50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4...

59

Transcript of 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4...

Page 1: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)
Page 2: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

50

คูมือการปฏิบัติงาน

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมหนวยงานภาครัฐ : ศึกษากรณีสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

โดย สุเทพ แกวทอง

หัวหนาฝายอํานวยการ

สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

Page 3: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

51

คํานํา

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2546 – 2550 กําหนดวิสัยทัศนของ การพัฒนาระบบราชการไววา “พัฒนาระบบราชการไทยใหมีความเปนเลิศ สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีและประโยชนสุขของประชาชน” โดยมียุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย 7 ยุทธศาสตร

ในสวนของยุทธศาสตรการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สํานักงาน ก.พ.ร.)ไดมอบหมายใหสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ดําเนินโครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม เพื่อแสวงหาหนวยงานตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนที่ดีเปนกรณีศึกษา แลวนําไปเปนตนแบบขยายผลการเรียนรูสูหนวยงานนํารอง

สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ไดสมัครเขาเปนหนวยงานนํารองตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และไดรับการคัดเลือกใหเขารวมโครงการ โดยมีการดําเนินงานตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ตามกรอบแนวคิด ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของ แนวทาง/ข้ันตอนที่สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีกําหนด

การนําเสนอคูมือการปฏิบัติงาน เร่ือง การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมหนวยงานภาครัฐ :ศึกษากรณีสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี เลมนี้ ผูนําเสนอไดศึกษารวบรวมกระบวนการและข้ันตอนในการดําเนินการ ผลการดําเนินงานทั้งผลผลิต (Output) ผลลัพธ(Outcome)และขอเสนอแนะแนวทางในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดและสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือการปฏิบัติงาน เร่ือง การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมหนวยงานภาครัฐ :ศึกษากรณีสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี เลมนี้ จะเปนประโยชนตอการปรับเปล่ียน กระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยในโอกาสตอไป หากมีขอผิดพลาดประการใดที่เกิดจากการนําเสนอคูมือการปฏิบัติงาน เลมนี้ ผูนําเสนอตองกราบ ขออภัยมา ณ โอกาสนี้

สุเทพ แกวทอง หัวหนาฝายอํานวยการ สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

Page 4: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

52

สารบัญ

หนา

บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 หลักการและเหตุผล 1 1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 4 1.3 ขอบเขตการศึกษา 5 1.4 คําจํากัดความ 5 1.5 ความรับผิดชอบ 5 1.6 วิธกีารดําเนินงาน 6 1.7 การจัดเกบ็ขอมูล 6 1.8 ระยะเวลาดําเนนิการ 6 1.9 ผลที่คาดวาจะไดรับ 6

บทที่ 2 กรอบแนวคิดและระเบียบปฏบัิติที่เกี่ยวของ 7 2.1 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 7 2.2 แผนยุทธศาสตรการพฒันาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) 8 2.3 แนวคิด I am ready 9 2.4 การวางแผน 10 2.5 หลักการวิเคราะหดวยเทคนคิ Swot Analysis 12 2.6 แนวคิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง 13 2.7 องคกรแหงการเรียนรูเพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน 14 2.8 กระบวนทศัน (Paradigm) วัฒนธรรม (Culture) และคานยิม(Values) 15 2.9. แนวทางการปฏิบัติราชการของจังหวัด 23 2.10. โครงสราง อํานาจหนาที่ ของสํานักงานจังหวัด 23

Page 5: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

53

บทที่ 3 ขัน้ตอนการปฏิบัติงาน 25 3.1 การเตรียมตัว 25 3.2 การจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม 26 3.3 การปฏิบัติตามแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนวฒันธรรมและคานิยม 29 3.4 การประเมินผล 36

บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ปจจัยนําเขา (Input) 37

4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process) 38 4.3 ผลผลิต (Output) 42 4.4 ผลลัพธ(Outcome) 42

บทที่ 5 สรุป ขอและเสนอแนะ 44 5.1 สรุป 44 5.2 ขอเสนอแนะ 45

บรรณานุกรม 47 ภาคผนวก 48 ประวัติผูเขียน 49

Page 6: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

54

สารบัญตาราง หนา

ตารางที่ 1 ข้ันตอนการเขารวมโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วฒันธรรม

และคานิยม สํานักงานจงัหวดัเพชรบุรี 4

ตารางที่ 2 สรุปแนวทางการดําเนินการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วฒันธรรมและคานิยม

22

ตารางที่ 3 สรุปผลการประเมินศักยภาพองคกร 28 ตารางที่ 4 หลักการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม 33 ตารางที่ 5 อัตรากําลัง สํานักงานจงัหวดัเพชรบุรี ณ วนัที ่1 กันยายน 2550 37

Page 7: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

55

สารบัญแผนภูม ิ

หนา

แผนภูมิที่ 1 กระบวนการ/ข้ันตอนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม

21

แผนภูมิที่ 2 โครงสรางสาํนกังานจงัหวัด 23 แผนภูมิที่ 3 วิสัยทัศน เปาหมายและแผนปฏิบัติการ 29 แผนภูมิที่ 4 แนวคิดวิทยากรกระบวนการ 31 แผนภูมิที่ 5 กลยุทธ 3 ป. 31 แผนภูมิที่ 6 สรุปผลการประเมินความคิดเห็นที่มีตอสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี 41 แผนภูมิที่ 7 กรอบแนวคิดการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วฒันธรรม คานยิม 42

Page 8: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

56

สารบัญแผนภาพ

หนา แผนภาพที่ 1 บุคลากรสํานกังานจงัหวัดเพชรบุรีเขารวมประชุมเชงิปฏิบัติการ 26 แผนภาพที่ 2 รับฟงการชี้แจงแนวทางดําเนินการงานวทิยากร 27 แผนภาพที่ 3 แบงกลุมประเมินศักยภาพองคกร 27 แผนภาพที่ 4 ระดมความคดิเห็นในการจัดทําแผน 28 แผนภาพที่ 5 บอรดคุณธรรม 30 แผนภาพที่ 6 การประชุมประจาํเดือน 31 แผนภาพที่ 7 ติดตามความคืบหนาการดาํเนนิงานตามแผน 31 แผนภาพที่ 8 เยี่ยมเยียนครอบครัวสมาชิกสาํนักงานจังหวัดเพชรบุรี 33 แผนภาพที่ 9 กิจกรรมสังสรรค 34 แผนภาพที่ 10 สัมมนาเชิงปฏบัิติการและศึกษาดงูาน ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ 35 แผนภาพที่ 11 รับฟงวทิยากรของชุมชนตนแบบบานหนองกลางดง 35 แผนภาพที่ 12 หนวยงานตนแบบและหนวยงานนํารองรับรางวัล 43

Page 9: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการโลกาภิวัตน(Globalization)และความกาวหนาทางเทคโนโลยี

สารสนเทศ สงผลใหสังคมไทย มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองการปกครอง การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงกระทบตอระบบราชการ การบริหารงานภาครัฐและการใหบริการประชาชนเปนอยางมาก เนื่องจากการบริหารภาครัฐไมสามารถปรับเปลี่ยนองคกรและบุคลากรใหสอดคลองกับกระแสการเปลี่ยนแปลงขางตนทั้งในสวนของสภาพแวดลอมภายในองคกรและภายนอกองคกร เกิดปญหาในระบบราชการและการบริหารงานภาครัฐที่ไมสามารถสนองตอบตอความตองการของประชาชนในพื้นที่ไดอยางทันเหตุการณ การขาดประสิทธิภาพในการบริหารงาน ความลาหลังของระเบียบ กฎหมายและขั้นตอนการปฏิบัติ หนวยงานภาครัฐขาดการเกื้อหนุนและบูรณาการในการทํางานรวมกัน บุคลากรภาครัฐทํางานเชิงรับ ปฏิบัติงานตามความเคยชิน ไมมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม เพื่อใหการทํางานสอดคลองกับสถานการณของการเปลี่ยนแปลง ขาดการพัฒนาสมรรถนะ(Competency) ของตนเองที่จะสนองตอบตอยุทธศาสตรองคกรและการบริหารงานภาครัฐแนวใหม (New Public Managment)

การบริหารงานภาครัฐ จําเปนที่จะตองมีการปรับเปล่ียนใหสอดคลองกับสถานการณในปจจุบันเปาหมายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ ทั้งนี้การปฏิรูประบบราชการในหวงเวลาที่ผานมา เนนการปรับปรุงดานโครงสราง กฎระเบียบและการใชเครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม กับหนวยงานภาครัฐ ซึ่งการดําเนินการดังกลาวสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบราชการและการบริหารงานภาครัฐในระดับหนึ่ง แตดวยแนวความคิดและความเชื่อวาทรัพยากรทางการบริหารนั้น ทรัพยากรมนุษยเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในการพัฒนา จึงทําใหเกิดความคิดวาการปฏิรูประบบราชการ จะบรรลุเปาหมายได ถาขาราชการไดรับการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม การบริหารจัดการภาครัฐจะไมมีทางประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย การบริหารบริหารกิจการบานเมืองที่ดีได หากบุคลากรภาครัฐ ยังมีกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยมในการทํางานแบบเดิม

Page 10: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

2

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(สํานักงาน ก.พ.ร.) กําหนดวิสัยทัศนของการพัฒนาระบบราชการในชวงระยะ ป พ.ศ.2546 - 2550 ไววา “พัฒนาระบบราชการไทยใหมีความเปนเลิศ สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีและประโยชนสุข ของประชาชน” โดยมียุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย 7 ยุทธศาสตรรองรับ ประกอบดวย (1) ยุทธศาสตรการปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทํางาน (2)ยุทธศาสตรการปรับปรุงโครงสรางการบริหาราชการแผนดิน (3)ยุทธศาสตรการปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ (4)ยุทธศาสตรการสรางระบบบุคคลใหมและคาตอบแทนใหม (5)ยุทธศาสตรการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม (6)ยุทธศาสตรการเสริมสรางระบบราชการใหทันสมัยและ(7)ยุทธศาสตรการเปดระบบราชการใหประชาชนเขามามีสวนรวม โดยยุทธศาสตรการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ประกอบดวย 4 มาตรการหลัก ดังนี้ (1) การสรางรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองของกลุมเปาหมายที่เปนผูบริหารระดับสูงในลักษณะของการเรียนรูจากประสบการณปฏิบัติจริง(2) การจัดสภาพแวดลอมใหเอื้อตอกระบวนการเรียนรูของกลุมเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ (3) การจัดทําคําแถลงคานิยมสรางสรรค ประกาศมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมและ(4) สรางการมีสวนรวมในการแสวงหากระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมใหมที่เอื้อตอการพัฒนาระบบราชการ

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของหนวยงานภาครัฐ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไดมอบหมายใหสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ดําเนินโครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม เพื่อแสวงหาหนวยงานตนแบบการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนที่ดี เปนกรณีศึกษา แลวนํามาเปนหนวยงานตนแบบในการขยายผลเครือขายการเรียนรูใหแกหนวยงานภาครัฐอ่ืน ๆ ใหกวางขวางยิ่งขึ้น อันจะนําไปสูการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการในภาพรวม โครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ ดี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไดเร่ิมดําเนินการในเดือนตุลาคม 2549 โดยคัดเลือกหนวยงานตนแบบ จํานวน 6 หนวยงาน ประกอบดวย (1) กรมการกงสุล (2) กรมการขนสงทางบก (3)กรมการพัฒนาชุมชน (4)กรมราชทัณฑ (5)โรงพยาบาลบานตาก และ(6)สํานักงานที่ดินจังหวัดสงขลา หลักการและแนวทางการดําเนินงานประการสําคัญของโครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม คือ การถอดบทเรียนจากหนวยงานตนแบบ 6 หนวยงานขางตน แลวขยายผลการเรียนรูในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมไป สูหนวยงานนํารอง

Page 11: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

3

สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี เปนราชการสวนภูมิภาคสังกัด สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปและการวางแผนการพัฒนาจังหวัด

(พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2534 มาตรา 60 (1) ) และมีอํานาจหนาที่ในการแปลงยุทธศาสตรการพัฒนาระดับชาติไปเปนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดในพื้นที่ พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการวางแผน และเครือขายสารสนเทศของจังหวัด โดยเปนศูนยสารสนเทศของจังหวัด จัดทําแผนพัฒนาจังหวัด ดําเนินการตามแผน กํากับ และติดตามผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร นโยบายและแผนพัฒนาจังหวัด อํานวยการ ประสาน และปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัด ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย (กฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2545)นอกจากนี้ สํานักงานจังหวัดยังมีหนาที่รับผิดชอบงานของสวนราชการในสวนกลางที่ไมมีหนวยงานในสังกัดในภูมิภาครองรับ เชน สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค สํานักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เปนตน บทบาทของสํานักงานจังหวัด จึงเปนศูนยกลางการบริหารราชการของจังหวัดในทุกดาน

ดวยความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการโลกาภิวัตน ความจําเปนในการปรับเปลี่ยนการบริหารงานองคกรใหเปนไปตามหลักการและแนวคิดการบริหารภาครัฐแนวใหม หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2546-2550 อํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินและกฎหมายที่เกี่ยวของ ความเปนศูนยกลางการบริหารราชการจังหวัดในทุกดาน การทํางานที่ตองสนองตอบตอนโยบายของจังหวัด สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ไดพิจารณาเห็นความจําเปนที่จะตองมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมขององคกร จึงไดสมัครเขาเปนหนวยงานนํารองตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ไดรับการคัดเลือกจากสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีใหเขารวมโครงการโดยเปนหนวยงานนํารองพรอมกับหนวยงานอื่นอีก 3 หนวยงาน ประกอบดวย (1) สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (2)กรมสงเสริมสุขภาพจิต และ(3)สํานักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร โดยไดมีการลงนามในขอตกลงวาดวยความรวมมือในการดําเนินงาน โครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมรวมกันระหวางสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีและสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ ดี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2550

Page 12: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

4

ตาราง 1 ขั้นตอนการเขารวมโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทศัน วัฒนธรรมและคานิยม

สํานกังานจังหวัดเพชรบุร ี

วัน / เดือน / ป การดําเนินการ

25 มกราคม 2550 ประชุมรวมกับหนวยงานตนแบบ

5 กุมภาพนัธ 2550 สมัครเขารวมโครงการ

4 เมษายน 2550 ตอบแบบสอบถามประเมินความพรอมการเปนหนวยงานนํารอง

18 พฤษภาคม 2550 กําหนดแนวทางการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานตนแบบ

6-8 มิถนุายน 2550 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานตนแบบ

16 กรกฎาคม 2550 ลงนามในบันทึกขอตกลง

ดังนั้น ผูศึกษา ซึ่งปฏิบัติงานในตําแหนง หัวหนาฝายอํานวยการ สํานักงานจังหวัดเพชรบุรีและเปนผู รวมดําเนินงานตามโครงการปรับเปลี ่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี จึงมีความสนใจที่จะศึกษาและรวบรวมผลการดําเนินงานตามโครงการ เพื่อนําผลการศึกษารวบรวมไปใชประโยชนในการปรับปรุงการดําเนินการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีและเปนตัวอยางในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยตอไป

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการและขั้นตอนในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี 1.2.2 เพื่อนําเสนอเสนอผลผลิต (Output) ผลลัพธ (Outcome) ในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี 1.2.3 เพื่อเสนอแนะแนวทางในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของ สํานักงานจงัหวัดและสํานกังานปลัดกระทรวงมหาดไทย

Page 13: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

5

1.3 ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตการศึกษาการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ครอบคลุมข้ันตอนการดําเนินการตั้งแตการเตรียมตัว การจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม การปฏิบัติตามแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม การประเมินผล ผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัด

1.4 คําจํากัดความ หนวยงานตนแบบ หมายถึง หนวยงานตนแบบตามโครงการสรางตนแบบการปรับเปล่ียน กระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ จํานวน 6 หนวยงาน ประกอบดวย กรมการกงสุล กรมการขนสงทางบก กรมการพัฒนาชุมชน กรมราชทัณฑ โรงพยาบาลบานตาก และสํานักงานที่ดินจังหวัดสงขลา หนวยงานนํารอง หมายถึง หนวยงานที่ไดรับการคัดเลือกจากสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ใหเปนหนวยงานนํารอง จํานวน 4 หนวยงาน ประกอบดวย สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กรมสงเสริมสุขภาพจิต สํานักงานจังหวัดเพชรบุรีและสํานักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี หมายถึง การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมตามโครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

1.5 ความรับผิดชอบ (Responsibilities) หัวหนาสํานักงานจังหวัด รับผิดชอบ การกํากับดูแล ติดตามผลการดําเนินงานตามโครงการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดใหเปนไปตามแผนงาน โครงการ ที่กําหนด หัวหนาฝาย/หัวหนากลุมงานสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี รับผิดชอบ การขับเคลื่อนการดําเนินงานตามกิจกรรม โครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ขาราชการ / ลูกจาง สํานักงานจังหวัดเพชรบุ รี รับทราบและใหความรวมมือ สนับสนุน การดําเนินงานตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

Page 14: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

6

1.6 วิธีการดําเนินการ 1.6.1 ดําเนินการรวบรวมกระบวนการ/ข้ันตอนในการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ในหวงระหวางวันที่ 1 กันยายน 2550 - 31 สิงหาคม 2551 1.6.2 ดําเนินการรวบรวมผลการดําเนินงานในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีในดานปจจัยนําเขา(Input) กระบวนการดําเนินงาน (Process) ผลผลิต (Output) และผลลัพธ (Outcome) ในหวงระหวางวันที่ 1 กันยายน 2550 - 31 สิงหาคม 2551 1.6.3 เสนอแนะแนวทางในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดและสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

1.7 การจัดเก็บขอมูล จัดเก็บขอมูลจากเอกสารและผลการดําเนนิงานตามโครงการ

1.8 ระยะเวลาดําเนินการ ระยะเวลา 2 เดือน (พฤษภาคม – มิถุนายน 2553)

1.9 ผลที่คาดวาจะไดรับ 1.9.1 ทําใหทราบกระบวนการและขั้นตอนในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานยิมของสํานกังานจังหวัดเพชรบรีุ 1.9.2 ทําใหทราบผลการดําเนินงานในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ทั้งในสวนของผลผลิต(Output) )และผลลัพธ(Outcome) 1.9.3 ทําใหไดขอเสนอแนะในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดและสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

Page 15: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

7

บทที่ 2

กรอบแนวคิดและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของ

การศึกษาการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยม สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ผูศึกษาใชกรอบแนวคิดและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของเปนแนวทางในการศึกษา ดังนี้ 2.1 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวธิีการบริหารกิจการบานเมืองทีดี่ พ.ศ. 2546 2.2 แผนยทุธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) 2.3 แนวคิด I am Ready 2.4 การวางแผน 2.5 หลักการวเิคราะหดวยเทคนิค Swot Analysis 2.6 แนวคิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2.7 องคกรแหงการเรียนรูเพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน 2.8 กระบวนทัศน (Paradigm) วัฒนธรรม (Culture) และคานิยม(Values) 2.9 แนวทางการปฏิบัติราชการของจังหวัด 2.10 โครงสรางและอํานาจหนาที่ของสํานักงานจังหวัด

2.1 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมอืงที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 6 การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดแก การบริหารราชการเพื่อบรรลุเปาหมาย ดังตอไปนี ้ (1) เกิดประโยชนสุขของประชาชน

(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจภาครัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไมมีข้ันตอนการปฏิบัติงานเกนิความจําเปน (5) มีการปรบัปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ (6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการ

(7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสม่ําเสมอ

Page 16: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

8

2.2 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สํานักงาน ก.พ.ร.) กําหนดแผนยุทธศาสตร การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.2.1 วสิัยทศันของการพฒันาระบบราชการไทย พัฒนาระบบราชการไทยใหมีความเปนเลิศ สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีและประโยชนสุขของประชาชน 2.2.2. เปาหมายหลักของการพัฒนาระบบราชการไทย (1) พัฒนาคุณภาพใหบริการประชาชนที่ดี (2) ปรับบทบาท ขนาด ภารกิจใหมีความเหมาะสม (3) ยกระดบัขีดความสามารถและมาตรฐานการทาํงานใหอยูในระดับสูงเทยีบเทาเกณฑสากล (4) ตอบสนองตอการบริหารการปกครองในระบบประชาธิปไตย 2.2.3 ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ (1) ยุทธศาสตรการปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทํางาน (2) ยุทธศาสตรการปรับปรุงโครงสรางการบริหาราชการแผนดิน (3) ยุทธศาสตรการปรับร้ือระบบการเงินและการงบประมาณ (4) ยุทธศาสตรการสรางระบบบริหารบุคคลใหมและคาตอบแทนใหม (5) ยุทธศาสตรการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานยิม (6) ยุทธศาสตรการเสริมสรางระบบราชการใหทนัสมัย (7) ยุทธศาสตรการเปดระบบราชการใหประชาชนเขามามีสวนรวม 2.2.4 ยุทธศาสตรการปรบัเปลี่ยนกระบวนทศัน วฒันธรรมและคานิยม (1) การสรางรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองของกลุมเปาหมายที่เปนผูบริหารระดับสูงในลักษณะของการเรียนรูจากประสบการณปฏิบัติจริง ดวยวิธีการสรางวิสัยทัศนรวมกัน การสรางความรูสึกผูกพัน ตอพันธกิจที่จะนําไปสูอนาคตที่พึงปรารถนารวมกัน การเรียนรูการทํางานเปนทีมและโดยเฉพาะอยางยิ่ง การเรียนรูวิธีคิดอยางเปนระบบ (2) การจัดสภาพแวดลอมใหเอื้อตอกระบวนการเรียนรูของกลุมเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสนับสนุนทางดานทรัพยากรของรัฐ การผลักดันในเชิงกฎระเบียบตาง ๆ รวมทั้งเชื่อมโยงกับเครือขายการเรียนรูตาง ๆ

Page 17: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

9

(3) การจัดทําคําแถลงคานิยมสรางสรรค ประกาศมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อลดปญหาการทุจริตประพฤติมชิอบ รวมทั้งการรณรงคและวัดผลระดับของการยอมรับและปฏิบัติตามคานยิม มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมอยางจริงจงั (4) สรางการมีสวนรวมในการแสวงหากระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมใหมที่เอื้อตอ การพัฒนาระบบราชการ รวมทั้งระดมการมีสวนรวมของทุกฝายในการจัดทําและดําเนินยุทธศาสตรในการสงเสริมและเผยแพรกระบวนทัศนใหมใหเปนวาระแหงชาติ

2.3 แนวคิด I am Ready สํานักงาน ก.พ.ร. ไดกําหนดคุณลักษณะของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐที่พึงประสงค โดยคุณลักษณะที่พึงประสงคดังกลาวขางตนสอดคลองกับกระแสความตองการของสังคมในปจจุบัน ที่ตองการคนมีความสามารถและพรอมดวยคุณธรรม จริยธรรม จําแนกออกไดเปน 8 ประการ ตามแนวคิด I am Ready ดังนี้ (1) ทํางานอยางมีศักดิ์ศรี (Integrity) หมายความถึง การปฏิบัติหนาที่อยางตรงไปตรงมา แยกเรื่องสวนตัวออกจากหนาที่การงาน ไมมีความขัดแยงกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม มีความตั้งใจปฏิบัติหนาที่เพื่อประโยชนแกสวนรวม ไมคดโกง ไมหลอกลวง มีจิตสํานึกตอการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ โดยคํานึงถึงประโยชนของทางราชการและประชาชน และพรอมจะรับผิดเมื่องานผิดพลาดและยินดีแกไข (2) ขยันตั้งใจทํางาน (Activeness) หมายความถึงการปฏิบัติหนาที่เต็มความสามารถ ไมเกียจคราน ทํางานในเชิงรุก (3) มีศีลธรรม คุณธรรม (Morality) หมายความถึงการยึดมั่นในความถูกตองดีงาม ปฏิบัติหนาที่อยางถูกตอง ไมทําผิดระเบียบกฎหมาย ไมเลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรม เสียสละ ยึดหลักวิชาการ และจรรยาวิชาชีพ ไมโอนออนตออิทธิพลใดๆ มีความอดทน หรือยับยั้งชั่งใจตอผลประโยชนที่มีผูเสนอให (4) รูทันโลกปรับตัวทันโลกทันสังคม (Relevance) หมายถึง การเรียนรูและปรับตัวทันสมัยกับสภาพการเปลี่ยนของสภาพแวดลอมโลกและสังคมอยูตลอดเวลาสามารถนําความรูและวิทยาการสมัยใหมมาปรับใชในการทํางานใหเปนเลิศทันโลก (5) มุงเนนประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถงึการทํางานที่รวดเร็ว ตนทนุต่ํา ไดผลคุมคา ไมใชทรัพยากรที่มีจํากัดอยางฟุมเฟอย ไดประโยชนตอบแทนไมคุมคา

Page 18: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

10

(6) รับผิดชอบผลงานตอสังคม (Accountability) หมายถึง การปรับปรุงกลไกการทํางานใหมีความโปรงใส มีวิธีการใหประชาชนตรวจสอบได มีข้ันตอนการปฏิบัติงาน แผนการทํางาน และการมอบหมายงานที่ชัดเจนสามารถจัดลําดับ ข้ันตอนการปฏิบัติงาน และระยะเวลา ใหผูติดตอไดทราบ เปดเผยหลักเกณฑและวิธีการในการปฏิบัติงานหรือขอมูลการปฏิบัติงานใหแกผูเกี่ยวของไดทราบตามสมควรแกกรณี โดยถือวาการเปดเผยเปนหลักเกณฑ การปกปดเปนขอยกเวน ความรับผิดชอบตอผลงานและตอสาธารณะ มีความรับผิดชอบทํางานให สําเร็จ พรอมรับการตรวจสอบของสาธารณะ ไมใชรับผิดชอบตอผูบังคับบัญชาเทานั้น (7) มีใจและการกระทําที่ เปนประชาธิปไตย มีสวนรวมโปรงใส (Democracy) หมายถึง การยึดถือหลักการนับถือสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลโดยคํานึงถึงเสรีภาพ เสมอภาค และหลักนิติธรรม สรางสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการใหการทํางานที่ ต้ังอยูบนพื้นฐานของการมีสวนรวม ของทุกฝาย ที่เกี่ยวของ ในลักษณะที่ยึดเอาคนเปนศูนยกลาง (People Centered Approach) (8)มุงเนนผลงาน(Yield) หมายความถงึการทํางานที่เนนผลตอบแทนหรือ ผลลัพธสุดทาย ที่คาดวาจะเกดิขึ้นจากการปฏิบัติงาน สามารถวัดหรือประเมินผลไดอยางเปนรูปธรรม

2.4 การวางแผน 2.4.1 ความหมายของการวางแผน ธงชัย สันติวงศ (2534 : 2) กลาววา การวางแผน คือ เปนกระบวนการซึ่งบุคคลกระทําการตอกัน เกี่ยวกับงานบางอยางที่จะกระทําในอนาคต กระบวนการดังกลาวจะประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ หรือพฤติกรรมที่ตอเนื่องกัน ดร.พรเทพ พิมลเสถียร(อางในหลักการวางแผนพัฒนาจังหวัด สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย,2526:25-30) กลาววามีผูใหความหมายของ “การวางแผน” ไวหลายคน บางคนใหความหมาย ไวกวาง บางคนใหความหมายอยางกะทัดรัด ดังนี้

การวางแผน เปนกิจกรรมอยางหนึ่งเกี่ยวกับการกําหนดสิ่งที่จะกระทําในอนาคต การประเมินผลของสิ่งที่กําหนดวาจะกระทําและกําหนดวิธีการที่จะนําไปใชในการปฏิบัติ

การวางแผน หมายถึง กระบวนการกําหนดวัตถุประสงคสําหรับชวงเวลาขางหนาและกําหนดสิ่งที่จะกระทําตาง ๆ เพื่อที่จะใหบรรลุในวัตถุประสงคดังกลาว ซึ่งจะประกอบดวย 2 สวน คือ การกําหนดวัตถุประสงคและการกําหนดแนวทางที่จะกระทําที่จะนําไปปฏิบัติ ที่จะทําใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

Page 19: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

11

การวางแผน คือ การเลือกวิถีในอนาคตจากทางเลือกหลาย ๆ ทาง สําหรับที่จะใหกิจการทั้งหมดหรือเฉพาะบางแผนงานดําเนินงานไปตามวิถีทางนั้น การวางแผนเปนการตัดสินใจลวงหนา จะทําอยางไร จะทําเมื่อไร จะใหใครทําและจะมีวิธีทําอยางไร การวางแผนจึงเปนการทํากิจกรรมไปสูวัตถุประสงคที่เลือกไวโดยวิถีทางที่ถูกหลักที่สุด

2.4.2 หลักในการวางแผน ( Principle of Planning) ดร.พรเทพ พิมลเสถียร (อางในหลักการวางแผนพัฒนาจังหวัด สํานักงานปลัดกระทรวง

มหาดไทย . 2526:25-30) อธิบายหลักการวางแผน ดังนี้ (1) ระบุภารกิจ วัตถุประสงค ความตองการหรือเปาหมาย (2) กําหนดหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในอันที่จะบรรลุวัตถุประสงคภารกิจ ประกอบดวย

การศึกษาสถานการณแวดลอมและขอเท็จจริง กําหนดหนทางปฏิบัติที่พอจะเปนไปได วิเคราะหเปรียบเทียบขอดีขอเสีย/วางเกณฑการตัดสินใจ กําหนดขอตกลงใจ เลือกหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด

(3)จัดทําแผนงาน โครงการ วางแผนปฏิบัติการตามแนวทางที่ไดเลือกไวแลวมอบหมายใหใครทําอะไร ทีไ่หน อยางไร เมื่อไร ข้ันตอนการประสานงาน ใชทรัพยากรอยางไร

(4) ส่ังการใหมีการดําเนินการตามแผน (5) ติดตามผลและศึกษาสถานการณเปลี่ยนแปลง

(6) ปรังปรุงแผน 2.4.3 กระบวนการวางแผน

ดร.พรเทพ พิมลเสถียร (อางในหลักการวางแผนพัฒนาจังหวัด สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย . 2526:25-30) อธิบายกระบวนการวางแผน ดังนี้

1) ขั้นการจัดทําแผน (Planned Formulation) (1) การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล (Collect Facts)รวบรวมและวิเคราะหขอมูลดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม การบริหารและสิ่งแวดลอมตาง ๆ (2) วิเคราะหสถานการณ(Analyze the Situation) ดูแนวทางนโยบายทั้งเบื้องบน (Top -down )และเบื้องลาง (Bottom- up) ขอจํากัดตาง ๆ ในแนวทางปฏิบัติ คน วัสดุ อุปกรณ การเงินและการบริหารโครงการ (3) พิจารณาปญหา (Identify Problems)ดูความตองการของทองถิ่น ประชาชนเปนหลัก (4) กําหนดจุดประสงคและความมุงหมาย (Objectives of Goals) ซึ่งจุดประสงคนี้จะตองชัดแจง(Clear)สนองความตองการของประชาชนได รวมทั้งสามารถนําไปปฏิบัติไดดวย

Page 20: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

12

(5) จัดทําโครงการแผนงานและแผนประจําป (Develop Project & Annual Plan) จัดทํารายละเอียดโครงการปฏิบัติ (Operation Plan) และแนวทางบริหารโครงการ(Project Management) เพื่อเสนอของบประมาณ

2) ขั้นการปฏิบัติการแผนหรือนําแผนไปปฏิบัติ (Planned Implementation) (1) ประเมินโครงการ ดูจุดประสงค แนวทาง แนวทางปฏิบัติ ความเปนไปไดและเปนไปไมไดของโครงการ (2) แบงแยกการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบ ทรัพยากร กลยุทธ สถานที่ เวลา บุคลากร (3) การควบคุมงาน เชน งบประมาณ ควบคุมหมายกําหนดการ คุณภาพ นิเทศงาน ส่ือขอความขาวสาร ตรวจสอบวัดผล ทฤษฎีเครือขาย แกไขแผนงานโครงการ ปญหาในทางปฏิบัติ รายงานความกาวหนาตอผูรับผิดชอบรวมทั้งการสิ้นสุดโครงการ

3) ขั้นติดตามและประเมินผล (Planned Follow-up and Monitoring and Evaluation) (1) ตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติงานตามโครงการ (2) ประเมินผลประโยชนที่คาดวาจะไดใชตามกําหนดในจุดมุงหมายของโครงการรวมทั้งผลเสียที่เกิดจากโครงการดวย (3) จัดทํารายงานใหผูเกี่ยวของทราบ เพื่อการปรับปรุงแกไขโครงการตอไป

(4) ประเมินผล ( Evaluation For Development) (5) ประเมินผลความกาวหนา ( Evaluation of Progress)

(6) ประเมนิผลโครงการ สัมฤทธิ์ผลหรือไม ผลกระทบ (Progress Evaluation Effective Impact) เพื่อปรับปรุงแผนสําหรับโครงการหรือ เพื่อผลประโยชนโครงการตอไป

2.5 หลักการวิเคราะหดวยเทคนิค SWOT ANALYSIS เทคนิค Swot Analysis (คูมือการบริหารราชการจงัหวัดแบบบูรณาการ ชุด 3,2546) (1) การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength – S)

เปนการพิจารณาปจจัยภายในโดยการประเมินขอไดเปรียบหรือจุดเดนของทรัพยากรทางการบริหารที่คาดวาจะสนับสนุนใหการดําเนินงานบรรลุผลสําเร็จ ซึ่งพิจารณาจากตัวแปรตาง ๆ เชน บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณและการบริหารจัดการ

Page 21: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

13

(2) การวิเคราะหจุดออน (Weakness – W) เปนการพิจารณาปจจัยภายใน โดยการประเมินขอเสียเปรียบหรือจุดดอยของทรัพยากร

ทางการบริหารซึ่งเปนปญหาอุปสรรคที่ขัดขวางมิใหการดําเนินงานบรรลุผลสําเร็จซึ่งจะพิจารณาจากตัวแปร ดานตาง ๆเชนเดียวกับการวิเคราะหจุดแข็ง

(3) การวิเคราะหโอกาส (Opportunities – O ) เปนการพิจารณาปจจัยภายนอกโดยการประเมินโอกาสหรือเงื่อนไขที่คาดวาจะเอื้ออํานวย

ตอการบริหารใหบรรลุผลสําเร็จ ซึ่งจะพิจารณาจากตัวแปรดานตาง ๆ เชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองและเทคโนโลยี

(4) ขอจํากัด (Treat – T) เปนการพิจารณาปจจัยภายนอก โดยการประเมินภาวะคุกคามหรือเงื่อนไขที่เปนขอจํากัด ตอการบริหาร ซึ่งจะพิจารณาจากตัวแปรดานตาง ๆเชนเดียวกับการวิเคราะหโอกาส

2.6 แนวคิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สํานักงาน ก.พ.ร. (คูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ,2550: 21-25 ) อธิบายแนวคิดการบริหารการเปลี่ยนปลง สรุปได ดังนี้ 2.6.1 ความหมายของการบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารการเปลี่ยนแปลง หมายถึง “ความสามารถของผูบริหารระดับกลาง ในการดึงความรวมมือของผูบริหารระดับสูง และลดการตอตานจากบุคลากรระดับปฏิบัติการ เพื่อสรางสรรค การเปลี่ยนแปลง” เนื่องจากโดยทั่วไปบุคลากรในหนวยงานจะตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง 2.6.2 กระบวนการวางแผนการเปลี่ยนแปลง ( Planning change) (1) การกําหนดเปาหมายในการเปลี่ยนแปลง (2) การระบุความตองการของการเปลี่ยนแปลง (3) การเลือกการเปลี่ยนแปลงที่จําเปน (4) การประเมนิความสลับซบัซอน (5) การวางแผนใหพนกังานเขามามีสวนรวม (6) การเลือกใชระยะเวลาการเปลี่ยนแปลง (7) การจัดทาํแผนปฏบัิติ (8) การคาดการณผลกระทบ

Page 22: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

14

(9) การคาดการณการตอตานจากบุคลากร (10) การทดสอบและตรวจสอบแผนการเปลีย่นแปลง 2.6.3 บทบาทของผูบริหารที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลง (1) เปนแบบอยาง (Role modal) (2) จัดปจจัยใหเอื้อ (Available Factors) (3) กฎ กติกาที่เหมาะสม (Role and Regulation) (4) มองคนเปนสนิทรัพย เห็นคุณคาความรูในตวัคน (Human as asset) (5) ทําทุกเรื่องใหเปนเรื่องเดียวกัน (Integration) (6) เสริมพลังและมีสวนรวม (Participation & Empowerment) 2.6.4 บทบาทของผูนําการเปลี่ยนแปลงกระบวนทศัน วัฒนธรรมและคานิยมในหนวยงาน (1) การกระตุนการเปลี่ยนแปลง (Change Activation) (2) การบูรณาการเปลีย่นแปลงสูการปฏิบัติ (Change Integration) (3) การปฏิบัติสูการเปลี่ยนแปลง (Change Implementation) (4) การเรียนรูจากการเปลี่ยนแปลง (Change Learning) (5) การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง (Change Evaluation)

2.7 องคกรแหงการเรียนรูเพื่อการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สํานักงาน ก.พ.ร. (คูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ,2550: 8-16 ) อธิบายองคกรแหงการเรียนรูเพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน สรุปได ดังนี้ 2.7.1 ความหมายขององคกรแหงการเรียนรู องคกรแหงการเรียนรู หมายถึง องคกรที่มีการดําเนินการใหบุคคล ทีมหรือกลุมในองคกร ไดมีโอกาสเพิ่มพูนความรู ความสามารถในการเรียนรูในการปรับเปลี่ยนตนเอง ทั้งนี้ เพื่อนําองคกรไปสูเปาหมายที่กําหนดไว การเรียนรูตองเปนไปอยางเปนระบบตอเนื่องและเปนไปอยางพรอมเพรียงทั่วทั้งองคกร 2.7.2 ลักษณะองคกรแหงการเรียนรู (1) โครงสรางหนวยงานไมมีสายการบงัคับบัญชามาก ยืดหยุน จัดทีมงานได (2) มีวัฒนธรรมการเรียนรู เจาหนาที่ใฝรู ศึกษาและเผยแพร (3) เพิ่มอํานาจการปฏิบัติแกเจาหนาที่ใหสามารถตดัสินใจแกไขปญหาและเรียนรูไปดวย

Page 23: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

15

(4) ทันกับการเปลี่ยนแปลง (5) ทุกคนมีสวนสรางและถายโอนความรู มีระบบการเรียนรูรวมกันและใชประโยชนจาก การเรียนรู (6) ใชเทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู (7) มุงเนนคุณภาพของผลิตภัณฑตามความพึงพอใจของลูกคา (8) มีบรรยากาศที่เกื้อหนุน เชน ความเปนประชาธิปไตย การมีสวนรวม (9) มีการทํางานเปนทีม ใชคณะทาํงานจากหลายสวน (10) มีวิสัยทัศนรวมกนั (11) ผูบริหารเปนพี่เลีย่งที่ปรึกษา ผูชีแ้นะ ผูเกื้อหนนุการเรียนรู (12) มีมมุมองในภาพรวมและเปนระบบ (13) ใหมกีารเรียนรูจากประสบการณ 2.7.3 การสรางองคกรแหงการเรยีนรู Dr. Peter Senge (อางในคูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ,2551: 9) เสนอแนวคิดที่จะบรรลุความเปนองคกรแหงการเรียนรู ประกอบดวยวินัย 5 ประการ ดังนี้ (1) การใฝเรียนใฝรูของบุคคล(Personal Mastery) (2) การพัฒนากรอบแนวคิด (Mental Modal) (3) วิสัยทัศนรวม(Shared Vision) (4) การเรียนรูรวมกันเปนทีม(Team Learning) (5) การคิดเชิงระบบ(System Thinking) 2.8 กระบวนทัศน (Paradigm) วัฒนธรรม (Culture) และคานิยม(Values) 2.8.1 ความหมาย (1) ความหมายกระบวนทศัน (Paradigm) Thomas Kuhn : The Structure of Scientific Revelition :1962(อางในคูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม.2551: 1) กลาววา กระบวนทัศนหมายถึง ความสําเร็จทางวิทยาศาสตร ซึ่งเปนที่ยอมรับอยางเปนสากล กระทั่งเปนตนแบบ (แนวคิด คานิยม ความเชื่อ) ในการมองปญหาและวิธีการแกปญหาของชุมชน

Page 24: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

16

Fitjob Kappa (อางในคูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม.2551: 2)กลาววา กระบวนทัศนคือ ชุดแนวคิด(Concepts) คานิยม (Values) ความเขาใจรับรู(Perceptions) และการปฏิบัติที่มีรวมกันของคนกลุมหนึ่ง ชุมชนหนึ่งที่กอตัวเปนแบบแผนของทัศนะอยางเฉพาะแบบหนึ่งเกี่ยวกับความจริง ซึ่งเปนฐานของการจัดการตนเองของชุมชนนั้น คณะกรรมการรวมภาครัฐบาลและเอกชนเพื่อแกไขปญหาสังคม : กรอ.สังคม (อางในคูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม.2551: 4)ใหความหมายของกระบวนทัศนวา หมายถึง ทรรศนะพื้นฐานอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยาง อันกําหนดแบบแผนการคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งๆ เมื่อทรรศนะพื้นฐานดังกลาวเปลี่ยนแปลงไป จะทําใหแบบแผนการค ิดและการปฏ ิบ ัต ิที ่เกี ่ยวข อง เปลี ่ยนแปลงไปด วย ทั ้งกระบวนการ ซึ ่ง เร ียกว า การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน โดยสรุปกระบวนทัศน หมายถึง กรอบแนวคิดการมองโลกของคนในสังคมในชวงระยะเวลาหนึ่ง เมื่อสถานการณเปลี่ยนแปลงไปกรอบความคิดดังกลาวก็อาจจะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ (2) ความหมายของวฒันธรรม (Culture) พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแหงชาติ พุทธศักราช 2485 ไดใหความหมายของวัฒนธรรมวา หมายถึง ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียวกาวหนา ของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน

พระยาอนุมานราชธน (2431 - 2512) ไดใหความหมายของวัฒนธรรม สรุปไดดังนี ้ (1) วัฒนธรรม คือ ส่ิงที่มนุษยเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือผลิตสรางขึ้น เพื่อความเจริญ

งอกงาม ในวิถีแหงชีวิตของสวนรวม ถายทอดกันได เอาอยางกันได (2) วัฒนธรรม คือ ผลิตผลของสวนรวมที่มนุษย ไดเรียนรูมาจากคนแตกอน สืบตอเปน

ประเพณีกนัมา (3) วัฒนธรรม คือ ความรูสึก ความคิดเห็น ความประพฤติ กิริยาอาการ หรือการกระทําใดๆ ของมนุษยในสวนรวมลงรูปเปนพิมพเดียวกัน และสําแดงออกมาใหปรากฏเปนภาษา ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบประเพณี เปนตน

(4) วัฒนธรรม คือ มรดกแหงสังคม ซึ่งสังคมรับ และรักษาไวใหเจริญงอกงาม เปนผลิตผลของสวนรวม ที่มนุษยไดเรียนรูมาจากคนแตกอน สืบตอเปนประเพณีกันมา

Page 25: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

17

โดยสรุปวัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดําเนินชีวิตของคนในสังคม โดยแนวทางการแสดงออกถึงวิถ ีช ีว ิตนั ้นอาจเริ ่มมาจากบุคคลหรือคณะบุคคลทําเปนแบบอยาง แลวตอมาคน สวนใหญปฏิบัติสืบตอกันมา วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง ไปตามเงื่อนไขและกาลเวลาเมื่อมีการประดิษฐหรือคนพบสิ่งใหม /วิธีใหมที่ใชแกปญหาและตอบสนองความ ตองการของสังคมไดดีกวา

(3) ความหมายของคานิยม(Values) เมธี ปลันธนานนท (ปรัชญาการศึกษาสําหรับครู : 2523) กลาววามีนักการศึกษาในสาขาวิชาตางๆไดใหความหมายของคําวา คานิยม (value) ไวตางๆกัน ดังนี้ Rokeach ไดใหความหมายไววาคานิยมคือรูปแบบของความเชื่อ (belief) ที่แตละคนยึดถือวาแตละคนควรจะปฏิบัติตนอยางไรหรือส่ิงใดที่มีคุณคา ไมมีคุณคา คานิยมจะสัมพันธกับทุกสิ่งโดยทั่วไปและมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของบุคคล คานิยมเปนมาตรฐานในการตัดสินใจวาสิ่งใดเลวหรือดี และใชในการคัดสินพฤติกรรมของแตละบุคคลดวย Good ไดใหความหมายของคานิยมตามแนวของสังคมวา “คานิยมเปนเรื่องของความสนใจ เชน คานิยมในศิลปะก็เปนความสนใจของผูซึ่งไดกลั่นกรองรสนิยมและพัฒนาอํานาจ ในตัวของเขาตองานศิลปะตางๆถาผูที่สนใจเกี่ยวกับชางไมก็กําหนดคุณคาในดานการใชประโยชนในการใหความหมายเกี่ยวกับการศึกษาจะหมายถึงบรรทัดฐาน (norm) หรือมาตรฐาน (standard) ของความปรารถนาภายในแตละวัฒนธรรมของปจเจกบุคคลที่สัมพันธเกี่ยวของกับการศึกษาและการวิเคราะหส่ิงแวดลอม” โดยสรุปคานิยม หมายถึง ความเชื่อในเรื่องคุณคาของบุคคลแตละคน โดยคานิยมของบุคคลจะมีสวนสําคัญในการตัดสินใจของบุคคลนั้นวาอะไรดีและอะไรไมดี 2.8.2 การเปลี่ยนแปลงกระบวนทศัน วัฒนธรรมและคานิยม พรชุลี อาชวบํารุง (อางใน การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสมัยใหม : สถาบันดํารงราชานุภาพ. 2548 : 15) กลาววา การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน(Para digm Shift)คือการที่เราตองพลิกผัน(Shift) ออกจากสิ่งที่เราคิดวาใช แลวมองวามันเปนอยางอื่นไดหรือไม ในการที่เรามองวาเปนอยางอื่นไดหรือไม ทําใหเกิดหนทางใหม เกิดยุทธศาสตรใหม เกิดกลยุทธใหม เกิดการปฏิบัติใหมและเกิดผลลัพธใหม ส่ิงนั้นคือ ส่ิงที่เราตองการ กระบวนทัศน คือ ชุดการคิด 1 ชุด การคิดคือการรับรู การเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน คือ การเปลี่ยนแปลงการคิดทั้งชุด ดังนั้น ไมมีงานไหนที่เราจะทําไมได ในเมื่อเราสามารถเปลี่ยนความคิด เปลี่ยนกระบวนทัศนไดตลอดเวลา เราทํางานไดทุกอยาง ถาเราไมยอมแพ เพราะมีสูตรสําเร็จ (Best Practice) มีหนทางออกที่ดีที่สุด เราตองหาใหเจอ บางครั้งหาไมเจอตองคิดเอาเองโดยใชตรรกะ (Logic)ของเราคิดใหเจอก็จะหาหนทางออกได

Page 26: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

18

คูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม(2551 : 26-34 ) อธิบายการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมวาการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม เปนลักษณะเฉพาะของแตละองคกรทั้งเปาหมายและวิธีการดําเนินงาน องคกรจึงตอง กําหนดเปาหมายของการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมและชัดเจนที่สุด จากนั้นจึงปฏิบัติตามแผนและประเมินผลการดําเนินงานเปนระยะ เพื่อนําผลที่ไดไปปรับปรุงแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม

โดยสรุปการเคลื่อนยายกระบวนทัศนหรือการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน เปนการเปลี่ยนแปลงความคิดของคน บนพื้นฐานการมองโลกแบบหนึ่งไปสูการมองโลกอีกแบบหนึ่ง 2.8.3 กระบวนการ/ขั้นตอนปรับเปลีย่นกระบวนทศัน วัฒนธรรมและคานิยม กระบวนการ/ข้ันตอนปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม(คูมือวิทยากรตัวคูณ ดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม(2551 : 26-34 ) มี 4 ข้ันตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัว เปนกระบวนการที่ตองอาศัยความรวมมือของบุคลากรทั้งหนวยงาน/องคกร ดังนั้น ผูนําการเปลี่ยนแปลงตองทํางานรวมกับทีมงาน ทําใหบุคคลทุกคนเขาใจเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงและเปดโอกาสใหทุกคนมามีสวนรวม ข้ันตอนแรกของการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนจึงตองสื่อสารใหบุคลากรทราบวาทําไมตองปรับเปลี่ยน ส่ิงที่ตองปฏิบัติคือการสื่อสารกับผูบริหารและขออนุมัติหลักการ รวมถึงการสื่อสารใหบุคลากรเห็นถึงความจําเปนที่ตองปรับเปล่ียนประบวนทัศนและหาทางใหบุคลการเขารวมจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมใหมากที่สุด ข้ันตอนการเตรียมตัวจะใหความสําคัญกับบุคลากร เพราะถาบุคลากรใหความรวมมือจะเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่ง วิธีการเตรียมการมีเปาหมายเพื่อใหบุคลากรพรอมที่จะใหความรวมมือกับการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน ดังนั้นจึงตองใชการสื่อสารอยางตอเนื่องในเวทีตางๆการเริ่มตนของการปรับเปลี่ยน การเตรียมตัวจะใหความรูและเหตุผลของการปรับเปลี่ยนเปนสําคัญ แตเมื่อไดเปาหมายและแผนการปรับเปลี่ยนแลว จึงสื่อสารใหบุคลากรทราบ โดยการสื่อสารตองทําอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการนําแผนไปปฏิบัติ อยาใหบุคลากรรูสึกวาการปรับเปลี่ยนหยุดนิ่งอยูกับที่ การสรางชุมชนนักปฏิบัติการ(COP) เปนวิธีการหนึ่งที่นิยมใชกันมาก โดยอาจทําเปนการพูดคุยกันทุกเชาวันจันทรหรือวันอังคาร หรือตามวาระตาง ๆ เพราะโดยปกติคนไทยจะเรียนรูจากการพูดคุยและการฟงมากกวาวิธีการอื่น ๆ อยางไรก็ตามตองไมทอดทิ้งการปฏิบัติดวยวิธีอ่ืน

Page 27: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

19

ขั้นตอนที่ 2 การจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม การทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ตองทําใหสอดคลองกับ

วิสัยทัศนและเปาหมายขององคกร เพื่อลดการตอตานการเปลี่ยนแปลง ควรใหบุคลากรที่มีสวนไดสวนเสียทุกคนมารวมดําเนินงานตั้งแตการจัดทําแผน องคประกอบของแผนควรระบุประเด็นตาง ๆ ดังนี้ (1) ระบุเปาหมายที่ตองการจะเปน (2) กิจกรรม ควรกําหนดหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค วิธีการ วิทยากร กลุมเปาหมาย วัน เวลา และสถานที่ ผลประโยชนที่จะไดรับ งบประมาณ ผูรับผิดชอบการประเมินผล (3) แผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนที่ดี ตองมาจากการทําแผนรวมกันของบุคลากร แผนควรไมนิ่ง แตตองปรับตามสิ่งแวดลอมและบทเรียนหรือประสบการณที่ไดจากการทํากิจกรรมตาง ๆ เพราะการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน เปนลักษณะเฉพาะของแตละองคกรที่ตองเรียนรู วิธีการ การปฏิบัติ ที่เหมาะสมขององคกรผานการเรียนรูจากการปฏิบัติ ดังนั้นแผนอาจถูกเปลี่ยน หากประเมินผลพบวามีเปาหมายหรือวิธีการอื่นที่เหมาะสมกวา

หัวใจสําคญัของการทาํแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม คือการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสีย ดังนัน้ แนวทางการปฏิบัติจึงตองดําเนินการ ดังนี ้

(1) ต้ังทีมงานสําหรับเปนทีมนําการเปลี่ยนแปลงประกอบดวยตัวแทนจากทุกกลุมที่มีสวนได สวนเสีย และควรมีผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณจากภายนอกเขารวมแสดงความคิดเห็นดวย แตการตัดสินใจตองอยูบนพื้นฐานของคนในองคกรรวมกันตัดสินใจและรวมกันผลักดัน

(2) การทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ซึ่งวิธีการทําแผนขึ้นอยูกับความพรอมและขนาดขององคกร การทําแผนสามารถทําไดโดย 1) การนําบุคลากรทั้งหมดของหนวยงานมารวมกันทํา WORKSHOP วิธีนี้เหมาะกับองคกรขนาดเล็ก ซึ่งมีขอดีคือใชเวลานอย แตตองใหบุคลากรทุกระดับรวมแสดงความคิดเห็น 2) การนําบุคลากรที่เปนทีมนําการเปลี่ยนแปลงมาประชุมหรือทํากิจกรรมแลวใหผูนําการเปลี่ยนแปลงนําไปเผยแพรพรอมรับขอเสนอแนะเพื่อกลับมาแกไขปรับปรุงแผน วิธีนี้เหมาะกับองคกรขนาดใหญ มีขอดีคือผูนําการเปลี่ยนแปลงสวนใหญเปนบุคลากรที่มีความสามารถจึงกลาแสดงความคิดเห็น แตใชเวลาในการทําแผนเพราะตองรับฟงขอเสนอแนะจากผูมีสวนได สวนเสียหลายคน

กระบวนการจัดแผนจะเริ่มจากการวิเคราะหปญหา และชี้แจงผูจัดทําแผนเห็นปญหาและเปาหมายที่ตองการจะเปนรวมกันจากนั้นจึงกําหนดแผนการเพื่อนําไปสูการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ ในทางปฏิบัติจะทําแผนใหสอดคลองกับปญหาและความตองการที่จะเปนขององคกร จากนั้น จึงนําไปวิเคราะหเพื่อเชื่อมโยงกับ I am ready โดยดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

Page 28: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

20

(1) การวิเคราะหปญหาซึ่งเปนการวิเคราะหแบบ Swot Analysis ทั้งนี้ ถาบุคคลไมกลาแสดงความคิดเห็นควรแบงเปนกลุมเล็ก ๆ จากนั้นจึงนําเสนอผลการวิเคราะหของแตละกลุมเพื่อสรุปเปนภาพรวมขององคกร

(2) การกําหนดเปาหมายและแผนการปรับเปล่ียน โดยการใหแตละกลุมแสดงความคิดเห็น นําเสนอและสรุปเปนภาพรวมของหนวยงาน/องคกร

(3) การกําหนดแผนกิจกรรมยอย ๆ โดยใหแตละคน/กลุมคิดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน และนําเสนอเพื่อใหสมาชิกคนอื่นใหขอเสนอแนะ จากนั้นจึงนําไปปฏิบัติ โดยปกติจะใหสมาชิกที่เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงไปประชุมรวมกับทีมงานกอนที่จะนําเสนอในที่ประชุม

(4) ขออนุมัติและประกาศการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมตามแผนที่วางไว ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติตามแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทศัน การปฏิบัติตามแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ตองอาศัยการมีสวนรวมของบุคลากรของหนวยงาน ซึ่งโดยปกติการทําแผนจะระบุผูรับผิดชอบในแตละกิจกรรม หนาที่ของผูนําการเปลี่ยนแปลงจึงตองกระตุนใหเกิดการปฏิบัติตามแผน นอกจากนี้ตองประชาสัมพันธกิจกรรมยอยๆของหนวยงานใหบุคลากรรับทราบและมีสวนรวมในกิจกรรมอยางตอเนื่อง อยาทํากิจกรรมเหมือนไฟไหมฟาง คือทําเปนพัก ๆ แลวเงียบไป แลวกลับมาทําอีก เพราะจะทําใหรูสึกวากิจกรรมไมตอเนื่อง เพื่อใหกิจกรรมมีความตอเนื่องและผู รับผิดชอบปฏิบัติตามควรจัดเปดตัวโครงการ เปนอันดับแรกโดยใหบุคคลภายนอกรวมสังเกตการณ เพื่อใหผูรับผิดชอบรูวาตนเองมีหนาที่อะไรและเปดโอกาสใหหนวยงานภายในและภายนอกรวมกันตรวจสอบ การนําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนไปปฏิบัติอาจถูกการตอตาน ผูนําการเปลี่ยนแปลงตองไมนิ่งเฉยและใชวิธีนาวโนมจิตใจโดยการใหขอมูล แตเมื่อเวลาผานไป บุคลากรเริ่มเห็นผลของการเปลี่ยนแปลง จะทําใหเกิดความรวมมือใหมากขึ้น การปฏิบัติตามแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน ตองมีทีมของผูนําการเปลี่ยนแปลงที่ควบคุม ติดตาม อํานวยความสะดวกเพื่อใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมาย บทบาทของผูนําการเปลี่ยนแปลงควรเปนการสรางความตระหนักใหผูรับผิดชอบกิจกรรมตางๆ ปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่รับผิดชอบ

Page 29: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

21

นอกจากนี้ ผูนําการเปลี่ยนแปลงตองสรางบรรยากาศใหมีความรูสึกวามีการทํากิจกรรมเพื่อนําไปสูการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนอยางตอเนื่อง ดวยการประชาสัมพันธ เผยแพรบรรยากาศและสรุปผลกิจกรรมใหทุกคนทราบ การจัดกิจกรรมควรเริ่มจาการประชาสัมพันธแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนใหบุคลากรและบุคคลภายนอกรับทราบ เพื่อใหเกิดความเขาใจทิศทางขององคกรพรอมทั้งการกระตุนใหผูรับผิดชอบในแตละกิจกรรมดําเนินการตามแผนที่วางไว ซึ่งอาจจัดการเปดตัวของแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน โดยเชิญบุคคลภายนอกที่มีสวนได สวนเสียมารวมรับฟงดวย ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล การประเมินผลการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม หากประเมิน ผลลัพของการปรับเปลี่ยนจริง ๆ ตองใชระยะเวลานาน ซึ่งถารอการประเมินผลลัพธทหลังจบโครงการอาจ สายเกินไป ประกอบกับการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน ตองทําอยางตอเนื่อง ดังนั้นการประเมิน การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนควรทําตอเนื่อง ดวยการประเมินกิจกรรมและพฤติกรรม การประเมินผลกิจกรรม คือการประเมินเนื้อหาของกิจกรรมและวิธีการถายทอดวาเปนไปตามวัตถุประสงคหรือไม เพื่อเปนขอมูลในการดําเนินการในครั้งตอไป การประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล อาจทําทุก 15 วัน หรือ 30 วัน ข้ึนอยูกับความพรอมและความสมัครใจของบุคลากร วิธีการประเมินอาจใหสมาชิกประเมินกันเองและใหผูรับบริการประเมินผลในภาพรวมของทั้งหนวยงาน/องคกร

แผนภูมิที่ 1 กระบวนการ ขั้นตอนปรบัเปลี่ยนกระบวนทศัน วฒันธรรมและคานิยม

การเตรียมตวั

กระบวนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน

การทําแผนการปรับเปลี่ยน การประเมินผล

การนําแผนไปปฏิบัติ

Page 30: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

22

ตารางที่ 2 สรุปแนวทางการดําเนินการปรับเปลีย่นกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม

กระบวนการ วัตถุประสงค วิธีการดําเนินงาน เครื่องมือที่ตองใช การเตรียมตัว 1. การสื่อสารใหทราบถึงเหตุผลของ

การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน 2. การสรางความรูสึกมีสวนรวมของบุคลากรในการปรับเปล่ียน 3. การทําใหบุคลากรมีสวนรวมในการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน

การสื่อสารอยางตอเนื่องในเวทีตาง ๆ เชน การประชุม จดหมายอิเล็กทรอนิกส การสรางชุมชนนักปฏิบัติการ วาดวยเรื่องการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน การทําบอรดประชาสัมพันธ

ชองทางการสื่อสารกับบุคลากรในรูปแบบตาง ๆ ทั้งการประชุม การสรางชุมชนนักปฏิบัติการ จดหมายอิเล็กทรอนิกสรวมถึงการมีความสัมพันธที่ดีกับบุคคลในองคกรทุกกลุม

ก า ร ทํ า แ ผ น ก า รปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม

1. ทําแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนที่ เปนแบบเฉพาะของหนวยงาน/องคกร 2. สรางความรูสึกเปนเจาของแผนรวมกันของผูมีสวนไดสวนเสียที่มารวมกันวางแผน 3 . ร ะ บุ ผู รั บ ผิ ด ช อบ ใ น แต ล ะกิจกรรมของแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน

1. ตั้งทีมงานสําหรับเปนทีมนําการเปลี่ยนแปลง 2. การทําแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนวัฒนธรรมและคานิยม

อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ก า ร จั ด Workshopและจัดประชุม รวมถึงความรู เรื่อง การวิเคราะห Swot และการเขียนแผน

การปฏิบัติตามแผน การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน

1 . ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ แ ผ น ก า รป รั บ เ ป ลี่ ย น ก ร ะ บ ว น ทั ศ น ใหบุคลากรและบุคคลทราบ 2. ติดตาม กระตุน อํานวยความสะดวกใหมีการทํากิจกรรมตามแผนการปรับเปล่ียน

มีทีมของผูนําการเปลี่ยนแปลงที่ควบคุม ติดตาม อํานวยความสะดวก เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมาย บทบาทของผูนําการเปลี่ยนแปลงควรสรางความตระหนักใหผูรับผิดชอบกิจกรรมตาง ๆ ปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่รับผิดชอบ

แผนการปรับเปล่ียนโดยละเอียด ตารางติดตามงานและรูปแบบของรายงานผลการจัดงาน

การประเมินผล 1. ติดตามผลการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน 2. วิเคราะหความเหมาะสมของการดําเนินงานเพื่อปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม

1. การประเมินผลกิจกรรม 2. การประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล

แบบฟอรมการประเมินผล โดยแบบฟอรมที่ใชตองสกัดมาจากความตองการหรือเปาหมายตามแผนกา รป รั บ เ ป ล่ี ยนกระบวนทัศน

Page 31: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

23

2.9 แนวทางการปฏิบัติราชการของจังหวัด ผูวาราชการจงัหวัดเพชรบุรี กําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการของจังหวัด เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติของทุกหนวยงานดวย หลกั 5 ส ดังนี ้ (1) สํานึกตอสถาบัน (2) สมานฉันท สามัคค ี (3) สงบ ยกยองคนดี (4) สะอาด สงเสริมการทองเที่ยว (5) สัมฤทธิ์ผล ตรงเปาหมาย

2.10 โครงสรางและอํานาจหนาที่ของสํานักงานจังหวัด 2.10.1 โครงสราง

แผนภูมิที่ 2 โครงสรางสาํนักงานจังหวดั

2.10.2 อํานาจหนาที ่ 1) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2534 มาตรา 60 (1) สํานักงานจังหวัดมีอํานาจหนาที่ในการบริหารงานทั่วไปและการวางแผนการพัฒนาจังหวัด

2) กฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2545 กําหนดใหสํานักงานจังหวัด มีอํานาจหนาที่ ดังนี้

กลุมงานยุทธศาสตร การพัฒนาจังหวัด

ฝายอํานวยการ กลุมงานขอมูลสาร สนเทศและการสื่อสาร

กลุมบริหารทรัพยากรบุคคล

หนวยตรวจสอบภายใน

โครงสรางสาํนักงานจังหวดั

Page 32: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

24

(1) แปลงยุทธศาสตรการพัฒนาระดับชาติไปเปนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดในพื้นที ่ (2) พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อ การวางแผน และเครือขายสารสนเทศของจังหวัด โดยเปนศูนยสารสนเทศของจังหวัด เพื่อการบริหารและวางแผนพัฒนาจังหวัด

(3) จัดทําแผนพัฒนาจังหวดั ดําเนนิการตามแผน กาํกับ และติดตามผลการดําเนนิงานตามยุทธศาสตร นโยบายและแผนพัฒนาจังหวัด

(4) อํานวยการ ประสาน และปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัด

(5) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย

Page 33: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

25

บทที่ 3

ข้ันตอนการปฏิบัติงาน ในบทนี้ ผูศึกษานาํเสนอขั้นตอนการปฏิบัติงานในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมหนวยงานภาครัฐ :ศึกษากรณีสํานกังานจงัหวัดเพชรบุรี ประกอบดวย 4 ข้ันตอนหลัก ดังนี ้

3.1 ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัว (1) จัดสงบุคลากรสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี เขารวมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานตนแบบของสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี เพื่อขยายเครือขายการเรียนรู (2) สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี สมัครเขารวมโครงการ โดยจัดสงใบสมัครพรอมขอมูลที่เกี่ยวของของหนวยงาน ใหสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พิจารณา (3) บุคลากรของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี กรอกแบบสอบถามเพื่อประเมินความพรอมในการเขารวมเปนหนวยงานนํารอง (4) สํานักงานจังหวัดเพชรบุรีและสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี รวมกันกําหนดแนวทางการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานตนแบบ (5) ทีมงานสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี เขารวมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางหนวยงานตนแบบกับหนวยงานนํารองระหวางวันที่ 7-8 มิถุนายน 2550 ณ รอแยลฮิลส กอลฟ รีสอรท แอนด สปา จังหวัดนครนายก โดยหนวยงานตนแบบเสนอจุดเดนในการดําเนินงานที่ประสบผลสําเร็จ และหนวยงานนํารองเสนอขอมูลหนวยงานและสิ่งที่ตองการดําเนินการ (6) สํานักงานจังหวัดเพชรบุรีไดรับการคัดเลือกใหเขาเปนหนวยงานนํารองตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม โดยไดมีการลงนามในขอตกลงวาดวยความรวมมือในการดําเนินงาน เมื่อวันที่ 16 กรกฏาคม 2550 (7) ประชุมชี้แจงบุคลากรในสังกัดเพื่อชี้แจงความเปนมาและเหตุผลความจําเปนของการเขารวมโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม เปาหมายและแผนการปรับเปลี่ยนองคกร (8) ประชุมเชิงปฏิบัติการบุคลากรในสังกัด เพื่อรวบรวมปญหา อุปสรรคในการปฎิบติงานและความคาดหวังของบุคลากรที่ตองการจะเห็นการเปลี่ยนแปลง (9) แตงตั้งคณะทํางานโครงการนํารองปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

Page 34: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

26

(10) ประชุมคณะทํางานโครงการนํารองปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี เพื่อกําหนดกรอบการดําเนินงาน จัดทําแผนการปฏิบัติและหวงระยะเวลา ในการดําเนินการ

3.2 ขั้นตอนที่ 2 การจัดทําแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ระหวางวันที่ 1-2 กันยายน 2551 ณ เพชรริมธารรีสอรท อําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี เพื่อจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม โดยในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ไดดําเนินการ ดังนี้

(1) ประเมินศักยภาพองคกร โดยใชหลัก Swot Analysis (2) กําหนดวิสัยทัศนองคกร(Vison) (3) กําหนดเปาหมาย(Goals) (4) จัดทําแผนการปฏิบัติการ (Action Plan) แผนภาพที่ 1 บุคลากรสาํนักงานจังหวดัเพชรบุรีเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการ

Page 35: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

27

แผนภาพที่ 2 รับฟงการชีแ้จงแนวทางดําเนินงานจากวทิยากรสถาบันบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

แผนภาพที่ 3 แบงกลุมประเมินศกัยภาพองคกร

Page 36: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

28

แผนภาพที่ 4 ระดมความคิดเห็นในการจัดทําแผน

ตารางที่ 3 สรุปผลการประเมินศกัยภาพองคกร

จุดแข็ง (Strength) 1. เปนหนวยงานกลางทีเ่ปนศนูยกลางทุกเรื่องของจงัหวัด 2. บุคลากรมีความสามารถหลากหลาย 3. เปนหนวยงานประสานงานและอํานวยการแก สวนราชการตาง ๆ

จุดออน(Weakness) 1. บุคลากรอยูในพืน้ทีน่านเกนิไป 2. ขาดความสามัคคีและความทุมเทในการทํางาน 3. ขาดการพฒันาตนเอง

โอกาส(Opportunity) 1. ทํางานใกลชิดผูวาราชการและอยูภายใตการสั่งการ ของผูวาราชการจังหวัดโดยตรง 2. มีองคกรภายนอกใหความรวมมือและสนับสนนุ 3. มีงบบูรณาการในการบริหารงานจังหวดั

ขอจํากัดหรอืภัยคุกคาม(Threat) 1. สวนกลางสัง่งานซ้าํซอน 2. การสั่งการของสวนกลางขาดการบูรณาการ 3. มีงานเรงดวนมากมาย

Page 37: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

29

แผนภูมิที่ 3 วิสยัทัศน เปาหมายและแผนปฏิบัติการ

3.3 ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติตามแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม 3.3.1 เปดตัวโครงการ(KICK OFF) จัดประชุมเปดตัวโครงการ(KICK OFF) ในวันที่12 ธันวาคม 2550 ณ หองประชุม

พริบพรี ศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี เพื่อประกาศเจตนารมณในการปรับเปลีย่นกระบวนทศัน วฒันธรรมและคานิยม และเตรียมความพรอมของสวนราชการในจังหวัดที่จะรองรับการขยายผลตอไปในอนาคต ผูเขารวมประชุม ประกอบดวย หัวหนาสวนราชการประจําจังหวัด หัวหนาสวนราชการสวนกลาง นายอําเภอ หัวหนาหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น 3.3.2 ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ

3.3.2.1 การเสริมสรางคุณธรรมในการปฏิบัติงาน จัดทําบอรดขนาดใหญติดขอความคุณธรรม 10 ประการของพระบาทสมเด็จ

พระเจาอยูหัว ติดตั้งไวบริเวณหนาสํานักงาน เพื่อเปนเครื่องเตือนใจบุคลากรในสังกัดในการมาปฏิบัติงานใหประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

วิสัยทัศนองคกร(Vison) สํานักงานจงัหวัดเพชรบุรี เปนองคกรประสานงานและ

สนับสนนุการพัฒนาจงัหวัดจังหวัดที่มีคุณภาพ รวมมือกนัทาํภารกิจใหบรรลุเปาหมาย

เปาหมาย(Goals) เพิ่มสมรรถนะของบุคลากรในการปฏิบัติงาน

แผนการปฏิบัติการ (Action Plan)

Page 38: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

30

แผนภาพที่ 5 บอรดคุณธรรม

3.3.2.2 การประชุมประจําเดือนขาราชการและลกูจาง สํานกังานจังหวัดเพชรบุร ี

ประชุมขาราชการและลูกจางสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีเปนประจําทุกเดือน โดยถือเอาวันประชุมหัวหนาสวนราชการประจําเดือนของจังหวัดเปนวันประชุม ในการประชุม ไดซักซอมแนวทางปฏิบัติตามนโยบายกระทรวงมหาดไทย นโยบายจังหวัดและขอส่ังการของผูวาราชการจังหวัด หารือภารกิจสําคัญ เรื่องเรงดวนและเรื่องที่จะตองติดตามของหนวยงาน รวมทั้งการปรึกษาหารือปญหา อุปสรรคในการทํางานและระดมความคิดเห็นในการแกไขปญหา

การสรางความรูสึกรวมของบุคลากรในสังกัดใหพรอมที่จะลุกขึ้นมาปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมในการทํางานโดยใชแนวคิดวิทยากรกระบวนการ คือ ชี้ใหเห็นทุกข ปลุกใหรุกมาสู ใหความรูพอที่จะกลาเสี่ยง

กรอบการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนของบุคลากรในสังกัดใช กลยุทธ 3 ป. เปนกรอบการปฏิบัติ คือ ประเมิน ปรับเปลี่ยนและปรับปรุง

Page 39: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

31

แผนภาพที่ 6 การประชุมประจําเดือน

แผนภาพที่ 7 ติดตามความคืบหนาการดําเนินงานตามแผน

Page 40: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

32

แผนภูมิที่ 4 แนวคิดวิทยากรกระบวนการ

แผนภูมิที่ 5 กลยุทธ 3 ป

ชี้ใหเห็นทุกข 1. การเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน 2. การปฎิรูประบบราชการ 3. การทํางานเชิงรับ 4.ป ญ ห า อ ุป ส ร ร ค แ ล ะขอขัดของในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนในการอยูรวมกัน

ปลุกใหรุกมาสู 1. ความพรอมและศักยภาพขององคกร 2. สมรรถนะของบุคลากร ที่มีแตไมไดดึงมาใช 3. ภาวะผูนําของทุกคน 4. การตัดสินใจที่จะเปลี่ยนแปลง

ใหความรูพอที่จะกลาเสี่ยง

1. การทํางานเปนทีม 2. การพัฒนาทีมงาน 3. หลักการพัฒนาตนเอง 4. แนวทางการพัฒนางานและระบบงาน 5. การบริหารงานภาครัฐ แนวใหม 6 . ก า รบ ร ิห า ร ง า น แบบมุ งผลสัมฤทธิ์

ประเมิน

1. ประเมนิตนเอง (1) ขอบกพรอง/ขอจํากดัในการปฏิบัติงาน (2) ขอบกพรอง/ขอจํากดัในการอยูรวมกับเพื่อนรวมงาน 2. ประเมนิองคกร (1) ปญหา/ขอจํากัดขององคกร (2) สภาพแวดลอมที่เปนอุปสรรคในการทํางาน

ปรับเปลี่ยน

1.ปรับเปลี่ยนทัศนคติในการทํางาน/ทัศนคติตอเพื่อนรวมงาน 2. แยกเรื่องสวนตัวจากเรื่องงาน มีน้ําใจทีม ไมแบงฝาย 3. มีความคิดเชิงบวก 4. สรางบรรยากาศในการทาํงาน

ปรับปรุง

1. คุณภาพของงาน 2. ลดงานธุรการ 3. ลดขั้นตอนการทาํงาน 4. จัดระบบความพรอมของการสื่อสาร 5.การทาํงานเชิงรุก 6. การบริหารงานแบบมุงผลสัมฤทธิ ์

Page 41: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

33

ตารางที่ 4 หลกัการปรบัเปลี่ยนกระบวนทัศน วฒันธรรมและคานยิมสาํนกังานจงัหวัดเพชรบุรี การปรับเปลีย่น กระบวนทัศนเดิม (Old Paradigm) กระบวนทัศนใหม (New Paradigm)

วิธีคิด 1. ตางคนตางทํา 2. องคกรใหอะไร 3. ขาดแคลน 4. เชิงลบ

1. Team Work 2. ใหอะไรกับองคกร 3. พัฒนาสิ่งที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด 4. เชิงบวก

วิธีการใหคุณคา 1. ปริมาณ 2.ความรู (Knowledge)

1. คุณภาพ 2. สมรรถนะ (Compotency)

วิธีปฏิบัติ 1. ประเมินคนอื่น 2. เครียด

1. ประเมินตนเอง 2. สรางบรรยากาศในการทํางาน

3.3.2.3 การสังสรรค เยี่ยนเยียนครอบครัวสมาชิก ปรับทุกขผูกมิตร เยี ่ยมเย ียนครอบครัวสมาชิกเปนประจําท ุก เด ือนโดยจัดสงสรรคและรับประทานอาหารรวมกันภายใตบรรยากาศเพื่อนพองนองพี่

แผนภาพที่ 8 เยี่ยมเยียนครอบครัวสมาชิกสาํนักงานจังหวัดเพชรบุรี

Page 42: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

34

แผนภาพที่ 9 กิจกรรมสังสรรค

3.3.2.4 กฎ กติกาในการปฏิบัติงานและการอยูรวมกัน

กําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานและการอยู ร วมกัน โดยจัดทําเปนประกาศของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี กําหนดขอกําหนดในการปฏิบัติงานและขอกําหนดในการปฏิบัติตนในการอยูรวมกันของบุคลากรในสังกัด 3.3.2.5 การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานและการศึกษาดูงานชุมชนตนแบบบานกลางดง จังหวัดประจวบคีรีขันธ ส ัม ม น า เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร เ พื ่อ เ พิ ่ม ป ร ะ ส ิท ธ ิภ า พ แ ล ะ ล ด ขั ้น ต อ น การปฏิบัติงานและการศึกษาดูงานชุมชนตนแบบ ระหวางวันที่15-16 มีนาคม 2551 ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยการสัมมนาเชิงปฏิบัติการไดพิจารณาคัดเลือกกระบวนงานที่จะลดขั้นตอน 2 กระบวนงาน (งานรับรองเรื่องราวรองทุกข / งานการจัดทําบัตรเหรียญราชการชายแดนและบัตรเหรียญพิทักษเสรีชน) และศึกษาชุมชนตนแบบบานหนองกลางดงเพื่อเสริมสรางกระบวนการเรียนรูหนวยงานที่ประสบความสําเร็จดวยการใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง

Page 43: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

35

แผนภาพที่ 10 สัมมนาเชิงปฏิบัติการและศกึษาดูงาน ณ จังหวัดประจวบคีขีขันธ

แผนภาพที่ 11 รบัฟงวทิยากรของชุมชนตนแบบบานหนองกลางดง

Page 44: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

36

3.4 ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ประเมินผลการดําเนินงานตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน

วัฒนธรรมและคานิยม โดยการจัดทําแบบสอบถามสํารวจความคิดเห็นของหัวหนาสวนราชการ หัวหนาหนวยงานรัฐวิสาหกิจ นายอําเภอ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่จังหวัดวามีความ พึงพอใจตอสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีในดานการประสานงานและการบริการอยูในระดับใด แลวนํามาประมวลผลทางสถิติ โดยมีหนวยงานที่สงแบบสอบถามความคิดเห็น รวมจํานวน 131 หนวยงาน ประกอบดวย สวนราชการสวนกลาง 49 หนวยงาน สวนราชการสวนภูมิภาค 26 หนวยงาน หนวยงานรัฐวิสาหกิจ 7 หนวยงาน อําเภอ 4 อําเภอ เทศบาล 3 แหงและองคการบริหารสวนตําบล 42 แหง

Page 45: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

37

บทที่ 4

ผลการดําเนินงาน

ในบทนี้ ผูศึกษานําเสนอ ผลการดําเนินงานตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ในดานปจจัยนําเขา (Input) กระบวนการดําเนินงาน(Process) ผลผลิต (Output) และผลลัพธ (Outcome) ตามลําดับ ดังนี้

4.1 ปจจัยนําเขา (Input) 4.1.1 ดานอัตรากําลัง สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี มีอัตรากาํลัง ณ วันที่ 1 กันยายน 2550 ประกอบดวยขาราชการ 19 คน ลูกจางประจาํ 13 คน พนักงานราชการ 2 คน ลูกจางชั่วคราว 6 คน

ตารางท่ี 5 อัตรากาํลัง สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ณ วันที่ 1 กันยายน 2550

งาน/ฝาย/กลุม ขาราชการ ลูกจางประจาํ พนักงานราชการ ลูกจางชั่วคราว รวม ตรวจสอบภายใน 1 - - - 1 อํานวยการ 7 13 - - 20 ยุทธศาสตร 3 - - 5 8 ขอมูลสารสนเทศ 6 - - 1 7 ทรัพยากรบุคคล 2 - 2 - 4

รวม 19 13 2 6 40 4.1.2 ดานงบประมาณ

งบประมาณดําเนินงานโครงการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี มีแหลงที่มาของงบประมาณ ดังนี้ (1) งบประมาณที่ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี (2 ) งบประมาณรายจ ายประจําปงบประมาณ พ .ศ .2550 งบรายจายอื ่น คาใชจายในการบริหารจัดการจังหวัดแบบบูรณาการ (ดานคาใชจายในการพัฒนาบุคลากร)

Page 46: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

38

4.1.3 ดานวัสดุ/อุปกรณ วัสดุ/อุปกรณของสาํนักงานจังหวัดเพชรบุรี 4.1.4 ดานแผนงาน/โครงการ (1) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

(2) การประชุมชี ้แจงการปรับเปลี ่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม (KICK OFF) แกสวนราชการ หนวยงานรัฐวิสากิจ อําเภอและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่

(3)การเสริมสรางคุณธรรมในการปฏิบัติงาน (4) การประชุมประจําเดือนขาราชการและลูกจาง สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี (5) การสังสรรค เยี่ยมเยียนครอบครัวสมาชิก สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

(6) การกําหนดกฎ กติกาในการปฏิบัติงานและการอยูรวมกนัของเจาหนาที่ในสังกัด สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

(7) การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และศึกษาดูงานชุมชนตนแบบบานกลางดง

4.2 กระบวนการดําเนินงาน (Process) 4.2.1 ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัว จัดสงบุคลากรสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี เขารวมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานตนแบบและหนวยงานนํารอง สมัครเขารวมโครงการ กรอกแบบสอบถามเพื่อประเมินความพรอมในการเขารวมเปนหนวยงานนํารอง จัดประชุมชี้แจงบุคลากรในสังกัด แตงตั้งคณะทํางาน ประชุมคณะทํางานและจัดทําแผนการปฏิบัติ 4.2.2 ขั้นตอนที่ 2 การจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทศัน วฒันธรรมและคานิยม

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม โดยประเมินศักยภาพองคกร กําหนดวิสัยทัศนองคกร(Vison) กําหนดเปาหมาย(Goals)และ จัดทําแผนการปฏิบัติการ (Action Plan) 4..2.3 ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติตามแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม

จัดประชุมเปดตัวโครงการ(KICK OFF) เพื่อประกาศเจตนารมณในการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมและดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ

Page 47: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

39

4.2.4 ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล การประเมินผลการดําเนินงานตาม โดยการสํารวจความคิดเห็นของหัวหนาสวนราชการ

หัวหนาหนวยงานรัฐวิสาหกิจ นายอําเภอ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยนําขอมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะหทางสถิติสรุปผลการประเมิน ไดดังนี้ 4.2.4.1 สรุปผลการประเมินในภาพรวมพบวา ความคิดเห็นที่มีตอสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีในภาพรวม หัวหนาสวนราชการ หัวหนาหนวยงานรัฐวิสาหกิจนายอําเภอ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่จังหวัดมีความพึงพอใจตอสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีในภาพรวม ดานการประสานงานอยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 1,731 และดานการบริการอยู ในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 1,549 ดานการประสานงานอยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 1,731 และดานการบริการอยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 1,549 4.2.4.2 สรุปผลการประเมินของแตละฝายและกลุมงาน ดังนี้ ฝายอํานวยการ (1) ดานการประสานงาน สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในงานการจัดประชุมหัวหนาสวนประจําเดือน อยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 69 (2) ดานการบริการ สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในการจัดงานพิธีการตางๆ อยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 57 (3) ขอคิดเห็น/ ขอเสนอแนะ 1) ส่ิงที่ดําเนนิการดีแลว ดําเนนิการดีแลวทุกหนาที่ความรับผิดชอบ คิดเปนรอยละ 48.1 โดยงานรัฐพิธี ราชพิธ ีงานรับเสด็จ คิดเปนรอยละ 19 และรองลงมา คือ งานประชุมประจําเดือนหัวหนาสวนราชการของจังหวัด รอยละ 11.4 2) ส่ิงที่ควรปรับปรุง การประสานงานเรื่องประชมุประจําเดือนและรับเสด็จ มีการประสานงานลาชา และไมชดัเจน คิดเปนรอยละ 39.2 และรองลงมาคือ การสงหนงัสือลาชา ทําใหดําเนินการไมทัน คิดเปนรอยละ 13.7 กลุมงานยุทธศาสตรการพฒันาจังหวัด (1) ดานการประสานงาน สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในการ จัดประชุม การประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดทํายุทธศาสตรจังหวัด และแผนพัฒนาตางๆอยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 75

Page 48: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

40

(2) ดานการบริการ สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในงานการจัดประชุม การประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดทํายุทธศาสตรจังหวัด และแผนพัฒนาตางๆ อยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 70 (3) ขอคิดเห็น/ ขอเสนอแนะ 1) ส่ิงที่ดําเนินการดีแลว ดําเนินการดีแลวทุกหนาที่ความรับผิดชอบ คิดเปนรอยละ 62.1 โดยยุทธศาสตรจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดและงบประมาณจังหวัด คิดเปนรอยละ 13.6 และรองลงมาคือ ยุทธศาสตรอยูดีมีสุขระดับจังหวัด รอยละ 9.1 2) ส่ิงที่ควรปรับปรุง การแจงขอมูลประสานงานลาชา ควรมีการแจงลวงหนาเพื่อดําเนินการไดทัน คิดเปนรอยละ 33.3 และรองลงมา การสั่งการเรงดวนเกินไป ควรมีระยะเวลาใหดําเนินการ คิดเปนรอยละ 25.6

กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (1) ดานการประสานงาน สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในการจัดทํา ทําเนียบสวนราชการ และการประสานงานในเรื่องการจดัทําขอมูลจังหวัด ตามตัวชีว้ัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการของจงัหวัด อยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 60 (2) ดานการบริการ สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในงานการจัดทําทําเนียบหัวหนาสวนราชการอยูในระดับมาก มีคะแนนเทากบั 52 (3) ขอคิดเห็น/ ขอเสนอแนะ 1) ส่ิงที่ดําเนินการดีแลว ดําเนินการดีแลวทุกหนาที่ความรับผิดชอบ คิดเปนรอยละ 58.1 โดยการใหบริการเว็บไซตของจังหวัด คิดเปนรอยละ 14.9 และรองลงมาคือ การประสานงานการจัดงานพระนครคีรี-เมืองเพชร คิดเปนรอยละ 9.5 2) ส่ิงที่ควรปรับปรุง การบริการดานเว็บไซต อินเตอรเน็ตจังหวัด ไมคอยมีการอัพเดต คิดเปนรอยละ 23.3 และรองลงมาการประชุมผานวีดิทัศนทางไกล ไมทราบรายละเอียด คิดเปนรอยละ 18.6

กลุมบริหารทรพัยากรบุคคล (1) ดานการประสานงาน สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในการ ดําเนนิงาน อ.ก.พ. จงัหวัด อยูในระดับมาก มีคะแนนเทากบั 49 (2) ดานการบริการ สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในงานการ ดําเนนิงานพฒันาทรัพยากรบุคคลในจังหวัด อยูในระดับปานกลาง มีคะแนนเทากบั 50

Page 49: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

41

(3) ขอคิดเห็น/ ขอเสนอแนะ 1) ส่ิงที่ดําเนินการดีแลว ดําเนินการดีแลวทุกหนาที่ความรับผิดชอบ คิดเปนรอยละ 61.5 โดยงานปองกันและปราบปรามยาเสพติดและผูมีอิทธิพล คิดเปนรอยละ 9.3 และรองลงมาคือ งานประสานงานกับสํานักงาน ก.พ. และสวนราชการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและเสริมสรางความเขมแข็งดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของจังหวัด และงานประสานงานเรื่องการเลื่อนขั้นเงินเดือน การจัดสรรเงินรางวัล คิดเปนรอยละ 7.7 2) ส่ิงที่ควรปรับปรุง งานปราบปรามยาเสพติด ผูมอิีทธิพล คิดเปนรอยละ 72.2 และรองลงมา คือ ควรมีการจัดอบรมหลักสูตรบุคลากรในระดับจังหวดั คิดเปนรอยละ 22.7

งานตรวจสอบภายใน (1) ดานการประสานงาน สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และพัสดุแกทุกหนวยงานในจังหวัด อยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 55 (2) ดานการบริการ สวนราชการ/หนวยงาน/อําเภอ มีความพึงพอใจในงานการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการเงิน การบัญชีและพัสดุแกทุกหนวยงานในจังหวัด อยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 50 (3) ขอคิดเห็น/ ขอเสนอแนะ 1) ส่ิงที่ดําเนินการดีแลว ดําเนินการดีแลวทุกหนาที่ความรับผิดชอบ คิดเปนรอยละ 66.2 โดยงานใหคําปรึกษา แนะนําเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และพัสดุ คิดเปนรอยละ 26.2

2) ส่ิงที่ควรปรับปรุง ควรจัดใหมีการอบรม-สัมมนา เพื่อแนะนําเจาหนาที่ ใหมีแนวทางปฏิบัติเหมือนกัน คิดเปนรอยละ 60 แผนภูมิที่ 6 สรุปผลการประเมินความคิดเห็นที่มีตอสํานักงานจงัหวัดเพชรบุรีในภาพรวม

-

200

400

600

800

1,000

1,200

1,400

1,600

1,800

การประสานงาน การบริการ

สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี

นอยที่สุดนอยปานกลางมากมากที่สุด

Page 50: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

42

4.3 ผลผลิต (Output) (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการ จํานวน 1 คร้ัง (2) ประชุมเปดตัวโครงการ (KIKC OFF) จํานวน 1 คร้ัง (3) ประชุมประจาํเดือน จํานวน 12 คร้ัง

(4) จัดทาํบอรดคุณธรรม จํานวน 1 บอรด (5) เยี่ยมเยียนครอบครัวสมาชิก จํานวน 6 คร้ัง

(6) จัดทําขอกําหนดในการปฏิบัติงาน/การอยูรวมกัน จํานวน 1 ชุด (7) สัมมนาเชิงปฏิบัติการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน จํานวน 1 คร้ัง และศึกษาดูงานชุมชนตนแบบ

4.4 ผลลัพธ(Outcome) (1) ความตื่นตัวของบุคลากรในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทํางานและทัศนคติตอเพื่อนรวมงาน (2) เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู การขับเคลื่อนองคกรเปนไปในทิศทางเดียวกัน (3) ความเขาใจ ความรวมมือ รวมใจและการทํางานเปนทีม (4) รับทราบปญหา อุปสรรคในการทํางาน สมาชิกในองคกรมีสวนรวมในการแกปญหารวมกัน

แผนภูมทิี่ 7 กรอบแนวคิดในการดําเนินงานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วฒันธรรม คานยิม สํานักงานจงัหวัดเพชรบุร ี

ปจจัยนาํเขา (Input)

- บุคลากร - งบประมาณ - วัสดุอุปกรณ - แผนงาน/โครงการ

กระบวนการดําเนินงาน(Process)

- การเตรียมตัว - การจัดทําแผน - การปฏิบัติตามแผน - การประเมินผล

ผลผลิต (Output)

- ประชุมเชิงปฏิบัติการ 1ครั้ง - ประชุมเปดตัวโครงการ 1 ครั้ง - ประชุมประจาํเดือน 12 ครั้ง - จัดทําบอรดคุณธรรม 1 บอรด - เยี่ยมเยียนครอบครัวสมาชิก 6 ครั้ง - จัดทําขอกําหนดการทํางานและการอยูรวมกัน 1 ชุด - สัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษา ดูงานหนวยงานตนแบบ 1 ครั้ง

ผลลัพธ (Outcome)

-ความตื่นตัวของบุคลากรในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติ - กา ร แลก เปลี่ ย น เ รี ย น รู การขับเคลื่อนองคกรไปในทิศทางเดียวกัน - ค ว า ม รู ค ว า ม เ ข า ใ จ ความรวมมือ ร วมใจและ การทํางานเปนทีม - สมาชิกมีสวนรวมในการแกปญหา

Page 51: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

43

แผนภาพที่ 12 หนวยงานตนแบบและหนวยงานนํารองรบัรางวลั สถาบันการบริหารกิจการบานเมืองทีดี่

Page 52: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

44

บทที่ 5

สรุปและขอเสนอแนะ

ขอนําเสนอสรุปและขอเสนอแนะการดําเนนิงานตามโครงการปรับเปลีย่นกระบวนทศัน วฒันธรรมและคานิยมของสํานักงานจงัหวัดเพชรบุรี ตามลําดับ ดังนี ้5.1 สรุป

การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการโลกาภิวัตนละความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ สงผลกระทบตอระบบราชการ การบริหารงานภาครัฐและการใหบริการประชาชนเปนอยางมาก หนวยงานภาครัฐจําเปนที่จะตองมีการปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับสถานการณ เปาหมายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีและแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ บุคลากรภาครัฐเปนกลไกสําคัญในการกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบราชการ หากบุคลากรภาครัฐไดรับการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงจะสงผลทําใหการบริหารงานภาครัฐและ การใหบริการประชาชนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(สํานักงาน ก.พ.ร.) กําหนดวิสัยทัศน ของการพัฒนาระบบราชการในชวงระยะ ป พ.ศ.2546 - 2550 ไววา “พัฒนาระบบราชการไทยใหมีความเปนเลิศ สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีและประโยชนสุข ของประชาชน” โดยมียุทธศาสตรรองรับ 7 ยุทธศาสตร ในสวนของยุทธศาสตรการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมสวนหนึ่งสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไดมอบหมายใหสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ดําเนินโครงการสรางตนแบบ เพื่อแสวงหาหนวยงานตนแบบ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนที่ดี เปนกรณีศึกษา เพื่อนําไปเปนตนแบบขยายผลการเรียนรูสูหนวยงานนํารอง

สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ไดพิจารณาเห็นความจําเปนที่จะตองมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมขององคกร จึงไดสมัครเขาเปนหนวยงานนํารองตามโครงการปรับเปล่ียน กระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และไดรับการคัดเลือกจากสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีใหเขารวมโครงการโดยเปนหนวยงานนํารองพรอมกับหนวยงานอื่นอีก 3 หนวยงาน คือ สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กรมสงเสริมสุขภาพจิตและสํานักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสาคร

Page 53: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

45

การดําเนินการตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ของสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ใชกรอบแนวคิดและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของเปนแนวทางในการดําเนินงาน คือเปาหมายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) กรอบแนวคิด I am ready หลักการวางแผน หลักการวิเคราะหศักยภาพขององคกรดวยเทคนิค Swot Analysis กรอบแนวคิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง การศึกษาลักษณะขององคกรแหงการเรียนรูเพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน การศึกษาแนวความคิดเรื่องกระบวนทัศน (Paradigm) วัฒนธรรม (Culture) และคานิยม(Values) แนวทางการปฏิบัติราชการของจังหวัด โครงสรางและอํานาจหนาที่ของสํานักงานจังหวัด โดยในการดําเนินการตามโครงการไดดําเนินการตามขั้นตอนที่สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีกําหนด 4 ข้ันตอนหลัก คือ ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมตัว มีการจัดสงบุคลากร เขารวมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานตนแบบและหนวยงานนํารอง การกรอกแบบสอบถามเพื่อประเมินความพรอม จัดประชุมชี้แจงบุคลากรในสังกัด แตงตั้งคณะทํางานและการจัดทําแผนการปฏิบัติ ข้ันตอนที่ 2 การจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ไดดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทําแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม โดยประเมินศักยภาพองคกร กําหนดวิสัยทัศน เปาหมายและจัดทําแผนการปฏิบัติการ ข้ันตอนที่ 3 การปฏิบัติตามแผนการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ดําเนินการจัดประชุมเปดตัวโครงการ เพื ่อประกาศเจตนารมณในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมแกสวนราชการ หนวยงานรัฐวิสาหกิจ อําเภอและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่และดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ และขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล ไดประเมินผลการดําเนินงาน โดยการสํารวจความคิดเห็นของหัวหนาสวนราชการ หัวหนาหนวยงานรัฐวิสาหกิจ นายอําเภอ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่จังหวัดที่มีตอสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี สรุปผลการประเมินในภาพรวมพบวา หัวหนาสวนราชการ หัวหนาหนวยงานรัฐวิสาหกิจ นายอําเภอ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่จังหวัดมีความพึงพอใจตอสํานักงานจังหวัดเพชรบุรีในภาพรวม ดานการประสานงานอยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 1,731 และดานการบริการอยูในระดับมาก มีคะแนนเทากับ 1,549

5.2 ขอเสนอแนะ 5.2.1 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ควรใหการสนับสนุนการดําเนินงานตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของหนวยงานตนแบบและหนวยงานนํารองอยางตอเนื่อง เพื่อนําไปสูความยั่งยืน เชน การสนับสนุนงบประมาณ การฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร ดวยการสรางวิทยากรตัวคูณ

Page 54: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

46

(2) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ควรกําหนดแผนปฏิบัติการใหหนวยงานภาครัฐทุกหนวยงานดําเนินการตามโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม เพื่อใหการขับเคลื่อนของหนวยงานภาครัฐในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม เปนไปในทิศทางเดียวกัน (3) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ควรที่จะกําหนดเปนแผนงานในการปรับเปลี่ยนกระทบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อใหสอดคลองกับทิศทางการบริหารภาครัฐแนวใหมและสถานการณของการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งจัดใหมีการประกวดหนวยงานที่มีผลการดําเนินงานเปนรูปธรรม (4)สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ควรสรางวัฒนธรรมในการทํางานแกขาราชการในสังกัดในการมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของงานเปนเปาหมายหลักแทนการเนนกระบวนการและวิธีการ (5) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ควรกําหนดคุณลักษณะที่พึงประสงคของขาราชการในสังกัดเร่ืองการบริหารงานบุคคลใหชัดเจน ต้ังแตกระบวนการสรรหา การคัดเลือกบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การเลื่อนระดับใหดํารงตําแหนงที่สูงขึ้น โดยคํานึงถึงภารกิจ วัฒนธรรมองคกรและขวัญกําลังใจของบุคลากรเปนสําคัญ 5.2.2 ขอเสนอแนะเชิงการบริหาร (1) การดําเนินงานตามโครงการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมตองมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง เนื่องจากสภาพแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (2) ควรสงเสริมและสนับสนุน รวมทั้งการขยายความรวมมือสูองคกรปกครองสวนทองถิ่นในอนาคต เนื่องจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนหนวยงานที่ใกลชิดประชาชนมากที่สุด (3) สํานักงานจังหวัดควรรวมมือกับสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ในการขยายผลการดําเนินงานตามโครงการไปในทุกจังหวัด โดยในเบื้องตนควรดําเนินการในลักษณะจังหวัดนํารอง 5.2.3 ขอเสนอแนะดานการจัดการ (1) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ควรที่จะใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรในภาพรวมขององคกรในทุกระดับ มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ชัดเจนในแตละปงบประมาณ โดยกําหนดหลักสูตรใหครอบคลุมภารกิจหนาที่และลักษณะงานของบุคลากรในสังกัด (2) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ควรที่จะเสริมสรางการเรียนรูทางวิชาการสมัยใหม และระเบียบทีเ่กี่ยวของหรือจําเปนในการปฏบัิติงานแกบุคลากรในสงักัดโดยผานระบบการประชุมคอนเฟอรเร็นท (3) จังหวัดควรใหความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะอยางยิง่การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วฒันธรรมและคานิยม โดยการจัดสรรงบประมาณหรือเสนอของบประมาณผานชองทางตาง ๆ อยางตอเนื่อง

Page 55: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

57

บรรณานุกรม

Page 56: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

47

บรรณานุกรม

คณะอนุกรรมการจัดพิมพเอกสารเนื่องในวาระครบ 100 ป พระยาอนุมานราชธน . รวมเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรม ( กรุงเทพฯ , 2531) ธงชัย สันติวงษ. องคกรและการบริหาร ฉบับปรับปรุงแกไข(พิมพคร้ังที่ 7) (กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด,2535) นพ.พิเชฐ บัญญัติ เทคนิคการสรางแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก , 2550) เมธ ี ปลันธนานนท.ปรัชญาการศึกษาสาํหรับคร ู(กรุงเทพฯ : ไทยวฒันาพานิช,2523) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย.หลักการวางแผนการพัฒนาจังหวัด (กรุงเทพฯ : สหชัยการพิมพ, 2526) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. คูมือการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ชุดที่ 3 การจัดทาํแผนการพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ(กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด อรุณการพิมพ,2546) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. รวมกฎหมายระเบียบและหนังสือสั่งการที่เกี่ยวของกับการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ (กรุงเทพฯ:สํานักพัฒนาและสงเสริมการบริหารราชการจังหวัด,2547) สถาบันดํารงราชานุภาพ.การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสมัยใหม( กรุงเทพฯ: สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย,2548) สถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คูมือวิทยากรตัวคูณดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม (กรุงเทพฯ, 2551) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. แผนยุทธศาสตรการสงเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยมของระบบราชการ พ.ศ.2546-2550 (กรุงเทพฯ, 2551)

Page 57: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

58

ภาคผนวก

Page 58: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

48

ภาคผนวก

กําหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ของสํานักงานจังหวัด กําหนดการประชุมชี้แจงโครงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม กําหนดการโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานและศึกษาดูงานหนวยงานตนแบบ ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ ขอตกลงวาดวยความรวมมือในการดําเนินงานโครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2550 คําสั่งจังหวัดเพชรบุรี ที่ 1015/2550 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 เร่ือง แตงตั้งคณะทํางานโครงการนํารองปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม สํานักงานจังหวัดเพชรบุรี โครงการสรางตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม แบบสํารวจความคิดเห็นที่มีตอสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ประกาศสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี ลงวันที่ 2 มกราคม 2551 เร่ือง ขอกําหนดในการปฏิบัติงานและการอยูรวมกันของเจาหนาที่ในสังกัดสํานักงานจังหวัดเพชรบุรี สําเนาวุฒิบัตรการอบรมหลักสูตรวิทยากรตัวคูณ ดานการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานิยม

Page 59: 50 - MOIkm.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0273.pdf · บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน 37 4.1 ป จจัยนําเข า (Input) 37 4.2 กระบวนการดําเนินงาน(Process)

49

ประวัติผูเขียน ชื่อ-สกุล นายสุเทพ แกวทอง

วัน เดือน ปเกิด 23 กุมภาพันธ พ.ศ. 2507

ภูมิลําเนา อําเภอกระแสสินธุ จังหวัดสงขลา

สถานที่อยูปจจุบัน 46/2 ซอยแสงชูโต 20 ถนนแสงชูโต ตําบลปากแพรก อําเภอเมอืง จงัหวัดกาญจนบุรี

ตําแหนงปจจุบัน หวัหนาฝายอํานวยการ สํานกังานจงัหวัดเพชรบุรี สํานกังานปลดักระทรวงมหาดไทย ประวัติการศกึษา - มัธยมศกึษา โรงเรียนทวธีาภิเษก กรุงเทพมหานคร - ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคาํแหง - ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายและการวางแผนสังคม)มหาวิทยาลัยทักษิณ ประวัติการรบัราชการ 2533 นักการขาว สํานักงานจังหวัดปตตาน ี 2536 บุคลากร สํานักงานจงัหวัดสงขลา 2539 เจาหนาทีว่ิเคราะหนโยบายและแผน สํานักงานจังหวัดพทัลุง 2540 เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน สํานักงานจังหวัดสงขลา 2547 หัวหนาฝายอํานวยการ สํานกังานจงัหวัดปตตาน ี 2549 หัวหนาฝายอํานวยการ สํานักงานจงัหวัดสิงหบุรี 2550 หวัหนาฝายอํานวยการ สํานักงานจงัหวัดเพชรบุรี เกียรติประวติั - ขาราชการทีม่ีผลงานดีเดน สาขาการเมืองการปกครอง จังหวัดชายแดนภาคใต ประจําป 2538 - รางวัลศูนยปฏิบัติการตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติดดีเดนเขต 12