บทความเรื่องศาลรัฐธรรมนูญ

5
ศาลรัฐธรรมนูญ กฎหมายและความยุติธรรม รองศาสตราจารย ดร. ภูริชญา วัฒนรุคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ แตการปกครองประเทศหรือ การบริหารประเทศจะเดินหนาเพื่อพัฒนาประเทศ หรือบริหารประเทศใหเกิดความตอเนื่อง สิ่ง สําคัญก็คือ ตัวบทกฎหมายรัฐธรรมนูญที่จะเขียนใหดีหรือเขียนแลวไมดีเปนอุปสรรคตอการ บริหารหรือการปกครองอยางไร รัฐธรรมนูญของประเทศไทย 18 ฉบับ แยกเปนรัฐธรรมนูญเผด็จการ 6 ฉบับ รัฐธรรมนูญแบบรัฐสภา 11 ฉบับ และฉบับแรกเปนรัฐธรรมนูญรัฐบาลภายใตรัฐสภา มีตัวอยาง 6 ฉบับที่เปนฉบับเผด็จการ เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2502 (มาตรา 17), 2515, 2519, 2520, 2534 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 (มาตรา 36 และมาตรา 37 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งเปนมาตราทีเปนเผด็จการ มีสาระสําคัญสรุปโดยดูแผนภูมิทายบทความ) ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญหลังรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 และมาตรา 36 และมาตรา 37 ก็นํามาเขียนใสไวในมาตรา 309 ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 จึงเห็นวาเปนรัฐธรรมนูญที่มีที่มาจาก คมช. (เผด็จการ) และไมใช Good Law ศาล ตองอํานวยความยุติธรรมทุกศาล หากจะเรียกตัวเองเปนศาล ลอรดเดนนิ่ง (LOARD DENNING) และจอหน โรลส (JOHN RAWLS) อธิบาย ความหมายของ ความยุติธรรม วาคือ สิ่งที่ผูมีเหตุมีผล และมีความรับผิดชอบในสังคม ถือวาเปน สิ่งที่ชอบธรรม และบุคคลที่มีเหตุผลนั้นตอง เปนคนกลางไมมีสวนไดเสียในเรื่องที่วินิจฉัย หัวใจของศาล คือ ตองอํานวยความยุติธรรม มีหนาที่ที่จะตองประสิทธิประสาทความ ยุติธรรม ไมใชใชศาลเพื่อพิฆาต หรือลมลางอีกฝายหนึ่ง หากการทํางานเปนเครื่องมือทาง การเมืองของอีกฝายหนึ่ง ศาลทําตัวเปนปฏิปกษกับประชาชน หายนะจะเกิดขึ้นกับบานเมือง การใชกฎหมายเปนเครื่องมือประหัตประหาร ขจัดศัตรูฝายตรงกันขามโดยไมคํานึงถึง หลักความเปนธรรมหรือความยุติธรรมใหกับอีกฝาย จะเกิดการไมยอมรับในคําตัดสินดังกลาว

Transcript of บทความเรื่องศาลรัฐธรรมนูญ

Page 1: บทความเรื่องศาลรัฐธรรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญ กฎหมายและความยุติธรรม

รองศาสตราจารย ดร. ภูริชญา วัฒนรุงคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ แตการปกครองประเทศหรือการบริหารประเทศจะเดินหนาเพื่อพัฒนาประเทศ หรือบริหารประเทศใหเกิดความตอเนื่อง สิ่งสําคัญก็คือ ตัวบทกฎหมายรัฐธรรมนูญที่จะเขียนใหดีหรือเขียนแลวไมดีเปนอุปสรรคตอการบริหารหรือการปกครองอยางไร

รัฐธรรมนูญของประเทศไทย 18 ฉบับ แยกเปนรัฐธรรมนูญเผด็จการ 6 ฉบับ รัฐธรรมนูญแบบรัฐสภา 11 ฉบับ และฉบับแรกเปนรัฐธรรมนูญรัฐบาลภายใตรัฐสภา

มีตัวอยาง 6 ฉบับที่ เปนฉบับเผด็จการ เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2502 (มาตรา 17), 2515, 2519, 2520, 2534 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 (มาตรา 36 และมาตรา 37 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งเปนมาตราที่เปนเผด็จการ มีสาระสําคัญสรุปโดยดูแผนภูมิทายบทความ) ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญหลังรัฐประหาร 19 กันยายน 2549

และมาตรา 36 และมาตรา 37 ก็นํามาเขียนใสไวในมาตรา 309 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 จึงเห็นวาเปนรัฐธรรมนูญที่มีที่มาจาก คมช. (เผด็จการ) และไมใชGood Law

ศาล ตองอํานวยความยุติธรรมทุกศาล หากจะเรียกตัวเองเปนศาลลอรดเดนนิ่ง (LOARD DENNING) และจอหน โรลส (JOHN RAWLS) อธิบาย

ความหมายของ ความยุติธรรม วาคือ สิ่งที่ผูมีเหตุมีผล และมีความรับผิดชอบในสังคม ถือวาเปนสิ่งที่ชอบธรรม และบุคคลที่มีเหตุผลนั้นตอง “เปนคนกลาง” ไมมีสวนไดเสียในเรื่องที่วินิจฉัย

หัวใจของศาล คือ ตองอํานวยความยุติธรรม มีหนาที่ที่จะตองประสิทธิประสาทความยุติธรรม ไมใชใชศาลเพื่อพิฆาต หรือลมลางอีกฝายหนึ่ง หากการทํางานเปนเครื่องมือทางการเมืองของอีกฝายหนึ่ง ศาลทําตัวเปนปฏิปกษกับประชาชน หายนะจะเกิดขึ้นกับบานเมือง

การใชกฎหมายเปนเครื่องมือประหัตประหาร ขจัดศัตรูฝายตรงกันขามโดยไมคํานึงถึงหลักความเปนธรรมหรือความยุติธรรมใหกับอีกฝาย จะเกิดการไมยอมรับในคําตัดสินดังกลาว

Page 2: บทความเรื่องศาลรัฐธรรมนูญ

http://www.archanpoo.net 1 ธันวาคม 2551

2

เมื่อไมยอมรับคําตัดสิน ความวุนวายจะเกิดขึ้นในสังคมศาลรัฐธรรมนูญเอง ไมมีสิทธิที่จะสรางความวุนวายใหกับสังคม โดยการใชกฎหมาย

อยางไมเปนธรรม อยางมีอคติ เพราะอคติ คือ ไปในที่ไมควรไป ไปในที่ในทิศทางที่ไมถูกตอง (โปรดดูพระราชดํารัสในโอกาสที่ประธานศาลปกครองชั้นตนเฝาฯ วันศุกรที่ 23 สิงหาคม 2545)

พรรคการเมืองเปนเรื่องของประชาชนไมใชกฎหมาย ดังนั้น มันผิดมาตั้งแตตนที่เขียนเรื่องการยุบพรรคไวในกฎหมาย

พรรคการเมืองเปนเรื่องของประชาชน จึงไมใชเรื่องจะยุบหรือไมยุบ ตัวอยางพรรคเกา ๆ เชน พรรคสหชีพ เมื่อประชาชนไมเอาพรรคก็ถูกยุบไปเองอยูแลว

การเรงปดคดีโดยไมใหโอกาสอยางเพียงพอแกคูกรณีในการชี้แจงแสดงเหตุผลขัดตอหลักสิทธิปองกันตนเองของฝรั่งเศส (Droit de la dé fense) หลักการฟงความทุกฝายของอังกฤษ (Hear Both Parties) หลัก Audi Altarem Patem ซึ่งหลักเหลานี้เปนหลักสากล เปนหลักกฎหมายของโลก

หลักการใหโอกาสอยางพอเพียงเปนการใหโอกาสชี้แจงแสดงเหตุผล และตองใหเวลาอยางพอเพียง ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญในการตัดสินคดียุบพรรคครั้งนี้ ไมใชหลักการขางตนนี้

หากจะอางวาหลักนี้เอาไวใชในกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ซึ่งใชกับฝายปกครอง ก็คงจะคิดผิดเพราะระดับศาลยิ่งตองใชหลักกฎหมายที่สูงกวากฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง คือ หลักความยุติธรรม ซึ่งเปนความเปนธรรมที่มีอยูในธรรมชาติ และเปนหลักสากล

หลักความยุติธรรม หรือหลักความเปนกลางปราศจากสวนไดเสียศาลรัฐธรรมนูญเองมีบุคคลที่มีสวนไดเสียนั่งพิจารณาอยางเห็นชัดเจน เชน นายจรัญ

ภักดีธนากุล เปน สสร. ผูรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และมานั่งเปนผูใชรัฐธรรมนูญ อีกทั้งแนวทางการแสดงออกทางการเมืองของนายจรัญ เปนบุคคลที่ตอตานทางการเมืองของอีกฝายหนึ่งมาโดยตลอด จึงเปนบุคคลที่ไมมีความเปนกลาง และไมสามารถนั่งพิจารณาคดีได เพราะเปนผูมีสวนไดเสีย

ถามวาหากศาลรัฐธรรมนูญตัดสินแลวผลจะเปนอยางไรผลเปนโมฆะใชไมได เพราะขัดตอหลักความยุติธรรม และประชาชนอาจลุกฮือมา

ตอตานไมยอมรับทั้งประเทศ

Page 3: บทความเรื่องศาลรัฐธรรมนูญ

http://www.archanpoo.net 1 ธันวาคม 2551

3

ทานพุทธทาส กลาวไววา “ทําผิด ทําใหถูก ผิดแกใหม แกใหถูก”กฎหมายไมดี ตองแกใหดี เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 309ยกเลิกอีกครั้งเถอะ องคกรศาลรัฐธรรมนูญ เมื่อไมมีความเปนธรรมองคกรนี้ก็ไมควรมีเพราะฉะนั้น ศาลรัฐธรรมนูญ ตองคนใหพบความสมดุลที่เปนธรรม ซึ่งเปนความจริงที่

อยูเหนือขอพิพาทขัดแยงนั้นใหได มิฉะนั้นจะเกิดความวุนวายตอสังคมประเทศไทยประเทศไทยออนแอ ขาดความรู ขาดภูมิปญญา ขาดความกลาหาญประเทศไทยอวิชชาดังนั้น สิ่งที่ฝากไวเปนขอพิจารณาสําหรับผูประกอบวิชาชีพนักกฎหมาย โดยเฉพาะ

ศาลรัฐธรรมนูญ คือ คําขวัญของศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ ที่ไดกลาวไววา “นักนิติศาสตรที่ดีนั้น ไมจําเพาะแตจะรูกฎหมายดีเทานั้น แตควรตองรูถึงสภาพสังคม

และสภาพเศรษฐกิจแหงทองถิ่นเปนอยางดีดวย แตความรูที่จําเปนที่สุดยิ่งกวาสิ่งใด ๆ คือ ตองรูจักผิดชอบชั่วดี อะไรถูกอะไรผิด อะไรยุติธรรม อะไรไมยุติธรรม”

*****************ภาคผนวก

พระราชดํารัสในโอกาสที่ประธานศาลปกครองสูงสุด (นายอักขราทร จุฬารัตน) นําตุลาการศาลปกครองชั้นตน เฝาฯ เพื่อถวายสัตยปฏิญาณกอนเขารับหนาที่ ณ พระตําหนักเปยมสุข วังไกลกังวล วันศุกรที่ 23 สิงหาคม 2545

ตามที่ทานไดเปลงวาจาพยายามที่จะปฏิบัติงานโดยดี ก็เปนเหมือนของตุลาการทุกฝาย แตวาสําหรับศาลปกครองนี้ มีความสําคัญเปนพิเศษ เพราะวาการปกครองนี้ จะตองทําโดยดีและดวยความฉลาด

สมัยนี้เปนเวลาที่ทางการ หรือทางราชการพยายามที่จะปฏิรูปการปกครอง ปฏิรูปการปกครองนั้นก็หมายความวา เปลี่ยนแปลง ดัดแปลงวิธีปกครองใหดีขึ้น ทําใหประชาชนไดรับความผาสุกยุติธรรมมากขึ้น ฉะนั้น หนาที่ของตุลาการชุดนี้มียิ่งกวาตุลาการอื่น ๆ จะตองพยายามพิจารณาตามคําปฏิญาณวา จะปฏิบัติโดยปราศจาก “อคติ” ซึ่งเปนสิ่งที่ยากที่สุด เพราะวา “อคติ” แปลวา ไปในที่ที่ไมควรไป หมายความวา คิดหรือปฏิบัติอะไรที่ไมควรปฏิบัติ ใหเวน อะไรที่ควรปฏิบัติ ใหปฏิบัติ ซึ่งแตละคนไดเรียนรู และมีประสบการณ แตวาตอไปนี้หนาที่ตองทํายิ่งกวาที่ไดเรียน จะตองบุกเบิกตอไป ฉะนั้น ถาไมไดสามารถที่จะพิจารณาวาอะไรควร อะไรไมควร กจ็ะทําใหการปฏิบัตินั้นไมถูกตองได ไปทางที่ไมถูกได คือไปมี “อคติ” นั่นเอง

Page 4: บทความเรื่องศาลรัฐธรรมนูญ

http://www.archanpoo.net 1 ธันวาคม 2551

4

คําวา “อคติ” นี่อธิบายเชนนี้ แตวาแตละคนจะตองพิจารณาเอง เพราะวาไมมีตํารา ฉะนั้น ก็ขอใหทานพยายามปฏิบัติงานโดยปราศจาก “อคติ” จริง ๆ ดวยความฉลาดและดวยความซื่อสัตยสุจริต ถาทําไดการปกครองในประเทศก็จะบรรลุผลโดยดี เมื่อบรรลุผลโดยดีแลวประเทศชาติก็เจริญรุงเรือง ประชาชนมีความสุข ประชาชนก็จะมีความสงบ ฉะนั้น ก็ขอใหทานไปพิจารณางานของทานใหดี และพยายามที่จะทําใหสุดกําลังกาย กําลังความรู ทานก็อาจจะนึกวา ทานจํานวน 20 คน จะไปทําใหการปกครองเรียบรอยดีไดอยางไร ได อยางนอยในสวนของทาน และคนอื่นเห็นวาทํา คนอื่นเห็นวาทานไดปฏิบัติดวยความเสียสละ ดวยความกลาหาญ ดวยความฉลาด ก็จะเอาอยาง และถาคนอื่นเอาอยาง ก็หมายความวา คนมากขึ้น ทั้งตุลาการ ทั้งไมใชตุลาการ ก็จะสามารถที่จะมีกําลังใจปฏิบัติงานการของตน

ขอใหทานไดปฏิบัติงานดวยความตั้งใจ มีความฉลาด มีความกลา และมีความสําเร็จในการปฏิบัติงานนั้น ขอใหทานมีกําลังกายกําลังใจสมบูรณ เพื่อที่จะปฏิบัติงานที่สําคัญของทาน

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 มาตรา 36

ประกาศและคําสั่งของคณะปฏิรูปฯ

นิติบัญญัติ

คําสั่งของ หน. กปค. บริหาร ไมวาจะในรูปแบบใด

ที่ไดประกาศหรือสั่งในระหวางวันที่ 19 ก.ย. 49 ถึงวันประกาศใชรัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว)

ตุลาการ

ผลทางกฎหมาย ที่ ม. 36 กําหนด

ใหมีผลใชบังคับตอไป ใหถือวา : ชอบดวยกฎหมาย และชอบดวยรัฐธรรมนูญ

ประกาศ หรือ คําสั่ง การทํากอนการปฏิบัติตามประกาศหรือคําสั่ง กระทําหลัง

ในทาง

ประกาศใช รธน.

Page 5: บทความเรื่องศาลรัฐธรรมนูญ

http://www.archanpoo.net 1 ธันวาคม 2551

5

ตัวอยางรัฐธรรมนูญเผด็จการรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 มาตรา 37

สาระสําคัญ บุคคลที่ไดรับการคุมครอง การกระทําที่ไดรับการคุมครอง

การกระทําซึ่งไดกระทําเนื่องในการยึดและควบคุมอํานาจการปกครองแผนดิน เมื่อวันที่ 19 ก.ย. 2549

- หัวหนา คปค.- คปค.- บุคคลที่เกี่ยวเนื่องฯ- ผูซึ่งไดรับมอบหมาย- ผูซึ่งไดรับคําสั่งจากผูไดรับ

มอบหมาย

- นิติบัญญัติ- บริหาร- ตุลาการ- การลงโทษ- การบริหารราชการ

สถานะของผูกระทํา

- ตัวการ- ผูสนับสนุน- ผูใชใหกระทํา- ผูถูกใชใหกระทํา

ของ

หากการกระทํานัน้ผิดกฎหมาย

บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญฯ

มาตรา 37

ใหผูกระทําพนจาก “ความผิด”

= ทางอาญา

ใหผูกระทําพนจาก “ความรับผิด”

= ความรับผิดในมูลละเมิด ทางแพง ละเมิดทางปกครอง