20100324 intro

9
Theme: Green Creative society in the making The Theme of “International Landscape Expo 2010” is “Green Creative: Society in the Making”. It is a time when green, as a philosophy and physical elements, is needed to be used creatively. Cities oblige to confront with various challenges ranging from climate change, urban densification, environmental degradation, decreasing of green area, rising of new culture, and degradation of cultural landscape. On the other hand, we could see these challenges as stimulus forces, which will help our society to transform ourselves and our cities to be more sustainable. With those challenges, the role of Landscape Architect as well as other built environment professions will become more importantly relevant in improving city’ spaces and its resources through creativity. The work is ranging from improving residential area, planning housing, creating park and green space as well as regenerating and recovering urban areas. In order for the creativity to become a sustainable solution for all, inspirational quality alone will not be enough. It also has to respond to other relevant contexts ranging from economy, social, culture and nature. Green creative should not only occur in the physical form of urban space but also the stimulus forces in the society, which enable people to form activities and culture accordingly. Citizen engagement will become the main driving force in making our “green creative society” for all. City in Transformation เมืองตางๆ ในโลกลวนกำลังเผชิญกับความทาทายใหมๆ ทั้งจากสภาวะเศรษฐกิจถดถอย, การขยายตัวของเมือง, ภาวะโลกรอน, การแสวงหาแหลงอาหารและพลังงาน, การเสื่อมถอยของวัฒนธรรมเดิมและ การเกิดขึ้นของวัฒนธรรมใหม ความทาทายเหลานี้ มาพรอมกับโอกาสที่เราจะไดเห็นพลวัตของการ เปลี่ยนแปลงเมืองและสังคมที่เราอาศัยอยูสูสิ่งใหมที่ตอบสนองตอความทาทายเหลานั้น Creativity คือ กระบวนการของการไดมาซึ่งคำตอบหรือแนวทางใหม ที่ตอบสนองตอความทาทายขางตน หากแต ความคิดสรางสรรคนั้น ตองไมมีเพียงแคความนาสนใจและแรงบันดาลใจ หากแตยังตองทำหนาที่ใน การตอบสนองกับบริบททางเศรษฐกิจ, สังคม, วัฒนธรรม และธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงทุกขณะของโลก ปจจุบันและอนาคต เพราะการตอบสนองนี้เองจะนำมาซึ่งความคิดสรางสรรคที่ยั่งยืน Green Creative คือ แนวทางและเปาหมายในการออกแบบสภาวะแวดลอมหรือภูมิทัศนอยางสรางสรรคโดยคำนึงถึง ความสอดคลองกับบริบททางธรรมชาติ, สังคม, เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม และดวยแนวทางนี้ ประกอบกับ พลังพลวัตของพลเมือง จะนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมเมืองที่มีคุณภาพและยั่งยืน

Transcript of 20100324 intro

Page 1: 20100324 intro

Theme: Green Creativesociety in the making

The Theme of “International Landscape Expo 2010” is “Green Creative: Society in the Making”. It is a time when green, as a philosophy and physical elements, is needed to be used creatively. Cities oblige to confront with various challenges ranging from climate change, urban densification, environmental degradation, decreasing of green area, rising of new culture, and degradation of cultural landscape. On the other hand, we could see these challenges as stimulus forces, which will help our society to transform ourselves and our cities to be more sustainable.

With those challenges, the role of Landscape Architect as well as other built environment professions will become more importantly relevant in improving city’ spaces and its resources through creativity. The work is ranging from improving residential area, planning housing, creating park and green space as well as regenerating and recovering urban areas. In order for the creativity to become a sustainable solution for all, inspirational quality alone will not be enough. It also has to respond to other relevant contexts ranging from economy, social, culture and nature.

Green creative should not only occur in the physical form of urban space but also the stimulus forces in the society, which enable people to form activities and culture accordingly. Citizen engagement will become the main driving force in making our “green creative society” for all.

City in Transformation

เมืองตางๆ ในโลกลวนกำลังเผชิญกับความทาทายใหมๆ ทั้งจากสภาวะเศรษฐกิจถดถอย, การขยายตัวของเมือง,

ภาวะโลกรอน, การแสวงหาแหลงอาหารและพลังงาน, การเสื่อมถอยของวัฒนธรรมเดิมและ

การเกิดขึ้นของวัฒนธรรมใหม ความทาทายเหลานี้ มาพรอมกับโอกาสที่เราจะไดเห็นพลวัตของการ

เปลี่ยนแปลงเมืองและสังคมที่เราอาศัยอยูสูสิ่งใหมที่ตอบสนองตอความทาทายเหลานั้น

Creativity

คือ กระบวนการของการไดมาซึ่งคำตอบหรือแนวทางใหม ที่ตอบสนองตอความทาทายขางตน หากแต

ความคิดสรางสรรคนั้น ตองไมมีเพียงแคความนาสนใจและแรงบันดาลใจ หากแตยังตองทำหนาที่ใน

การตอบสนองกับบริบททางเศรษฐกิจ, สังคม, วัฒนธรรม และธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงทุกขณะของโลก

ปจจุบันและอนาคต เพราะการตอบสนองนี้เองจะนำมาซึ่งความคิดสรางสรรคที่ยั่งยืน

Green Creative

คือ แนวทางและเปาหมายในการออกแบบสภาวะแวดลอมหรือภูมิทัศนอยางสรางสรรคโดยคำนึงถึง

ความสอดคลองกับบริบททางธรรมชาติ, สังคม, เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม และดวยแนวทางนี้ ประกอบกับ

พลังพลวัตของพลเมือง จะนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมเมืองที่มีคุณภาพและยั่งยืน

Page 2: 20100324 intro

TALA Showcase

Over a period of 30 years, Landscape profession has played an important role in improving Thailand environment through design ranging from private resident, housing project, resort & hotel, master planning, natural reservation, urban preservation to urban regeneration .This green creativity generating from our Landscape profession is not only creates the better and sustainable environment for our society but also generates business opportunities of more than 30,000 millions

Offices of Landscape ArchitectureThailand :

About TALA

Belt Collins International (Thailand)Co., Ltd.Emphasites Co., Ltd.Green Architects Co., Ltd.Group Three Design Co., Ltd.Inside Out Design Co., Ltd.Ixora Design Co., Ltd.P Landscape Co., Ltd.P.L . Design Co., Ltd.RAFA DESIGN OFFICE CO., LTD.Red-Land scape Co., Ltd.

ตลอดระยะเวลา 30 ป แหงการกอตั้งวิชาชีพภูมิสถาปนิกในประเทศไทยไดกอเกิดบริษัทออกแบบงานภูมิสถาปตยกรรมจำนวนกวา 30 บริษัท ที่มีผลงานในการออกแบบภูมิทัศนอยางสรางสรรค เปนที่ยอมรับทั้งจากในและตางประเทศ ผลงานเหลานั้นไมเพียงแตมีสวนขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ หากแตยังสงผลตอการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดลอมตางๆใหดีขึ้นอีกดวยTALA'S SHOWCASE นำเสนอผลงานภูมิทัศนสรางสรรคของบริษัทภูมิสถาปนิกชั้นนำในประเทศไทย จำนวน 30บริษัท ซึ่งครอบคลุมผลงาน Private Space , Public Space and City Space

สมาคมภูมิสถาปนิกแหงประเทศไทย จัดตั้งในป พ.ศ.2531 จุดประสงคเพื่อดําเนินการเผยแพรวิชาชีพภูมิสถาปตยใหรูจักในวงกวางโดยมีจุดมุงหมายในการพัฒนาการศึกษาวิชาชีพภูมิสถาปตยกรรมและเผยแพรใหเกิดประโยชนแกสังคม โดยยึดหลักการพิทักษทรัพยากร และอนุรักษสิ่งแวดลอม สมาคมสงเสริมสามัคคีธรรม จริยธรรมและผดุงเกียรติของสมาชิก และสงเสริมสมาชิกเพื่อใหไดรับผลดีในการประกอบวิชาชีพตามมาตรฐาน และระเบียบแบบแผน เผยแพรความรูดานวิชาการ และวิชาชีพ ใหแกสมาชิกผูปฏิบัติวิชาชีพ ดวยการออกจดหมายขาว วารสาร รางกฎระเบียบ ตลอดจนขาวสารตางๆ ในแวดวงวิชาชีพ เพื่อรักษามาตรฐานการประกอบวิชาชีพของสมาชิก เปนสื่อกลางในการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางหมูมวลสมาชิก และสรางปฏิสัมพันธระหวางองคกรตางๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษาในวิชาชีพภูมิสถาปตยกรรม และสมาคมวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวของรวมถึงองคกรวิชาชีพระดับนานาชาติ เชน IFLA (International Federation of Landscape Architect) ใหความรู ความเขาใจ ใหแกหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ในการการสรางสรรคงานภูมิสถาปตยกรรมและสิ่งแวดลอมที่มีคุณภาพสูสังคม

Shma Co., Ltd.KTGY Inter-Associates ,Ltd.Trop Co., Ltd.The Beaumont Partner Co., Ltd.Landscape Planning Co., Ltd.Lokoh = Co., Ltd.Bermuda Landscape Architects Co., Ltd.

Bodhi Tree Landscape Co., Ltd.Concept International Design Co., Ltd.Inner Exteriors Co., Ltd.JP Landscape Architects Co., Ltd.Landscape Tectonix Co., Ltd.Metro Landscape Co., Ltd.Oriental Vista Co., Ltd.Planning Workplace Co., Ltd.Pasa Landscape Co., Ltd.Parkstore Co., Ltd.

Page 3: 20100324 intro

Friends of TALA

To improve our environment, It's require a great collaboration amongst environmental designers ranging from landscape architect, architect, planner, interior designer, engineer, lighting designer, artist, policy makers to industrial players. Importantly, it requires citizen as a partner in this evolving process. This exhibition featurer visions from various professionals associations in thailand which involve in tramforming our environments through designs and policier.

Friend of TALA :

ภูมิสถาปนิกนั้น เปนหนึ่งในกลไกสำคัญตอการพัฒนาพื้นที่ภูมิทัศน และสิ่งแวดลอมของเมือง หากแตยัง

มีกลไกและผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพอื่นๆ อันมีเปาหมาย และเจตนารมณรวมกัน ในการสรางสิ่งแวดลอม

ที่นาอยูและยั่งยืน Friends of Tala เปนนิทรรศการที่เปดโอกาสใหสมาคมวิชาชีพ และหนวยงานของรัฐ ไดรวมแสดงวิสัยทัศน

ตอการเปลื่ยนแปลงสภาพแวดลอมใหดีขึ้น ผานงานออกแบบ และการกำหนดนโยบายของการพัฒนา

ที่สรางสรรค

สภาสถาปนิก (Architect Council of Thailand)

สภาคณบดี (Council of Deans of Architecture Schools of Thailand)

สมาคมสถาปนิกชุมชนเมืองไทย (Association of Thai Urban Designers)

สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย (Thailand Interior Designer's Association)

ฝายออกแบบและบริหารงานกอสรางการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (Electricity Generating Authority of Thailand)

สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร (Office of Archeology)

กรมโยธาธิการและผังเมือง ศูนยวัฒนธรรมอูรักลาโวย จ.ภูเก็ต

Page 4: 20100324 intro

School of LA

The worsen world environment is, the growing of the green creative economic will be. Landscape architect profession is in the front row in using knowledge to improve our environment. The important in preparing our people not only to support this growing market but also to have the ability in competing with the world. There are 5 leading universities in Thailand which has been producing many landscape architects to the market for the last 30 years. This exhibition will showcase each university ability, strength and vision in shaping and preparing student to be ready for today and future market.

School of LA :

จากทิศทางของสภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศและ ของโลกไดชี้ใหเห็นวา อุตสาหกรรมทาง

ภูมิสถาปตยกรรรมกำลังจะมีทิศทางของการเติบโตขึ้นอีกมากอันเนื่องจากความตื่นตัวตอการพัฒนาเมืองที่นาอยู

และความใสใจในสภาพแวดลอม การพัฒนาบุคลากรของไทยใหมีความพรอมกับอุตสาหกรรมนี้นั้น

มีความสำคัญอยางยิ่ง ไมเพียงแตเปนการตอบรับ กับความตองการของตลาด หากแตยังตองมีความสามารถ

ในการแขงขันในเวทีโลกอีกดวย สิ่งสำคัญคือการปลูกฝงคานิยม แนวคิด ตอบุคลากรตอการพัฒนาพื้นที่ที่

คำนึงถึงสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม และธรรมชาติใหยั่งยืน

SCHOOL OF LA. เปดโอกาสให 5 มหาวิทยาลัย ในประเทศไทย นำเสนอหลักสูตร ปรัชญา การเรียนการสอนทาง

ภูมิสถาปตยกรรม แกผูที่สนใจ

ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

(Department of Landscape Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University)

สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ

(Division of Landscape Technology, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University)

ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

(Division of Landscape Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University)

ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

(Division of Landscape Architecture, Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University)

ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร

(Department of Urban Design & Planning, Silpakorn University)

โครงการปฏิบัติการออกแบบนิสิต นักศึกษา 2553

(TALA Student Design Workshop 2010)

Page 5: 20100324 intro

Creative Wisdom

Landscape architectural wisdom has been evolving through a period of time since man learns how to live with our mother earth. By investigating some of the landscape wisdom through some historic living settlement ,community, town and city in Thailand, it will brought us certain understanding of how landscape architectural knowledge has been use as part of mankind strategy to live harmonize and sustainable with nature. This exhibition will showcase the unique example of landscape architectural wisdom through the investigation of 6 case studies; 4 case from 4 regions of Thailand as well as 2 living communties.

ภูมิปญญาของการสรางถิ่นฐานและการดำรงอยูของชุมชน ไดหยั่งรากลึก และวิวัฒนมาอยางยาวนาน

ลงบนพิ้นแผนดินแหงนี้ การศึกษาถึงภูมิปญญาเหลานั้น นำมาซึ่งความเขาใจ และตระหนักถึงมิติของ

การสรางสรรคถิ่นที่อยูที่สอดคลองกับบริบททางธรรมชาติและวัฒนธรรมอยางยั่งยืน อันเปนตัวอยาง

และวัตถุดิบที่สำคัญในการพัฒนาเมืองในอนาคต

CREATIVE WISDOM นำเสนอตัวอยางของการใชภูมิปญญาในการสรางถิ่นที่อยูในอดีตอยางสรางสรรค

ผานกรณีศึกษาใน 4 ภูมิภาคของไทย และ 2 ชุมชนตนแบบ

ขอขอบคุณขอมูลจากศ. อรศิริ ปาณินทคณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 6: 20100324 intro

Creative Cities

Cities around the world are facing many challenges ranging from climate change, urban degradation and densification, to the destroying of cultural and natural landscape. “Green creative” is one of the rising strategies to be applied in order to improve city environment to be livable and sustainable. Moreover, this green creative society is not only creating the opportunity for the green economic but also opportunity for new culture to be flourished. This exhibition will showcase 4 cities which are in the process of transforming their territory with “green creative” .These 4 creative cities are;

Seoul 2010: World Design CapitalTokyo 2016: Olympic 2016 Sustainable UrbanismHong Kong 2020: City Of TomorrowSingapore 2050: Design Difference, Design our World

เมืองชั้นนำตางๆ ของโลกกำลังอยูในชวงเวลาของการพัฒนาเมืองใหมีความนาอยูและยั่งยืน อันสงผลดีตอ

สภาพเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และที่สำคัญตอคุณภาพชีวิตของพลเมือง และดวยการเปลี่ยนแปลงของสภาพ

ภูมิอากาศที่เกิดขึ้น ความจำเปนเรงดวนตอการใชภูมิสถาปตยกรรมมาเปนตัวนำในการขับเคลื่อน การพัฒนา

พื้นที่ภูมิทัศนของเมืองใหยั่งยืนยิ่งมีความสำคัญเพิ่มขึ้น

“CREATIVE CITIES” นำเสนอตัวอยางของการพัฒนาพื้นที่ภูมิทัศนของเมือง 4 เมืองสรางสรรคของโลก

ที่สะทอนแนวคิด Green Creative ไดแก กรุงโซล โตเกียว ฮองกง และสิงคโปร

Page 7: 20100324 intro

Creative Projects

Creative Projects :

นำเสนอ 7 โครงการจากภูมิภาคตางๆในประเทศไทยที่ไดใชภูมิสภาปตยกรรมอยางสรางสรรคในการวางผัง

และออกแบบพื้นที่ภูมิทัศน ซึ่งมีความเกี่ยวของในบริบทที่หลากหลาย ทั้งการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม,

การสรางเมือง-ชุมชนขนาดใหญ, การอนุรักษทรัพยากรทางธรรมชาติ และการเปนสื่อบอกเลาเรื่องราวทาง

ประวัติศาสตร

อาคารรัฐสภาแหงใหม

โครงการรัตนโกสินทรริมเจาพระยา

โครงการสำรวจและออกแบบองคประกอบของศูนยชุมชนเมือง-ศูนยชุมชนลาดกระบัง (หัวตะเข)

โครงการสำรวจและออกแบบองคประกอบของศูนยชุมชนเมือง-ศูนยชุมชนหนองจอก

โครงการศึกษาแนวทางการจัดการโครงการและออกแบบเสนทางชมทิวทัศน (Scenic Route)

โครงการศึกษาออกแบบวางผังแมบทสวนพฤกษศาสตรทางทะเลและชายฝง เกาะระ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

แบบประกวด อนุสรณสถานถลางชนะศึก อ.ถลาง จ.ภูเก็ต

We would be able to understand the great impact of green creative strategy through our investigation at some of these selected landscape projects in Thailand .This exhibition will showcase 7 excellence landscape projects which show the abilities in using landscape architectural knowledge in transforming each territory, physically and socially to be a sustainable and attractive place for all.

Page 8: 20100324 intro

City’s Voices

The Video Installation is constructed to investigate how people experience the city collectively and to provoke the importance of green space as a pause in Bangkok We wake up, journey to work, lunch out along streets, go back to work, work then journey back home. The repetition of life-style was created in similar pattern. We live on a speed, which is created by all contexts of the city. There have been already some green open-spaces in Bangkok. It is whether we can slow down and notice them or they are not well integrated and introduced in the urban context.The role of Green open space in the city as a pause for relaxing, thinking and reflecting need to be reconsidered as vital part of the city, a space for creative possibilities.

การจัดวางภาพเคลื่อนไหวนี้ เปนการสำรวจประสบการณของคนสวนใหญตอการใชพื้นที่ในเมืองกรุงเทพมหานคร

และกระตุนถึงความสำคัญของพื้นที่วางสีเขียวในเมือง ซึ่งในที่นี้ถูกพิจารณาวาเปนจุดพักของเมืองในชีวิตประจำวัน

เราดำเนินชีวิต เริ่มจากตื่นนอน ไปทำงาน ไปทานขาวกลางวัน กลับไปทำงาน แลวกลับบาน นอน

เกิดการสรางรูปแบบการใชชีวิตแบบเดิมเดิมในจังหวะที่ใกลเคียงกัน การใชชีวิตดวยจังหวะซึ่งไดรับอิทธิพลจาก

สภาพแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจของเมือง ถึงแมจะมีพื้นที่วางสีเขียวในเมืองอยูแลว แตพื้นที่เหลานั้นกลับไมได

นำมาใชประโยชนในเมืองเทาที่ควร อาจเปนเพราะจังหวะของการใชชีวิตที่เรงรีบ หรือการจัดวางอยาง

ไมผสมผสานกับชีวิตประจำวันของคนเมือง การพิจารณาบทบาทของพื้นที่วางสีเขียวในกรุงเทพมหานครในฐานะ

พื้นที่พักผอนทางกาย ทางความคิด จึงมีความสำคัญตอการพัฒนาเมืองเชิงสรางสรรค

จัดทำโดย สนิทัศน สตูดิโอ Sanitas Studio

ดนัย สุรสา Danai Surasa

Page 9: 20100324 intro

Below 2 Degrees

How can we keep the global temperatures below a 2 degree Celsius rise to prevent catastrophic climate disasters within the next 10 years? The question has been raised after the Copenhagen Climate Change Conference in 2009. We would think the tremendous task is for a politician, a scientist, or a business person. However, we would probably forget the power of cooperation that each human being could do to help or destroy the Earth.

Participators:

ทำอยางไรใหอุณหภูมิไมเพิ่มขึ้น 2 องศาเซลเซียส ในอีก 10 ป เปนคำถามที่เกิดขึ้นหลังการประชุม

Climate Change ที่เมือง Copenhagen ในป 2009 เราอาจคิดวาภาวะอันหนักอึ้งนี้เปนหนาที่ของ

นักการเมือง นักวิทยาศาสตร และเหลานักธุรกิจ แตเราละเลยวา การทวีคูณจากสิ่งที่ประชากรทุกคน

บนโลกรวมกันทำได สามารถสงผลที่ยิ่งใหญตอการดำรงรักษา หรือทำลายสภาพแวดลอมบนโลกใบนี้

ภูมิสถาปตยกรรม ขอรับบทนำในการรวมหาทางออกของ การออกแบบพื้นที่วางภายนอก 3 มิติ

ขนาด 3x3 เมตร ที่มีสวนชวยใหสิ่งแวดลอมของโลกใบนี้ดีขึ้น อยางนอยอุณหภูมิ ตองไมเพิ่มมากกวา

2 องศาเซลเซียส ในอีก 10 ปขางหนา

1.FAKE GREEN นางสาวทิพยพิศุทธิ์ พุทธจันทร 2.A BIG TREE นางสาวกระรัต โชตินิรมิตกุล 3.AFTER EFFECT นางสาวกัญญารัตน อยูสะบาย 4.H U G นางสาววีรยา ปยะตระกูล 5.GRASSY PASSAGE นางสาวชนาทิพย สุนยตะคุ 6.CIRCLE นางสาวพัชราภรณ รุจิกาญจนพิสุทธ 7.BELOW 2 DEGREES ณัฐพล จึงวีระวรรณ 8.ACT OUT SPACE นางสาวรตินันท วินันท 9.Green Room นายวรุตม เทอดธรรมคุณ 10.SMALL GREEN PARK นายพิสทธิ์ ถนอมทรัพย 11.Green Bus Stop Exhibition นายปริญญ วัฒนา 12.Future นางสาวพิมพพร ผลชูชื่น 13.Fild Good, Reuse Below นางสาวเบญจมพร จันทวงศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง คณะสถาปตยกรรมศาสตร ภาควิชา สถาปตยกรรม ป 3 14. Kid Care Earth นางสาววิภาวี สังขสม นางสาวนัยนชนก ชินเจริญทรัพย นางสาวสุดารัตน อินทรพิทักษ นางสาวชลัฏพร อัศวโสตถี นางสาวปยะมาศ อินทะ นายเพิ่มพงศ วีระวานิช นายณัฐกฤษฏี ศรีวิเชียรชัย นายณัฐโชติ เนาวรัตนกูลชัย 15. ครัวในสวนชวนลดโลกรอน นายธีรวุฒิ ทรัพยสิน นางสาวจรัมภรณ ศรีชัยกูล นางสาวชญานี วรรณพงศ นางสาวธนุตรี วัฒนวิสัย นางสาวรัตติยา สายเงิน นางสาวศิริกาญจน รักษาศรี นางสาวอรพิชญ วัฒนจินดาวงศ นางสาวพัชรีภรณ ธรรมเนียมใหม คณะสถาปตยกรรมศาตร ภาควิชาภูมิสถาปตยกรรม ชั้นป 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

16.Merge The Nature With The City++ นายรณรงค ชมภูพันธ 17.BUILD THE 02 FACTORT FOR EARTH นางสาวเอมิสา รักสยาม คณะสถาปตยกรรมศาตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

18.Recall The Green นางสาวปฐยาธร เลิศล้ำเลอพงศ Landscape Tectonix Limilted

F1 Moden Green นายพงศกร ธีรเชษฐมงคล คณะสถาปตยกรรมศาสตรหลักสูตรนานาชาติ (INDA) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย F2 walkways to be green นางสาวนนทิยา เรืองศรี นางสาวอุไรวรรณ ปะละกัง นางสาวแพรไพลิน จันทนโชติวงศ นางสาวอารยา เลิศมหาวงศ นายพลิน จรัสวิชากร คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง F3 Green Nursery นางสาวอลิศรา จวงพานิช คณะสถาปตยกรรมศาสตรหลักสูตรนานาชาติ (INDA) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย F4 The fortune teller นางสาวศุทธิดา วงศเทียมชัย นายชวนนท โฆษกิจจาเลิศ นายนิติพันธุ แกวสุวรรณ คณะสถาปตยกรรมศาสตร ป2 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย F5 Next Step นายอัคฆภูมิ ฐิตะกสิกร นายอภินัทธ จงเพียรมุงมาศ นางสาวมธุรดา บุญติด นางสาวชญานิษฐ เมฆโหรา ภูมิสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร F6 REFLECTION TREE นายสฤษฎ ตั้งรัตนนพกุล นายปริญญ วัฒนา นายวรุตม เทอดธรรมคุณ นางสาวทิพยพิศุทธิ์ พุทธจันทร คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

ผูเขารอบ 6 ทีม สุดทาย ผูเขารอบ 24 ทีม สุดทาย

Design Competition: