#22 AikidoCMU

32
AikidoCMU NEWSLETTER CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที๒๒ วันทีพฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีท) หน้า ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . สุเทพ .เมือง . เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ทปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511 ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686 กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-405 5379 Email: [email protected]

description

Chiang Mai Univesity Aikido Club AikidoCMU Newsletter # 22 May 2010

Transcript of #22 AikidoCMU

AikidoCMU NEWSLETTER

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๑

ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม ่50200

ติดต่อได้ท ี ่ ปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511 ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-405 5379

Email: [email protected]

การสรางสันติภาพในสังคม.....ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓

สำนึกแหงความมหัศจรรย .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๗

เด็กปฐมวัยกับการฝกไอคิโด

... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ ๙

ความรูสึกของนูนูที่มีตอไอคิโด ... นูนู ๑๓

สุภาษิตโกะกับขาพเจา ๔ : การแตกคอกันเองมีแตสิ้นเปลือง..... NOURNOURS’ MOM ๑๔

AIKIDO(KA) IN FOCUS รัชฎาพร ศิริวงศ ๑๖ เดือนนี้เมืื่อปที่แลว มีนาคม ๒๕๕๒

.... นฤมล ธรรมพฤกษา ๑๙ มาเยี่ยม มาเยือน: KUMIKO ENOKIDO ๒๘ เราจะหมดสภาพการเกลียดไดอยางไร ...... นพ.วิธาน ฐานะวุฑฒ ๒๙

อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล

ดร.สมบัติ ตาปัญญา

สารบาญ

หน้า ๒

โฟกัส

Nounours’ Mom

นฤมล

ธรรมพฤกษา

นักเขียนในฉบับ

วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

นูนู่

รูปจาก http://www.fsaikido.co.uk/ children/children.html

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)รีบสมัครไปสัมนา Aikido South-east Asian Nations Fellowship ที่กรุงฮานอย วันที่ ๑๙ - ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ นี้นะครับ

การสรางสันติภาพในสังคม

ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

เมื่อสี่ปมาแลว ในเดือนเมษายน ป 2006 ผมไดเขียนบทความเรื่อง “ไอคิโดใน

เชียงใหม ของขวัญจากญี่ปุนสูชาวไทย” เปนบทแรกลงในหนังสือพิมพ Chao

(หนังสือพิมพของชุมชนคนญี่ปุนในเชียงใหม) และในเนื้อเรื่องของบทความก็เปนการแสดง

ความหวงใยกับปญหาความรุนแรงในสังคมไทย โดยเฉพาะในเด็ก เยาวชน ครอบครัว

ชุมชน และโรงเรียนของไทย และผมไดพูดถึงงานดานการปองกันความรุนแรงที่ผมไดทำมา

และเอยถึงความตองการที่จะกอตั้ง “ศูนยสันติวัฒนธรรมชุมชน” (Culture of Peace

Community Center) ขึ้นในเชียงใหม และความสำคัญของปรัชญาชีวิตในวิชาไอคิโดซึ่งมุง

หวังที่จะฝกสอนเด็กและนักไอคิโดใหใชความเมตตา ปราศจากความรุนแรงในการแกปญหา

หน้า ๓

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Y เดือนเมษายนปที่แลวและปนี้ซึ่งเปนชวงเวลา

ของวันสงกรานตหรือปใหมของไทย เปนเวลาที่เรา

ควรจะไดมีความสุขและรื่นเริงกับประเพณีการรดน้ำ

การไปเยี่ยมญาติผูใหญเพื่อเอาของขวัญไปใหและ

ขอคำอวยพรจากทาน แตเราก็ตองวิตกกังวลและมี

ความทุกขใจจากปญหาความรุนแรงในสังคมซึ่งเกิด

ขึ้นมานานแลวและยังไมมีทีทาวาจะจบสิ้นลงได

งายๆ ผมเองและคนที่ทำงานในดานการปองกัน

ความรุนแรงจึงตองทำงานหนักตอไป

แตอยางไรก็ดี จากความพยายามของผมและเพื่อนๆ อีกหลายคนที่ทำงานในเรื่องนี้

ตอนนี้เราอาจจะเห็นความกาวหนาบางแลวก็ได คือเรื่องศูนยสันติวัฒนธรรมที่ผมเริ่มคิดมา

เมื่อสี่ปที่แลว ตอนนี้กำลังจะเปนรูปเปนรางขึ้นมาแลว คือเราไดรวบรวมคณะทำงานและที่

ปรึกษาไดแลว และมีผูบริจาคที่ดินใหใชในการกอตั้งศูนยขึ้นที่ชุมชนคนรายไดนอยแหงหนึ่ง

ในเชียงใหม เราไดยื่นใบสมัครขอทุนสนับสนุนการกอสรางอาคารจากกงสุลญี่ปุนแลว และจะ

ไดรับการสนับสนุนดานการทำงานจากองคกรหลายแหงทั้งในประเทศและตางประเทศ เชน

ศูนยพิทักษสิทธิเด็ก (Center for the Protection of Children’s Rights – CPCR) ซึ่งยินดีที่

จะรับรองศูนยของเราในดานกฎหมายและการเงิน ผูอำนวยการของ CPCR คือ คุณสรรพ

สิทธิ์ คุมพประพันธ ขณะนี้ไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการสิทธิเด็กขององคการ

สหประชาชาติ (United Nations Committee on Children’s Rights) เปนผูที่ทำงานดานเด็ก

มากวายี่สิบปแลว และในระยะสิบกวาปที่ผานมานี้ผมก็ไดรวมงานกับคุณสรรพสิทธิ์ในหลาย

โครงการ นอกจากนี้ผมยังติดตอขอการสนับสนุนไปยังองคกรอื่นๆ ที่ผมเคยรวมงานดวย

หรือกำลังทำงานในโครงการตางๆ ดวยในขณะนี้อีก เชน UNICEF Thailand และ Save the

Children Sweden ซึ่งมีสำนักงานอยูในประเทศไทยและมีความสนใจในปญหา

ความรุนแรงกับเด็กเปนอยางมาก หน้า ๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

ชุมชนที่จะเปนที่ตั้งของ “ศูนยสันติวัฒนธรรมชุมชน” นี้อยูที่ตำบลหนองหอย

อำเภอเมืองเชียงใหม มีคนอยูประมาณหนึ่งหมื่นกวาคน มีโรงเรียนและวัดอยูสองสามแหง

และมี “บานเอื้ออาทร” ซึ่งเปนโครงการสรางที่พักสำหรับคนจนของรัฐบาลไทย เปนอพารต

เมนทสูงหาชั้นอยูประมาณสามสิบกวาหลัง มีครอบครัวรายไดนอยอยูประมาณพันกวา

ครอบครัว

ในประเทศไทยตอนนี้มีสังคมมีความ

หวงใยเกี่ยวกับปญหาความรุนแรงมาก และมี

ความพยายามที่จะทำอะไรหลายอยางเพื่อปองกัน

หรือแกปญหาเหลานี้ แตสวนใหญยังเปนการแก

ปญหาที่ปลายเหตุ เชน การแกปญหาความ

รุนแรงในภาคใตดวยการพับนกกระดาษหลายพัน

ตัวไปโปรยลงจากเครื่องบิน (เปนความคิดที่ได

จากเรื่อง “ซาดาโกะกับนกกะเรียนพันตัว”) หรือ

แกปญหาเด็กวัยรุนยกพวกตีกัน โดยใหเด็กมาจับ

มือและใหดอกไมกัน กิจกรรมเหลานี้คอนขางผิว

เผินและไมไดแกที่ทัศนคติหรือความเชื่อของคน

หรือไมไดสอนทักษะใหมๆ ใหแกเด็ก พอ

แม หรือครู ที่จะเปนการปลูกฝงความคิดที่

จะแกปญหาดวยการไมใชความรุนแรง เรา

จึงตองพยายามทำงานดานการปองกัน

ความรุนแรงและเสริมสรางทัศนคติหรือคา

นิยมการไมใชความรุนแรงใหมากขึ้นอีก

หน้า ๕

อุเทน - ปทุมวันจับมือภาพจาก http://www.talkystory.com/ site/article.php?id=5674

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Y โครงการลาสุดที่ผมกำลังทำอยูใน

เชียงใหมขณะนี้ โดยไดรับทุนสนับสนุนจาก

องคกรชวยเหลือเด็กแหงสวีเดน (Save the

Children Sweden) คือการอบรมครูและพอแม

นักเรียนในโรงเรียนเทศบาลและโรงเรียนใน

อำเภอรอบๆ เชียงใหมจำนวน 6 แหง โดย

ความรวมมือจากกลุมละครชุมชน “กั๊บไฟ” เรา

จะชวยกันสอนครูและพอแมใหดูแลเด็กโดยไม

ลงโทษเฆี่ยนตี แตใช “วินัยเชิงบวก (positive

discipline)” แทนการลงโทษ ซึ่งมีการวิจัยใน

หลายประเทศ (รวมทั้งการวิจัยของผมในประเทศไทยดวย) วามีประสิทธิภาพดีกวา ชวย

ใหเด็กปรับตัวไดดี และเติบโตขึ้นมาเปนคนไมชอบใชความรุนแรง

เมื่อเดือนกันยายนปที่ผานมานี้ผมไดไปเขารวมประชุมเรื่องการปองกันความ

รุนแรงกับผูเชี่ยวชาญขององคการอนามัยโลกที่กรุงเจนีวา ซึ่งมีขอสรุปจากการศึกษางาน

วิจัยจากทั่วโลกวาวิธีหนึ่งที่จะลดหรือปองกันความรุนแรงในสังคมไดอยางยั่งยืนคือการ

ปลูกฝง “สันติวัฒนธรรม” ขึ้นในกลุมเยาวชน ครอบครัว และชุมชน การฝกไอคิโดใหเด็ก

และเยาวชนถือเปนสวนหนึ่งของความพยายามใน

ดานนี้เชนเดียวกัน

ผมเชื่อวาหากพวกเราหลายๆ คน

ทำงานดานนี้ใหมากขึ้นในเวลาอยางนอยสิบป

ตอไปนี้ เด็กไทยรุนตอไปที่โตขึ้นมาเปนผูใหญ

จำนวนมากก็จะใชความรุนแรงนอยลง เราก็จะชวย

สังคมไดมากทีเดียว หน้า ๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

ผมมีงานสอนวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ บางคนก็ใหชื่อวาวิชาพลวัตพฤติกรรมมนุษยผมคอนขางจะชอบชื่อหลังนี้มากกวาเนื่องจากสื่อถึงการเปลี่ยนแปลงและสภาวะที่ไมคงทนถาวร เนื้อหา

วิชาที่เกี่ยวกับวัยกอนคลอดมีขอมูลที่นาสนใจ เชน

ชีวิตเริ่มแรก เราเปนเพียงเซลลเดียวที่ประกอบดวยไขและ

สเปรม

ทารกเพศหญิงแรกเกิดมี

จำนวนไขในรังไข 400,000 ฟอง

สเปรมจะถูกขับออกในขณะรวมเพศครั้งละ 500,000,000 ตัว

โอกาสไขและสเปรมจะพบปะกันจนทำใหตั้งครรภไดมีเพียงแค

ไมเกิน 3 วันในรอบเดือน

เราทุกคนไมวาจะยาก ดี มีจน เสื้อแดง เสื้อเหลือง หรือกลุมเสื้อหลากสีตางก็เริ่มตนชีวิตจาก

การเปนเซลลๆเดียวกันมากอน เราทุกเคยเปนไขหรือเกิดจากไขเพียง 1 ฟองจากจำนวนสี่แสนฟอง เราทุกคนเคยเปนสเปรมและเกิดจากสเปรมเพียง 1 ตัวในจำนวนหารอยลานตัวจากการทำ

กิจกรรมกันระหวางพอแมครั้งเดียวและเราทุกคนมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นมาไดเพียงแค 3 วัน ในจำนวน 28 วัน การไดเกิดจึงถือไดวาเปนความมหัศจรรยของเราทุกคนซึ่งมีโอกาสนอยกวาการถูกหวยหรือการสอบเขาเรียนตอ หน้า ๗

สำนึกแหงความมหัศจรรย

ภาพจาก http://worldofweirdthings.com/ wp-content/uploads/2009/07/sperm_egg.jpg

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

แมการเกิดจะเปนเรื่องที่มีคุณคาและความมหัศจรรยและสิ่งนั้นก็ไดมาโดย

ไมตองลงทุนลงแรงอะไร ไมอยางนั้นแลวคงไมมีพระพุทธเจาและบุคคลที่โลกตองจดจำและระลึกอีก

มากมาย ทานเหลานั้นไดใชโอกาสที่เกิดมาเปนมนุษยเทา

เทียมกับพวกเราจะตางกันก็ตรงที่ทานเหลานั้นเปนผูสรางความมหัศจรรยครั้งที่สองดวย

มือของทานเอง นั่นก็คือการสรางจูงใจที่จะพัฒนาตนเองให

หลุดพนจากกรอบของความเปนมนุษยธรรมดาทั่วไป การพัฒนาตนเองใหถึงขีดสุดนั้นมีหลายแนวขึ้นอยูกับแตละบุคคลที่จะคนหาเสนทางที่ตนเองคิดวามีคุณและคูควรแกการอุทิศชีวิตใหกับสิ่งนั้น การคนพบจะนำไปสูความ

มหัศจรรยครั้งที่สอง

มีผูกลาววานิพพานมีอยูในตัวเราทุกผูทุกคนไมวาจะตองหรือไมก็ตามจะตางกันตรงผูที่

ตองการก็จะเสาะแสวงหาไมพบในชาตินี้ก็พบในชาติหนาหรือชาติตอๆไปหากยังไมละทิ้งความพยายาม

หน้า ๘

มหัศจรรยการเกิดชวยใหเรามองเห็นคุณคา มองเห็นความเสมอภาคและมองเห็นความเหมือนมากกวาที่จะมุงมองเห็นแตความแตกตาง ความไมเสมอภาคและความไรคุณคาในตนเอง

สังคมไทยทุกวันมีแตความขัดแยงและจบลงดวยการใชความรุนแรงสาเหตุหลักๆก็มักเกิดจากการยอมรับแตดานที่เหมือนแตไมยอมรับดานที่แตกตางหากทุกคนมองยอนกลับ ณ จุดเริ่มตนของชีวิตก็คงจะชวยใหมองเห็นความเหมือนกันไดบางและมองเห็นคุณคาของแตชีวิตที่เกิดมา

พรอมกับนำพาความมหัศจรรยที่มีเพียงครั้งเดียวในชีวิตมาดวยทุกคน

ภาพจาก http://www.firstscience.com/home/photos/life-8-weeks_11.html

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เด็กปฐมวัยกับการฝึกไอคิโดสโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน

อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอนวิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

“เจ็บไหมลูก 

นี่หัวชนกันเพราะไมฟง

ครูสอน เราก็ผิดทั้งคู ไม

ตองโกรธกันนะ คราว

หลังตองเชื่อครูนะลูกนะ”

ผมบอกลูกชายวัยสาม

ขวบกวาที่กำลังน้ำตาตก

เพราะเด็กรุนพี่อายุหา

ขวบมาแหยกันขณะที่ผม

กำลังนำพวกเขาฝก 

N ผมไมใหใครเขาไปโอ แตลูบหัวเขาเบาๆแลวสอนดวยน้ำเสียงเรียบๆ เจาตัวเล็กสะอึก

สะอื้นอยูสักพัก ก็เต็มใจมาฝกตอ 

N “โกรธพี่เขาไหม”  ผมถาม  เขาสายหนาแทนคำตอบ  ไมถึงหานาทีดีเขาก็กลับมายิ้ม

หัว และฝกตอไดอีก 

N ปดเทอม ที่ปางมะผาเราได

สมาชิกมาฝกไอคิโดเพิ่มอีกสามราย

แตละคนรุนซูเปอรจูเนียรทั้งนั้น มีหก

ขวบ หาขวบ และสามขวบครึ่ง อยาง

ละคน  ลูกชายผมเล็กกวาใครเพื่อน  

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๙

N จะวาไป ผมก็ไดรับแรงบันดาลใจในการฝกไอคิ

โดแกเด็กปฐมวัยนี่มาจากทานอาจารยชัยสวัสดิ์นะครับ 

ถาใครจำได งานไอคิโดสัมพันธครั้งลาสุด จะเห็นวามี

เด็กชายรุนจิ๋วมาฝกดวย ถาจำชื่อไมผิดชื่อนองวิคเตอร

เปนหลานอาจารยชัยสวัสดิ์นะครับ อายุแคสามขวบเอง

นาทึ่งมาก  

N ทีแรกผมก็ไมคิดจะสอนลูกตอนนี้หรอกครับ

เพราะเขายังเล็ก  พอดีพี่สาวของภรรยามีลูกชายวัยหา

ขวบอยูหนึ่งคน เขาชอบมาดูผมฝกซอมกับเด็กวัยรุนที่

บาน แกก็ไปขอแมอยากใหผมฝกให แมแกก็มาขอผมอีกที ผมก็มานึกถึงนองวิคเตอร ทางเรา

เด็กอายุมากกวาก็นาจะฝกไดนะ และถาจะฝกเด็กเล็กก็นาจะมีสักสองสามคนจะไดฝกเปน

เพื่อนกัน ลูกของพี่สาวแฟน ลูกชายผม และลูกชายเด็กขางบานปกติก็เปนเพื่อนเลนกันทุกวัน

อยูแลว งั้นชวงเย็นก็มาฝกไอคิโดกันเลยทาจะดี แตจะฝกยังไงดีนะ

N ทีแรกผมก็นึกไมออก จะแยกฝกดีไหม มาคิดดูแลว ก็คงยาก ผมไมสามารถแยกฝก

เด็กแตละรุนไดครับ เพราะคนฝกก็นอย ผมเองก็มีเวลาฝกใหเฉพาะชวงเย็นประมาณสอง

ชั่วโมง ก็จำตองฝกรวมกันตั้งแตเด็กสามขวบเศษไปจนถึงผูใหญ แตดวยจำนวนคนฝกไมมาก

ประมาณ 3 - 8 คน ก็พอ

จะดูแลไดทั่วถึง 

N นาจะไดฝกใหรุนพี่

ดูแลรุนนองและรุนจิ๋วไป

ในตัวดวย เสียเวลา

หนอย แตก็ถือเปนการ

ฝกใหมีจิตใจเปนไอคิโด

อยางหนึ่ง  

หน้า ๑๐

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

N คนฝกไอคิโดนี่ตองไมเห็นแกตัว

ไมเห็นแตจะเอาวิชา ตองเอาคนดวย 

ตองชวยใหคนอื่นๆพัฒนาไปพรอมกัน

กับเรา ถึงตอนนี้แลวนึกถึงโอวาทของ

อาจารยฮัตโตริตอนที่ทานเมตตามา

ชวยฝกใหเด็กๆที่ปางมะผา ทาน

อวยพรวา “ขอใหชวยดูแลคูฝกของเรา

ดวย” 

N กลับมาที่การฝกตอนะครับ  การฝกไอคิโดแกเด็ก

ปฐมวัยนี่ผมก็เปนมือใหมซิงๆ ไมเคยไปเขาคอรสอบรม

ที่ไหน โชคดีที่ไมกี่สัปดาหกอน อาจารยสมบัติสงไฟล

คูมือการสอนไอคิโด (Coaching Handbook) จาก The

British Aikido Board มาให ผมอานดูบาง โดยเฉพาะใน

บท Children and Young People ก็นำมาปรับใช จนวัน

นี้สอนพวกเขามาไดยี่สิบครั้งแลว ก็ยังตองเรียนรูตอไป

อีกไมรูจบ ถือเปนมลฑลแหงความรูใหมที่ผมไดรับจาก

เด็กๆ 

N ผมไปกางตำราเรื่องเด็กปฐมวัยมาอานเพิ่มเติม  ก็พบวา เด็กปฐมวัยตองการพัฒนา

ทักษะการใชมือ ใชกลามเนื้อสวนตางๆ ทักษะตากับมือประสานสัมพันธกัน เด็กเหลานี้

ตองการความพึงพอใจในสิ่งที่ทำไดและไดทำ จนเกิดความสุขสงบภายใน เกิดความภาค

ภูมิใจในตนเองและเห็นคุณคาของตน  ผมก็เลยนำมาเปนฐานคิดหลักการฝกสำหรับเด็ก

ปฐมวัยสำหรับผมนั้น คือ “คุณธรรม สนุกและปลอดภัย” จริงๆคือเนนปลูกฝงคุณธรรมนะ

ครับ ผานการเรียนรูดวยการเลน เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรูผานการเลนเปนหลัก  แตใหเขารู

ขอบเขต และทำในระดับที่เหมาะสม 

N แตธรรมชาติของเด็กๆคือมักซุกซน  อยูไมนิ่ง อันนี้เราก็ตองจับจุดเขาแลวหาทางสราง

กติการวมกับเขา  เชน ใหเขาไดแสดงเดี่ยวๆบาง และใหทุกคนปรบมือชมเชยให หน้า ๑๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

แตตองพยายามไมสรางใหเขารูสึกชิงดีชิงเดน แขงขันกับคนอื่นดวย ถาเขาทำไดดีก็จะถือเปน

ความสำเร็จรวมของทุกคน  ถาใครทำไดไมดี หรือฝาฝนกติกาทุกคนก็ตองหาทางชวยกัน ไม

โทษกัน บางวันเราก็มีเลี้ยงขนม  เปลี่ยนทาซอมใหสนุกๆบาง เด็กๆก็จะตื่นเตน  

N มีหลักความ

ปลอดภัยนิดหนอย ที่

เรียนรูมาคือ อยาปลอย

ใหเด็กเล็กอยูบนเบาะโดย

ไมมีผูใหญดูแล  และตอง

มีผูใหญนั่งขนาบขางหรือ

คั่นกลางระหวางเด็กเล็ก

เสมอเพื่อปองกันเด็กเลน

กัน หรือผลุนผลันออกมา

เวลาซอม ทั้งตองคอย

ระวังภัยใหเด็กดวย 

เพราะเวลาสาธิต บางที

ผูใหญที่เปนอุเกะก็อาจลม

ไปโดน หรือเด็กอาจจะยื่นแขนขาออกมา ทำใหบาดเจ็บได  อีกอยาง ครึ่งชั่วโมงก็เพียงพอ

สำหรับสมาธิและสมรรถภาพรางกายของพวกเขา ที่เหลือพวกเด็กโต กับรุนพี่ๆก็ฝกตอ 

N เราไมคาดหวังใหเด็กตัวเล็กๆแคนี้เกงไอคิโดนะครับ  แตอยากใหเขารักไอคิโด

มากกวา เมื่อปลูกตนรักไดตั้งแตเขายังเปนปฐมวัย คือศูนยถึงหกขวบ ซึ่งเปนวัยสำคัญใน

การสรางบุคลิกและนิสัยสวนใหญของชีวิตไดแลว ความทรงจำดีๆเกี่ยวกับไอคิโดจะติดตรึง

ใจเขาไปอีกนานเทานาน และหากพวกเขาพนปฐมวัยไปแลวยังไดรับการบมเพาะทักษะ

อยางตอเนื่อง วิถีแหงสันติภาพ ความรัก และความกลมกลืนก็จะตามมาเอง  

N ผมเชื่ออยางนั้น และกำลังพิสูจนความเชื่อนี้ครับ

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หน้า ๑๒

หน้า ๑๓

ความรูสึกของนูนูที่มีตอไอคิโด

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

สุภาษิตโกะกับขาพเจา

(๔)โดย Nounours’ Mom

3 ในการตอสู ไมวาจะเปนการตอสูกับปญหาชีวิตหรือในสงคราม ผลลัพธที่นาปรารถนา คือ ชัยชนะเทานั้น!

! ถากลาวถึงการสงคราม กองทัพที่แข็งแกรงคือกองทัพที่มีระเบียบวินัย มีความสามัคคี มีผูนำที่เกง และมีความเชื่อมั่นในตัวผูนำ

! นอกเหนือจากการมุงใหความสำคัญในความสามารถเฉพาะบุคคลหรือยุทโธปกรณที่มีประสิทธิภาพ หากมีการแตกคอกัน หรือไมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันเสียแลวคงเปนการยากที่จะไดธงแหงชัยชนะ

<http://NounoursMom.hi5.com>

! “ขาพเจาเปนเพียงผูเริ่มฝกหัดเลนโกะเทานั้น และยังโงเขลาที่จะเขาใจแกนแทของโกะอยางลึกซึ้ง แตถาเปนจิตวิญญาณของไอคิโดแลว ขาพเจาไมปฏิเสธเลยวามันเปนธรรมชาติและชีวิตของขาพเจาไปแลว

! จากหนังสือ โกะ อัจฉริยะเกมแหงภิภพ โดย วันชัย ประชาเรืองวิทย ที่ขาพเจาไดรับมาจากเพื่อนผูหนึ่ง ทำใหขาพเจาพบสุภาษิตโกะบางขอที่จุดประกายความคิดใหขาพเจาไดเขียนบทความนี้ขึ้นมา

เพื่อเผยแพรสุภาษิตโกะที่ขาพเจาเห็นวาสอดคลองกับหลักไอคิโดที่ขาพเจายึดถือเปนแนวทางในการใชชีวิตอยางสงบสุขตามความเขาใจของขาพเจา โดยมิไดยึดติดวาผูใดจะตองเห็นดวย”

“การแตกคอกันเองมีแตสิ้นเปลือง”

หน้า ๑๔

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! การจะเปนยอดฝมือในไอคิโดนั้น นอกจากจะตองฝกฝนอยางสม่ำเสมอในเทคนิคตางๆแลว เราตองรูถึงจังหวะของการคลอยตาม แลวจึงจะชักนำคูตอสูใหอยูภายใตการควบคุมของเรา

! การใชเทคนิคไอคิโดที่ขาดความยืดหยุน คลองแคลว ก็จะกลายเปนจุดออนที่ฝายตรงขามใชเปนเครื่องมือในการโจมตีเราอยางงายดาย

! ดังนั้น ความเชี่ยวชาญในการใชเทคนิคของไอคิโดจะตองใชควบคูไปกับความคลองแคลวและยืดหยุน จึงจะทำใหเกิดประสิทธิภาพได

! การเคลื่อนไหวที่ขาดความยืดหยุนจะทำใหขาดความเปนธรรมชาติของการ “คลอยตาม” “เกาะติด” และ “ชักจูง” ขาดความสมดุล เมื่อผูโจมตีแข็งมาและเราแข็งตอบก็จะเกิดการปะทะ โอกาสที่จะชนะมีครึ่งตอครึ่ง ผูที่แข็งแกรงกวาก็จะไดชัยชนะไปพรอมกับการบาดเจ็บของทั้งสองฝาย

! แตหากผูโจมตีแข็งมา สวนเราก็ออนรับโดยไมมีการปะทะและคลอยตามแรงของผูโจมตีที่สงมา เกาะติดตามแรงเขาไปเพื่อทำใหเขาเสียความสมดุล(การทรงตัว)ของรางกาย แลวจึงชักนำเขามาอยูใตความควบคุมของเราดวยเทคนิคไอคิโด

ติดต่อ Nounours’ Mom ได้ที่<http://NounoursMom.hi5.com>

หน้า ๑๕

! ฉะนั้น การยืดหยุนจึงมีความสำคัญมากในการรับมือกับการโจมตีทุกรูปแบบไดอยางมีประสิทธิภาพ

! ดังนั้น ไมวาผูโจมตีจะแข็งแรงและสูงใหญกวาขนาดไหน คนที่ตัวเล็กกวา ออนแอกวา ก็สามารถใชเทคนิคไอคิโดควบคุมได การฝกกับคูฝกที่มีรูปรางหลายหลากแตกตางกันก็เปนการฝกการรับแรงหลายๆแบบ

! ซึ่งก็เหมือนกับความขัดแยงในชีวิตที่เราจำเปนตองยืดหยุนตามแรงของผูโจมตีและเปนอันหนึ่งอันเดียวกับอีกฝาย

! เมื่อไมแตกคอ ก็ไมเสียเลือดเนื้อ

! แตทั้งหมดนี้ก็ขึ้นอยูกับการฝกฝนอยางสม่ำเสมอ

I ฝกและฝกฝนเทานั้น

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Aikido(ka) in Focus อยากให้มาทําความรู้จักกับสาวไอคิโดรุ่นเก่าของชมรมไอคิโดมช.กันบ้าง ที่ว่าเก่าก็เพราะอ้อมฝึกตั้งแต่เรียนอยู่ปี 4 ประมาณปี 1992 แน่ะ นับนิ้วไม่ถูกเลยว่ากี่ปีแล้ว เรียนจบก็ยังฝึกสม่ําเสมอ แต่เมื่อเปลี่ยนงานจึงมีข้อจํากัดของเวลางานทําให้ฝึกไม่ได้ พองานจะเริ่มลงตัวก็ต้องสวมบทบาทคุณแม่ ทําให้งดฝึกไปเป็นปีๆ แต่ใจยังร่ําร้องและรอเวลาที่จะสามารถลดภาระลงเพื่อกลับไปฝึก แต่โชคก็ไม่เข้าข้าง  อ้อมประสบอุบัติเหตุขาหักจากรถชนและหายหน้าไปจากไอคิโดจนทําให้เราคิดว่าอ้อมคงไม่กลับมาฝึกอีกแล้ว 

ออม: $ ระหวางที่หายไปก็ครุนคิดถึงไอคิโดตลอดนะ ถึงจะ

ไมไดฝกแตก็ดูหนังสือศิลปะการตอสูหลายๆอยาง แตความ

รูเรื่องไอคิโดยังนอยมาก สวนมากที่อานๆจะเปนแนว

ปรัชญามากกวาเทคนิค จะรูประเภทที่วาบูชิโดเปน

อยางไร ทำไมไอคิโดมีความเปนเซนอยู แตสำหรับไอคิ

โดเนี่ยพื้นฐานก็ไมคอยรูเทคนิคก็ไมเขาใจ

Focus : $ สถานการณการฝกไอคิโดของออมตอนนีV้

V V เปนอยางไร

ออม: V ตอนนี้มาฝกสม่ำเสมอรวมทั้งไดรับคำแนะนำจาก

หลายๆคน พี่หมอบาง พี่ปอมบาง และทั้งจากอาจารยอีก ทำใหV

V รูสึกวาเหมือนกาวกระโดด มันมีความมั่นใจมากขึ้น กลาที่จะลอยตัวตบ

เบาะ ลมตบเบาะ เพราะเราเคยไมมั่นใจตัวเองจากขอจำกัดเรื่องขาที่ยังดามเหล็กอยู แต

ฝกไปเรื่อยๆรูสึกวารางกายพัฒนาไดดวยตัวเอง การฟนตัวดีขึ้น รางกาย sensitive ไวขึ้น

พอรูวามีอะไรมาสัมผัสก็จะเดงไวขึ้น อาจเปนเพราะเราเอาชีวิตไปผูกกับไอคิโด

Focus :$ มั่นใจในชีวิตมากขึ้นเหรอ?

ออม: V ใช รูสึกเหมือนมีความปลอดภัยในชีวิตมากขึ้นหน้า ๑๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Focus : V มันเปนยังไง

ออม: V ออมคิดวาถาเราฝกโดยไมมีจุดมุงหมายในการพัฒนาการรับรู มันก็เหมือนกับ

การออกกำลังกายธรรมดา แตเรามีความตั้งใจมากขึ้นมีสมาธิมากขึ้นกับการฝก ออมไม

ชอบนั่งกรรมฐานนะ แตเวลาฝกออมจะโฟกัสที่อาจารยสอน ถึงแมวาระหวางวันจะมีปญหา

มากมายเรื่องงาน เรื่องชีวิต แตพอขึ้นเบาะแลว ไอคิโดมันดึงดูดใหเราสนใจมันอยางเดียว

โดยที่เราลืมเรื่องอื่นไปเลย อาจเปนเครื่องมือที่ออมใชในการดึงใจตัวเองมั้ง แตจุดสำคัญอีก

อยางนึงคือ เวลาออมไปฝกทุกครั้งออมจะเลาใหลูก(สาว)ฟงตลอด แลวลูกก็จะคาดหวังใน

ตัวเรา มองเห็นเราเปน idol เราก็เลยตองตั้งเปาใหฝกมากๆใหไดสายดำ ทำใหเราลุกขึ้นมา

ไดอยางทุกวัน เขมแข็งขึ้น มีความสุขดวย

Focus : V เหมือนกับวาไอคิโดอยูในแผนชีวิตไปแลว

ออม: V ใชคะ ตอนนี้ออมวางแผนชีวิตไว

แนนอนคือเรื่องงานและไอคิโด เพราะออมเห็น

หลายคนที่ชอบไอคิโด อยากฝก แตทำไมได

อาจเปนดวยเรื่องงานบาง เรื่องอื่นๆบาง เรื่อง

อุบัติเหตุของออมที่ทำใหขาหัก ออมถามหมอวา

ออมจะฝกไอคิโดไดมั้ย .....

V แตออมคิดวาตองเลือกชีวิตใหไดวาออมจะมา

ทางนี้ มันนาเสียดายถาเราจะหยุด ณ ตรงนี้ หรือทิ้งชีวิต

ตรงนี้ไป แรงฮึดที่ทำใหกลับมาและมีกำลังใจลุกขึ้นมาไดก็เพราะโดโจที่มช. อาจารยสมบัติ

อาจารยธีระรัตน และพี่นองชมรม ซึ่งไมวาออมจะนอนอยูในโรงพยาบาลกี่รอบก็จะมา

หอมลอมทุกรอบ มันก็เลยเหมือนบานไปแลว เรารูสึกอบอุน คนที่ออมรูสึกผูกพันที่สุดคือ

อาจารยสมบัติ อาจารยธี เพราะอาจารยไมเคยทิ้งเราเลย....แลวพี่หมอก็เคยพูดวาชีวิตที่

ผานไปไดในแตละวัน การไดไปฝกไอคิโดคือของขวัญอันล้ำคาในชีวิต เพราะตองทน

ทรมานกับขอจำกัดของรางกายที่มีความเจ็บปวด ซึ่งมันทำใหเราเห็นวาพี่หมอมีจิตใจที่

เขมแข็งมาก

หน้า ๑๗

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Focus : V คาดหวังกับการฝกไอคิโดอยางไรบาง

ออม: V ไมไดคาดหวังวาจะตองเกงไอคิโด แตจะฝกควบคุมจิตใจไมใหโกรธ ไมใหมี

อคติมากกวา ออมมองวาเทคนิคเปนเรื่องรอง ไอคิโดจะดีขึ้นเองถาฝกบอยๆ อีกหนอยก็

เกงเอง แตถึงแมจะเกงขนาดไหนถาจิตใจไมเสียสละ ไมปลอยวางอารมณโกรธมันก็ไมมี

ประโยชน ก็มีเหมือนกันนะอารมณโกรธเนี่ย บางที่ออมทำความสะอาดโดโจอยูแลวบางคน

ก็มักจะหาเรื่องอูไมชวยเราทำความสะอาด เราก็ตองบอกตัวเองวาเรามาเพื่อพัฒนาจิตใจ

นะเราตองฝกตัวเองใหได ถาไมปลอยวางเราก็จะขุนมัว ออมจะนับถือหัวใจ การเสียสละ

และการมีน้ำใจ ของผูฝกมากกวา

V อีกอยางที่ตองมาฝกก็คือออมไดสัญญาไวกับตัวเองวาตองฝกเผื่ออีกคนที่ไมสามารถ

มาฝกไดอีกแลว คือออมไดชุดฝกมาชุดนึงจากอาจารยสมบัติ อาจารยบอกวาชุดมันเล็กและ

พอดีสำหรับออม แตเจาของชุดเคาเสียชีวิตไปแลว และปจจุบันออมก็ยังใชชุดนี้อยูนับเปน

สิบปแลว และในแตละวันตัวขี้เกียจก็จะมาคอยรบกวนคอยชักชวนหาเหตุใหไมไปฝก

เสมอๆ  แตเรามีคำถามที่เอาชนะมันไดคือถาเราไมฝกวันนี้แลวครั้งหนาเราจะไดฝกมั้ย

จะรอไปถึงเมื่อไหร ? 

$ แลวคุณละจะรอไปถึงเมื่อไหร

The Art of Peace # ๖๔ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens

Spring forth from the Great Earth;Billow like Great Waves;

Stand like a tree, sit like a rock;Use One to strike All.

Learn and forget!

John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/ หน้า ๑๘

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! บทความนี้เปนบทสงทายของการฝกไอคิโดที่ประเทศญี่ปุน เปนประสบการณในเดือนมีนาคม ๒๕๕๒ ที่ไดสมัครเขารวมคาย International Seminar of Budo Culture สำหรับคนตางชาติที่พำนักอาศัยในประเทศญี่ปุน กิจกรรมนี้จัดเปนประจำทุกป โดยการสมัครตองใหทางโดโจเปนผูรับรองและสมัครให

ศุกร ๖ มีนาคม ๒๕๕๒

เกาโมงเชาวันนี้ นัดดอรจีเพื่อนนักไอคิโดชาวธิเบตไปเขาคาย International Budo Seminar of Budo Culture ที่เมืองคัตสุระ เขตชิบะ หางออกไปจากโตเกียวประมาณสามชั่วโมง โดยมีเซนเซฝรั่งสอนคาราเตของนายดอรจีเดินทางไปเปนเพื่อน เราออกจากชินจูกุไปสถานีโตเกียว ประมาณเที่ยงครึ่งก็ถึง

งานนี้จัดโดย Nippon Budokan เพื่อใหนักเรียน Budo แขนงตางที่เปนชาวตางชาติที่พำนักอยูในประเทศญี่ปุนไดมาเรียนรูจักกัน และไดเรียนรูศาสตรของ “บูโดสมัยใหมของญี่ปุน” อื่นๆดวย แนนอนวากบลงทะเบียนในฐานะนักเรียนไอคิโด แตนายดอรจีลงทะเบียนคาราเต เพราะเขาเปนนักคาราเตระดับสูง(สี่ดั้ง) แตสำหรับไอคิโดเพิ่งเริ่มฝกไดระดับสามกิ้ว

เดือนนี้เมื่อปที่แลวประสบการณ์จากการฝึกที่ฮมบุโดโจ นฤมล ธรรมพฤกษา

หน้า ๑๙

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

คาลงทะเบียนก็ราคาถูกมากเพราะบูโดกังเปนโตโผใหญ ผูเขารวมประมาณรอยคน พวกเราจายคาลงทะเบียนเพียงหาพันเยนY(ประมาณพันแปดรอยบาท) เปนคากินอยูและคาเลาเรียนสำหรับสามวัน อาคารที่จัดกิจกรรมคือ Nippon Budokan Training Center ซึ่งอยูในบริเวณเดียวกับ International Budo University

หลังจากพิธีเปดตอนบายสองครึ่ง ก็มีเลคเชอรเรื่อง The Re-invention of Budo in Post Meiji Era โดย อเล็กซ เบนเน็ต นาสนใจมาก เพราะพูดถึงประวัติศาสตรหลายชวงของญี่ปุนที่มีการสั่งหามมิใหฝกฝนบูโด และบางชวงก็มีการรื้อฟนจัดตั้งขึ้นมาใหม การบรรยายประกอบสไลดของคุณอเล็กซสนุกและไดความรูเยอะมาก เพราะเขาทำงานวิจัยเรื่องนี้มาตั้งแตเปนนักศึกษาป.เอกที่มหาวิทยาลัยเกียวโต

หัวขอตอมาเปนเรื่อง Rapid Reform in International Judo ซึ่งทางสมาคมยูโดของญี่ปุนไดพูดถึงในโอลิมปกที่ผานมาวาไดเหรียญทองกี่เหรียญ นักกีฬาคนไหนแสดงฝมือ อยางไร ขอดีขอเสียเปนอยางไร และในที่สุดก็สรุปวา การเอายูโดมาเปนกีฬา ซึ่งเดิมจะเนนคะแนนจาก “อิปปอน” คือกระทำทาไมตายทีเดียวแลวชนะไปเลย ก็กลายเปนเปลี่ยนใหมีคะแนนเล็กคะแนนนอยที่นักกีฬาจะเก็บสะสมได เขาสรุปวาการเปลี่ยนแปลงนี้ทำใหการฝกยูโดเพื่อการกีฬามีความกาวราวมากขึ้น

การบรรยายตอมาเปนเรื่อง Reflection on the Karate World Championship and future considerations ก็พูดถึงการแขงขันที่ผานมา และตอนนี้พยายามผลักดันใหคาราเตเขาสูโอลิมปก อเล็กซถามคำถามที่นาสนใจวา มาซาโอะเซนเซผูบรรยายคิดอยางไร เพราะเขาเองก็คัดคานไมใหคาราเตเปนกีฬา มาซาโอะเซนเซตอบวา เขาคัดคานเพราะเพราะมีการเปลี่ยนกฏเกณฑมากมายเพื่อใหเหมาะกับการใหคะแนน ซึ่งทำใหธรรมชาติของคาราเตเปลี่ยนแปลงไป

หน้า ๒๐

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

นาสนใจมากที่ตัวแทนทั้งสองทานสรุปไดใกลเคียงกันวา ความกาวหนาของบูโดในฐานะกีฬา ทำใหจิตวิญญาณของบูโดหายไป

ตอนเย็นมี free training ซึ่งทุกกีฬาก็ขึ้นเบาะซอมกันขะมักขเมนเวนแตไอคิโด ก็พอมีบางที่ฝรั่งสวนใหญเปลี่ยนชุดฝกกัน แตบรรดาคนเอเซียทั้งหลาย เชน กบ(ไทย) และนาย ดอรเจ(ธิเบต) นายแทน(มาเลย) เร็กซ(ฟลิปปนส) และผองเพื่อนที่เพิ่งจะรูจักกันทั้งไตหวันและเกาหลี ตางแคมามุงดูที่ประตูแตไมมีใครยอมเปลี่ยนชุดลงไปฝกเลย

เสาร ๗ มีนาคม ๒๕๕๒

Y วันนี้เปนวันสาธิตบูโดตางๆ เริ่มจากการสาธิตเคียวโด (ยิงธนู) เราเดินไปที่่โดโจโดยเฉพาะของเคียวโด ที่ผนังดานหนึ่งเปนประตูกระจกที่เปดไดกวาง ขางนอกเปนสนามดิน มองเห็นเปาที่อยูไกลไปประมาณหาสิบเมตร เซนเซสองทานสงางามมาก ดวยทวงทาการเคลื่อนไหวเนิบชาราวกับพิธีกรรม ดูแลวอยากฝกดวยทันที

จากนั้นก็ยายเขาไปในโรงฝกหลัก ที่นั่นมีการแบงพื้นที่เปนสวนๆสำหรับการสาธิตแตละประเภท เริ่มจากการสาธิตซูโมกอน ตอดวยการสาธิตยูโด เปนทาทุมแบบตางๆ เริ่มจากคูตอสูที่ตัวเล็กและเพิ่มขนาดใหตัวใหญยักษขึ้น เห็นไดวาทาทุมยูโดสามารถจัดการกับคนที่ตัวโตกวามากๆไดอยางสบาย

ตอมาเปนไอคิโด การสาธิตเริ่มจากคานาซาวะเซนเซกอน โดยมีนักศึกษาจาก IBU (International Budo University) มาเปนอูเกะให ตอดวยโยโกตะเซนเซ ทานสงามากเหมือนเคย มีอูเกะคือฮิโนเซนเซ (ชิโดอินจากฮมบุ) นายดีเจฝรั่งมนุษยพลาสติก และนายแทนหนุมมาเลย

หน้า ๒๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Y จากนั้นก็เปนคาราเต จูเคนโด(ดาบปลายปน) นิกินาตะ(งาว - ผูหญิงชั้นสูงในราชสำนักจะตองฝกจนชำนาญ) และการสาธิตก็จบดวยเคนโด (เปนการสาธิตโดยใชดาบจริง ไมไดสาธิตทาของเคนโดที่ใชดาบไมในหนากากและชุดเกราะ)

หลังจบการสาธิต ทางคณะกรรมการก็แจงวาเราสามารถเลือกทดลองฝก new Budo เหลานี้ไดสามอยาง

กบพุงไปที่เคียวโดทันที เซนเซทั้งสองทานนารักมาก เขามาแนะนำใหตลอด ทานเลือกคันธนูขนาดแปดกิโลกรัมให ไมแนใจวาเปนน้ำหนักของธนูหรือขนาดแรงตึงเชือกเมื่องางยิง แตอันนี้ก็เบาที่สุดเมื่อเทียบกับธนูอันอื่น มีนองๆจาก IBU มาชวยสอนใหดวย เราตองใสถุงมือผาสีขาวที่มีเฉพาะนิ้วโปง ชี้ กลาง ตามดวยถุงมือหนังสามนิ้วเหมือนกัน การยิงธนูมีพิธีรีตองมาก เหมือนกับการทำสมาธิ ทุกอยางเชื่องชา เนิบนาบ แตสงางามมาก

ในชั้นเรียนเชานี้ มีคนยิงโดนเปาสี่คนในบรรดาสิบเอ็ดคน กบก็ยิงโดนสองลูก (จากทั้งหมดยี่สิบลูก) ชอบมากเวลาเซนเซเรียกชื่อเราแลวเขามาสอนตัวตอตัว การปกชื่อไวที่โดกี(ชุดฝก)และฮากามาก็ดีอยางนี้เอง

หน้า ๒๒

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หลังอาหารกลางวัน พวกเราก็ขึ้นรถไป IBU เพื่อฟงเลคเชอรหัวขอ The Spirit of Budo and and Nitobe Inazo’s Bushido พูดถึงความรักชาติของชาวญี่ปุนในสายเลือดบูชิโด จากนั้นก็คอยเขาเรื่องประวัติของ Nitobe และหนังสือของเขาเรื่องบูชิโด

สุดทายเปนเลคเชอรเรื่อง What is Budo Education in Junior High Schools going to be made Compulsory? พูดถึงประวัติระบบการศึกษา Physical Education ของญี่ปุนที่เพิ่มการสอนยูโด ซูโม และ เคนโดเขาไป แตคำถามที่ชาวตางชาติสนใจคือ ใครเปนคนสอน ครูที่สอน PE จะมีความเขาใจบูโดมากนอยแคไหน การใหเกรดเปนอยางไร มีการแขงขันหรือไม

นักบูโดตางชาติเหลานี้หวงใยในประเด็นคลายคลึงกันวา การเรียนบูโดในวิชาพละศึกษานั้นตองแบงเวลาเรียนรวมกับกีฬาอื่น เวลาที่จำกัดคงไมอาจเพียงพอใหเด็กๆเขาใจบูโดไดอยางถองแท และการสอนคนที่ไมเขาใจบูโดใหรูจักเทคนิคในการสูรบก็เหมือนกับการใหเครื่องมือเพื่อการทำลายลางมากกวา เพราะ “ฮิจิเมะ” (bully - การรังแกกัน) ในโรงเรียนของญี่ปุนมีมากมาย เกรงวาเด็กๆอาจเอาไปใชในการทำความเจ็บปวดใหกับคนอื่นหรือไม

Y จบการบรรยายเราก็กลับไปที่ศูนยเพื่อเปลี่ยนชุดอยางรวดเร็วและพุงไปที่เบาะ เย็นนี้โยโกตะเซนเซสอนการเขาอิริมิรับโชเมงสามแบบในเวลาเดียวกัน Y แบบแรกคือเขาดานหนา ก็สไลดเทาเขาไปหาอูเกะดานหนา แขนที่รองรับมือที่ฟนลงมาก็หักศอกงอแลวตวัดมวนขึ้นไปฟนที่คอของอูเกะ (เหมือนการฝกดาบ) ซึ่งเราจะ สามารถทุมอิริมิไดจากตรงนี้Y แบบที่สองคือเขาทางดานหลัง ก็กาวเทาไปทางดานหลังของอูเกะ กลับหลังหัน

มายืนเหมือนกับเขา ใชมือขางหนากดทอนแขนอูเกะ(ต่ำกวาขอพับ)ไว และใชมือขางหลังจับคอหรือกดหนาอูเกะแนบไหลเรา

หน้า ๒๓

ภาพจาก http://picasaweb.google.co.uk/ DublinAikido/DAATripToJapanMay2008AikikaiHombuDojo#5217591928206303234

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

แบบสุดทายคือการเขาลึกแบบอิริมิเทนคังก็ใชมือรองดานลางของมืออูเกะแลวดึงแขนอูเกะเขามา

เซนเซเตือนวาใหเขาแบบสงางาม อยางอหลังหรือเกๆกังๆ แลวใชคำวา “คักโคอี้” คือ ให “เท” เขาไว เหมือนกับหากมีคนมาถายรูปแลวรูปตองออกมาดูดีเสมอ ไมเหวงเวิ่นเวอ

ฝกเสร็จประมาณหนึ่งชั่วโมงก็พักอาบน้ำอาบทาและเปนเวลาทานอาหารเย็น ตอนนี้เปนเวลาที่ทุกคนไดมีโอกาสพูดคุยกัน ทั้งคนที่มาจากโดโจเดียวกัน จากตางสำนักและตางแขนงวิชา กบไดเพื่อนเปนหนุมสาวจากโยชินกังกลุมใหญมาก ที่ถกกันเรื่องเบียรชาติไหนอรอยที่สุด

อาทิตย ๘ มีนาคม ๒๕๕๒

เชาแปดโมงครึ่ง มีอภิปรายที่ IBU เรื่อง Is Budo Education Genuinely beneficial for Children? นำอภิปรายโดย ฮอนดา โซทาโร อาจารยจาก

มหาวิทยาลัยฟูกูโอกะที่สอนเคนโดดวย คำถามแรกก็เปนเรื่อง Bully (ฮิจิเมะ) เลย ก็มีคนใหคำตอบและขอคิดเห็นมากมาย ตอนทายๆก็ขอใหเซนเซแตละแขนงมาเลาใหฟงเรื่องการสอนบูโดใหกับเด็กตามศาสตรของตนเอง

โยโกตะเซนเซบอกวา ในสำนักไอคิไกมีการสอนไอคิโดใหเด็กอายุตั้งแต ๕ – ๑๔ ป เรียกวา โชเนงบ ุเริ่มมาตั้งแตป ๑๙๗๖ และจัดใหมีชั้นเรียนเด็กที่นิปปอนบูโดกังเรียกวา เนเซไทไก

หน้า ๒๔

ภาพจาก http://www.aikikai.or.jp/eng/hombu/child.htm

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

สวนเรื่องการรังแกกันนั้น โยโกตะเซนเซตอบไดประทับใจวา การรังแกกันนั้นมักเกิดกับเด็กวัยเดียวกัน ไมคอยเกิดขึ้นกับเด็กโตรังแกเด็กเล็ก ดังนั้นการสอนไอคิโดใหกับเด็กจึงทำใหเขามีความมั่นใจในตัวเองและไมคอยถูกรังแก และระบบรุนพี่รุนนอง (โจเงคังเค) ทำใหบทบาทของเซมไป (รุนพี่) ตองมีความรับผิดชอบและเปนตัวอยางตอรุนนอง (โคไฮ) และรุนนองก็มีความเคารพในตัวรุนพี่ เซนเซเชื่อวา ไอคิโดสามารถมีสวนชวยในการพัฒนาเด็กเปนอยางมาก

สัมนาภาคเชาเสร็จ เราก็กลับมาที่ศูนย ตอนบายกบเลือกฝกซูโม เจงมาก พวกผูชายตองแกผาหมดแตผูหญิงก็อนุโลมใหใสเสื้อผาได นองๆสุดเทมาชวยใสชุดใหแลวก็นำพวกเราฝก ขานองใหญเบอเริ่มเทิ่ม แข็งแรงมาก ในการฝกตองยอขาตลอดเวลาซึ่งก็ทำใหปวดไปเหมือนกัน แตสวนดีคือทำใหยืดหยุนดี ตอนแรกนองๆก็สอนทาวอรม และทาพื้นฐาน และใหเราผลักอกพวกเขา จากนั้นก็ใหเราแขงกับนักซูโม พวกหนุมๆแพหมด แตสาวๆชนะกันใหญ ไมบอกก็รูวาออมมือแนนอน จากนั้นพวกเราก็แขงกันเอง พวกผูชายเลนแรงจนไดเลือดกันเลย แตกบชนะมาตลอด ตั้งแตชนะนองซูโมอวน มาจนถึงสาวๆทุกคน เทคนิคก็คือ centering ยึดจุดศูนยกลางไว ยอตัวใหมาก ถายน้ำหนักและตามแรง คือใชเทคนิคไอคิโดนั่นเอง

Y ชั่วโมงสองอยากฝกเคนโดมาก แตนายดอรจีเลาวาเสื้อผาตองยืมใสและเหงื่อออกจนชุม ชุดฝกยอมครามก็เลยสีตกใสชุดขาวที่เราใสซอนขางใน และก็เหม็นมากโดยเฉพาะหนากาก กบก็เลยไปฝกยูโดแทน พวกนักเรียนตางชาติมีกันหาคนในขณะที่นองๆยูโดอยูกันเต็มเบาะ

หน้า ๒๕

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เราวอรมอัพเสร็จก็ฝกมวนหนา มวนหลัง และก็เขาฝกทาทุมเลย เซนเซมีสี่คน แตคนที่อายุนอยที่สุดเปนคนสอน และเรียกพวกเราทีละคนมาทุมตอหนาทุกคน งายดายมากเพราะนักยูโดทุกคนยอมให พอสอนเสร็จแตละทาก็ใหไปเขาคู กลุมของกบมีนองตัวใหญยักษคอยดูอยู หนุมๆพวกนี้จะคอยตบมือใหเวลาเราทำถูกตอง จากนั้นนองตัวยักษจะเขามาเปนคนทุมใหเราฝกลม เจ็บดีจริงโดยเฉพาะเวลาเขากระแทกพื้น

ตอนจบ เซนเซใหเราฝกคูกับนายฝรั่งผิวดำตัวใหญหนักเกือบสองรอยกิโล ไมมีทาง จะทุมอยางไรก็เอาเธอไมขึ้น เฮอ.. เหนื่อย แตก็สนุกดี ตัวระบมไปหมด

พอหาโมงเย็นเปนชวงฝกเทคนิคของตัวเอง วันนี้นอกจากจะมีนักเรียนจากฮมบุ IBU และ โยชินกังแลวก็ยังมีสมาชิกจากบูโดอื่นๆอีกหลายคน

Y โยโกตะเซนเซสอนเหมือนเคย อูเกะก็คือนายดีเจกับนายแทนเหมือนเมื่อวาน เซนเซสอนการเขารับโชเมง และคาตาเตโทริ และตอนทานสอนรับโยโกเมง เซนเซเรียกกบไปเปนอูเกะดวย แมจะตกใจมากแตก็ยอมไปเปนอูเกะแตโดยดี ก็พอลมไดแบบไมขายหนาครูบาอาจารย เซนเซทานเลือกทาที่ลมงายๆสำหรับกบ คือ อิกเกี้ยว นิกเกี้ยว ซังเกี้ยว ยงเกี้ยว รวดเดียวจบ

ค่ำคืนนี้มีปารตี้เลี้ยงลา แตกบหนีไปหลับเพราะรูวาพวกเคาจะเขใหตัวแทนแตละประเทศมาแสดงวัฒนธรรม แลวใครละจะเปนตัวแทนจากประเทศไทย… ถาไมใชเรา

หน้า ๒๖

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

จันทร ๙ มีนาคม ๒๕๕๒

เชานี้มีชั้นเรียนของ Kobudo หรือ ancient budo ซึ่งครั้งนี้ โมริ ฮาการุเซนเซ พูดถึงความเปนมาและแนวคิดพื้นฐานของ “ไดโตะ-ริว ไอกิจูจิตสู (สาขาเทคุมะไก)” กอตั้งโดยทาน “อิสะ เทคุมะ”

ไดโตะ-ริวฯไมใชเปนแคจูจิตสูที่ grabbing หรือจับล็อคตรึงอูเกะเทานั้นแตเปนไอกิ คือมีการ control และ mobi-lized อูเกะดวย ทาทั้งหมดมี ๒,๘๘๔ ทา แตเทคนิคที่ใชประจำจะมีประมาณ ๗๐๐ ทา ซึ่งจะเนน “โคเต” คือเทคนิคตางๆที่ใชกับการจับตั้งแตหัวไหลลงมาถึงปลายนิ้ว เสาหลักสามประการของไดโตะ-ริว คือ “คังเคซึ” – joint techniques, “คิวโชวาซะ” – vital point techniques, “ไอกิวาซะ” – aiki point หรือ การควบคุม attacker บริเวณ Kote area โดยไมใชกำลังแตเนนใหอูเกะเคลื่อนไหวเองดวยความเจ็บปวด

หลังจากการบรรยาย ก็มีการสาธิตและการสอน พวกเราก็ตื่นเตนกันมาก จับคูกันใหญ มีเสียงรองโอดโอยตามมาเปนระยะๆ พอเซนเซสาธิตเสร็จพวกเราชาวไอคิโดก็จะพุงเขาไปขอใหเซนเซชวยจับพวกเราล็อคแลวก็รองซี๊ดซาดสะใจ ทั้งนายเรกซและนายแทนลมกันแทบไมเปนทา ทั้งชาวโยชินกังก็มาขอใหเซนเซจับลอคดวย สนุกดี

นายดีเจบอกวา เราโชคดีมากที่มาฝกที่นี่ปนี้ เพราะปกติไอกิจูจิตสูจะคอนขางเก็บตัว ไมคอยเปดเผยกับคนภายนอกเพราะเปนเคล็ดลับวิชา และคนที่ฝกก็มีจำนวนนอยมากเมื่อเทียบกับไอคิโด

ฝกเสร็จนายดีเจกับกบก็ควาขาวกลองที่คณะผูจัดเตรียมไวใหรีบกระโดดขึ้นแทกซี่เพื่อจับรถไฟเที่ยวเที่ยงเขาโตเกียวเพื่อฝกที่ฮมบุตอนค่ำ ทิ้งเพื่อนคนอื่นๆใหกลับรถรอบบาย ตลอดการเดินทางสามชั่วโมง เราก็คุยกันแตเรื่องไอคิโด นักไอคิโดทุกคนที่นี่ก็ชอบคุยแตเรื่องไอคิโดไมหยุด จนบางที บางคนตองขอรองวา ชวยคุยเรื่องอื่นบางไดไหม เชน ชีวิตเธอเปนอยางไร สบายดีไหม ... เฮอ… ลืมเรื่องชีวิตของตัวเองไปเลย เพราะตลอดเวลาก็คิดถึงแตไอคิโด…

หน้า ๒๗

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

คุมิโกะเป็นพนักงานอ๊อฟฟิศจากโตเกียว

ฝึกไอคิโดทุกวันมาได้ห้าปีแล้ว ขณะนี้ได้ระดับสายดําสามขั้นจากฮมบุโดโจ คุมิโกะมีโอกาสแวะมาเยี่ยมเยือนชมรมไอคิโดม.ช. ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ปีนี้ เนื่องจากมาเรียนนวดแผนไทยที่เชียงใหม่ และรู้สึกประทับใจกับการฝึกรวมทั้งสมาชิกที่ม.ช.เป็นอย่างมาก จนบอกว่าอยากจะกลับมาเยี่ยมพวกเราอีกในอนาคต

มาเยี่ยมมาเยือน

Kumiko Enokido (3-dan)

Aikikai Foundation Aikido World Headquarters17-18 Wakamatsu Cho, Shinjuku-ku, Tokyo, 162-0056 JapanPhone: (+81) 3-3203-9236, Fax: (+81) 3-3204-8145Email: [email protected] Website: http://www.aikikai.or.jp/eng/index.htm

John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

The Art of Peace # ๑๑๒ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens

The Art of Peace is the religion that is not a religion; it perfects and completes all religions.

หน้า ๒๘

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

“True victory gives love and changes the enemy heart.”GEORGE LEONARD

! เด็กวัยรุนผูชายอายุสิบเจ็ดป เมาสุราและไดรับอุบัติเหตุขับรถจักรยานยนตลมคว่ำ ใบหนากระแทกพื้น เดินเขามาที่หองฉุกเฉิน มือขางหนึ่งใชผาปดที่ใบหนาที่มีเลือดไหลอาบ สงเสียงเอะอะโวยวายและไมใหความรวมมือกับเจาหนาที่พยาบาลในการปฐมพยาบาล ตรวจรางกายและดูแลบาดแผล พยาบาลผูหญิงทานหนึ่งถูกวัยรุนทานนี้ถมน้ำลายใสใบหนาในขณะที่พยายามจะเขาไปขอดูบาดแผลของเขา

! สถานการณแบบนี้เกิดขึ้นเสมอๆ ในหองฉุกเฉินของโรงพยาบาลตางๆ ทั่วประเทศและเปนเรื่องหนึ่งที่จะทำใหเจาหนาที่ทางสาธารณสุข “รูสึกโกรธ” ไดอยางรวดเร็วและงายดายมาก

! เพราะเวลาที่เรานึกถึง “คนที่เราไมชอบ” ความคิดของเราก็มักจะตัดสินอยางรวดเร็วใหเราเกิดอารมณความรูสึกไปในทางที่ไมดีไมงามกับคนๆ นี้ อยางรวดเร็วและทันทีและโดยเฉพาะอยางยิ่งหากวาเราได “คิดแบบนั้น” และ “รูสึกแบบนั้น” ซ้ำๆ ซากๆ อยูอยางเดิม

! ความสามารถเหลานี้นับไดวาเปนความสามารถพื้นฐานของสมองของมนุษยที่ถูกออกแบบไวใหมนุษยสามารถทำอะไรตางๆ ไดอยางรวดเร็วเปนอัตโนมัติไมตองเสียเวลาคิดอะไรมากมาย พอพบกับ “สิ่งเรา” ก็ใหมี “ปฏิกิริยาตอบสนอง” อยางรวดเร็วทันทีทันควัน หน้า ๒๙

นพ.วิธาน ฐานะวุฑฒ

เราจะหมดสภาพในการเกลียดไดอยางไร

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

และ “สิ่งเรา” ที่ถูกกำหนดจากสมองของเราแตละคนวา “เปนฝายตรงกันขาม” “เปนศัตรู” หรือ “เปนอะไรที่เราไมชอบ” จะกลายมาเปน “รูปแบบที่ชัดเจนมาก” ในการที่ตอบสนองโดยที่เราจะคิดไมทันหากวาไมมี “ความยั้งคิด” มาคอยเตือนมาคอยดูแลตัวเรา

! จาก “ความโกรธ” บอยๆ ก็จะคอยๆ กลายไปเปน “ความเกลียด” โดยที่เราไมรูตัว

! รูปแบบของ “วัยรุนขี้เมา” ไดกลายมาเปนรูปแบบหนึ่งของ “ความเกลียด” “คนขี้เมา” ใหกับเจาหนาที่ทางสาธารณสุขในหองฉุกเฉินเหลานี้มาเปนเวลายาวนาน

เจาหนาที่พยาบาลผูชายอีกทานหนึ่งเคยเปนคนอารมณรอนและมีภาพของความทรงจำที่ไมดีนักกับ “วัยรุนขี้เมา” เหลานี้ ในวันนั้นเจาหนาที่ทานนี้ยอมรับวาโกรธเมื่อเจอสถานการณแบบนี้อีก แตในครั้งนี้ “เขาเลือกที่จะลองทำสิ่งที่แตกตาง” ซึ่งไมงายเลยนะครับสำหรับเขาที่จะไมทำไปตามอัตโนมัติแบบเดิมๆ

เขาเลือกที่จะทดลองเขาไปสัมผัสวัยรุนทานนี้ดวยความออนโยน แมวาจะฝนกับสิ่งที่เขาเคยเปนมาตลอดชีวิต ไมนาเชื่อครับวาวัยรุนที่กำลังเอะอะโวยวายจะคอยๆ สงบลง ยอมใหตรวจดูบาดแผล ซึ่งก็พบวาริมฝปากทั้งลางทั้งบนฉีกขาดเลือดไหลเปนจำนวนมาก ก็ยิ่งทำใหเจาหนาที่พยาบาล

เหลานี้เกิดความรูสึกสงสารและเห็นใจ

! พวกเขาไดนำพาตัวเองใหเขาไปอยูในสถานการณของวัยรุน พวกเขารูสึกเขาใจวัยรุนทานนี้ที่ตองเอะอะโวยวาย ความกลัววาตัวเองจะเสียโฉม ความกลัวตางๆ ที่มากเกินกวาฤทธิ์ของแอลกอฮอลที่เขาดื่มเขาไป

จอรจ เลียวนารด ซึ่งเปนผูรวมกอตั้งสถาบันอีซาเลนในสหรัฐอเมริกา เขาไดเขียนหนังสือไวหลายเลม หนังสือเลมหนึ่งของเขาที่ชื่อ “The Way of Aikido” บอกไววา

“If you understand, you cannot hate.”

คุณจะหมดสมรรถภาพในการเกลียด-ถาคุณเขาใจคนที่อยูขางหนาคุณหน้า ๓๐

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! และเราจะสามารถเขาใจ “คนที่อยูขางหนาเรา” ไดก็ตอเมื่อ “เราตองลองสมมติตัวเองใหเขาไปอยูในสถานการณแบบที่เขายืนอยู” เพราะสิ่งที่เราเห็นเราเขาใจกับสิ่งที่คนที่อยูขางหนาเราเห็นและเขาใจยอมไมเหมือนกัน

! การที่เราทดลองเขาไปยืนในสถานการณของฝายตรงกันขาม ไมไดหมายความวาเราจะตองสูญเสียจุดยืนของตัวเราไป แตการทำแบบนี้อาจจะทำใหเราไดเห็นสิ่งที่แตกตางไปจากสิ่งที่เราเคยเห็นเคยเขาใจ

! เจาหนาที่พยาบาลผูชายทานนั้นเลือกที่จะทดลองเขาไปยืนในสถานการณของวัยรุน เขารับรูความรูสึกกลัว ความวิตกกังวลของวัยรุนที่แมจะขี้เมาและดูนาสมน้ำหนาในจังหวะนั้น

! เขาก็เลยไดเห็นและไดความเขาใจ “ที่แตกตาง” ไปจากสิ่งที่เขาเคยเห็นเคยเขาใจ มากกวาที่จะยอมรับ “ความกาวราว” และ “ความรุนแรง” ที่วัยรุนทานนี้มอบไวใหเพื่อนรวมงานของเขาดวยการถมน้ำลายและเอะอะโวยวาย เขาเลือกที่จะเปลี่ยนความรุนแรงใหเปนความเขาอกเขาใจกันไดสำเร็จ

! ศิลปะของการตอสูที่ไมวาจะเปนไอคิโด ไทฉีฉวน หรือแมแตมวยไทยของเราเองนั้น ในเบื้องลึกที่สุด “การตอสู” ไมไดเปนไปเพียงเพื่อการเอาชนะคะคานกันหรือทำรายคูตอสู และจริยธรรมขั้นสูงที่สุดเทาที่ผูฝกผูเรียนจะสามารถพัฒนากาวหนาไปถึงไดนั้น “จะตองไมทำรายคูตอสู”

! ในไอคิโดมีศัพทคำหนึ่งที่ผมชอบมากที่จอรจ เลียวนารดเขียนไวในหนาที่ ๑๔๖ ของหนังสือ “The Way of Aikido” เลมเดียวกันนี้ก็คือคำวา “Protect the attacker”

! เราจะปองกันไมใหคูตอสูของเราไดรับอันตรายไดอยางไร? ในอีกนัยหนึ่งก็คือ เราจะไมทำรายคูตอสูหรือศัตรูของเราไดอยางไร?

หน้า ๓๑

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เรื่องจาก http://newheartnewlife.net/wordpress/?p=263เราจะหมดสมรรถภาพในการเกลียดได้อย่างไร?Sunday, December 07th, 2008 | Author: drwithan

หน้า ๓๒

! โลกปจจุบันมีสิ่งที่สมองของพวกเราได “ใหความหมาย” ไววา “สิ่งที่เราไมชอบ” เปน “ศัตรู” เปน “ฝายตรงกันขาม”

! แตในความเปนจริงพลังงานในธรรมชาตินั้น ไมเคยเปนศัตรู ไมเคยเปนฝายตรงกันขาม น้ำทะเลที่กัดเซาะแกงหินที่ชายฝง สายลมที่พัดเซาะแคนยอน สายน้ำที่ไหลจากตนน้ำ ตางๆ เหลานี้ไมไดคิดวาสิ่งที่ปะทะกันเปน “ฝายตรงกันขาม” แตทั้งหมดปลอยใหพลังงานเลื่อนไหลไปตามที่ควรจะเปน ถาผืนดินคิดวาสายน้ำเปนฝายตรงกันขามก็คงจะไมแมน้ำลำธาร หากภูเขาคิดวาสายลมเปนศัตรูก็คงไมเกิดแคนยอนและอื่นๆ

! เจาหนาที่พยาบาลทานนั้น เลือกที่จะสลายความรุนแรงที่วัยรุนทานนั้นมอบให ดวยการเดินเขาไปยังใจกลางหัวใจของเขาและเปลี่ยนแรงปะทะใหไหลออกไปนอกตัวเขา และดูแลวัยรุนที่โจมตีเขากอนทานนี้ใหปลอดภัย

! ในชีวิตของเรา เรามอง “อุปสรรค” เปน “แรงปะทะ” มากเกินไปหนอยหรือไม

! และหากเราสามารถ “เขาใจแรงปะทะ” เหลานี้ได ก็อาจจะทำใหเราหมดความสามารถในการเกลียดไดบางกระมัง?

ภาพจาก http://lookpla-noi.exteen.com/20081123/entry

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)