การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

15
1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต การเคลื่อนไหว เปนการเคลื่อนยายเพียงบางสวนของ รางกาย การเคลื่อนทีเปนการเคลื่อนยายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง * การเคลื่อนที่จะตองมีการเคลื่อนไหวดวยเสมอ แตการเคลื่อนไหว ไมจําเปนตองมีการเคลื่อนที่ดวย โครงรางสัตว (animal skeleton) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. Hydroskeleton or hydrostatic skeleton 2. Hard skeleton 2.1 Exoskeleton 2.2 Endoskeleton การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม อมีบา(amoeba) การเคลื่อนไหวของอมีบา การเคลื่อนไหวอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม โดยแบงเปน 2 สวน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm(เหลว) Actin และ Miosin ประกอบกันเปน microfilament( เปนเสนใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและคลายตัวได ทําใหเกิดการไหล ของไซโทพลาสซึม ทําใหเกิดเทาเทียม(pseudopodium) การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoebiod movement) ไดแก อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก ในเซลลอมีบา การยื่น pseudopodium ออกไปเกิดจากการ ยืดและหดตัวของ actin filaments
  • date post

    02-Nov-2014
  • Category

    Technology

  • view

    33
  • download

    4

description

 

Transcript of การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

Page 1: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

1

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

การเคลื่อนไหว เปนการเคลื่อนยายเพียงบางสวนของรางกายการเคลื่อนที่ เปนการเคลื่อนยายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง

* การเคลื่อนที่จะตองมีการเคลื่อนไหวดวยเสมอ แตการเคลื่อนไหวไมจําเปนตองมีการเคลื่อนที่ดวย

โครงรางสัตว(animal skeleton) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ1. Hydroskeleton or hydrostatic skeleton2. Hard skeleton

2.1 Exoskeleton2.2 Endoskeleton

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวการเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม

อมีบา(amoeba)

การเคลื่อนไหวของอมีบา

การเคลื่อนไหวอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม โดยแบงเปน 2 สวน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm(เหลว)Actin และ Miosin ประกอบกันเปน microfilament(เปนเสนใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและคลายตัวได ทําใหเกิดการไหลของไซโทพลาสซึมทําใหเกิดเทาเทียม(pseudopodium)การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoebiod movement)ไดแก อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก

ในเซลลอมีบา การยื่น pseudopodium ออกไปเกิดจากการยืดและหดตัวของ actin filaments

Page 2: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

2

การเคลื่อนไหวโดยการใชแฟลกเจลลัม หรือซิเลียแฟลกเจลลัม(flagellum)

Euglena

ซิเลีย(cilia) A comparison of the beating of flagella and cilia

Microtubules เปนแกนของ flagellum และ cilia

Page 3: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

3

Centrosome containing a pair of centrioles

ตีลังกาเคลือบคลานเหมือนหนอนลอยไปตามน้ํา

การเคลื่อนที่ของไฮดรา(Hydra)

planaria การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย(planaria)

Phylum platyhelminthesมีกลามเนื้อ 3 ชนิด คือ circular muscle ,longitudinal muscle,oblique muscleเคลื่อนที่ไปโดยการลอยไปตามผิวน้ําหรือคลืบคลาน ทางดานลางมีซิเลียชวยในการโบกพัดชวยใหเคลื่อนตัวไดดียิ่งขึ้น

Page 4: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

4

การเคลื่อนที่ของหนอนตัวกลม(round worm)Phylum nematoda ไดแก พยาธิไสเดือน พยาธิปากขอ พยาธิเสนดาย หนอนน้ําสมสายชูมีเฉพาะกลามเนื้อตามยาวของลําตัว(longitudinal muscle)การเคลื่อนที่ทําใหเกิดลักษณะสายไปสายมา

การเคลื่อนทีข่องไสเดือน(earth worm)

การเคลื่อนที่ของไสเดือน(earth worm)

- Phylum annelida

- กลามเนื้อ 2 ชุดคือ กลามเนื้อวงกลม(circular muscle) อยูทางดานนอก และกลามเนื้อตามยาว(longitudinal muscle) ตลอดลําตัวอยูทางดานใน

- เดือย(setae)

การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน(jelly fish)

Phylum coelenterataเคล่ือนที่โดยการหดตัวของเนื้อเย่ือที่อยูบริเวณของรมและผนังลําตัวทาํใหน้ําพนออกมาทางดานลาง

Page 5: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

5

การเคลื่อนที่ของหมึก(squid) การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)

การเคลื่อนที่ของดาวทะเล(sea star)

Exoskeleton-พบในพวก mollusk และแมลง-เปนโครงรางเปลือกแข็งหุมอยูภายนอกรางกาย โดยสวนประกอบของเปลือกเปนพวก crystallized mineral salt และไมมีเซลล (acellular) เชน แคลเซียมคารบอเนตใน mollusk, chitin ในแมลง-exoskeleton นอกจากจะทาํหนาทีคํ้่าจุนรางกายแลว ยังชวยปองกันการสูญเสียน้ํา-การเคลื่อนไหวเกิดขึ้นโดยการหด-คลายตัวของกลามเนื้อที่ยึดติดกับ exoskeleton

Page 6: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

6

-กลามเนื้อที่ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวมี 2 ชดุ คือ1. Flexors ทําใหเกิดการโคงงอของขอตอเม่ือหดตัว2. Extensors ทําใหเกิดการยดืตัวของขอตอเม่ือหดตัว

-กลามเนื้อทั้งสองชุดนี้จะทํางานตรงขามกัน เม่ือกลามเนื้อชนิดหนึ่งหดตัว อีกชนดิหนึ่งจะคลายตวั (antagonism)

การเคลื่อนทีข่องแมลง

insect

Exoskeleton เปนสารพวกไคตินขอตอขอแรกของขากับลําตัว แบบ ball and socket สวนขอตออ่ืนๆเปนแบบบานพับการเคลื่อนไหวเกิดจาการทํางานสลับกนัของกลามเนื้อ flexer กับ extensor เปนแบบ antagonism

Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments

Flexor = งอExtensor = คลาย

Page 7: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

7

การเคล่ือนที่ของปลา มีรูปรางแบนเพรียวบาง และเมือก มีเกล็ด ชวยลดแรงเสียดทานเมื่อกลามเนื้อท่ียึดติดกับกระดูกสันหลังดานใดดานหนึ่งหดตัว(เร่ิมจากสวนหัวมาทางหาง)ทําใหเกิดการโบกพัดของครีบหาง(cadal fin) ดันใหตัวพุงไปขางหนาโดยมีครีบหลัง(drosalfin) ชวยในการทรงตัวไมใหเสียทิศทางเมื่อกลามเนื้อท่ียึดติดกระดูกสันหลังดานหนึ่งหดตัว(เร่ิมจากสวนหัวมาทางสวนหาง)ครีบอก(pectoral fin) และครีบตะโพก (pelvicfin) ซ่ึงเทียบไดกับขาหนาและขาหลังของสัตวบก จะทําหนาที่ชวยพยุงลําตัวปลา และชวยใหเกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

การเคล่ือนที่ของเตาทะเล แมวน้ํา และสิงโตทะเล

มีขาคูหนาที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเปนพาย ท่ีเรียกวา ฟลิบเปอร(flipper)

Page 8: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

8

การเคล่ือนที่ของสัตวปก การเคลื่อนที่ของนกมีกระดูกที่กลวง ทําใหเบามีกลามเนื้อท่ีใชในการขยับปกที่แข็งแรง- กลามเนื้อ pectoralis major- กลามเนื้อ pectoralis minorมีถุงลม (air sac)มีขน (feather)

ถุงลม (air sac)Endoskeleton

-พบในสัตวมีกระดูกสันหลังทุกชนิด -เปนโครงรางแข็งท่ีแทรกตัวอยูในเนือ้เยือ่ (soft tissues) หรือภายในรางกาย -endoskeleton ประกอบดวย living and metabolizing cells (ตางจาก exoskeleton) แบงเปน1. cartilage เปนสวนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide2. bone ประกอบดวย collagen ปนอยูกับ apatite (calcium and phosphate salt)

-นักกายวิภาคศาสตรแบงกระดูกออกเปน 2 สวน1. Axial skeleton: กระดกูกะโหลก (skull), กระดูกสันหลัง (vertebral column), กระดูกซี่โครง (rib)

2. Appendicular skeleton: เปนกระดูกที่ตอออกมาจาก axial skeleton แบงเปน2.1 Fore-limb bone (กระดูกแขน) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pectoral

girdle (clavicle, scapula)2.2 Hind-limb bone (กระดูกขา) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pelvic girdle

(ilium, sacrum, pubis, ischium)

โครงสรางของกระดูก

การจําแนกชนิดกระดูก1. กระดูกแทงยาว (long bone) ไดแก ตนแขน,ปลาย

แขน,ตนขา,หนาแขง,กระดูกนอง,ไหปลารา2. กระดูกแทงส้ัน (short bone) ไดแก ขอมือ,ขอเทา3. กระดูกแบน (flat bone) ไดแก กะโหลก,เชิงกราน,

สะบัก,อก,ซ่ีโครง4. กระดูกรูปรางไมแนนอน (irregular bone) ไดแก

สันหลัง,แกม,ขากรรไกร

(pectoral girdle)

iliumsacrum

pubisischium

สีน้ําเงิน คือ กระดูกแกน 80 ช้ิน

สีเหลือง คือ กระดูกรยางค 126 ช้ิน

Page 9: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

9

ขอตอ (articulation หรือ Joint)

-ขอตอ: เปนบรเิวณที่กระดูกมาตอกับ กระดูก ม ีsynovial memebranes มาหุมบรเิวณขอตอ เพ่ือปองกันการ เสยีดสรีะหวางกระดูก จะมีกระดูก ออนมาทําหนาท่ีเปนหมอนรอง และ มี synovial fluid ทําหนาท่ีเปนสาร หลอลื่น-Ligament: เปนเอ็นที่ยึดระหวาง กระดูกกับกระดูก-Tendon: เปนเอ็นทีย่ึดระหวาง กลามเนื้อกับกระดูก

ชนิดขอตอ1. ขอตอไฟบรัส (fibrous joint) เปนขอตอท่ีเคลื่อนไหว

ไมไดและมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบางๆ ยึดกระดูกสองชิ้นไว หรืออาจหุมภายนอกไว เชน กระดูกกะโหลกศรีษะ

2. ขอตอกระดูกออน (cartilagenous joint) เปนขอตอท่ีเคลื่อนไหวไดเล็กนอย เชนขอตอระหวางกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก ขอตอระหวางทอนกระดูกสันหลัง ขอตอระหวางกระดูกเชิงกรานซีกซายกับซีกขวาทางดานหัวหนาว

3. ขอตอซิลโนเวียล (sylnovial joint) เปนขอตอท่ีเคลื่อนไหวไดมาก ประกอบดวยกระดูกอยางนอย 2 ช้ิน

ขอตอซิลโนเวียล (sylnovial joint) แบบตางๆ

แบบที่ 1 พบที่ใดของรางกาย..........แบบที่ 2 พบที่ใดของรางกาย..........แบบที่ 3 พบที่ใดของรางกาย..........

1

3

2

The skeleton-muscle connection

-การเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ของ รางกายเกิดจากการทํางานรวมกัน ของ nerves, bones, muscles-การหด-คลายตัวของกลามเนื้อ เปนการทํางานรวมกันของ กลามเนื้อ 2 ชุด ท่ีทํางานตรงขาม กัน เชน การงอแขน :กลามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เปน agonist):กลามเนื้อ triceps(extensor) คลายตัว (เปน antagonist)

Page 10: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

10

The power arm-load arm concept

-ในการเคลื่อนของกระดกู จะมีกระดูกทอนหนึ่ง ทําหนาท่ีเปนจุดหมุน (falcum)-ความเร็วในการเคลื่อนที ่หรือความสามารถใน การรองรับนํ้าหนักของกระดูกข้ึนอยูกับ อัตราสวนของ power arm ตอ load arm-power arm: ระยะทางระหวางจุดท่ีกลามเนื้อยึด กับกระดูกถึงจุดหมุน-load arm: ระยะทางระหวางจุดหมุนถึงบริเวณที่ ใชในการเคลือ่นไหว เชน เทา หรอืมือ-ถาอัตราสวน power arm/load arm ต่ํา เชน ใน เสอืชีตา กระดูกจะเคลือ่นที่ไดเร็ว-ถาอัตราสวน power arm/load arm สูง เชน ในตัว badger กระดูกจะรับนํ้าหนักไดมาก

Origin and insertion

-ท่ีปลายทั้งสองขางของกลามเนื้อ แตละมัดจะยึดติดกับกระดูก โดย ดานที่ยึดติดกับกระดูกเฉย ๆ (ติดกับกระดูกที่ไมเคลื่อนที่)

เรยีก origin สวนปลายทีย่ึดกับ กระดูกที่มีการเคลือ่นไหว เรียก insertion

-Tendon ท่ี origin มักจะกวาง ท่ี insertion มักจะแคบ เพ่ือจํากัด

ความแรงในการหดตัวของ กลามเนื้อเกิดข้ึนเฉพาะจุด

กลามเนื้อ (Muscular tissue)กลามเนื้อทําหนาที่เก่ียวกับการเคลื่อนไหวของรางกาย ประกอบดวยเซลลที่มีลักษณะยาว อาจเรียกเซลลกลามเนื้อไดวา เสนใยกลามเนื้อ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเสนใยกลามเนื้อมีโปรตีนที่เปนองคประกอบที่สําคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin

กลามเนื้อแบงออกไดเปน 3 ชนิด

กลามเนื้อแบงออกไดเปน 3 ชนิด ข้ึนอยูกับตําแหนงที่พบ โครงสราง และหนาที่ ไดแก

1. กลามเนื้อเรียบ (smooth muscle)

2. กลามเนื้อสเกเลทัล (skeletal muscle)

3. กลามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)

สวนประกอบของเซลลกลามเน้ือจะมีชื่อเฉพาะแตกตางไปจากเซลลชนิดอ่ืนๆ ไดแก

Cell membrane ของเซลลกลามเน้ือ

= Sarcolemma

Cytoplasm = Sarcoplasm

Endoplasmic reticulum

= Sarcoplasmic reticulum

Page 11: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

11

กลามเนื้อสเกเลทัล (Skeletal muscle)

กลามเนื้อในรางกายสวนใหญเปนกลามเนื้อสเกเลทัล กลามเนื้อนี้เกาะยึดติดกับกระดูก สามารถหดตัวไดเมื่อถูกกระตุน และอยูภายใตการควบคุมของระบบประสาทสวนกลาง (voluntory muscle)

ลักษณะของเซลลกลามเนื้อเปนรูปทรงกระบอก ซึ่งมีความยาวมาก เซลลมีขนาดใหญมีหลายนิวเคลียสเรยีงชิดอยูกับเยื่อหุมเซลล มลีายตามขวางคือ มีแถบสีจางสลับกับแถบสีเขม ดังน้ันอาจเรียกกลามเนื้อชนิดน้ีไดวา กลามเนื้อลาย (striated muscle)

Skeletal muscle

Nucleus ของ muscle fiber

Muscle fiber

ภาพตัดตามขวางของ skeletal muscle

Nucleus เรียงชิดอยูกับ sarcolemma

Sarcolemma(เยื่อหุมเซลล)

การเรียงตัวประกอบกันเปนมัดกลามเนื้อ skeleton มีเยื่อเกี่ยวพันหุมเปนข้ันตอน และทั้งมัดกลามเนื้อจะติดตอกับเอ็นซึ่งไปยดึติดกับกระดูก

การที่มองเห็นเซลลกลามเนื้อมีลายตามขวางเนื่องจาก ภายใน sarcoplasm มีเสนใยฝอยซึ่งเปนสวนประกอบที่สําคัญทําใหกลามเนื้อหดตัวไดเรียกวา myofibril เปนจํานวนมาก ใน myofibril มีโปรตีน actin และ myosin เรียงอยางเปนระเบียบ มองเห็นมีแถบ (band) หรือเสน (line) ที่ชัดและทึบสลับกันไปตลอด

Page 12: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

12

ใน Sarcoplasm นอกจากมีโปรตีนสําคัญที่เก่ียวของกับกลไกการหดตัวของกลามเนื้อแลว ยังมี Organelles ท่ีสาํคัญไดแก Sarcoplamic reticulum ซึ่งคือ SER ท่ีเปลีย่นไปเปนทอที่ตอเนื่องกัน ลอมรอบกลุมเสนใยของกลามเน้ือ ทําหนาท่ีเปนแหลงเก็บสะสม Ca2+

Sarcolemma มีโครงสรางท่ีพับซอนกันเปนหลอดบางและยาวตามแนวขวาง เรียกวา Transverse tubule เปนทางติดตอจากผิวภายนอกของเซลลเขาไปติดตอกับ Sarcoplamic reticulum

สานประกอบอื่นๆภายใน Sarcoplasm ไดแก RER , ribosome และ Golgi complex มีอยูเปนจํานวนนอย เพราะเซลลกลามเน้ือไมมีหนาท่ีเก่ียวกับการสรางโปรตนี

กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)กลามเนื้อหัวใจพบแหงเดียวคือกลามเนื้อที่หัวใจ และผนังของเสนเลือดใหญที่ตอกับหัวใจ เปนกลามเนื้อที่มีลายเชนเดียวกับ skeletal muscle ตางกันที่กลามเนื้อหัวใจอยูนอกการควบคุมของระบบประสาทสวนกลาง (Involuntory muscle) และการทํางานเกิดข้ึนติดตอกันตลอดเวลา

เซลลกลามเนื้อหัวใจประกอบดวย หนึง่หรือ สองนิวเคลียสอยูตรงกลางเซลล เซลลมีขนาดสั้นกวาเซลลกลามเนื้อ skeleton และปลายแยกเปนสองแฉก (bifurcate) ซึ่งจะไปตอกับเซลลอ่ืนๆในลักษณะเปนรางแห ที่รอยตอของเซลลดานขวางจะยึดติดกันแนน มีลักษณะการเชื่อมโยงอยางซับซอน เรียกวา intercalated disc มองเห็นไดชัดเจนดวยกลองจุลทรรศนธรรมดา

Cardiac muscle

Intercalated disc

Nucleus อยูกลางเซลล

กลามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)ในเซลลกลามเนือ้เรียบไมเห็นลาย ถึงแมวาภายในเซลลจะมีแอกทิน และ ไมโอซิน แตการเรียงตัวไมเปนระเบียบเหมือนอยางใน skeletal muscle และ Cardiac muscle ลักษณะเซลลของกลามเนือ้เรียบเปนรปูกระสวย หัวทายแหลม และมีหนึ่งนิวเคลียสอยูกลางเซลล

กลามเนื้อเรยีบอยูนอกการควบคุมของระบบประสาทสวนกลาง(involuntorymuscle) พบไดท่ีผนังของอวัยวะภายในระบบตางๆของรางกาย และเสนเลอืดnucleus

Page 13: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

13

Smooth muscleกลามเนื้อเรียบอยูนอกการควบคุมของระบบประสาทสวนกลาง

(involuntorymuscle) พบไดทีผ่นังของอวัยวะภายในระบบตางๆของรางกาย และเสนเลือด

Smooth muscle ที่ผนังเสนเลือดแดง

The structure of skeleton muscle

-skeleton muscle เกิดจากมัดของ muscle fiber(cell) มารวมกัน

-muscle fiberแตละอันคอื 1 เซลลท่ีมีหลาย นิวเคลยีส ท่ีเกิดจากหลาย ๆ เซลลในระยะแรก มารวมกัน-แตละ muscle fiber เกิดจากมัดของ myofibrils มารวมกัน-myofibrilsประกอบดวย myofilaments 2 ชนิด คือ 1.Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ regulatory protein (tropomyosin) 1 สาย มาพันกัน2.Thick filament เกิดจากmyosinมารวมกันเปนมัด-การจัดเรียงตัวของ myofilaments ทําใหเกิด light-dark band ซ้ําๆ กัน เรยีกแตละหนวยที่ซ้ํากันนี้วา sarcomere (ดังรูป)

การหดตวัของกลามเนื้อ skeleton

-การหดตัวของกลามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเขามาซอนกันของ thin filament เรยีก sliding-filament model

-การหดตัวของกลามเนื้อเกิดโดยความ กวางของ sarcomere ลดลง, ระยะทาง ระหวาง Z line สั้นลง, A band คงที่,I band แคบเขา, H zone หายไป

-พลังงานที่ใชในการหดตัวของ กลามเนื้อหลัก ๆ อยูในรูปของ creatine phosphate

Sliding-filament model

1.สวนหัวของ myosin จับกับ ATP, อยูในรูป low-energy configuration

2.myosin head(ATPase) สลาย ATP ได ADP+Pi, อยูในรูป high-energy configuration

3.myosin head เกิด cross-bridge กับสาย actin

4.ปลอย ADP+Pi, myosin กลับสู low-energy configuration ทําใหเกิดแรงดึง thin filament เขามา

5.ATPโมเลกุลใหมเขามาจับกับ myosin head ทําให myosinหลุดจาก actin, เร่ิมวงจรใหม

การควบคุมการหดตัวของกลามเนื้อ

-skeleton muscle หดตัวเมื่อไดรับการ กระตุนจาก motor neuron-ในระยะพัก บริเวณที่เปนตําแหนงท่ี myosin มาเขาจับ บนสาย actin (myosin binding site) ถูกปดดวยสายของ tropomyosin โดยการเปด-ปดของ tropomyosin ถูกควบคุมดวย troponincomplex

-binding site จะเปดเมือ่ Ca2+ เขามาจับ กับ troponin

Page 14: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

14

-sarcoplasmic reticulum (SR) เปนแหลงเก็บ Ca2+ ในเซลลกลามเนือ้

-เมื่อ action potential จาก motor neuron มาถึงบริเวณ synaptic terminal ทําใหมีการ หลั่ง Ach ท่ี neuromuscular junction, เกิด depolarization ท่ีเซลลกลามเนื้อ

-action potential แพรไปยงัเยื่อเซลลของ กลามเนื้อที่เรียกวา T (transverse) tubules-ตําแหนงท่ี T tubules สัมผัสกับ SR ทําใหมี การหลั่ง Ca2+

-การหดตัวของกลามเนื้อจะหยุดเมื่อ SR ปม Ca2+ จาก cytoplasm กลับเขามาเก็บใน SR

Motor end-plateสรุปการหดตวัของกลามเนื้อ

1.Ach หลั่งจาก neuron จับ receptor

2.Action potential เคลื่อนไป T tubule

3.SR หลั่ง Ca2+

4.Ca2+จับtroponin, binding silt เปด

5.กลามเนื้อหดตัว6.ปมCa2+ กลับสู SR

7.tropomyosinปด binding site, หยุดการหดตัวของกลามเนื้อ

การหดตวัของมัดกลามเนื้อ-ในมัดกลามเนือ้แตละมดัประกอบดวย muscle fiber หลายเซลลมารวมกัน -การตอบสนองตอแรงกระตุนของ muscle fiberเปนแบบ all-or-none (เหมือนneuron) และแตละ muscle fiber มี threshold ในการหดตัวไมเทากัน

-การหดตัวของมัดกลามเนื้อแตละครั้ง (single twitch) ข้ึนอยูกับความแรงที่มากระตุน-ถากลามเนื้อไดรับการกระตุน 2 ครั้งตอเนื่องกัน&มีระยะหางพอเหมาะ จะทําให ความแรงในการหดตัวครั้งท่ี 2 เพ่ิมข้ึน (summation)

-Tetanus เปนการหด(เกร็ง)โดยไมมีการคลายตัวของกลามเนื้อ จากการกระตุนถี่ๆ และตอเนื่อง-Fatigue (การลา) เปนสภาพทีกลามเนื้อหมดความสามารถในการหดตัว

Motor unit

-ในสัตวมีกระดูกสันหลัง muscle cell 1 เซลลจะถูกควบคุมโดย motor neuron 1 เซลลเทาน้ัน-แต 1 motor neuron อาจควบคุมการทํางาน >1 muscle cell-Motor unit ประกอบดวย 1 motor neuron และmuscle fiber ท้ังหมดที่ neuron ควบคุม-กลามเนื้อที่ตองการการเคลื่อนไหวที่ละเอยีดออน จะมีอัตราสวนระหวาง motor neuron/muscle cell ต่ํา เชนกลามเนื้อลูกตา (1/3-4)

การหดตวัของ smooth muscle

-smooth muscle cell พบที่อวัยวะที่ มีลักษณะเปนทอกลวง เชน ทางเดินอาหาร, หลอดเลือด, อวัยวะสบืพันธุ, iris ของลูกตา และทอของตอม-มีรูปรางคลายกระสวย ม ี1 nucleus/1 cell การหดตวัเปน involuntary

-ไมมีการจัดเรียงตัวของactin-myosin ทําใหไมเห็นเปนลาย, ปลาย actin มักยึดติดกับ เยื่อเซลล, ไมม ีSR ดังน้ัน Ca2+ แพรผานเขามาทางเยื่อเซลล

-การหดตัวจะชากวา striated muscle แตการหดตัวน้ันจะอยูไดนานกวา

การหดตวัของ cardiac muscle

-มี 1 nucleus/1 cell เซลลมีการแตกแขนง(bifurcate)และเช่ือมกับเซลลขาง เคียงดวย gap junction เรียก intercalateddisk

-มีการจัดเรียงตัวของ actin-myosin ทําใหเห็นเปนลาย, มี SR

-cardiac muscle สามารถหดตัวไดเองอยางเปนจังหวะ-หัวใจสัตวมีกระดูกสันหลังหดตัวไดเองเรยีก myogenic heart (muscle-generated)-หัวใจของกุง, ปู, แมงมุม ตองไดรับการกระตุนจาก nerve เรยีก neurogenic heart (nerve-driven)

Page 15: การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

15

จบเนื้อหา