บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

21
ทบบาทของสหรัฐอเมริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2

Transcript of บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

Page 1: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

ทบบาทของสหรัฐอเมริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2

Page 2: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

สหรัฐอเมริกาหลงัสงครามโลกครั้งที ่2 นโยบายของสหรัฐอเมรกิาในช่วงสงครามเย็น บทบาทของสหรัฐอเมริกาในภมูิภาคตา่ง ๆ นโยบายตา่งประเทศในช่วงหลังสงครามเย็น

บทบาทของสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2

Page 3: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

สหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครัง้ที่ 2

การเติบโตทาง เศรษฐกิจ

การเปลี่ยนแปลงของ สังคมอเมริกัน

Page 4: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

การเติบโตทาง เศรษฐกิจ

การผลิตและความต้องการบริโภค สินค้าหลังสงคราม

การขยายตวัของการค้าต่างประเทศ

วิกฤติเศรษฐกิจในทศวรรษที่ 1970

Page 5: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

การเปลี่ยนแปลงของ สังคมอเมริกัน

สมัยเบบี้บูม (Baby Boom)

การเติบโตของเมือง

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี

Page 6: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

นโยบายของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น

นโยบายหลักของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามเย็น คือการ

ด าเนินการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ได้ด าเนินนโยบายอย่างเป็นรูปธรรมด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้

- หลักการทรูแมน (Truman Doctrine) - แผนการมาร์แชล (Marshall Plan)

- องค์การสนธสิัญญาแอตแลนติคเหนือ (North Atlantic treaty Organization = Nato)

- นโยบายผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente Policy)

Page 7: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

หลักการทรูแมน (Truman Doctrine)

หลักการทรูแมนเป็นการแถลงการณ์ของประธานาธิบดีทรูแมน ที่แสดงการต่อต้านพฤติกรรมของสหภาพโซเวียตอย่างเปิดเผยในลักษณะที่พร้อมจะเผชิญหน้า และถือว่าเป็นการประกาศสงครามเย็นอย่างเป็นทางการของสหรัฐอเมริกา ดังแถลงการณ์ว่า “นโยบายหลักข้อหนึ่งของสหรัฐอเมริกา คือ การสร้างสภาวะที่จะท าให้เราและชาติสามารถด าเนินชีวิตให้เป็นอิสระจากการใช้ก าลังบังคับ”

“ข้าพเจ้าเชื่อว่านโยบายของสหรัฐอเมริกาสนับสนุนเสรีชนที่ ก าลังต่อต้านความพยายามครอบง า โดยชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ

ที่ติดอาวุธหรือแรงกดดันจากภายนอก”

Page 8: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

แผนการมาร์แชล (Marshall Plan)

แผนการมาร์แชลล์เป็นแผนการที่ริเริ่มโดยนายจอร์จ ซี.มาร์แชลล์ รัฐมนตรีว่าการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ โครงการฟื้นฟูยุโรป (The European Recovery Program (E.R.P.) เป็นโครงการช่วยเหลือระยะเวลา 5 ปี เพือ่การ “ฟื้นฟู” ทางด้านเศรษฐกิจยุโรปตะวันตก

สหภาพโซเวียตได้โต้ตอบโดยจดัตั้งกลุ่มร่วมมือทางเศรษฐกิจ คือ (Council for Mutual Economic Assistance

:COMECON)

Page 9: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติคเหนือ

(North Atlantic treaty Organization = Nato)

สหรัฐอเมริกาได้เจรจากับประเทศกลุ่มยุโรปตะวันตก ๑๑ ประเทศ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยี่ยม นอร์เวย์ เดนมาร์ก ลักเซมเบอร์ก โปรตุเกส เนเธอแลนด์ และแคนาดา จนสามารถลงร่วมกันในสนธิสัญญาเพื่อสถาปนาองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต้ (North Atlantic Treaty Organization-NATO) เพื่อต่อต้านการขยายตัวทางการเมือง-การทหารของฝ่ายคอมมิวนิสต์

สหภาพโซเวียตได้สถาปนาองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอว์ (Warsaw Treaty

Organization- Warsaw Pact) ซึ่งเป็นกลุ่มพันธมิตรทางการทหารขึ้นมา ซึ่งประกอบด้วยประเทศในกลุ่มยุโรปตะวันออก ๗ ประเทศ ได้แก่ โปแลนด์ เยอรมันตะวันออก โรมาเนีย เชคโกสโลวาเกีย บัลกาเรีย ฮังการี และอัลบาเนีย

Page 10: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

นโยบายผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente Policy)

- ประธานาธิบดีริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (Richard Milhous

Nixon)ได้เดินทางไปพบผู้น าจีน อดีตนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล ท้ังสองฝ่ายตกลงให้มีการออกแถลงการณ์เซี่ยงไฮ้ - จีนรับหลักการนิกสัน (Nixon Doctrine) - สหรัฐอเมริกากับโซเวียตร่วมลงนามในการ

เจรจาจ ากัดอาวุธยุทธศาสตร์ครั้งที่ 1 SALT-1

(Strategic Arms Limitation Talks) ในปี 1972 และ SALT-2 ครั้งที่ 2 ในปี1979

Page 11: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

บทบาทของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคต่าง ๆ

สงครามเกาหลี

การปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน (Berlin

blockade)

สงครามเวียดนาม

ปัญหาในตะวันออกกลาง

กรณีคิวบา

Page 12: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

การปิดล้อมกรุงเบอร์ลิน (Berlin blockade)

เยอรมนี

เยอรมนีตะวันตก (เสรีนิยม)

เยอรมนีตะวันออก สังคมนิยคอมมิวนิสต์

เบอร์ลินตะวันตก เบอร์ลินตะวันออก

Page 13: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

สงครามเกาหลี เป็นสงครามระหว่างประเทศเกาหลีเหนอืกับ

ประเทศเกาหลีใต้ (ค.ศ. 1950-1953) เป็นหนึ่งในสงครามตัวแทนระหว่างช่วงสงครามเย็น ฝ่ายเกาหลใีต้ประกอบโดยสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา สหราชอาณาจักร ประเทศออสเตรเลีย และกองก าลังของประเทศอื่น ๆ โดยค าส่ังของสหประชาชาติ ฝ่ายเกาหลีเหนือมีสาธารณรัฐประชาชนจีน และสหภาพโซเวียตคอยให้ความช่วยเหลือ

สงครามเกาหล ี

Page 14: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

สงครามเวียดนาม

สงครามเวียดนาม (Vietnam Wars, ค.ศ. 1957-1975) เป็นสงครามระหว่างเวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ที่สนับสนุนโดยสหรัฐอเมริกา เพื่อตัดสินว่าควรรวมเวียดนามเป็นหนึ่งเดียวตามข้อตกลงเจนีวา ค.ศ. 1954 หรือไม่ สงครามจบลงด้วยชัยชนะของเวียดนามเหนือ และรวมประเทศเวียดนามทั้งสองเข้าด้วยกัน ซึ่งปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศเวียดนาม ในประเทศเวียดนามเองเรียกสงครามนี้ว่า สงครามปกป้องชาติจากอเมริกัน หรือ สงครามอเมรกิัน

Page 15: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

ปัญหาในตะวันออกกลาง

สหรัฐอเมริกาประกาศสนับสนุนการตั้ง ประเทศ อิสราเอลของชาวยิวโพ้นทะเลใน ดินแดนปาเลสไตน์ของชาวอาหรับ

ประเทศในตะวันออกกลางไม่พอใจและ

ประกาศสงครามกับอิสราเอล ท าให้เกิดสงครามระหว่างยิว-อาหรับ

Page 16: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

กรณีคิวบา

สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าสู่อเมริกาใต้และแอฟริกา จนเกดิวิกฤติการณ์คิวบา สหรัฐอเมริกโดยการน าของประธานาธิบดจีอห์น เอฟ. เคนเนดี เอาชนะสหภาพโซเวียตได้ในที่สุด

Page 17: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

นโยบายต่างประเทศในช่วงหลังสงครามเย็น

Page 18: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

นโยบายจัดระเบียบโลกใหม่

นโยบายก่อนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001

บุก อิรัก คูเวต สงครามอ่าวเปอร์เซีย

สหรัฐใช้นโยบายจัดระเบยีบ โลกจนได้รับชัยชนะ

Page 19: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

-นโยบายด้านการค้าระหว่างประเทศ จดัตั้งองค์กรเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น WTO, GATT,IMF เป็นต้น -นโยบายด้านสิทธิมนุษยชน เช่น การด าเนินนโยบายแทรกแซงพม่าทางด้านเศรฐกิจกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชน การต่อต้านรัฐบาลจีนจากกรณีเหตุการณ์ที่จตุรัสเทียนอันเหมิน เป็นต้น

นโยบายก่อนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 (ต่อ)

Page 20: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

นโยบายหลังวันที่ 11 กันยายน : ลัทธิการกอ่การร้าย

อาคารเวิร์ดเทรด ถูกเครื่องบินกอ่การร้ายพุง่ชน

สหรัฐอเมริกาประกาศสงคราม ต่อต้านลัทธิการก่อการร้าย

-ท าสงครามกับอัฟกานิสถาน - ส่งกองก าลังเข้าไปในอิรัก

- กล่าวหาผู้น าของบางประเทศว่า เป็นแกนน าแห่งความชั่วร้าย

Page 21: บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2

ผู้จัดท า

นางสาวประภัสสร วรรณสม เลขที ่ 23 ชั้น ม.6/4