10 chapter29-e-learning and instructional design

38
J.V. Dempsey University of South Alabama Richard N. Van. Eck University of North Dakota

description

เอกสารประกอบการเรียน ระดับปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร 18 ธันวาคม 2555 Ph.D.EdTech&Comm

Transcript of 10 chapter29-e-learning and instructional design

Page 1: 10 chapter29-e-learning and instructional design

J.V. Dempsey

University of South Alabama

Richard N. Van. Eck

University of North Dakota

Page 2: 10 chapter29-e-learning and instructional design

Introประเด็นคําถาม วานักออกแบบการเรียนการสอนจะ

มีบทบาทท่ีสําคัญในการชี้นําการพัฒนาโปรแกรมออนไลนท่ีมีคุณภาพ

มุงศึกษาจาก การเรียนรูออนไลน เปน การเรียนรูแบบกระจาย เปน e-learning

Page 3: 10 chapter29-e-learning and instructional design

ประเด็นคําถาม กระบวนทัศนในแนวทางของการเรียนรูใน

ศตวรรษท่ี 21

เรามีการจัดการท่ีดีเกี่ยวกับแนวคิดและฟงกชันของ e-learning ที่มีอยูในปจจุบันอยางไร?

เกี่ยวกับนักออกแบบการเรียนการสอน เรากําลังเดินไปขางหนาหรือยังคงลาสมัย?

Page 4: 10 chapter29-e-learning and instructional design

อะไรคือ E-learning E-learning คือ

การนําเทคโนโลยีมารวมกับการเรียนรู สรางความหลากหลายในการเรียนรู

Page 5: 10 chapter29-e-learning and instructional design

การแบงประเภทของ E-learning ตามสมัยนิยม (คอมพิวเตอรชวยสอน, มัลติมีเดีย,

การผสมผสานกับการเรียนรูออนไลน)

ตามภูมิศาสตร (การศึกษาทางไกลและการเรียนแบบ face-to face)

ตามเวลา (การเรียนแบบเวลาเดียวกันและการเรียนแบบคนละเวลา)

Page 6: 10 chapter29-e-learning and instructional design

Online?Hybrid (Synchronous and Asynchronous in

the same course)

Blended (face-to-face mix with distance student)

Blended Hybrid

Page 7: 10 chapter29-e-learning and instructional design

Hybrid, Blended, distance learning ผูเรียนสามารถปฏิสัมพันธกับการเรียนในเวลาเดียวกับและคนละเวลา หรือท้ังสองอยางในรายวิชาเดียวกัน

สิ่งชวยในการจัดการเรียนการสอน อาทิเชน โทรศัพท iPods เครื่อขยายสัญญาณภาพและเสียง คอมพิวเตอร หรือเว็บไซต เปนตน

Page 8: 10 chapter29-e-learning and instructional design

เนื่องจากเทคโนโลยีเปนสิ่งท่ีสามารถใชงาย และมีความหลากหลาย ดังน้ัน จึงสามารถผสมผสานกับเนื้อหา และวิธีสอน

การเรียนในเวลาเดียวกัน และคนละเวลา และ face to face เริ่มหมดความนิยม

Page 9: 10 chapter29-e-learning and instructional design

การวิเคราะหผลการเรียนรูMerrill(1997) และคนอื่น ๆ ไดแนะนําวา

สารสนเทศไมใชการสอน แต เปนสิ่งท่ีเปนกรอบแนวคิดในการออกแบบการเรียนการสอน

เชน การเรียนการสอนโดยใช 9 สถานการณของ Gagne และรูปแบบ ARCs ของ Keller

Page 10: 10 chapter29-e-learning and instructional design

โดยทั่วไปงานของนักออกแบบการเรียนการสอน คือ การจัดการท่ีมุงเนนผลการเรียนรู โดยใชทฤษฎีของ Bloom นั่นคือ Taxonomies

การวิเคราะหผลสําเร็จในการเรียนรูของ Gagne วิธีการในการแบงผลการเรียนรูและการวิเคราะหการเรียนการสอน คือ ทักษะพื้นฐาน

Page 11: 10 chapter29-e-learning and instructional design

นักออกแบบการเรียนการสอนใชแนวคิด ทฤษฎีการสรางองคความรูดวยตนเอง หรือการเรียนรูดวยสถานการณ

แนวคิดของ Gagne เรื่องของ Neobehaviorist Taxonomical

Page 12: 10 chapter29-e-learning and instructional design

ปจจัยการเรียนรูของ Dempsey คือ การบูรณาการทางเลือกในการใช Taxomonies แบบทางการสําหรับการออกแบบกับการประเมินผลการเรียนรู

Page 13: 10 chapter29-e-learning and instructional design

โครงสรางสถาปตยกรรมเราใชการออกแบบการเรียนการสอนสรางสิ่งแวดลอม

ในการเรียนรูและสอน

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอยางรวดเร็วจึงทําใหเกิดผลกระทบตอการรับรูของมนุษยและการปฏิสัมพันธ

แนวคิดใหมและสิ่งที่เปลี่ยนแปลงครั้งใหญในสังคม คือ การใชเทคโนโลยีสังคมการเรียนรูในกิจกรรมการเรียนการสอน

Page 14: 10 chapter29-e-learning and instructional design

การเปลี่ยนแปลงการใชเทคโนโลยีสังคมการเรียนรูในกิจกรรมการ

เรียนการสอน

การออกแบบการเรียนการสอนในกลุมคน หรือการออกแบบรวมกันเพ่ือใหเรียนรูไดดีในสภาพแวดลอมออนไลน

Page 15: 10 chapter29-e-learning and instructional design

เทคนิคโครงสรางการทํางานของ e-Learning ทําใหเรา

ตองเปลี่ยนแนวความคิดท่ีวาเทคโนโลยีการเรียนรูเปนเพียง “สื่อ” ที่เปนสวนประกอบของหลักสูตร

Page 16: 10 chapter29-e-learning and instructional design

เทคนิคการเรียนการสอนควรจะรวมถึงการบรรยาย การฝกอบรมคอมพิวเตอร สัมมนาออนไลน การอางอิงเว็บไซต e-book DVD

การอภิปราย VDO conference เว็บบล็อกการจําลองสถานการณ ระบบสนับสนุนการทํางาน

Page 17: 10 chapter29-e-learning and instructional design

e-Learning เปนไดท้ัง synchronous และ asynchronous หรือทั้งสองอยาง

เทคนิค ชวยใหเราสามารถสรางกรอบความคิดการเรียนการสอนจากผลลัพธการเรียนรู ลักษณะการรับรูของสื่อ ประเภทของผูเรียน สภาพแวดลอม

Page 18: 10 chapter29-e-learning and instructional design

การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีในระบบ e-learning เปรียบไดกับยุคหนังใบ

ซึ่งเสียงเปนสิ่งที่ขาดไมไดในภาพยนตร rich media จะทํางานไดอยางราบรื่นกับระบบการจดัสง

ที่มีแบนดวิดธนอย สิ่งนี้จึงกลายมาเปนแกนของระบบ e-learning และเปลี่ยนจากยุคหนังใบเปนยุคการสื่อสารหรือกาว

กระโดดเปนภาพยนต 3 มิติ

Page 19: 10 chapter29-e-learning and instructional design

เทคนิค กับ รถบรรทุกสามสิบปกอน Clark (1983) โตแยงวาสื่อ ไมไดทํา

ใหนักเรียนเกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไดมากไปกวารถบรรทุกที่สงของใหรานขายของชําซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดานโภชนาการของเรา

เหตุผลนี้เปนเร่ืองยากที่จะเปรียบเทียบในทางสถิติ

Page 20: 10 chapter29-e-learning and instructional design

Clark(1983) สรางความแตกแยก ระหวาง ตัวกลาง กับ วิธีการ

ตัวกลางและวิธีการมีความเกี่ยวพันกัน ทั้งสองอยางเปนสวนหน่ึงของการออกแบบ

ตัวกลาง เปน ขอจํากัดของวิธีการ

วิธีการ เปน การดึงและยกตัวอยางความสามารถของตัวกลางกลาง

Page 21: 10 chapter29-e-learning and instructional design

การออกแบบการเรียนการสอนท่ีดีที่สุดคือสรางอยูในความรูสึกของสภาพแวดลอมที่หลากหลายที่สงผลใหเกิดการเรียนรู

การออกแบบที่ดีไมสอถึงวิธีการการควบคุมเชิงปริมาณท่ีสามารถวัดไดในผลการเรียนรูระยะสั้น

Page 22: 10 chapter29-e-learning and instructional design

สถาปตยกรรมการทํางาน, เทคนิค และการเรียนรูขั้นพื้นฐานเราตองออกแบบสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการ

เชื่อมตอแบบไรรอยตอกับโลกภายนอก

IDT ไมใชผูใหบริการเคร่ืองมือเทคโนโลยี แตเปนผูออกแบบสภาพแวดลอมที่ชวยใหการใชงานของเทคโนโลยีในรูปแบบที่ไมไดตั้งใจและตั้งใจ รวมท้ังฟงกชั่นที่สําคัญของการประเมินและการจัดเก็บเอกสารหลักฐานของการเรียน

Page 23: 10 chapter29-e-learning and instructional design

ควรจะเลือกเทคนิคในการสรางท่ีอุดมไปดวยสภาพแวดลอมท่ีมีความยืดหยุนที่จะสะทอนถึงผลลัพธ ผลการสังเคราะห และใหการเชื่อมตอกับสิ่งแวดลอม e-learning ภายนอก

Page 24: 10 chapter29-e-learning and instructional design

สายงานของการออกแบบการเรียนการสอนและ E-learningคุณเคยรูหรือไมวา การท่ีผูสอนใช PowerPoint ใน

การเรียนการสอน

ไมไดกอใหเกิดการเรียนรูอะไรเลย และมีเพียง link เพื่อใชเชื่อมโยงบทเรียน online

เพียงแค 2-3 link แลวก็เรียกสิ่งที่แสดงน้ันวาบทเรียน

Page 25: 10 chapter29-e-learning and instructional design

คุณเคยรูหรือไม วิดีโอ YouTube ของผูสอนท่ีใชเขียนในกระดานจากดานหลังหอง

รายวิชาการในมหาวิทยาลัย หรือบทเรียนฝกอบรมเทคนิคที่ใชขอสอบแบบตัวเลือก

หากเปนนักออกแบบการเรียนการสอนสวนใหญจะตอบวา “ใช”

Page 26: 10 chapter29-e-learning and instructional design

มหาวิทยาลัยแบบเดิม ๆ และศูนยการฝกอบรมตามทองถิ่น ไมสามารถแขงขันกับคูแขงในอุตสาหกรรมเอกชนในรูปแบบของการหวังผลกําไรได

การจัดการขอมูลและกระบวนการดําเนินงานกลายเปนสิ่งจําเปนในการผลิตหรือการออกแบบการเรียนการสอน

Page 27: 10 chapter29-e-learning and instructional design

นักออกแบบการเรียนการสอนตองประสบกับวิกฤตเหตุผล เชน หลักสูตรบัณฑิตศึกษา มีความตองการที่จะ

สอนในเนื้อหาคลายกัน แตมีหลายชื่อ เชน การออกแบบการเรียนการสอนและการพัฒนา, ระบบการเรียนการสอน, เทคโนโลยีการเรียนการสอน, จิตวิทยาการสอน, เทคโนโลยีการศึกษา, เทคโนโลยีการเรียนรู และอื่น ๆ อีกมากมาย

ซึ่งคําศัพทท่ีกลาวมา ลวนแตเขาใจวา คือ “เทคโนโลยีและการออกแบบการเรียนการสอน”

Page 28: 10 chapter29-e-learning and instructional design

นอกจากนี้ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ยังมุงออกแบบการเรียนการสอนจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร ซึ่งเนนไปในสวนของ การรับรูทางวิทยาศาสตร การเรียนรูทางวิทยาลัยศาสตร และการพัฒนาองคกร

Page 29: 10 chapter29-e-learning and instructional design

Boiling & Smith ไดมีการโตเถียงวา การออกแบบการเรียนการสอนไมใชวิทยาศาสตรและไมจําเปนตองใชกฎทางวิทยาศาสตรมาใช

การออกแบบการเรียนการสอนท่ีเปนหลักการออกแบบดั้งเดิมของเราเองและเปนการออกแบบบนพื้นฐานของหลักและกระบวนการทางวิทยาศาสตร

Page 30: 10 chapter29-e-learning and instructional design

ทําไมหลักสูตรการออกแบบการเรียนการสอนจึงมีการฝกอบรมในหลักสูตรบัณฑิตศึกษาและทําไมไมมีในหลักสูตรอุดมศึกษา

Page 31: 10 chapter29-e-learning and instructional design

อธิบายแนวคิดของ “The Guild” และ “The Marketplace”

วา The Marketplace ตองการ นักบริการทางการออกแบบการเรียนการสอน ในสายงานอยาง e-learning

และในขณะ “The Guild” (คือ ตัวแทนสมาชิกในการออกแบบการเรียนการสอนที่มหาวิทยาลัย) ตองการการบริการที่มีคุณคาเทาที่เปนไปได

Page 32: 10 chapter29-e-learning and instructional design

ยิ่งมีระบบการเรียนการสอน e-learning ที่ซับซอนมากขึ้นเทาไหร ก็จะยิ่งมีระดับสิ่งที่คาดไมถึงเกิดขึ้นมากขึ้นเทานั้น

องคกรควรจะตองชวยนักออกแบบการเรียนการสอนใหมีพื้นฐานทฤษฎีที่ดี

นักออกแบบการเรียนการสอนเองก็ตองมีความเขาใจในการใชเทคโนโลยีเปนอยางดี

Page 33: 10 chapter29-e-learning and instructional design

สรุปหลักการท่ีสําคัญ1. E-learning ไดกลายเปนคํากวางๆที่ครอบคลุมการ

เรียนรูที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีทั้งหมด

ความแตกตาง เชน การเรียนรูแบบผสม (hybrid), การเรียนรูแบบผสมผสาน (blended), และการศึกษาทางไกล (distance learning) เกี่ยวของโดยสวนใหญจากความกาวหนาในเทคโนโลยี ไมใชแคความพลังของมันเทานั้น แตเปนการงายตอการใชงานดวย

Page 34: 10 chapter29-e-learning and instructional design

สรุปหลักการท่ีสําคัญ2. E-learning เปนลักษณะของสองปรากฏการณ :

(a) สถาปตยกรรมการทํางาน มีการรวมกันทํางาน หรือ หนวยหรือองคประกอบที่การทํางานแบบโตตอบ และ

(b) เทคนิคที่ใชเทคโนโลยีที่ออกแบบหรือเลือกการเขาถึงผลการเรียนรู

Page 35: 10 chapter29-e-learning and instructional design

สรุปหลักการท่ีสําคัญ3. มุงเนนสงเสริมผลลัพธของสวนประกอบการเรียนรู

แบบงาย แบบบูรณาการ และกลาวย้ําวิธีการวิเคราะหและการประเมินการเรียนรู ที่จะชวยใหคําแนะนําการใชสื่อ, แพลตฟอรม, สถานที่, และเวลา

ในขณะท่ีมันเปนสิ่งสําคัญมากในการวิเคราะหผลการเรียนรูของการเรียนรูที่เจตนาและไมเจตนา ซึ่งเทคนิคการวิเคราะหการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมดูเหมือนจะยุงยาก

Page 36: 10 chapter29-e-learning and instructional design

สรุปหลักการท่ีสําคัญ4. ไมแตสื่อหรือวิธีการ (การสง, การสราง หรือ

เกิดขึ้นระหวางการ) มีอิทธิพลตอการเรียนรูในระยะยาว กับสภาพแวดลอม e-learning ถูกออกแบบมาอยางดี การออกแบบการเรียนการสอน เหมือนกับการออกแบบโดยทั่วไป ที่ตองใชขั้นตอนของการออกแบบ

Page 37: 10 chapter29-e-learning and instructional design

สรุปหลักการท่ีสําคัญ5. การสรางมาตรฐานรูปแบบผูเชี่ยวชาญ หรือ การ

รับรองการออกแบบการเรียนการสอน และ e-learning สามารถเสริมสรางความสามารถ วินัยและใหความนาเชื่อถือที่เพิ่มขึ้น,

เราคาดการณการเติบโตของโปรแกรมการสอนวิชาการออกแบบการสอนทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับประกาศนียบัตร ที่จะตองมีการสนับสนุนมากยิ่งขึ้นเพื่อรักษาความรักษาความมั่นคงของสาขาการสอนของเรา

Page 38: 10 chapter29-e-learning and instructional design

ขอบคุณคะ/ครับ