ทดสอบ risk assessment

Tang et al., 2005

Page 28: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

27

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

ยาสูบ และ มันฝรั่ง

ChristianAlbrecht U./ Germany

สราง ยาสูบและมันฝรั่ง GM ที่สามารถสราง spider silk-elastin fusion proteins ได โดยสามารถสรางได 4% ของ total soluble protein ของพืช

synthetic spider silk protein (SO1) เชื่อมตอกับ elastic biopolymer 100xELP

CaMV35S

nptII gene

Leaf discs/ A. tumefaciens strain 2260

N/A N/A Scheller et al., 2004

กลุมที่ 5 พืชเพื่อสิ่งแวดลอม

ขาว indica rice cv. IR64

Plant Mol. & Cell. Gen./ India

สรางขาว GM ที่ตรวจพบการคงอยูของยีน และมีการแสดงออกของยีน Allium sativum leaf lectin (asal ) ในระดับ RNA และโปรตีน อยางคงที่ และเมื่อทดสอบกับ sap sucking insect pests (brown planthopper and green leafhopper) ทําใหแมลงมีอัตราการตายเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งรุน T0 และ T1

Mannose binding Allium sativum leaf agglutinin (Actin, ASAL) Gene/ Allium sativum

CaMV35S

hpt gene Cullus from immature seed/ A. tumefaciens strain EHA105

12.1 % • ใชเทคนิคดังกลาวในการปรับปรุงพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment ตอไป

Prasenjit Saha et al., 2006

คาโนลา U. of Waterloo/ Canada

เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ CaMV 35S และ rolD promoter ในการเพิ่มความสามารถการดูดซับโลหะนิกเกิลของ canola ดัดแปลงพันธุที่บรรจุยีน ACC deaminase โดยสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตนอยที่สุด

ACC deaminase/ Pseudomonas putida

CaMV35S rolD (root specific promoter)

N/A Cullus/ Agrobacterium tumefaciens

N/A ทดสอบ canola ดัดแปลงพันธุบรรจุยีน ACC deaminase ที่ควบคุมการแสดงออกโดย rolD promoter ซึ่งเปนพันธุที่สามารถดูดซับนิกเกิล ในปริมาณมาก และสงผลกระทบตอ canola ดัดแปลงพันธุนอยที่สุด กับสภาพพื้นที่จริง

Stearns et al., 2005

คาโนลา U. of Waterloo/ Canada

ทดสอบความทนทานของคาโนลา GM ที่มียีนACC deaminase ตอภาวะน้ําทวมใหพื้นที่ปลูกที่มีการปนเปอนของโลหะนิกเกิลสูง

ACC deaminase / Pseudomonas putida UW4

rolD (root specific promoter)

N/A Cullus/ A.tumefaciens

N/A • ใชเทคนิคดังกลาวในการปรับปรุงพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment ตอไป

Farwell et al., 2007

Page 29: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

28

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

ฝาย Nat. Botanical Res. Ins./ India

สรางฝาย GM ที่สามารสราง hybrid δ endotoxin เพื่อตานทานแมลงกลุม polyphagous lepidopteran pest

cry1EC/ Bacillus thuringiensis

CaMV35S

nptII gene

Leaf disc/ A. tumefaciens strain LBA4404

N/A • คัดเลือก homologous, single copy ในรุน T2 ได

• เพื่อทดสอบ risk assessment ตอไป

Singh et al., 2004

มะเขือเทศ U. of Waterloo/ Canada

เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ promoter 3 promoter ไดแก 2x CaMV 35S, root specific expression (rolD) และ pathogenesis related (PRB-1b) ในการเพิ่มความสามารถการดูดซับ (phytoremediation) โลหะหนักของ มะเขือเทศดัดแปลงพันธุที่บรรจุยีน ACC deaminase โดยสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตนอยที่สุด

ACC deaminase/ Pseudomonas putida

CaMV35S rolD (root specific promoter) PRB-1b (pathogenesis related promoter)

N/A A. tumefaciens N/A • ทดสอบตนมะเขือเทศดัดแปลงพันธุบรรจุยีน ACC deaminase ที่ควบคุมการแสดงออกโดย PRB-1b promoter ซึ่งเปนพันธุที่สามารถดูดซับโลหะหนักไดหลากหลายชนิด ในปริมาณมาก และสงผลกระทบตอมะเขือเทศดัดแปลงพันธุนอยที่สุด กับดินที่ปนเปอนโลหะหนักชนิดตาง ๆ และทดสอบในสภาพพื้นที่จริง

• ใชเทคนิคดังกลาวในการปรับปรุงพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment ตอไป

Grichko et al., 2000

ยาสูบ U. of Ottawa/ Canada

ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมการแสดงออกของ potato leaf and stem specific promoter (ST-LS1) ตอยีน cry2Aa2

cry2Aa2/ Bacillus thuringiensis

ST-LS1 potato leaf and stem specific promoter

nptII gene

Leaf disc/ A. tumefaciens strain LBA4404

N/A ประยุกตใช promoter กับ crop plant อื่น ๆ

Zaidi et al., 2005

ยาสูบ

Hebrew U. of Jerusalem /Israel

ทดสอบความตานทานตอแมลงหวี่ขาว (whiteflies) ของสรางยาสูบ GM ที่บรรจุยีน b-glucosidase gene (BGL1)

Aspergillus niger b-glucosidase (EC 3.2.1.21) gene (BGL1)

N/A N/A N/A N/A • ใชเทคนิคดังกลาวในการปรับปรุงพืชอื่น ๆ

• ทดสอบ risk assessment ตอไป

Wei et al., 2007

Page 30: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

29

ชนิดพืช หนวยงาน/ประเทศ

สถานภาพของงานวจิัย /วัตถุประสงค

ยีน/ แหลงยีน promoter Selectable

marker

สวนของพืชที่ถายยีน/วิธีการ

ถายยีน

ประสิทธิภาพการถายยีน/

ประสิทธิภาพการ regenerate

แนวทางดาํเนินการในอนาคต เอกสารอางอิง

ยาสูบ U. of Ottawa/ Canada

ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมการแสดงออกของ potato leaf and stem specific promoter (ST-LS1) ตอยีน cry2Aa2

cry2Aa2/ Bacillus thuringiensis

ST-LS1 potato leaf and stem specific promoter

nptII gene

Leaf disc/ A. tumefaciens strain LBA4404

N/A ประยุกตใช promoter กับ crop plant อื่น ๆ

Page 31: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

30

ภาคผนวกที่ 2 รายนามผูเขารวมประชุม

วิทยากร

1. ดร.รุจ วัลยะเสวี ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 02-564-6700 ตอ 32378 โทรสาร 02-564-6703 E-Mail: [email protected]

2. ดร.ปาริชาติ เบิรนส หนวยวิจัยพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน 1 หมู 6 ถ.มาลัยแมน ต.กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 034-351-908 ตอ 3656 E-Mail: [email protected]

3. ดร.รักชนก โคโต ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สุขุมวิท 23 วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2664-1000 ตอ 8101 E-Mail:

ผูทรงคุณวุฒิ

4. ศ.ดร.สุจินต จินายน มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 333 หมู 1 ต.ทาสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 โทร. 053-916-076 โทรสาร 053-916-099 E-Mail: [email protected]

5. ศ.ดร.อารันต พัฒโนทัย คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน อ.เมือง จ.ขอนแกน 4002 E-Mail: [email protected]

6. ศ.ดร.ประพนธ วิไลรัตน

ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทร. 0 2201 5608 โทรสาร 0 2800 2732 E-Mail: [email protected]

7. รศ.ดร.ประสาทพร สมิตะมาน ศูนยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางดานพืช คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จ.เชียงใหม 50202 โทร. 053 944 080 โทรสาร 053 274 000 / 053 892217 E-Mail: [email protected]

ผูดําเนินรายการ

8. ดร.นเรศ ดํารงชัย ศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ถ.พระราม 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-644-8150 E-Mail: [email protected]

ผูเขารวมประชุม กรมวิชาการเกษตร 9. นางหทัยรัตน อุไรรงค

สํานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร ถ.รังสิต-องครักษ ต.คลอง 6 อ.ธัญญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 โทร. 02 904 6885-95 ตอ 213 โทรสาร 02 904 6885 ตอ 555 E-Mail: [email protected]

Page 32: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

31

10. นายกษิดิศ ดิษฐบรรจง สํานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร ถ.รังสิต-องครักษ ต.คลอง 6 อ.ธัญญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 โทร.02-904-6885-95 โทรสาร 02-904-6885-95 ตอ 555 E-Mail: karsedis_hotmail.com

11. นางชยานิจ ดิษฐบรรจง สํานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร ถ.รังสิต-องครักษ ต.คลอง 6 อ.ธัญญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 โทร. 02-904-6885-95 โทรสาร 02-904-6885-95 ตอ 555 E-Mail: [email protected]

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 12. ดร.เจษฎา เดนดวงบริพันธ

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถ.พญาไท วังใหม ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 02 218 5378 โทรสาร 0 2218 5386 E-Mail: [email protected]

13. ดร.ภัทรดร ภิญโญพิชญ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถ.พญาไท วังใหม ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร.02-218-7536 โทรสาร 02-218-7533 E-Mail: [email protected]

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 14. รศ.ดร.สุรินทร ปยะโชคสกุล

ภาควิชาพันธุศาสตร คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-562-5555 ตอ 4214 โทรสาร 02-579-5528 E-Mail: [email protected]

15. รศ.ดร.สมศักดิ์ อภิสิทธิวาณิช คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาพันธุศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ถ.พหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-942-8716-7 โทรสาร 02-579-5528 E-Mail: [email protected]

16. ดร.สมพิศ สามิภักดิ์ ภาควิชาพันธุศาสตร คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ถ.พหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-562-5444 ตอ 4211 โทรสาร 02-579-5528

17. ดร.ชัชวาล จันทราสุริยาวัฒน ภาควิชาพันธุศาสตร คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ถพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร.02-562-5444 ตอ 4211 โทรสาร 02-579-5528

18. นายวีระพันธุ ศรีดอกจันทร วิชาพืชไรนา คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 E-Mail: [email protected]

19. นางสาวอรอุมา ตนะดุล ภาควิชาพืชไรนา คณะเกษตร วิชาพืชไรนา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 E-Mail: [email protected]

20. นางสาวสุกัลยา ศิริฟองนุกูล วิชาพืชไรนา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 02-579-0113 ตอ 3697 โทรสาร 034-351-980

Page 33: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

32

21. นางสาวนุชจรี ทัดเศษ คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 02-579-0113 ตอ 3697 โทรสาร 034-351-980

22. นางสาวประกาย มานํา

คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 02-579-0113 ตอ 3697 โทรสาร 034-351-980

23. นางสาวกษมา ชูสังข

ศูนยเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 02-579-0113 ตอ 3699 โทรสาร 034-351-980

24. นางสาวปยนุช ศรชัย

คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 02-579-0113 ตอ 3699 โทรสาร 034-351-980

มหาวิทยาลัยมหิดล 25. ดร.ธัญญารัตน พงศทรางกูร

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 97 ถ.พระราม 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-201-5316 โทรสาร 02-354-7160 E-Mail: [email protected]

มหาวิทยาลัยขอนแกน 26. ดร.สุมนทิพย บุนนาค

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน อ.เมือง จ.ขอนแกน 40002 โทร.043-342-908 โทรสาร 043-364-169 E-Mail: [email protected]

27. ดร.ยุพา หาญบุญทรง

ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากร มหาวิทยาลัยขอนแกน อ.เมือง จ.ขอนแกน 40002 โทร. 085-008-7300 โทรสาร 043-203-435 E-Mail: [email protected]

มหาวิทยาลัยเชียงใหม 28. ดร.สมบูรณ อนันตลาโภชัย

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม อ.เมือง จ.เชียงใหม 50202 โทร. 053-892-259 โทรสาร 053-892-259 E-Mail: [email protected]

มหาวิทยาลัยแมโจ 29. ดร.ชอทิพา สกูลสิงหาโรจน

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม 50202 โทร. 053-873-535-7 ตอ 111 โทรสาร 053-878-225 E-Mail: [email protected]

Page 34: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

33

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

30. ดร.ปทมา ศิริธัญญา สถาบันวิจัยฯ ลําปาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา จ.ลําปาง โทร. 054-342-553 โทรสาร 054-342-550 E-Mail: [email protected]

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจ าคุณทหารลาดกระบัง 31. ผศ.ดร.สุธิจิต ศรีวัชรกุล

ภาควิชาชีววิทยประยุกต คณะวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 โทร. 02-737-3000 ตอ 6262 โทรสาร 02-326-4414 E-Mail: [email protected]

ภาคเอกชน 32. นายสุบิน หินจันทร

บริษัท เอสซีจีเปเปอร จํากัด (มหาชน) 19 ถ.แสงชูโต ต.ทาผา อ.บานโปง จ.ราชบุรี 70110 โทร. 081-736-4594 E-Mail: [email protected]

ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 33. ดร.สมวงษ ตระกูลรุง

Genome Institute ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 025646700 ตอ 3246 โทรสาร 0 2564 6701 E-Mail: [email protected]

34. ดร.อรประไพ คชนันทน หนวยปฏิบัติการวิจัยกลางไบโอเทค ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธาน ี12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701 E-Mail: [email protected]

35. ดร.ธราธร ทีรามฐิติ หนวยปฏิบัติการวิจัยกลางไบโอเทค ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701

36. ดร.มาลินี สุขแสงพนมรุง

หนวยปฏิบัติการวิจัยกลางไบโอเทค ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701

37. ดร.ชนิกุล ชูตระกูร

หนวยปฏิบัติการวิจัยกลางไบโอเทค ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701

38. ดร.ยินดี ชาญวิวัฒนา หนวยปฏิบัติการวิจัยกลางไบโอเทค ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701

Page 35: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

34

39. นางสาวน้ําทิพย พิรณฤทธิ์ หนวยวิจัยพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน 1 หมู 6 ถ.มาลัยแมน ต.กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 02-579-0113 ตอ 3700 โทรสาร 034 351908

40. นางสาวอัญจนา บุญชด หนวยวิจัยพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน 1 หมู 6 ถ.มาลัยแมน ต.กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 02-579-0113 ตอ 3700 โทรสาร 034 351908

ฝายเลขานุการ 41. นางศิริพร วัฒนศรีรังกุล

ฝายสนับสนุนการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701 E-Mail: [email protected]

42. นางสาวธนพร กล่ินเกสร ฝายสนับสนุนการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701 E-Mail: [email protected]

43. นางสาววัชริน มีรอด สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ อาคาร สวทช. ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-644-8150 ตอ 520 โทรสาร 02-644-8109 E-Mail: [email protected]

44. นางสาวสุริสา รีเจริญ สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยชีีวภาพแหงชาติ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ อาคาร สวทช. ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-644-8150 ตอ 520 โทรสาร 02-644-8109 E-Mail: [email protected]

45. นางสาวดวงกมล ประสิทธิ์นราพันธุ

สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ อาคาร สวทช. ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-644-8150 ตอ 520 โทรสาร 02-644-8109 E-Mail: [email protected]

46. นางสาวชาลินี คงสวัสดิ์

โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 02-564-6700 ตอ 3318 โทรสาร 02-564-6703 E-Mail: [email protected]

Page 36: แผนปฏิบัติการเพื่อการวิจัยพันธุวิศวกรรมพืช

35

47. นายสาธิน คุณะวเสน โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 02-564-6700 ตอ 3374 โทรสาร 02-564-6703 E-Mail: [email protected]

48. นางสาวจินตนา จันทรเจริญฤทธิ์

โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 02-564-6700 ตอ 3372 โทรสาร 02-564-6703 E-Mail: [email protected]

49. นางสาวสรัญญา จินตประยูร โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร. 02-564-6700 ตอ 3316 โทรสาร 02-564-6703 E-Mail: [email protected]