1 1-1แผนแม...

64

Transcript of 1 1-1แผนแม...

Page 1: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่
Page 2: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี I

สารบญั

หนา บทที่ 1 บทนํา 1-1

บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหลักการ 2-1

2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 2-1 2.1.1 วิสัยทศันและพันธกิจการพัฒนาประเทศ 2-3 2.2 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ป 2552-2556 2-4 2.2.1 วิสัยทศันและพันธกิจ ICT ประเทศไทย 2-5 2.3 แนวความคดิการจัดกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร IT 2020 2-8 2.4 นโยบายรัฐบาลที่เก่ียวของกับ ICT ที่ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนแมบท ICT

ชาติ ฉบับที่ 2 2-14

2.5 นโยบายของผูบริหารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใชเปนแนวทางในการจัดทาํแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที่ 2

2-14

2.6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ที่เก่ียวกับ ICT ที่ใชเปนแนวทางในการจัดทาํแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที่ 2

2-15

2.7 ยุทธศาสตรโดยรวมของกระทรวงวัฒนธรรม 2-15 2.7.1 วิสัยทศันกระทรวงวัฒนธรรม 2-15 2.7.2 พันธกิจกระทรวงวัฒนธรรม 2-15 2.7.3 เปาประสงคกระทรวงวัฒนธรรม 2-16 2.7.4 ประเด็นยทุธศาสตรโดยรวมของกระทรวงวฒันธรรม 2-16 2.8 แผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาต ิ(2550-2559) 2-17 2.8.1 วิสัยทศันตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาต ิ 2-17 2.8.2 พันธกิจตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาต ิ 2-17 2.8.3 เปาประสงคตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาต ิ 2-17 2.8.4 ยุทธศาสตรและกลยทุธตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาต ิ 2-18 2.9 ยุทธศาสตรโดยรวมของกรมศลิปากร 2-19 2.9.1 วิสัยทศันกรมศลิปากร 2-19 2.9.2 พันธกิจกรมศิลปากร 2-19 2.9.3 เปาประสงคกรมศิลปากร 2-19 2.9.4 ยุทธศาสตรหลกัของกรมศิลปากร 2-20 2.10 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมศิลปากร 2-19 2.10.1 วิสัยทศันดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร 2-19 2.10.2 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2-19 2.10.3 เปาประสงค 2-19

บทที่ 3 บทวิเคราะหสถานภาพปจจุบันดานเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมศลิปากร 3-1 3.1 รายงานการศึกษาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมศิลปากร 3-1 3.1.1 ปจจัยดาน อุปกรณฮารดแวร และโครงขายเทคโนโลยสีารสนเทศและการ

สื่อสาร 3-1

3.1.2 ปจจัยดานบุคลากร 3-2 3.1.3 ปจจัยดานซอฟตแวร 3-3 3.1.4 ปจจัยดานงบประมาณและการบริหารจัดการ 3-3 3.2 วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและปจจัยหรอือิทธิพลจากภายนอกที่มผีลกระทบตอ

ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรมศิลปากร 3-3

บทที่ 4 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสารของกระทรวงวฒันธรรม 4-1

4.1 วิสัยทศันดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม 4-1 4.2 พันธกิจดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการสือ่สารของกระทรวงวัฒนธรรม 4-1 4.3 เปาหมายโดยรวมในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงวฒันธรรม 4-1 4.3.1 วัตถุประสงคของการจัดทํายุทธศาสตรไอซทีขีองกระทรวงวฒันธรรม

โดยรวม 4-3

4.4 ยุทธศาสตรโดยรวมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม

4-3

4.4.1 ยุทธศาสตรและแผนงานในการพัฒนาระบบเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงวัฒนธรรม

4-6

Page 3: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี II

หนา บทที่ 5 การบริหารจัดการและการตดิตามประเมินผลแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ

กระทรวงวฒันธรรม 5-1

5.1 การบริหารจดัการระดับนโยบายตามแนวทางของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556

5-1

5.2 แนวทางการบรหิารจดัการแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระดับสํานักงานของกระทรวงวฒันธรรม

5-2

5.2.1 การกําหนดนโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Policy)

5-3

5.2.2 การจัดทํา ทบทวน และบรหิารนโยบาย 5-3 5.3 การดําเนินการตามโครงการและการกําหนดเจาภาพในการดาํเนินโครงการดาน ICT 5-5 5.4 การติดตามประเมินผล 5-5

บทที่ 6 สรุปยุทธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรมศิลปากรท่ีมคีวามสอดคลองกับยุทธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กจิกรรมหลักทีก่ําหนดไวในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2552-2556

6-1

ภาคผนวก ก แนวคดิการพัฒนาระบบศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรมดานแผนที่องคความรูทาง

วัฒนธรรม แบบ 3 กลุม 3 มิติเวลา ก-1

Page 4: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 1 - 1

บทที่ 1 บทนํา

กรอบทิศทางในการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมศิลปากรฉบับน้ี ไดอาศัย

แนวนโยบายและหลักการของกรอบนโยบายพ้ืนฐานของรัฐ ยุทธศาสตรระดับชาติ ที่เก่ียวของไดแก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 และ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 (ฉบับที่ 2) โดยมุงเปาหมายที่ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” และมุงพัฒนาสู “สังคมที่เขมแข็งและมีคุณภาพ” เพ่ือนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย รวมทั้งยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัต ิโดยจัดทําข้ึนพรอมกับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงวัฒนธรรม (ฉบับที่ 2) ป พ.ศ. 2552-2556 ซึ่งจัดทําข้ึนตอเน่ืองจากแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวัฒนธรรม (ฉบับที่ 1) ป พ.ศ. 2547-2549 ที่ไดวางกรอบและดําเนินการตามแผนที่วางไวระยะหนึ่งแลว แตเน่ืองจากมีการเปลี่ยนแปลงทั้งดานทางนโยบายในการบริหารประเทศ โครงสรางองคกร และสภาพแวดลอมอ่ืนๆ ทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางดานวัฒนธรรม และมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อีกทั้งมีนโยบายเรงรัดใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมดานการบริการภาครัฐ โดยประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเปนเครื่องมือในการพัฒนาบริการแกประชาชนไดอยางรวดเร็ว ทางกรมศิลปากรจึงมีความจําเปนที่จะตองปรับตัวในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร เพ่ือใหสามารถดําเนินงานไดตามวิสัยทัศน พันธกิจ และสอดคลองกับนโยบายการพัฒนาประเทศ

กรมศิลปากร มีภารกิจเก่ียวกับการคุมครอง ปองกัน อนุรักษ บํารุงรักษา ฟนฟู สงเสริม สรางสรรค เผยแพร

จัดการศึกษา คนควา วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะ และทรัพยสินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพ่ือธํารงคุณคาและเอกลักษณของความเปนชาติอันจะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาติ การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552-2556 ไดคํานึงถึงการพัฒนาขีดความสามารถขององคกรโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือหน่ึงในการสนับสนุนงานตามภารกิจของกรมฯ เพ่ือใหเกิดการสรางภาพลักษณที่ดีในแงของศิลปวัฒนธรรมของชาติ และการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม

โดยมีวตัถุประสงคหลักที่จะใชไอซีทีในการสนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงระหวางนโยบายไอซีทีของประเทศ

นโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส และสนับสนุนใหเกิดการปฏิบัติการระหวางหนวยงานอ่ืนในสงักัดกระทรวงเพ่ือเพ่ิมมูลคาของการลงทุนดานไอซีทใีหไดประโยชนคุมคาสามารถนําสารสนเทศมาสรางมูลคาเพ่ิมตองานตามภารกิจของกระทรวงฯ 2 ดาน คือ

ใชไอซีทีเปนเครื่องมือหลักในการเชื่อมประสานในการทํางานของทุกภาคสวน ไดแก ฝายรัฐบาล รัฐสภา ภาคเอกชน ทองถิ่น และตางประเทศ ชวยสนับสนุนการรับรูและตอบสนองความตองการของประชาชนและสังคมโลกไดอยางรวดเร็วและถูกตองแมนยํา

ใชไอซีทีเปนเครื่องมือหลักสนับสนุนการพัฒนาสารสนเทศดานขอมูลองคความรูของวัฒนธรรมไทยเพ่ือเปนแหลงสําหรับขอมูลการศึกษาคนควา

ภายใตการดําเนินการดังกลาว เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคตามหนาที่ความรับผิดชอบ กรมศิลปากรจําเปนตองวาง

นโยบายและแผนงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใหมีความสอดคลองกับกรอบหลักในการบริหารราชการแผนดินและกฏหมายบานเมือง สามารถรองรับกระแสความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของโลก และเสริมสรางกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นและยอมรับ เพ่ือเปนวิถีทางในการกําหนดนโยบายของกรมฯ และ กระทรวงวัฒนธรรมใหดําเนินไปในทิศทางที่จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชนและประเทศชาติ

การดําเนินการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมศิลปากรไดมีการศึกษา สํารวจ และสัมภาษณ

เจาหนาที่จากหนวยงานในสังกัดของกรมฯ มีการวิเคราะหสภาพแวดลอมทั้งภายใน (จุดออน/จุดแข็ง) และสภาพแวดลอมภายนอกของกรมฯ (ภัยคุกคาม/โอกาส) ตามรูปแบบการวิเคราะหแบบ SWOT Analysis อันจะนําไปสูการกําหนดยุทธศาสตร กิจกรรม แผนงานโครงการ ภายในชวงระยะเวลาการดําเนินงานของแผนแมบทดังกลาว

กรอบทิศทางการจัดทําแผนแมบทฯ ฉบับน้ี กรมศิลปากรไดอาศัยแนวนโยบายหลักของรัฐกรอบนโยบายพ้ืนฐาน

แหงรัฐตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2552-2556 แผน IT 2010 และแนวทางนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส เปนแนวคิดพ้ืนฐานเพ่ือกําหนดขอวิเคราะห วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร กิจกรรม แผนงาน โครงการ รวมทั้งกําหนดตารางเวลา ที่สอดประสานกัน เพ่ือใหการจัดทําแผนแมบทฯ สามารถดําเนินการไดอยางมีระบบและ แบบแผน ตามข้ันตอนโดยสังเขปดังน้ี

รูปที่ 1-1 ลําดับการนําเสนอแผนแมบทกระทรวงวฒันธรรมและกรมศิลปากร

Page 5: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2552 - 2556

(1) การวิ เคราะหจากแนวนโยบายของประ เทศ และแผนพัฒนาระดับต างๆ ที่ เ ก่ียวของ กับ กระทรวงวัฒนธรรมและกรมศิลปากร ไดแก

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สาระสําคัญแหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ที่กลาวถึงแนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 (ฉบับที่ 2) แผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส แผน IT2010 (2544-2553)

(2) การศึกษาวิเคราะหปจจัยแวดลอมทั้งภายในและภายนอกของกระทรวงวัฒนธรรมและกรมศิลปากร ทั้งปจจัยภายในที่สามารถควบคุมไดและปจจัยภายนอกที่ควบคุมไมได ไดแก สภาพแวดลอมภายใน/ภายนอก จุดแข็ง/จุดออน ภัยคุกคาม/โอกาส ตามหลักการทฤษฎีวิเคราะหการตลาด SWOT Analysis การกําหนด วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค เปาหมาย และยุทธศาสตรของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรมและกรมศิลปากร ซึ่งเกิดจากการวิเคราะห SWOT พรอมทั้งกิจกรรม และแผนงานรองรับยุทธศาสตร

(3)

(4) การกําหนดแผนงาน/โครงการที่ตองดําเนินการ ซึ่งจัดลําดับความสําคัญเรงดวนของการบริหารแผน โดยกําหนดระยะเวลาของแผนงานรวมทั้งหนวยงานผูรับผิดชอบ

(5) การบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลการพัฒนาตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรมและกรมศิลปากร

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมศิลปากรพ.ศ. 2552–2556 จัดทําข้ึนเพ่ือเปนกรอบทิศทางการปฏิบัติงาน และแนวทางการกําหนดงบประมาณของหนวยงานภายในสังกัดกรมศิลปากร ซึ่งประกอบไปดวยหนวยงานในสังกัด 13 หนวยงาน อันไดแก งานเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมพัฒนาระบบริหาร กลุมตรวจสอบภายในระดับกรม สํานักงานเลขานุการกรม สํานักการสังคีต สํานักโบราณคดี สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สํานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร สํานักสถาปตยกรรมและหัตถศิลป สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ สํานักหอสมุดแหงชาติ สํานักชางสิบหมู และสํานักศิลปากรที่ 1-15

หนาท่ี 1 - 2

Page 6: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 1

บทที่ 2 กรอบแนวคิดและหลักการ

ในบทน้ีจะนําเสนอถึงวิสัยทัศน วิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พันธกิจ และยุทธศาสตร

โดยรวมของกระทรวง ที่จะนําไปสูการวิเคราะหเพ่ือกําหนดวิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม โดยอางอิงจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2552-2556 (ฉบับที่ 2) และแผนแมบทของทุกหนวยงานสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ในสวนที่เก่ียวกับภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย

(ฉบับที่ 2)

นโยบายภาครัฐ ยุทธศาสตร 20 กระทรวง ยุทธศาสตรกลุมจังหวัด ยุทธศาสตร 76 จังหวัด

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

ยุทธศาสตร ICT กระทรวงวัฒนธรรม

ยุทธศาสตรระดับกรม/สํานักงาน

ยุทธศาสตรกรม/สํานักงานอื่นๆ

แผนงาน/กิจกรรม ดาน ICT กระทรวงวัฒธธรรม (บทท่ี 6)

ยุทธศาสตรกระทรวงวัฒนธรรม

รูปที่ 2-1 แผนภาพแสดงระดบัของนโยบายและแผนยุทธศาสตรที่เก่ียวของกับการจัดทํา ICT กระทรวงวฒันธรรม 2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

แนวคิดการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550–2554 เนนเรื่องคนเปนศูนยกลางการพัฒนาเพ่ือมุงสู “สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน" รวมทั้งไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีพ้ื น ฐ า น ม า จ า กแ น วท า ง ก า ร พัฒน า อั น เ น่ื อ ง ม า จ า กพ ร ะ ร า ช ดํ า ริ “เ ศ รษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ” ขอ ง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งเปนแนวทางที่สอดคลองกับชีวิตของสังคมไทยและนําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน

จากการทบทวนผลการพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ถึงฉบับที่ 7 รวมกันไดขอสรุปวา แมเศรษฐกิจขยายตัวดี แตการพัฒนาคนและสังคมและการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรมยังเปนไปไดชา สงผลใหการพัฒนาไมสมดุลและไมยั่งยืน จึงนําไปสูการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศนการพัฒนาใหมที่เนน “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” และใชเศรษฐกิจเปนเครื่องมือชวยพัฒนาคนใหมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี พรอมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกสวนมาเปนบูรณาการแบบองครวม และเปดโอกาสใหทุกฝายในสังคมมีสวนรวมในทุกข้ันตอนการพัฒนา กระบวนทรรศนการพัฒนาใหมน้ี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 จึงยังคงหลักการและแนวคิดที่สอดคลองและตอเน่ืองมาตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ทั้งน้ีสามารถสรุปสาระสําคัญ หลักการและแนวคิดโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 ถึง 10 ไดพอสังเขปไดดังน้ี

ตารางที่ 2-1 สรุปสาระสําคัญหลักการและแนวคิดโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมแหงชาติฉบับที่ 8 ถึง 10 แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ถึงฉบับท่ี 10 สรุปผลการดําเนินการ แนวคิดของแผนฯ หลักการพ้ืนฐาน

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544)

ในปแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 เมื่อประเทศไทยตองเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจอยางรุนแรงและสงผลกระทบตอคนและสังคมเปนอยางมาก การดําเนินนโยบายจึงใหความสําคัญกับการแกไขฟนฟูเศรษฐกิจใหมีเสถียรภาพและมั่นคง และลดผลกระทบจากวิกฤตท่ีกอใหเกิดปญหาการวางงานและความยากจนเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว พรอมท้ังปฏิรูประบบการบริหารจัดการท้ังภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน ซ่ึงสงผลใหการดําเนินงานยุทธศาสตรสําคัญของ

เปนจุดเปล่ียนสําคัญของการวางแผนของประเทศ นับเปนแผนปฏิรูปความคิดและคุณคาใหมของสังคมไทย และประสบความสําเร็จเชิงกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน เปนจุดเร่ิมตนของการขับเคล่ือนพลังทางสังคมใหเกิดกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนอยางกวางขวาง และนําไปสูการสรางแนวคิดพ้ืนฐานในการจัดทํารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540

• นําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” และใชเศรษฐกิจเปนเคร่ืองมือชวยพัฒนาคนใหมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี พรอมท้ังปรับเปล่ียนวิธีการพัฒนาแบบแยกสวนมาเปนบูรณาการแบบองครวม และเปดโอกาสใหทุกฝายในสังคมมีสวนรวม

Page 7: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 2

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ถึงฉบับท่ี 10 สรุปผลการดําเนินการ แนวคิดของแผนฯ หลักการพ้ืนฐาน

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 กระทําไดไมเต็มท่ี

ในทุกขั้นตอนการพัฒนา • ทุกขั้นตอนการพัฒนา กระบวนทรรศนการพัฒนาใหมนี้มีพ้ืนฐานมาจากแนวทางการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซ่ึงเปนแนวทางท่ีสอดคลองกับชีวิตของสังคมไทย

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545 -2550)

ผลการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 ประสบความสําเร็จท่ีนาพอใจ กลาวคือ • เศรษฐกิจของประเทศไทยมีเสถียรภาพและขยายตัวไดอยางตอเนื่องในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.7 ตอป รายไดเฉล่ียตอหัวเพ่ิมจาก 86.3 พันลานบาทในป 2545 เปน 109.7 พันลานบาท ในป 2548

• ดานคุณภาพชีวิตของคนไทยดีขึ้น สงผลใหความอยูดีมีสุขโดยรวมมีทิศทางดีขึ้น สัดสวนความยากจนไดลดลงมากจากรอยละ 15.6 ในป 2545 เหลือรอยละ 11.3 ในป 2547 และความเหล่ือมลํ้าทางรายไดระหวางคนจนกับคนรวยมีแนวโนมดีขึ้น

• การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมีความกาวหนามากขึน้ แตยังไมสามารถรักษาสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชนไดเทาท่ีควร

ใหความสําคัญกับการแกไขปญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจใหลุลวงและสรางฐานเศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง และการเช่ือมโยงกับตลาดโลกใหมีภูมคุิมกันตอกระแสการเปล่ียนแปลงจากภายนอกและสามารถพ่ึงตนเองไดมากขึ้น เพ่ือใหเศรษฐกิจสามารถกลับมาขยายตัวไดอยางมั่นคง ขณะเดียวกัน มุงการพัฒนาท่ีสมดุลท้ังดานตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอมเพ่ือใหเกิดการพัฒนาท่ียั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย

ไดอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนปรัชญานําทางการพัฒนาประเทศ ควบคูไปกับกระบวนทรรศนการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมท่ีมี “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10

แนวโนมในชวงตนของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10 ประเทศไทยจะยังคงตองเผชิญปญหาราคานํ้ามัน ซ่ึงสรางแรงกดดันตอภาวะเงินเฟอและดุลบัญชีเดินสะพัด แตสถานการณโดยรวมเมื่อเทียบกับแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 ถือวาเอ้ืออํานวยตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศท่ีจะสามารถใหความสําคัญกับเปาหมายระยะยาวของการพัฒนา ท่ีมุงไปสูการพัฒนาท่ีมีความสมดุลและคนมีความสุขไดอยางแทจริง นอกจากนั้นแนวโนมการเปล่ียนแปลงของโลกาภิวัตนท่ีจะมีผลตอการพัฒนาในอนาคต แสดงวาเศรษฐกิจและสังคมไทยจะตองเผชิญกับการเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญในหลายบริบทและสงผลกระทบตอการพัฒนาในมิติตางๆ รุนแรงขึ้น

การเตรียมความพรอมสําหรับการเปล่ียนแปลงในอนาคตเพ่ือปรับตัวตามบริบทการเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญ 5 บริบท • การเปล่ียนแปลงของกระแสเศรษฐกิจและการเงินโลก

• การเปล่ียนแปลงของกระแสเศรษฐกิจและการเงินโลก มีการรวมตัวของกลุมเศรษฐกิจและการเปล่ียนแปลงในตลาดการเงินของโลก ทําใหเกิดความเชื่อมโยงของเศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค

• การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดด พัฒนาการทางเทคโนโลยีสูเศรษฐกิจยุคใหมและผลกระทบตอการพัฒนาของโลก ท่ีมีผลกระะทบตอประเทศไทย

• การเปล่ียนแปลงดานสังคมท่ีมีแนวโนมการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกและมีลกระทบตอประเทศไทย ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศและแนวโนมพฤติกรรมการบริโภคของโลกและผลกระทบตอประเทศ

การรูเทาทันโลกาภิวัตนและสรางภูมิคุมกันใหกับทุกภาคสวนตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

Page 8: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 3

แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 ถึงฉบับท่ี 10 สรุปผลการดําเนินการ แนวคิดของแผนฯ หลักการพ้ืนฐาน

ไทย และการเคล่ือนยายของคนอยางเสรีระหวางประเทศและมีผลกระทบตอประเทศไทย

• การเปล่ียนแปลงดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของโลกมีผลกระทบตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของประเทศไทย ท่ีมา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 บทท่ี 1

2.1.1 วิสัยทศันและพันธกิจการพฒันาประเทศ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ไดกําหนดวิสัยทัศนและพันธกิจการพัฒนาประเทศไวดังน้ี 1) วิสัยทศัน

วิสัยทศันประเทศไทย มุงพัฒนาประเทศไทยสู “สังคมอยูเย็นเปนสขุรวมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันตสิุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม สิ่งแวดลอมมีคุณภาพ และทรัพยากรธรรมชาตยิั่งยืน อยูภายใตระบบบรหิารจัดการประเทศที่มธีรรมาภิบาล ดาํรงไวซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิทรงเปนประมุข และอยูในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิศ์ร”ี

2) พันธกิจ

การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ไดกําหนดพันธกิจของการพัฒนาประเทศไว 4 ประการ ดังน้ี

พัฒนาคนใหมีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรูอยางเทาทัน มีสุขภาวะที่ดี อยูในครอบครัวที่อบอุน ชุมชนที่เขมแข็ง พ่ึงตนเองได มีความม่ันคงในการดํารงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีภายใตดุลยภาพของความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เสริมสรางเศรษฐกิจใหมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม มุงปรับโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถแขงขันได มีภูมิคุมกันความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพแวดลอมในยุคโลกาภิวัตน บนพ้ืนฐานการบริหารเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีประสิทธิภาพ มีระดับการออมที่พอเพียง มีการปรับโครงสรางการผลิตและบริการบนฐานความรูและนวัตกรรม ใชจุดแข็งของความหลากหลายทางชีวภาพและเอกลักษณความเปนไปไทย ควบคูกับการเชื่อมโยงกับตางประเทศ และการพัฒนาปจจัยสนับสนุนดานโครงสรางพ้ืนฐาน และโลจิสติกส พลังงาน กฎกติกา และกลไกสนับสนุนการแขงขันและกระจายผลประโยชนอยางเปนธรรม

ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากร ธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอม สรางความสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืน เปนธรรม และมีการสรางสรรคคุณคา สนับสนุนใหชุมชนมีองคความรูและสรางภูมิคุมกันเพ่ือคุมครองฐานทรัพยากร คุมครองสิทธิและสงเสริมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ปรับแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตลอดจนรักษาผลประโยชนของชาติจากขอตกลงตามพันธกรณีระหวางประเทศ

พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศใหเกิดธรรมาภิบาลภายใตระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มุงสรางกลไกและกฎระเบียบที่เอ้ือตอการกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาสูทุกภาคี ควบคูกับการเสริมสรางความโปรงใส สุจริต ยุติธรรม รับผิดชอบตอสาธารณะ มีการกระจายอํานาจและกระบวนการที่ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการตัดสินใจ สูความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และการใชทรัพยากร

3) ยุทธศาสตร

จากแนวคิดและหลักการขางตน ไดมีการเสนอการประยุกตใชหลักการตางๆ ทั้งหมดของแผนประมวลเปนยุทธศาสตรที่ครอบคลุม 5 ดาน ไดแก คน สังคม ชุมชน เศรษฐกิจ ทรัพยากร และ ธรรมาภิบาลโดยกําหนดทิศทางเปนประเด็นยุทธศาสตร 5 ประการ ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ดังน้ี

ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ

ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน

Page 9: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 4

ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10

รูปที่ 2-2 ผังภาพแสดงแนวคิดการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศในแผนฯ 10

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ไดกลาวถึงรายละเอียดของยุทธศาสตร ตลอดจนแนวทางการขับเคล่ือนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติและการติดตามประเมินผลในการดําเนินการโดยมีการกําหนดบทบาทของหนวยงานภาครัฐในฐานะหน่ึงในภาคี โดยแสดงถึงทิศทางของการดําเนินการไว ในที่น้ีจะหยิบยกเฉพาะสวนที่เก่ียวของโดยตรงกับเรื่องของวัฒนธรรมที่จะเปนประโยชนตอการวิเคราะหความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม

2.2 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศไทย ป 2552-2556

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2552-2556 (Information and Communication Technology-ICT Master Plan หรือแผนแมบท ICT) เปนกรอบยุทธศาสตร ICT ป 2544-2553 ของประเทศไทย ซึ่งคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ (National Information Technology Committee -NITC) โดยมีนายกรัฐมนตรี เปนประธาน เห็นชอบไดประกาศเปน “นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ.2544-2553 (ค.ศ. 2001-2010 หรือ IT2010)” ใหป พ.ศ. 2545-2549 เปนการนํารองนโยบายแผนแมบท IT2010 ลงสูภาคปฏิบัติ ในสาระสําคัญตางๆ

แผนแมบท ICT ของประเทศไทย ป 2552-2556 ไดบรรจุแนวทางยุทธศาสตรการพัฒนาความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ สามารถนํามากําหนดโดยมีสาระสําคัญได ดังน้ี

ตารางที่ 2-2 สรุปสาระสําคัญของแนวทางยุทธศาสตรการพัฒนาความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ให

สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 แนวทางพัฒนาวทิยาศาสตรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

ฉบับที่ 10 ยุทธศาสตรแผนแมบท ICT

ป 2552-2556 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน โดยปรับโครงสรางการผลติ เพ่ือเพ่ิมผลผลติและคุณคาของสินคาและบริการบนพ้ืนฐานความรูและความเปนไทย สรางภูมคิุมกันของระบบเศรษฐกิจไทย และสนับสนุนใหเกิดการแข็งขันที่เปนธรรมและการกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาอยางเปนธรรม 

1. ดานเศรษฐกิจ โดยการใช ICT เพ่ือยกระดับและสนับสนุนขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ ICT 1.1 ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน

ของอุตสาหกรรม ICT เพ่ือสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

1.2 การใช ICT เพ่ือสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน

การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงปญญาและการเรียนรูโดยสรางสรรคนวัตกรรมและองคความรูสงเสริมใหคนไทยเกิดการเรียนรูอยางตอเน่ือง จัดการองคความรู ภมูิปญญาทองถิ่นและองคความรูสมัยใหมตั้งแตระดับชุมชนถึง

2. ดานสังคม โดยการพัฒนากําลงัคนดาน ICT การพัฒนากําลงัคนดาน ICT และบุคคลทั่วไปใหมีความสามารถในการสรางสรรค ผลติ และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน

Page 10: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 5

แนวทางพัฒนาวทิยาศาสตรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 10 

ยุทธศาสตรแผนแมบท ICT ป 2552-2556

ระดับประเทศ สรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ โดยการบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเขมแข็ง สรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน และเสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการอยูรวมกันกับทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมอยางสันติและเก้ือกูล การเสรมิสรางธรรมาภิบาลในการบรหิารจัดการประเทศ โดยการเสรมิสราง และพัฒนาวัฒนธรรมประชาธปิไตยและ ธรรมาภิบาลใหเปนสวนหน่ึงของวิถีชีวติในสังคมไทยเสริมสรางความเขมแข็งของภาคประชาชนใหสามารถเขารวมในการบริหารจัดการประเทศ สรางภาคราชการที่มีประสทิธิภาพและมีธรรมาภิบาล เนนการบริการแทนการกํากับควบคุมและทาํงานรวมกับหุนสวนการพัฒนา การกระจายอํานาจการบริหารจดัการประเทศสูภูมภิาค ทองถิ่น และชุมชนเพ่ิมข้ึนตอเน่ือง สงเสริมภาคธุรกิจเอกชนใหเกิดความเขมแข็ง สุจริต และมีธรรมาภิบาล การปฏริูปกฎหมาย กฎระเบียบ และข้ันตอน กระบวนการเก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือสรางความสมดลุในการจัดสรรประโยชนจากการพัฒนา รักษาและเสริมสรางความมั่นคงเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการประเทศสูดลุยภาพและความยั่งยืน

3. ดานการเมืองการปกครอง โดยการยกระดับการพัฒนาและใช ICT เพ่ือบริการประชาชน 3.1 การใชเทคโนโลยสีารสนเทศและการ

สื่อสารเพ่ือสนับสนุนการสรางธรรมาภิบาลในการบรหิารและการบริการของภาครัฐ

4. ดานการบริหาร การพัฒนาดาน ICT 4.1 การบริหารจดัการดาน ICT ของประเทศ

อยางมีธรรมาภบิาล 4.2 การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร

ดูรายละเอียดจาก Web Site : www.mitc.go.th จุดมุงหมายในการใชศักยภาพและประโยชนจากการมีแผนแมบท ICT เนนดานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

โดยมีนโยบายดานการเมืองการปกครองสมัยใหม เปนแกนหลักในการบริหารเศรษฐกิจการคาโดยรวมของประเทศ เพ่ือความสัมฤทธ์ิผลสูการพัฒนาความสามารถในการแขงขันและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ เปาหมายรวมมุงสูการเปนสังคมไทยและใหเปนเศรษฐกิจแหงภูมิปญญาและการเรียนรู (Knowledge-based Learning Economy) ที่สามารถใชภูมิปญญาชุมชนสูสังคมโลกไดอยางยั่งยืน สงผลทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขทั่วกัน ทั้งน้ี การใชแผนแมบท ICT จะตองมีความสอดคลองกับเศรษฐกิจพอเพียง ทันสมัย เปนแรงขับเคลื่อนกิจกรรมโดยกําหนด แนวทางการพัฒนาของแผนและนโยบายยุทธศาสตร ICT ของประเทศ 2.2.1 วิสัยทศันและพันธกิจ ICT ประเทศไทย

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 ไดกําหนดวิสัยทัศนและพันธกิจการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไวดังน้ี 1) วิสัยทศัน ICT ประเทศไทย

ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT “สังคมอุดมปญญา” ในที่น้ีหมายถึงสังคมที่มีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรูสารสนเทศ (Information literacy) สามารถเขาถึง และใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและม่ันคง

2) พันธกิจ ICT ประเทศไทย พัฒนากําลังคนใหมีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอ ทั้งบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT Professionals) และบุคลากรในสาขาอาชีพอ่ืนๆ ทุกระดับที่มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพมีวิจารณญาณและรูเทาทัน อยางมีคุณธรรม จริยธรรม เพ่ือรวมขับเคลื่อนประเทศไทยสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและม่ันคง

พัฒนาโครงขายสารสนเทศและการสื่อสารความเร็วสูงที่มีการกระจายอยางทั่วถึง มีบริการที่มีคุณภาพ และราคาเปนธรรม เพ่ือใหเปนโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศหลักที่ทุกภาคสวนสามารถใชในการเขาถึงความรู สรางภูมิปญญา และภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมสามารถใชในการสรางมูลคาเพ่ิมแกภาคเศรษฐกิจของประเทศ

พัฒนาระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล โดยมีกลไก กฎระเบียบ โครงสรางการบริหารและการกํากับดูแล ที่เอ้ือตอการพัฒนาอยางบูรณาการ มีความเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม เพ่ือสนับสนุนใหเกิดธรรมาภิบาลในระบบบริหารจัดการประเทศสอดคลองกับเปาหมายที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 11: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 6

3) ยุทธศาสตร ICT ประเทศไทย

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2552-2556 ไดกําหนดยุทธศาสตร ICT ของชาติ เปนรูปธรรมภายใตเง่ือนไขที่เปนจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย แผนแมบทฯ ฉบับน้ีไดกําหนดยุทธศาสตรหลักข้ึน 6 ดาน ไดแก

ยุทธศาสตรการพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลทั่วไปใหมีความสามารถในการสรางสรรค ผลิต และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน

ยุทธศาสตรการบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอยางมีธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยุทธศาสตรการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือสนับสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ

ยุทธศาสตรการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT เพ่ือสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

ยุทธศาสตรการใช ICT เพ่ือสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยืน นอกจากน้ันไดกําหนดใหหนวยงานภาครัฐทุกหนวยงานมีบทบาทในการดําเนินการตามภารกิจ

ที่ไดรับมอบหมาย โดยกระทรวงวัฒนธรรม มีบทบาทและหนาที่ในการดําเนินการตามแผนงานและกิจกรรมที่สําคัญดังตอไปน้ี

ตารางที่ 2-3 ยุทธศาสตรตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 และ

แผนงานและกิจกรรมที่เก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

1 การพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลท่ัวไปใหมีความสามารถในการสรางสรรค ผลิต และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน

III. มาตรการสนับสนุนอ่ืนๆ (2) สนับสนุนใหเกิดสมาคม/ชมรม/องคกรอิสระ หรือ

เครือขายท่ีสงเสริมการใช ICT อยางสรางสรรค - กระทรวง ICT - กระทรวงศีกษา - กระทรวงวัฒนธรรม - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

2 การบริหารจัดการดาน ICT ของประเทศอยางม ีธรรมาภิบาล

2.2 ปรับปรุงกระบวนการจัดทํา/เสนองบประมาณ และกระบวนการพิจารณาจัดสรร งบประมาณดาน ICT เพ่ือใหเกิดการใชจายอยางคุมคา

(1) สรางกลไกการทํางานรวมกันระหวางสํานักงบประมาณ กระทรวง ICT และ CIO ภาครัฐในการจัดทําและพิจารณางบประมาณดาน ICT เพ่ือใหการจัดสรรงบประมาณมีประสิทธิภาพ มีการบูรณาการ ลดการซํ้าซอนและเกิดการใชจายอยางคุมคา ท้ังนี้ ในกรณีของซอฟตแวร ใหพิจารณาทางเลือกท่ีเปนซอฟตแวรโอเพนซอรสดวยเพ่ือความเหมาะสมของการใชงบประมาณ

- กระทรวง ICT - กระทรวงการคลัง - CIO ภาครัฐ - สภา ICT

(2) กําหนดใหมีการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ (Feasibility study) สําหรับโครงการใดๆ ของรัฐ ท่ีมีมูลคาสวน ICT (ICT content)ในโครงการนั้นรวมกันเกิน 300 ลานบาท โดยในกระบวนการศึกษา ใหมีการเผยแพรและนําเสนอหลักการของโครงการตอสาธารณชนและผูท่ีอาจไดรับผลกระทบจากการดําเนินโครงการ เพ่ือรับฟงความคิดเห็น รวมท้ังใหขอความเห็นจากจากสภา ICT และนําขอมูลท่ีไดรับท้ังหมดไปประกอบในการศึกษาดวยท้ังนี้ เมื่อมีการดําเนินโครงการ ใหจัดทําประกาศบงบอกชื่อโครงการ คําอธิบายลักษณะโดยยอ ขนาดวงเงินงบประมาณระยะเวลาและผูดําเนินการ (ผูรับเหมา) ใหสาธารณชนรับทราบผานเว็บกลางของภาครัฐและเว็บสาธารณะท่ีมีผูเขาชมจํานวนมาก

- กระทรวง ICT - กระทรวงการคลัง - ทุกกระทรวง/กรม/หนวยงาน ของรัฐ

- สภา ICT

2.4 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลตัวช้ีวัดสถานภาพการพัฒนาICT ของประเทศ เพ่ือสนับสนุนการติดตามประเมินผลการพัฒนา ICT ของประเทศ และการดําเนินการตามแผนแมบท ICT

Page 12: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 7

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

(1) จัดทําฐานขอมูลรายการดัชนีชี้วัดหลักของการพัฒนา ICT ของประเทศ (ICT core indicators) โดยกําหนดใหหนวยงานท่ีรับผิดชอบแตละดัชนีปรับปรุงขอมูลใหทันสมัย ตลอดเวลา และเช่ือมโยงขอมูลไปยังหนวยงานกลางเพื่อเผยแพรใหหนวยงาน/ประชาชนรับทราบท่ัวไป รวมท้ังใหมีการศึกษาติดตามการพัฒนาดัชนีดังกลาวในระดับ นานาชาติอยางตอเนื่อง เพ่ือปรับปรุงดัชนีชี้วัดของประเทศไทยใหเหมาะสมตามกาลเวลา

- กระทรวง ICT - ทุกกระทรวง/กรม/หนวยงานท่ีมีการจัดเก็บขอมูลท่ีเก่ียวของ

3 การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

3.2 พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือยกระดับการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน

(4) สงเสริมการพัฒนาเนื้อหาท่ีเปนภาษาไทยและเนื้อหาท่ีเก่ียวกับทองถิ่น (local contents) ท่ีเปนประโยชนตอการศึกษา การงานอาชีพ สุขภาพและสาธารณสุข ท้ัง โดยการสนับสนุนงบประมาณและสรางแรงจูงใจแกภาคเอกชน

- กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวง ICT - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงสาธารณสุข - สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น - ทุกหนวยงานท่ีมีเนื้อหาท่ีเก่ียวของ

3.4 เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงขายและทรัพยากร

(1) เรงรัดการดําเนินการใหมีพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคล่ืนความถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ใหรองรับมาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เพ่ือใหมีผลบังคับใชใกลเคียงกับท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญโดยเร็วท่ีสุด

- กระทรวง ICT - รัฐสภา - คณะรัฐมนตร ี

4 การใชเทคโนโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือสนุบสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ

4.1 สรางความเขมแข็งของหนวยงานกลางท่ีรับผิดชอบการกําหนดกรอบแนวทาง ปฏิบัติและมาตรฐานท่ีจําเปนสําหรับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ

(2) ใหหนวยงานท่ีมีขอมูลท่ีจําเปนตอการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนๆ ใหความรวมมือในการเช่ือมโยง/แลกเปล่ียนขอมูลกับหนวยงานอ่ืนได ภายใตโครงการพัฒนาเครือขายส่ือสารขอมูลเช่ือมโยงหนวยงานภาครัฐ (Government Information Network: GIN) ท่ีกระทรวง ICT จัดทําขึ้น และขยายการเช่ือมโยงไปสูหนวยงานในภูมิภาค และสวน ทองถิ่นในลําดับถัดไป

- กระทรวง ICT - หนวยงานของรฐัท้ังหมด

(4) จัดใหมีการประเมินผลการใหบริการทางอิเล็กทรอนิกสของภาครัฐท่ีไดมีการดําเนินการไปแลว โดยเนนผลท่ีเกิดแกประชาชนผูรับบริการ และ/หรือหนวยงาน/ภาคธุรกิจท่ีตองติดตอกับภาครัฐ รวมท้ังผลตอหนวยงาน อาทิ การลดคาใชจาย การลดขั้นตอน / เพ่ิมประสิทธิภาพ เปนตน เพ่ือใชเปนขอมูลประกอบในการกําหนดแผนการดําเนินงานในระยะตอไป

- กระทรวง ICT - สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

- หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

4.2 ใหทุกกระทรวงดําเนินการเพ่ือพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ

(1) ใหทุกหนวยงานปรับปรุงระบบขอมูล และระบบบริหารจัดการ ใหสามารถเช่ือมโยงกับระบบ NSDI และ GIN (Government Information Network) ท้ังภายในและระหวางหนวยงาน ภายใตกรอบมาตรฐาน TH e-GIF(Government Interoperability Framework)

- กระทรวง ICT - หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

Page 13: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 8

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

(2) ใหทุกหนวยงานใช ICT เปนชองทางหนึ่งในการสงเสริมและสนับสนุนใหภาคประชาสังคมเขามามีสวนรวมในการบริหารราชการแผนดินโดยเฉพาะการพัฒนานโยบายหรือบริการสาธารณะ และการออกกฎหมาย การติดตามตรวจสอบ และใหสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) กําหนดเปนตัวช้ีวัดหนึ่งในมาตรการการพัฒนาระบบราชการ ในสวนท่ีเก่ียวกับการบริหารราชการแบบมีสวนรวม

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

- หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

5 ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT เพ่ือสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

5.3 สรางโอกาสทางการตลาดและโอกาสในการแขงขันสําหรับผูประกอบการไทย ท้ังตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศ

(7) กําหนดใหมีหนวยงานรับผิดชอบการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนตและแผนยุทธศาสตรดิจิทัลคอนเทนตระดับชาติ เพ่ือพัฒนากลไกท่ีจําเปนในการสรางโอกาสทางการตลาดและการเสริมสรางศักยภาพใหกับผูประกอบการดิจิทัลคอนเทนตของประเทศไทย

- กระทรวง ICT - กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- กระทรวงพาณิชย - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

- สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

6

การใช ICT เพ่ือสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยนื

6.5

ยกระดับศักยภาพในการแขงขันของผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และวิสาหกิจชุมชน (OTOP)

(6) ใหหนวยงานของรัฐใชประโยชนจาก ICT ท่ีแพรกระจายคอนขางท่ัวถึงในชุมชม(โทรศัพทเคล่ือนท่ี วิทยุ โทรทัศน) เพ่ือเผยแพรความรูท่ีเก่ียวของกับอาชีพ และขาวสารทางเศรษฐกิจ ท่ีจะเปนประโยชนตอการพัฒนาสินคาและบริการ เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชน

- กระทรวง ICT - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ

- กระทรวงวิทยาสาสตรและเทคโนโลยี

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น - ทุกๆหนวยงานท่ีมีการดําเนินงานในระดับภูมิภาค

2.3 แนวความคิดในการจัดกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (IT-2020)

กรอบแนวคิดการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะยาวนี้ ครอบคลุมชวงเวลาระหวางปจจบัุนไปจนถึงป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) เพ่ือนําไปสูนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารชวง 10 ป ระยะที่สามนับตั้งแตมีนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับที่ 1 (IT-2000) และฉบับที่ 2 (IT-2010) เปนตนมา โดยพิจารณาจากความเปนไปและความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนและอาจเกิดข้ึนกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทั้งนัยยะที่มีตอเทคโนโลยีน้ี ในขณะเดียวกันยังพิจารณาจากพัฒนาการในกรอบเวลาดังกลาวของตัวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเองที่จะมีผลตอการพัฒนาสังคมไทย โดยคาดหวังจากการมองจากทั้งสองมุมจะทําใหแนวคิดมีความสมบูรณและมีความลงตัวในการกําหนดนโยบายและแผนเชิงยุทธศาสตรของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาในประเด็นและมิติตางๆ ซึ่งสามารถสรุปเปนประเด็นไดดังน้ี 1) ภาพอนาคตทางดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และนัยสําคัญตอทศิทางการพัฒนา

เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 1.1) ความเปล่ียนแปลงดานประชากร ของประเทศกําลังมีผลกระทบในเชิงโครงสรางของสังคมไทย

โดยรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงดังกลาวประกอบดวย ประชากรทั่วราชอาณาจักรจะเพิ่มข้ึนจาก 62 ลานคนในป พ.ศ. 2543 เปน 74 ลานคนโดยประมาณ ในป พ.ศ. 2568 โดยมีอัตราเพ่ิมที่ลดลง คือจากเพิ่มข้ึนรอยละ 0.82 เปนรอยละ 0.61 ในหาปแรกและหาปหลังของชวงเวลาดังกลาวตามลําดับ

เม่ือพิจารณาจากประชากรเปน 3 กลุม คือ ประชากรวัยเด็ก ประชากรวัยแรงงาน และประชากรวัยสูงอายุ พบวา ความไดเปรียบเชิงโครงสรางประชากรไทยกําลังจะหมดไป หรืออีกนัยหน่ึงการปนผลทางประชากร (Demographic Dividend) ใกลสิ้นสุดลง ซึ่งหลังจากน้ันจะมีผลทําใหตองเรงเพ่ิมผลิตภาพ (Productivity) ของประชากรวัยแรงงานอยางจริงจัง

Page 14: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 9

รูปที่ 2-3 แผนภาพแสดงโครงสรางประชากรไทย เปรียบเทียบระหวางป พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2563

ที่มา: ศ.ดร.เก้ือ วงศบุญสินและคณะ, จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย

ประชากรวัยเด็กไดลดลงอยางตอเน่ืองจากรอยละ 24.65 ในพ.ศ. 2543 เปนรอยละ 19 ในพ.ศ. 2563 ดวยหลายเหตุผล รวมถึงผลจากการคุมกําเนิด สถานภาพการสมรสที่เปลี่ยนไป ทั้งที่เปนโสดมากขึ้น คูสมรสมีแนวโนมที่มีอายุแรกสมรสเพิ่มข้ึน การมีบุตรจํานวนนอยลงและ บุตรคนแรกเกิดเมื่อคูสมรสมีอายุสูงข้ึน นอกจากน้ียังเปนผลจากการหยารางที่เพ่ิมข้ึนอีกดวย

สัดสวนประชากรวัยสูงอายุเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ืองจากรอยละ 9.43 ใน พ.ศ. 2543 เปนรอยละ 16.78 ใน พ.ศ. 2563 เม่ือประเทศยางเขาสูสังคมสูงอายุ การสาธารณสุขที่กาวหนาเอ้ือให ประชากรมีอายุที่ยืนยาวข้ึน

วัยแรงงานแมจะมีจํานวนเพิ่มมากข้ึนจาก 41 ลานคนใน พ.ศ. 2543 เปน 45 ลานคนโดยประมาณใน พ.ศ. 2563 หากแตโดยสัดสวนประชากรแลว วัยแรงงานจะมีสัดสวนลดลง จากรอยละ 65.91เปนรอยละ 64.21 ใน พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2563 ตามลําดับ

รูปที่ 2-4 แผนภาพแสดงสัดสวนของประชากร 3 กลุม (ป พ.ศ. 2550-2563)

ที่มา: ศ.ดร.เก้ือ วงศบุญสินและคณะ, จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย.

ความเปลี่ยนแปลงจากการคาดการณดังกลาวชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการเตรียมการเชิงนโยบายเพื่อปรับตัวในระดับโครงสรางเชิงยุทธศาสตรอยางเรงดวน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนองคประกอบหน่ึงในการบริหารจัดการโครงสรางใหมอันเน่ืองมาจากความเปลี่ยนแปลงของประชากรไทย อาทิ เชน การยกระดับผลิตภาพของแรงงานและธุรกิจอุตสาหกรรมโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อลดชองวางและเพ่ิมคุณภาพการศึกษาของเด็กและเยาวชนในวัยเรียน หรือการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือสรางผูประกอบการใหมที่มาจากประชากรกลุมสูงอายุ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสนับสนุนวิทยาการทางการแพทยเพ่ือชีวิตที่ยืนยาว (Longevity Medicine) เปนตน

Page 15: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 10

1.2) วิกฤตทางดานพลังงานและส่ิงแวดลอม มีความรุนแรงและมีผลกระทบกวางขวางไปทั่วโลก ประเทศไทยบริโภคและใชพลังงานในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในปริมาณสูงจึงประสบปญหาในหลายดานหลายระดับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะเพิ่มบทบาทมากข้ึนในภาวะวิกฤตดาน พลังงานและสิ่งแวดลอมทั้งทางตรงและทางออม เม่ือเกิดความจําเปนที่จะตองประหยัดพลังงานมากข้ึนทั้งใน ระดับประเทศและระดับปจเจกบุคคล กอใหเกิดกระบวนการและนวัตกรรมการใชชีวิต และการทํางานที่ลดไปจนถึงเลิกใชพลังงาน

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางดานสิ่งแวดลอมน้ันมีหลายประเภท อาทิ เชน ในการจัดการกับสาธารณภัย ซึ่งมีหลากหลายกระบวนการนับตั้งแตการใชคอมพิวเตอรในการจัดทําแบบการพยากรณ (Prediction Modelling) การใชระบบอิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคมในการตรวจติดตามสภาวะแวดลอมการสรางระบบเตือนภัยอิเล็กทรอนิกสใหกับสาธารณะและผูที่อาจไดรับผลกระทบ การวางแผนในสภาวะฉุกเฉิน (Emergency Planning) ระบบเตือนภัยที่ทันการณ (Real Time Warning) ระบบการจัดการกูภัยและการแกวิกฤต (Dispatching and Crisis Management) ระบบประเมินความเสียหาย (Damage Assessment) และผลกระทบที่เกิดข้ึนตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม (Impact Assessment)

1.3) การกระจายอํานาจการปกครอง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 284 ไดบัญญัติใหมีกฎหมายกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจ เพ่ือพัฒนาการกระจายอํานาจเพ่ิมข้ึนใหแกทองถิ่นอยางตอเน่ือง โดยใหอํานาจแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ดําเนินการถายโอนภารกิจการใหบริการสาธารณะ กระจายอํานาจทางการเงิน การถายโอนบุคลากร พัฒนาระบบตรวจสอบและการมีสวนรวมของประชาชน ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ กฎหมายและระเบียบใหมีความสอดคลอง พรอมทั้งกํากับดูแลการถาย โอนและสรางระบบประกันคุณภาพบริการสาธารณะ ทั้งน้ีมีภารกิจที่กําหนดไว 6 ดาน ประกอบดวย

ดานโครงพื้นฐาน ดานงานสงเสริมคุณภาพชีวิต (สงเสริมอาชีพ สวัสดิการสังคม นันทนาการ การศึกษา สาธารณสุข)

ดานการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบรอย (สงเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค สิทธิเสรีภาพของประชาชน การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาทองถิ่น การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และการรักษาความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน)

ดานการวางแผน การสงเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการทองเที่ยว(การวางแผนพัฒนาทองถิ่น การพัฒนาเทคโนโลยี การสงเสริมการลงทุน การพาณิชยกรรม การพัฒนาอุตสาหกรรม และการทองเที่ยว

ดานการบริหารจัดการ และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม (คุมครองดูแล บํารุงรักษา ใชประโยชนจากปาไม ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การจัดการสิ่งแวดลอมและมลพิษ และการดูแลรักษาที่สาธารณะ)

ดานศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น (การจัดการดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ และการจัดการดูแลพิพิธภัณฑและหอจดหมายเหตุ)

1.4) ภาวะการมีงานทําและตลาดแรงงานในอนาคต การจางงาน (Employment) และตลาดแรงงาน (Labor Market) นับเปนหัวใจสําคัญในการบริหารประเทศ ในแงการบริหารแรงงาน และทรัพยากรมนุษย สังคมไทยมีความทาทายในอนาคตในหลายมิติดวยกัน คือ

สองทศวรรษที่ผานมา ภาคการเกษตรทํามูลคาเชิงเศรษฐกิจใหกับประเทศลดลงตามลําดับ จึงจําเปนที่ตองยกระดับผลิตภาพของภาคเกษตรท้ังระบบ โดยเฉพาะพัฒนาการลาสุด ที่ทั่วโลกมีความตองการพืชพลังงาน ทําใหพืชอาหารเริ่มขาดแคลนและมีราคาสูงข้ึน

เกษตรกรนับแสนคนไดเลิกอาชีพในภาคการเกษตร หันมาทํางานใน ภาคบริการและอุตสาหกรรมเปนแรงงานไรฝมือ (Unskilled Labor)

สังคมไทยมีความสามารถในภาคบริการ มีอุตสาหกรรมบริการขนาดใหญ เชน การทองเที่ยว และภาคธุรกิจ คมนาคมสื่อสาร การศึกษา การแพทย การเงิน การขนสง รวมทั้งกิจกรรมทางวัฒนธรรม และการกีฬา

ภาคอุตสาหกรรมหลายประเภทมีแนวโนมจะเติบโตตอไป และมีอุตสาหกรรมใหมๆ ที่เรียกวาเศรษฐกิจสรางสรรค(Creative Economy) เกิดข้ึน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนอกจากเปนอุตสาหกรรมในตัวเองแลว ยังเปน องคประกอบสําคัญในอุตสาหกรรมอ่ืนอีกดวย ในอนาคตเมื่อนโยบายการผลิตในภาคการเกษตรมีความชัดเจนและการยกระดับผลิตภาพของเกษตรกรรมทั้งระบบทั้งเพ่ือพืชอาหารและพืชพลังงานไดรับการกําหนดใหเปนวาระสําคัญของชาติแลว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะตองเขามามีบทบาทอยางนอยเปนสวนหน่ึง ของวาระดังกลาว ตั้งแตระบบฐานขอมูลไปจนถึงปญญาประดิษฐของภาคการเกษตร

Page 16: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 11

องคประกอบที่สําคัญของการพัฒนาอาชีพและอุตสาหกรรมตาง ๆ นอกจากเทคโนโลยีแลว ทรัพยากรมนุษยถือเปนปจจัยสําคัญ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนั้น จะทําใหเยาวชนในยุค Post-Modern หรือ Post-Industrialization เขาสูตลาดแรงงานในอนาคตในสาขาอาชีพตางๆ ที่แตกตางไปจากอาชีพในอดีตกลาวคือ ความเปนปจเจกในการทํางานและอาชีพสูงข้ึน แรงงานไรสังกัดหรือแรงงานอิสระ (Freelancing) มากข้ึน การประกอบกิจการหลากหลายอาชีพในชวงชีวิตการทํางานมีมากข้ึน แมกระทั่งการทํางานที่ใชทักษะความรู ตางศาสตรเชิงบูรณาการ จะมีมากข้ึน หากเปนเชนน้ี นัยยะที่ตามมาคือจะมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางเขมขนกวางขวาง การศึกษาในอนาคตจะตองเปลี่ยนรูปแบบและการจัดการ เพ่ือใหบัณฑิตมีความสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมของแรงงานในอนาคตได และเปนสภาพแวดลอมที่มีความม่ันคงในอาชีพใดอาชีพหน่ึงนอยกวาปจจุบัน ซึ่งหมายความวาบัณฑิตที่จะมีอาชีพที่มั่นคงน้ันควรมีคุณสมบัติที่ดีทางวิชาการ พรอมกับคุณสมบัติและความสามารถในการสื่อสาร การเรียนรูดวยตนเอง การตัดสินใจบนความไมแนนอนและความเสี่ยง การทํางานเปนทีม ทักษะทางดานภาษา การแกปญหาตลอดจนความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม และคุณธรรมจริยธรรมบนพ้ืนฐานของธรรมาภิบาล

ตารางที ่2-4 แสดงการเปรียบเทียบวถิีชีวติและทักษะของเยาวชนในยคุ Industrial และ Post-

industrial

ที่มา: Kai-ming Cheng, 2007.

1.5) ผลกระทบจากอาเซียน กลุมภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใตหรืออาเซียน ประกอบดวย อินโดนีเซีย

มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย บรูไน ดารุสซาลาม เวียตนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสหภาพพมา เกิดข้ึนจากการรวมตัวกันในลักษณะของกลุมประเทศในภูมิภาค เพ่ือรวมพลังตอรองกับภูมิภาคอ่ืน หรือเพ่ือสรางเง่ือนไขความรวมมือระหวางกันเอง มีปฏิญญาที่ระบุความตองการของสมาชิกที่จะเรงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม พรอมกับสงเสริมสันติภาพและความม่ันคงในภูมิภาค โดยวิสัยทัศนอาเซียนที่เรียกวา ASEAN Vision 2020 เปนความเห็นพองกันของผูนําในประเทศสมาชิกที่ จะรวมมือกันในการพัฒนาและอยูรวมกันในสังคมที่เอ้ืออาทรตอกัน ในป พ.ศ. 2546 ผูนําอาเซียนไดตกลงที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ข้ึนใหสําเร็จภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมี 3 เสาหลัก คือ ประชาคมความม่ันคงอาเซียน (ASEAN Security

Page 17: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 12

Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) และประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) นอกจากน้ีอาเซียน ยังเปนกลไกในการประสานความรวมมือในดานตาง ๆ กับประเทศและภูมิภาคอ่ืน ๆ เชน อาเซียนกับประเทศจีน ญี่ปุน และเกาหลี (ASEAN+3), ASEAN-India, ASEAN-EU

การรวมตัวของอาเซียนมีผลตอเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในหลากหลายมติ ิเพราะโดยธรรมชาติของประชาคมจะทําใหมีการเคล่ือนยาย (Mobility) เกิดข้ึนในลักษณะตาง ๆ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการบริหารรัฐกิจ (e-Government)การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) โครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศ (Information Infrastructure) เทคโนโลยีเพ่ือสังคม (e-Society) เปนแกนสําคัญนอกเหนือจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เอ้ือตอภาคการผลิตอ่ืนๆซ่ึงในแงของตลาดการคาและความรวมมือน้ัน เม่ือรวมกลุมแลวยอมตองวางกลยุทธในการแขงขันกับกลุมภูมิภาคอ่ืน โดยมีเปาหมายตลาดและความรวมมือที่สําคัญ เชน จีน และอินเดีย เม่ือทั่วโลกตระหนักวาเปนศตวรรษของทั้งสองประเทศดังกลาว ความรวมมือดังกลาวยิ่งเดนชัดข้ึน เม่ือทั่วโลกประจักษในผลของภาวะโลกาภิวัตนที่เกิดข้ึนในกรณีการลุกลามของวิกฤตการเงินของโลกอันเน่ืองมาจากปญหาสินเชื่อดอยคุณภาพ (Subprime) ในประเทศสหรัฐอเมริกา

1.6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสังคมแหงการเรียนรู ในรอบ 10 ปที่ผานมา หนวยงานตั้งแต ระดับประเทศไปจนถึงองคกรตางตระหนักถึงการเขาสูยุคสังคมแหงการเรียนรูหรือสังคมฐานความรูหรือเศรษฐกิจฐานความรู แมกระทั่งกรอบนโยบาย IT 2010 และแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับที่ 1 ก็ไดกําหนดแนวทางตาง ๆ เพ่ือพัฒนาไปสูเปาหมายสังคมแหงการเรียนรู แตภาวะของสังคมแหงการเรียนรูที่เกิดข้ึนจากแรงกดดันของกระแสโลกาภิวัตนก็ดี หรือจากวิวัฒนาการตอบสนองของสังคมภายในก็ดี คอนขางจะมีความรวดเร็วและมีอิทธิพลมากกวาการกําหนดแผนงานของภาครัฐทางดานน้ี จึงมองเห็นความจําเปนที่จะตองมีการบูรณาการศาสตรตางๆ มากข้ึน กวาเดิม ทั้งที่เปนการทํางานรวมกันของผูเชี่ยวชาญตางสาขา (Multidisciplinary หรือ Interdisciplinary) และ แนวโนมในอนาคตที่จะตองมีการผลิตและพัฒนาผูเชี่ยวชาญที่มีความเชี่ยวชาญศาสตรหลายแขนงในบุคคลคนเดียวกัน (Transdisciplinary)

นอกจากน้ีในภาพกวางของการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมน้ัน ยังสามารถพิจารณาไดจาก แนวโนมกระแสหลักของโลกและของประเทศ เชน เทคโนโลยีเพ่ือการแกปญหาโลกรอน ชีววิทยาศาสตร(Life Sciences) ผลิตภัณฑขนาดเล็กแตฉลาด เทคโนโลยีเพ่ือการมีอายุยืนยาว เทคโนโลยีเพ่ือจัดการกับปญหาภัยพิบัติและโรคระบาด เทคโนโลยีเพ่ือการมีสวนรวมและปฏิสัมพันธในสังคม (Socialization) ทั้งในระดับสังคม และระดับโลก เทคโนโลยีเพ่ือความพอเพียงของชุมชน เทคโนโลยีระหวางปจเจกและรัฐ ไปจนถึงเทคโนโลยีเพ่ือความมั่นคง เทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาประชาธิปไตย เปนตน

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจากมุมของเทคโนโลยีเอง จึงมีประเด็นไมเพียงการพัฒนาเพ่ือตอบสนองตอความตองการของวงการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทาน้ัน แตจะตองตอบสนองตอการพัฒนาเทคโนโลยีอ่ืนดวย

1.7) การปฏิรูปการศึกษารอบที่สอง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 นับเปนนิมิตใหมของวงการศึกษาไทยที่ตองการจะปฏิรูประบบการศึกษาไทย โดยยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต การมีสวนรวมของสังคมในการจัดการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู แตปญหาคุณภาพของผลผลิตของระบบการศึกษาคือความรูในผูจบการศึกษายังไมเปนที่นาพอใจ ไมวาจะเปนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา หรืออุดมศึกษาก็ตามเหตุผลประการสําคัญคือพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในโครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการ แตพัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบและเนื้อหายังไมเกิดผล ตามเจตนารมณของกฎหมาย

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะมีบทบาทตอ การปฏิรูปการศึกษาในระยะตอไปในหลายลักษณะ รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีอุปกรณคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตในสถานศึกษา และครอบครัว การจัดทําเน้ือหาสาระทางวิชาการทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา การเพ่ิมพูนขีดความสามารถใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษาในพ้ืนที่ การใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือฝกทักษะในการผลิตชางอาชีวะที่มีคุณภาพสูง การเชื่อมโยงเครือขายขอมูลของมหาวิทยาลัยเพ่ือประโยชนในการเรียนการสอนและการวิจัย การศึกษาในระบบ online การจัดการศึกษาทางไกลสําหรับผูดอยโอกาสและการจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยีสําหรับผูพิการดานตางๆ เปนตน

1.8) คานิยมและความขัดแยงในยุคโลกาภิวัตน กลาวกันวากลไกอันทรงพลังจํานวนหน่ึงที่จะหลอหลอมโลกาภิวัตน คือ สื่อมวลชนเสรี ความขัดแยงระหวางชนชาติ ศาสนา และประเทศ การแพรกระจายของอาวุธทําลายลาง การกอการรายและอาชญากรรมทั้งในรูปแบบเดิมและผานสื่ออิเล็กทรอนิกส รวมไปถึงคานิยมของคนรุนใหมที่อยูในสังคมดังกลาวขางตน สิ่งตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคตอันเน่ืองมาจากคานิยมและความขัดแยงตางๆ เหลาน้ีมีความไมแนนอนสูง แตในขณะเดียวกันหากเกิดข้ึน ก็สามารถจะกอใหเกิดผลกระทบสูงตอสังคมประเทศและสังคมโลกไดเชนเดียวกัน

คานิยมและความขัดแยงตางๆในอนาคต จะเห็นไดชัดเจนจากความแตกตางระหวางสังคมประเทศที่พัฒนาแลว และประเทศที่กําลังพัฒนาซึ่งปจจัยที่สําคัญคือความยากจน ประเทศที่พัฒนา

Page 18: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 13

แลวจะควบคุมระบบเศรษฐกิจสวนใหญของโลก สวนประเทศที่กําลังพัฒนาจะวนเวียนอยูกับการแกไขปญหาความยากจนของพลเมือง ความทาทายที่สําคัญคือการสรางสมดุลของสองสิ่งดังกลาว ลดการเอาเปรียบทางเศรษฐกิจ และสรางสิ่งที่เรียกวาโลกาภิวัฒนยั่งยืน (Sustainable Globalization) คานิยมจะเปนประเด็นที่สําคัญข้ึนอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมเด็กและเยาวชน ซึ่งมีจํานวนกวาสองพันลานคนและสวนใหญอยูในประเทศกําลังพัฒนา

สําหรับสังคมไทยเอง การคาดการณอนาคตของเยาวชนไทยเปนนามธรรมมากกวารูปธรรมของการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมไทยที่เปนสังคมเปดกวาง สามารถรับสิ่งใหมไดอยางรวดเร็ว จนบางครั้งไมเชื่อมโยงกับหลักของสังคม เกิดความเสียหายในระดับตาง ๆ ตัวอยางที่ชัดเจนคือผลกระทบดานลบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตอเยาวชน ทั้งตอประเด็นคุณธรรมจริยธรรม ตอเวลาที่เสียไปโดยไมเกิดผล หรือการบริโภคสื่อของเยาวชนที่มีเน้ือหาดานลบมากกวาดานบวก

ในเชิงเทคโนโลยีและนวัตกรรมแลว มีบทบาททั้งที่เอ้ือตอคานิยมที่ดีและสนับสนุนใหเกิดความขัดแยงได สิ่งที่ขาดคือการสรางความรูความเขาใจในรอยตอระหวางมนุษยกับเทคโนโลยี (Man-Machine Interface) ซึ่งเปนการมองเทคโนโลยีในมิติทางดานสังคมและพฤติกรรมของมนุษย รวมทั้งการทําความเขาใจจากการศึกษาวิจัยถึงผลกระทบของเทคโนโลยีและกับดักทางสังคมที่ตามมา

2) แนวโนมของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในระยะยาวและนัยตอการประยุกต

2.1) ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ซึ่งเปนการจําแนกตามกลุมเทคโนโลยีทั้งที่ใชงานไดเองและที่ตองผสมผสานกับกลุมเทคโนโลยีอ่ืนเพ่ือใชงาน ตามการวิเคราะหของศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติไดจําแนกเปน 3 กลุมหลัก คือ เทคโนโลยีฮารดแวร เทคโนโลยีซอฟตแวร บริการและเนื้อหา และเทคโนโลยีสื่อสาร เครือขาย และการแพรภาพกระจายเสียง ซึ่งแตละประเภทก็มีเทคโนโลยี

Hardware: รวมถึง hard disk, RFID, Embedded system, plastic electronic, electronic manufacturing ซึ่งประเด็นในการพัฒนาประกอบดวยการสงเสริมการวิจัยและพัฒนา การผลิตวิศวกรและชางเทคนิคที่มีคุณภาพ การสรางสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการลงทุนและการตั้งฐานอุตสาหกรรมของบริษัทขามชาติ การบริหารจัดการของเสียและสารพิษ และการสงเสริมผูประกอบการไทย

Software, Services, Content: รวมถึง open source, web 2.0, semantic web, mobile convergence, biometrics, digital content, data mining ซึ่งประเด็นในการพัฒนาประกอบดวย การผลิตและฝกอบรมแกนักซอฟตแวรในสาขาที่ตรงตอความตองการของธุรกิจอุตสาหกรรม การลงทุนของรัฐในการผลิตสื่อและเน้ือหาดิจิทัลโดยเฉพาะอยางยิ่งเพ่ือการศึกษา การลงทุนและปรับระบบการทํางานของหนวยงานของรัฐในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสใหตอเน่ือง การสงเสริมการใชซอฟตแวรใหมของไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งที่เปน open source การสนับสนุนใหเกิด Creative Economy การสงเสริมความเปนเลิศของการสรางนวัตกรรมซอฟตแวร บริการ และเน้ือหาโดยเชื่อมโยงภาคอุดมศึกษากับภาคธุรกิจการสรางแหลงเรียนรูดิจิทัลโดยเฉพาะอยางยิ่งในพ้ืนที่ดอยโอกาส ที่สําคัญคือแนวโนมของการใชซอฟตแวรในลักษณะของความรวมมือแบบเปด (Open/Mass Collaboration) ซึ่งใหญและกวางขวางอยางตอเน่ือง ดังเชนที่ Linux, Wikipedia, Facebook, YouTube, Human Genome Project เปนอยู

Communications, Networks, Broadcasting: รวมถึง backbone, last mile, cellular mobile,broadband wireless, quantum cryptography, digital TV&radio ซึ่งประเด็นในการพัฒนา ประกอบดวยการวิเคราะหเชิงนโยบายถึงข้ันตอน การลงทุน และการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือนําไปสูโครงขายหลัก โครงขายปลายทาง การสื่อสารความเร็วสูง ระบบไรสายและเคลื่อนที่เพ่ือใหมีความครอบคลุม ลดความเหลื่อมล้ําทางดิจิทัล และคุณภาพของการใหบริการที่คุมครองผูบริโภค นอกจากนี้ยังมีประเด็นในสวนของการรักษาความปลอดภัยของระบบมาตรฐานเทคโนโลยีสําหรับระบบโทรทัศนและวิทยุดิจิทัล การแขงขันการใหบริการที่เปนธรรม ความถี่ไดรับการจัดสรรโดยยึดประโยชนสูงสุดของสาธารณะเปนหลัก และการนําเอาเทคโนโลยีเหลาน้ีไปประยุกตใชกับวงการการศึกษาและสวนประกอบยอย เปนตนวา

2.2) เปาหมายระดับโลกและระหวางประเทศ ถือเปนเครื่องมือเชิงนโยบายที่มีความสําคัญไมนอยกวาเปาหมายในประเทศ หากวาประเทศไทยตองการที่จะมีทาทีและนโยบายที่รองรับและไดประโยชนจากโลกาภิวัตนและกฎเกณฑระหวางประเทศตาง ๆ ที่ตามมา ซึ่งมีหลายกลุม (Platforms) ที่มีอิทธิพลและผลกระทบตอการดําเนินนโยบายของไทย นอกจากน้ียังควรอางอิงกับมิติตาง ๆ ของระบบการจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันของนานาชาติ รวมทั้งการเรียนรูนโยบายและแนวทาง ใหม ๆ จากประเทศที่มีความเจริญทางดานน้ี อยางไรก็ตาม ควรตระหนักวาแนวคิดตาง ๆ เหลาน้ี

Page 19: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 14

จะตองนํามาวิเคราะหและประยุกตใชตามบริบทของสังคมไทย และยังคงตองตระหนักวา จุดออนของสังคมไทยคือการนําแผนไปสูการปฏิบัติอยางจริงจังและตอเน่ือง

2.3) ความเช่ือมโยงระหวางเทคโนโลยีและเปาหมายทั้งในระดับสังคมและในระดับเทคนิค เปนส่ิงที่จะชวยทําใหการจัดทํานโยบายและแผนมีความชัดเจน และเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยมีปจจัยที่มีความหลายหลาก ซึ่งสามารถจัดเปนกลุมเพ่ือการวิเคราะห เชน ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม ดานระหวางประเทศ นอกจากน้ียังสามารถพิจารณานโยบายไดจาก การจัดลําดับความสําคัญของเทคโนโลยีและมาตรการตางๆ โดยพิจารณาจากความเขมแข็งและความไดเปรียบเชิงแขงขันกับผลกระทบและผลประโยชนตอสังคมที่จะได รวมทั้งจดัลําดับของมาตรการตางๆ ตามเง่ือนไขดานเวลาที่เหมาะสม

2.4) การเปล่ียนแปลงรูปแบบของธุรกิจ (Business Transformation) ในอนาคต รูปแบบของธุรกิจจะเปลี่ยนไป จากการที่เทคโนโลยีดิจิทัลเปลี่ยนวิธีทําธุรกิจ เปนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปลี่ยนธรรมชาติและรูปแบบของตัวธุรกิจเอง ซึ่งที่ผานมา สังคมไทยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปน ”เครื่องมือ” (Tool) และเปนเทคโนโลยีที่เอ้ือ (Enabling Technology) ตอการทําธุรกิจ แตระยะตอไปเทคโนโลยีเหลาน้ีจะพัฒนาเปนปจจัยที่ปนรูปแบบของธุรกิจเอง (Constitutive Technology)

ปจจุบันระบบเศรษฐกิจใชประโยชนจากเครือขายดิจิทัลดวยประสิทธิภาพและความเร็วกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในองคกรและระบบการบริหารจัดการและใหบริการขององคกร ประโยชนมีตั้งแต การพัฒนาผลิตภัณฑที่เร็วข้ึน การลดคาใชจาย ธุรกรรมที่รวดเร็วและแมนยําข้ึน ระบบลูกคาสัมพันธที่มีประสิทธิภาพ ในอนาคตเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะกอใหเกิดความเปลี่ยน แปลงในอีกข้ันหน่ึง ซึ่งผสมผสานระหวางธุรกิจและเทคโนโลยีแลวเกิดเปนนวัตกรรมของธุรกิจใหมๆ

2.5) นโยบายพื้นฐาน จะเปนเครื่องมือที่ชวยใหเกิดความตอเน่ือง โดยการกําหนดนโยบายข้ันต่ํา (Minimum Policy Requirements) จํานวนหน่ึงเพ่ือเปนกรอบการดําเนินงานอยางตอเน่ืองโดยยึดถือความตองการของสังคมไทยในระยะยาวที่เหมาะสมและเห็นพองเปนหลัก และมีการศึกษาวิเคราะหอยางเปนระบบรองรับถึงความถูกตองแมนยํานโยบายพ้ืนฐานเหลาน้ีจะเปนหลักประกันวา การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะไมถดถอยทั้งในเชิงนโยบายและในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ

2.6) การปฏิรูปองคกรกํากับและสงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศ เปนเง่ือนไขสําคัญในการขับเคล่ือนนโยบายและการดําเนินการตามนโยบาย ทั้งที่เปนการดําเนินการตามกฎหมายและการสนับสนุนใหเกิดความเจริญกาวหนาในประเทศ

ดังน้ัน การจัดทํานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับที่ 3 หรือ ICT-2020 จึงควรมีการพิจารณาเพ่ือปรับปรุงองคกรกํากับและสงเสริมใหตรงตามความตองการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือตองมีการสั่งการขามหนวยงานของกระทรวง ทบวง กรม และการสงเสริมภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จึงสมควรที่จะทบทวนการดําเนินงานขององคกรในปจจุบัน เชนคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแหงชาติ รวมทั้งการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานสําคัญ

2.4 นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวของกับ ICT ที่ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที ่2

การพัฒนาคนหรือทรัพยากรมนุษย เน่ืองจากคนเปนรากฐานในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม(เกษตร อุตสาหกรรมการผลิต และบริการ) การพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาและบริหารทองถิ่นดวยตนเอง รวมถึงฟนฟูและสืบสานคุณคาความหลากหลายของวัฒนธรรมไทยทั้งที่เปนวิถีชีวิตประเพณี คานิยมที่ดีงาม ภูมิปญญาทองถิ่น

การสรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยเนนการแกปญหาดานสิ่งแวดลอมไวหลายๆ เรื่อง รวมถึงการเตือนภัยจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ

การปรับปรุงการบริหารจัดการ โดยมุงเนนที่การบริหารงานอยางโปรงใสทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการเก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน และการจัดตั้งองคกร/สถาบันเฉพาะทาง เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนา

2.5 นโยบายของผูบรหิารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารที่ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที่ 2

แผนแมบทที่เปนไปไดในทางปฏิบัติ แผนแมบทตองใชเปนเครื่องมือที่ชี้ใหเห็นจุดออน และมีขอเสนอแนะในการแกไขจุดออน ตองชี้ใหเห็นปญหาที่ผานมาทั้งในแงมุมของ IT และ CT ตองเสนอวิธีการแกไขปญหาที่เปนกลาง

Page 20: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 15

2.6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ที่เกี่ยวกบั ICT ที่ใชเปนแนวทางในการจัดทําแผนแมบท ICT ชาติ ฉบับที่ 2 1) ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมปิญญาและการเรียนรู การเขาถงึ

เทคโนโลยีสารสนเทศมีมากข้ึน คนไทยมีคอมพิวเตอรใช 57 เครื่องตอประชากรพันคน การเขาถึงเครือขายอินเตอรเน็ต 116.7 คนตอประชากรพันคน แตยังคงต่ํากวาอีกหลายประเทศมาก ตองหากลไกในการเรงขยายพ้ืนที่สารสนเทศใหเด็กและเยาวชน

2) ยุทธศาสตรการปรบัโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและย่ังยืน ภาคบริการมีฐานที่กวางข้ึนจากความกาวหนาของบริการดานโทรคมนาคมและการสื่อสาร มีปจจัยสนับสนุนจากการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน และโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพมากข้ึน การพัฒนาโครงขายและบริการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงความคุมคาในการลงทุนและมุงเนนใหมีการแขงขันดานการใหบริการอยางเสรี

การสนับสนุนภาคการผลิต ภาคธุรกิจ และบริการ การรองรับการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส สําหรับใหบรกิารแกประชาชน และภาคธุรกิจ

3) ยุทธศาสตรการขับเคล่ือนยุทธศาสตรสูการปฏิบัต ิ การจัดหาคอมพิวเตอรเพ่ือการเรียนการสอนอยางทั่วถึง การลงทุนเพ่ือพัฒนาบริการภาครัฐ พัฒนาโครงขาย IT ภาครัฐและระบบ e-Government เชน e-Health, e-Education และ e-Services เปนตน

การลงทุนเพ่ือสรางโอกาสการเขาถึงบริการพ้ืนฐานที่สมดุลและเปนธรรม ขยายโครงขายการใหบริการโครงสรางพ้ืนฐานโทรคมนาคมใหครอบคลุมพ้ืนที่ชนบท การลงทุนดาน IT ในโรงเรียนและชุมชน สรางโอกาสในการเขาถึงขอมูลขาวสาร และพัฒนาความรูของนักเรียนและประชาชนในชนบท

สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานขอมูลในทุกระดับและการเชื่อมโยงโครงขายขอมูลขาวสาร ระหวางหนวยงานระดับนโยบาย ตลอดจนระดับพ้ืนที่และทองถิ่น

ดําเนินโครงการปรับปรุงกฎ ระเบียบ และขอกฎหมายที่เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) สรุปนโยบายการจัดทําแผนแมบท ฯ ฉบบัที่ 2

4.1) สานตอกรอบนโยบาย IT 2010 e-Industry, e-Commerce, e-Government, e-Education, e-Society

4.2) พิจารณาทบทวนแผนแมบทฯ ICT # 1 พิจารณาสงเสริมหรือพัฒนาตอเน่ืองสําหรับแผนงาน/โครงการที่ลงทุนไปมากแลว เชน e-

Government และแผนงาน/โครงการที่เก่ียวของกับปจจัยพ้ืนฐานสําคัญในการพัฒนา ICT เชน HR, Infrastructure

พิจารณาผลักดันตอหรือยกเลิกแผนงาน/โครงการที่ไมได/ไดงบประมาณนอย พิจารณาความเหมาะสมกับสถานการณใน 5 ปขางหนา และความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล/แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10

4.3) ความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล เนนการใช ICT ในการสรางเครือขายและการเรียนรู รวมถึงการสรางนวัตกรรม

4.4) ความสอดคลองกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เนนการลงทุนดานโครงสรางพ้ืนฐาน การพัฒนาฐานขอมูล การใหความสําคัญกับ ICT เพ่ือสรางโอกาสเขาถึงขอมูลขาวสารอยางทั่วถึง และพัฒนาบริการภาครัฐ ที่จะนําไปสูการพัฒนาประสิทธิภาพ/ลดตนทุนภาคเอกชน

ใหความสําคัญกับประเด็นเชิงนโยบายที่สมาคม/ผูที่เก่ียวของนําเสนอ

2.7 ยุทธศาสตรโดยรวมของกระทรวงวัฒนธรรม ยุทธศาสตรตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552-2556 กระทรวงวัฒนธรรม ไดกําหนด

วิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรไวดังน้ี 2.7.1 วิสัยทศันกระทรวงวัฒนธรรม

เปนองคกรในการบูรณาการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสูประชาชน เพ่ือความภูมิใจในความเปนไทยและมีวิถีชีวิตที่ดีงามบนพ้ืนฐานวัฒนธรรม นําสูสังคมสันติสุขอยางยั่งยืน

2.7.2 พันธกิจกระทรวงวัฒนธรรม พันธกิจ 4 ประการของ กระทรวงวัฒนธรรม ไดแก (1) ทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะและวฒันธรรมของชาติ และสนองงานสําคัญของสถาบัน ชาติ ศาสนา

พระมหากษัตรยิใหมีการสืบทอดและพัฒนาอยางยั่งยืน แตละทองถิ่นมีเอกลักษณทางวัฒนธรรมของตนเอง มีกิจกรรมระดับชาติที่เก่ียวของกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

(2) บูรณาการศาสนา ศิลปะและวฒันธรรมสูประชาชนและชุมชน

Page 21: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 16

ประชากรมากกวารอยละ 60 มีโอกาส มีจิตสํานึกและเขาในการดํารงชีวิตตามรากฐานทางวัฒนธรรมของตนและรูเทาทันโลก

เด็กและเยาวชนไทยมีความสามารถทางดานสุนทรียภาพ มีเว็บไซด เผยแผธรรมะสูเด็ก เยาวชนและประชาชน รอยละ 30 ของแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมจะไดรับการพัฒนาและสงเสริมจนสมบูรณ มีพิพิธภัณฑชนชาติไทย หอศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย หอสมุดแหงชาติแหงใหม

(3) นําทุนทางวัฒนธรรมของประเทศมาเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจ และสรางคุณคาทางสังคมทั้งระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

มีศูนยทัศนศึกษา ศิลปะ และวัฒนธรรม (Art & Culture Edutainment Center) ประชาชนทุกกลุมมีโอกาสรวมกิจกรรมทางดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม เพ่ือสรางความสมานฉันท และเอ้ืออาทรตอกัน

มีแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมเกิดข้ึนอยางทั่วถึงทุกภาคและเชื่อมโยงสูประเทศใกลเคยีง

ภูมิปญญาไทยเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ (4) บูรณาการความรวมมือในการบริหารจัดการองคความรู และมรดกศลิปวัฒนธรรมใหเกิด

ประโยชนกับสงัคมไทย และสงัคมโลก เกิดเครือขายทางวัฒนธรรมทุกประเภทไมต่ํากวา 60,000 เครือขายทั่วประเทศภายใน ชวงแผนฯน้ี

มีระบบฐานขอมูลทางดานสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร บริหารจัดการสําหรับดําเนินการดานวัฒนธรรมและใหบริการองคความรูแกประชาชน

2.7.3 เปาประสงคกระทรวงวัฒนธรรม เปาประสงคกระทรวงวัฒนธรรม ไดแก (1) ประชากรโดยสวนรวม มคีุณภาพ มีความสามารถ มคีุณธรรม และธํารงคไวซึง่สถาบันชาติ

ศาสนา พระมหากษัตรยิ เห็นแกประโยชนสวนรวมพ่ึงตนเองได สามารถแขงขันและอยูรวมในสังคมโลกไดอยางทดัเทยีมกับนานาชาต ิ

(2) ประชากรมีคุณภาพชีวติที่ดี มคีวามสุข อยูในสภาพแวดลอมที่ดี มีโอกาสในการเรียนรูรากฐานทางวฒันธรรมของตนและรูเทาทันโลก

(3) สังคมมีความสมานฉันท เอ้ืออาทรตอกัน ดํารงไวซึ่งคุณธรรม และสามารถพัฒนาเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานวัฒนธรรม

(4) สถาบันทางสังคม ไดแก สถาบันครอบครัว สถาบันทางศาสนา ฯลฯ มีความเขมแข็งทําหนาที่ไดอยางเต็มที ่

2.7.4 ประเด็นยุทธศาสตรโดยรวมของกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ไดกําหนดประเด็นยุทธศาสตรกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.2552-2556 ไว 4

ประเด็น ดังน้ี (1) ประเด็นที่ 1 รักษา สืบทอด วัฒนธรรมของชาติและความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่นให

คงอยูอยางมั่นคง (2) ประเด็นที่ 2 สรางคานิยม จิตสาํนึก และภมูิปญญาคนไทย (3) ประเด็นที่ 3 นําทุนวฒันธรรมของประเทศมาสรางคุณคาทางสังคมและเพิ่มมูลคาทาง

เศรษฐกิจ (4) ประเด็นที่ 4 การบริหารจดัการองคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวฒันธรรม (5) ประเด็นที่ 5 การจัดการศึกษาดานศลิปวัฒนธรรม

ตารางที่ 2-5 สรุปยทุธศาสตรกระทรวงวฒันธรรม ซึ่งสอดคลองกับแผนการปฏิบัตริาชการตามภารกิจของกระทรวง

วัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค

1 รักษา สืบทอด วัฒนธรรมของ ชาติและความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่นใหคงอยูอยางมั่นคง

1. ศึกษา วิจัย อนุรักษมรดกทรัพยสินทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรมใหเปนระบบโดยใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย

2. สงเสริม ฟนฟู สืบทอด ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย 3. ฟนฟู สืบทอด ภูมิปญญาไทย 4. ธํารงรักษาวัฒนธรรมระดับชาติท่ีเก่ียวเนื่องกับ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

2 สรางคานิยม จิตสํานึก และภูมิปญญาคนไทย

1. สรางและพัฒนาแหลงเรียนรูเพ่ือใหโอกาสแกประชาชนอยางท่ัวถึงท้ังในระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

2. สงเสริมใหเกิดโอกาสแหงการเรียนรูสรางสรรคและพัฒนาสูความเปนเลิศทางศิลปะและวัฒนธรรมดวยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง ท้ังในระบบ นอกระบบ และตลอดชีวิต

3. สงเสริมการนําหลักธรรมทางศาสนาใชในการดําเนินชีวิตอยางสอดคลองกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

4. การสรางคานิยม จิตสํานึกในสังคมไทยในกลุมคนทุกกลุม ทุกระดับใหเห็นคุณคาในศิลปวัฒนธรรม

Page 22: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 17

ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค 3 นําทุนวัฒนธรรมของประเทศมา

สรางคุณคาทางสังคมและเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจ

1. การศึกษาวิจัยและประยุกต สรางสรรคภูมิปญญาทองถิ่นใหเกิดคุณคา 2. สงเสริมและสนับสนุนใหไทยเปนศูนยกลางการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม 3. สงเสริมกิจกรรมทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเพ่ือสรางความสมานฉันทใหเกิดขึ้นกับคนใน

ชาติ 4. ใชมิติทางศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมเปนส่ือในการเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ

4 บริหารจัดการองคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมความเปนเลิศและอาชีพ

1. สงเสริมใหคนในชุมชนมีสวนรวมและดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมดวยตนเอง 2. ใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบฐานขอมูล เพ่ือการบริหารจัดการ การบริการ

การเผยแพรและประชาสัมพันธ 3. บูรณาการความรวมมือและสรางเครือขายในการดําเนินงานทางศิลปวัฒนธรรม 4. แกกฎหมาย ระเบียบและกําหนดคุณภาพมาตรฐาน ตลอดจนการวิจัยการติดตามประเมินผล

การดําเนินงาน ที่มา: แผนปฏิบัตริาชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552-2556 กระทรวงวฒันธรรม

นอกเหนือจากยุทธศาสตรกระทรวงวัฒนธรรมแลว กระทรวงไดจัดทําแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ (2550 -

2554) เพ่ือใหมีแผนกลยุทธเฉพาะเรื่อง และเปนการดําเนินการตามที่กําหนดไวในภารกิจหนาที่ในการบริหารราชการแผนดิน ใชเปนแนวทางในการพัฒนา ไดกําหนด วิสัยทัศน พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรไวดังน้ี 2.8 แผนแมบทวฒันธรรมแหงชาติ (2550 - 2559)

แผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ(พ.ศ.2550-2554) แบงออกเปน 4 ยุทธศาสตร ไดกําหนด วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนฯ ไวดังน้ี 2.8.1 วิสัยทศันตามแผนแมบทวฒันธรรมแหงชาต ิ

ใชมิติทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมในการขับเคล่ือนและประสานความรวมมือกับทุกภาคสวนเพ่ือสรางสังคมคุณธรรม

2.8.2 พันธกิจตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาต ิพันธกิจ 5 ประการของ แผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ (พ.ศ.2550-2559) ไดแก (1) อุปถัมภ คุมครองและสงเสริมศาสนา ศิลปะ และวฒันธรรมของชาติ และความหลากหลายทาง

วัฒนธรรมใหคงอยูอยางม่ันคง (2) สนองงานสาํคญัของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยใหสืบทอด และพัฒนาอยาง

ยั่งยืน (3) สรางสรรคสังคมสันตสิุขดวยมิติทางศาสนา ศลิปะ และวัฒนธรรมในทุกระดบั (4) สงเสริมใหทุกภาคสวนสนับสนุน และมสีวนรวมในการดําเนินงานทางวัฒนธรรมเพื่อเชิดชู

คุณคา และจติวิญญาณของความเปนไทย (5) สรางคุณคาทางสังคม และสงเสริมมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจดวยทุนทางวัฒนธรรม

2.8.3 เปาประสงคตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ

ระดับบุคคล (1) คนไทยมีความรูความเขาใจงานดานวัฒนธรรม และสามารถรักษาอัตลักษณของตนบนความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม (2) คนไทยรูเทาทนัการเปลี่ยนแปลง มีคานิยมและปรับปรุงวิถชีีวติไดอยางเหมาะสมกับบริบทของ

ชุมชนและสังคม (3) คนไทยมีความภาคภูมิใจในความเปนไทย และมีความเปนนํ้าหน่ึงใจเดยีวกันทามกลางความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม (4) คนไทยใชคุณธรรมนําความรูสรางสรรคสังคมใหเขมแข็งและมั่นคง

ระดับชุมชน/สังคม (1) สังคมไทยเปนสังคมแหงความสงบสุข มีความเอ้ืออาทรซึ่งกันและกัน (2) สังคมไทยเปนสังคมแหงคุณธรรม มีเครือขายความรวมมือ และมีความสมัครสมานสามคัคี เปน

นํ้าหน่ึงใจเดยีวกันทามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม ระดับประเทศ

(1) ประเทศไทยสามารถเผยแพรวฒันธรรมไทยไปทั่วโลก และใชวัฒนธรรมเปนสื่อในการสรางความสัมพันธหรือแกไขปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ

(2) ประเทศไทยสามารถสรางมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจและคุณคาทางสังคมดวยทุนทางวัฒนธรรม

Page 23: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 18

2.8.4 ยุทธศาสตรและกลยุทธตามแผนแมบทวฒันธรรมแหงชาต ิยุทธศาสตรและกลยุทธตามแผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ (พ.ศ.2550-2559) 5 ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการงานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

เปาหมาย องคความรูทางศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ไดรับการรวบรวม จัดระบบในรูปของฐานขอมูล และมีการบริหารจัดการที่ดี เพ่ือนําไปใชในการดําเนินงาน ประกอบดวย 3 กลยุทธ ดังน้ี

(1) พัฒนาองคความรูทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม (2) พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพ (3) ประชาสัมพันธ และเผยแพรศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม และความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม ยุทธศาสตรที่ 2 อนุรักษ สืบทอด และสงเสริมการดําเนินงานดานศาสนา ศิลปะ และ

วัฒนธรรมบนพื้นฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม เปาหมาย

ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ไดรับการอนุรักษ สืบทอด และสงเสริมบนพ้ืนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประกอบดวย 2 กลยุทธ ดังน้ี

(1) อนุรักษ และสืบทอดศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และความหลากหลายทางวัฒนธรรม

(2) สงเสริมการดําเนินงานดานศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมบนพ้ืนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ยุทธศาสตรที่ 3 ธํารง รักษา สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยใหคงอยูคูสังคมไทย เปาหมาย

สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมทางจิตใจของปวงชนชาวไทย ประกอบดวย 1 กลยุทธ ดังน้ี

(1) อนุรักษ สืบทอดพระราชพิธี และงานสําคัญของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย

ยุทธศาสตรที่ 4 สรางสังคมคุณธรรมในกระแสโลกาภิวัตน เปาหมาย

(1) คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่พึงประสงค (2) คนไทยสามารถปรับสมดุลในการดํารงชีวิตโดยไมตกอยูในกระแสการ

บริโภคจนเกินไป (3) เชื่อมรอยความแตกตางและหลากหลายของคนในสังคมใหมีจิตสํานึกของ

ความเปนคนไทยบนพ้ืนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม (4) สรางภูมิคุมกันทางสังคมและสังคมสมานฉันทดวยกระบวนการทาง

วัฒนธรรม ประกอบดวย 4 กลยุทธ ดังน้ี

(1) สรางฐานครอบครัว (2) สรางพลังชุมชน (3) สรางฐานสถาบันการศึกษา (4) สรางศรัทธาในศาสนา

ยุทธศาสตรที่ 5 สรางภาคีขับเคล่ือนการดําเนินงานทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม เปาหมาย

ทุกภาคสวนผสานพลังในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมอยางมีทิศทางและเปนองครวมในการสรางสังคมสันติสุข ประกอบดวย 1 กลยุทธ ดังน้ี

(1) สรางมิตรภาคี ยุทธศาสตรที่ 6 นําทุนทางวัฒนธรรมสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ และคุณคาทางสังคม

เปาหมาย ทุนทางวัฒนธรรมมีบทบาทสําคัญในการสรางเพ่ิมมูลคาทางเศรษฐกิจ และคุณคา

ทางสังคมดวยพลังของความรวมมือจากทุกภาคสวน ประกอบดวย 2 กลยุทธ ดังน้ี (1) สงเสริม และพัฒนาศักยภาพแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม (2) พัฒนาระบบบริหารจัดการทุนทางวัฒนธรรมของภาคีเครือขาย

Page 24: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 2 - 19

2.9 ยุทธศาสตรโดยรวมของกรมศิลปากร ยุทธศาสตรตามแผนปฏิบัตริาชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552-2555 กรมศิลปากร ไดกําหนด

วิสัยทศัน พันธกิจ และประเดน็ยุทธศาสตรในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรไวดังน้ี

2.9.1 วิสัยทศันกรมศิลปากร เปนสถาบันหลักในการสรางทุนทางปญญาแกคนไทยในดานการอนุรักษและสรางสรรคศิลปวัฒนธรรม

ของชาติ

2.9.2 พันธกิจกรมศลิปากร พันธกิจ 5 ประการของ กระทรวงวัฒนธรรมไดแก

(1) ธํารงรักษาคุณคาและเอกลักษณมรดกทางวฒันธรรม (2) สืบทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมใหคงอยูสืบไป (3) สรางคุณคาเพ่ิมจากมรดกทางศิลปวัฒนธรรม (4) สรางคุณภาพมาตรฐานการบรหิารจดัการศิลปวัฒนธรรม (5) กระตุนจิตสํานึก และสรางคานิยมในคุณคามรดกทางศลิปวัฒนธรรม

2.9.3 เปาประสงคกรมศิลปากร

(1) ประชาชนมีความรู ความเขาใจ ในการสืบทอดมรดกทางศลิปวัฒนธรรมของชาต ิ (2) ประชาชนสามารถรักษามรดกศลิปวัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณของชาติและทองถิ่น (3) ประชาชนมีโอกาสเขาถึงขอมูลองคความรูและสามารถนําภูมิปญญาไปตอยอด ใหเกิดคุณคาและ

มูลคาทางเศรษฐกิจ 2.9.4 ยุทธศาสตรหลักของกรมศลิปากร

กรมศิลปากรไดกําหนดยทุธศาสตร ไว 5 ประการ ดังน้ี ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาระบบการรวบรวมศึกษา คนควา วจิัย และจดัเก็บองคความรูใน

มรดกทางศลิปวัฒนธรรม ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานในการธํารงรักษาจารตีประเพณีการอนุรักษ

บํารุงรักษา มรดกทางศิลปวัฒนธรรม ยุทธศาสตรที่ 3 สรางสรรค ตอยอด เพ่ิมคุณคามรดกศิลปวัฒนธรรมไทย ยุทธศาสตรที่ 4 ถายทอด เผยแพรองคความรูสูประชาชน ยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาศักยภาพบุคลากร และระบบการบริหารจัดการ ศลิปวัฒนธรรมของ

ชาต ิ2.10 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสารของกรมศิลปากร

2.10.1 วิสัยทศันดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เปนหนวยงานหลักในการสนับสนุนการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ICT) สนับสนุน

ฐานความรู ภูมิปญญา การบริการดานมรดกศิลปวัฒนธรรมโดยสมบูรณแบบ

2.10.2 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสาร (1) ยุทธศาสตรการพัฒนาฐานขอมลูองคความรู และการจัดการองคความรู (2) ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบบรหิารจดัการ และการบริการ (3) ยุทธศาสตรการพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับการพัฒนาเทคโนโลยสีารสนเทศและตามหลัก

สมรรถนะของสาํนักงาน ก.พ. (4) ยุทธศาสตรการพัฒนาวัสดุอุปกรณและเครือขาย

2.10.3 เปาประสงค

(1) องคความรูทางมรดกศิลปวัฒนธรรมไดรับการอนุรักษเก็บรักษาดวยระบบเทคโนโลยสีารสนเทศสมัยใหม

(2) องคความรูทางมรดกศิลปวัฒนธรรมเกิดประโยชนตอการบริหารจดัการ (3) บุคลากรไดรับการพัฒนาใหสอดคลอง การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือขายเพ่ือ

สนับสนุนการจดัเก็บ การบริหารจดัการ และการใหบริการองคความรูมรดกทางศลิปวัฒนธรรม (4) วัสดุอุปกรณไดรับการบํารุงรักษา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงใหสอดคลองเพียงพอกับความตองการ

การจัดเก็บ บรหิารจดัการ และการใหบริการ

Page 25: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 3-1

บทที่ 3 รายงานการศกึษาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของกรมศิลปากร

3.1 วิเคราะหสถานภาพปจจุบันดานเทคโนโลยีสารสนเทศกรมศิลปากร

3.1.1 ปจจัยดานอปุกรณฮารดแวร และโครงขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

ตารางที่ 3-1 สรุปจํานวนเครือ่งคอมพิวเตอรสวนกลาง

ลําดับ ชื่อหนวยงาน

จํานวน

Server PC Notebook

ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได1. กรมศิลปากร 6 0 672 0 0 0

ขอมูล ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2552 ตารางที่ 3-2 สรุปจํานวนเครือ่งคอมพิวเตอรสวนภมูิภาค

ลําดับ ชื่อหนวยงาน

จํานวน

Server PC Notebook

ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได

กรมศิลปากรสวนภูมิภาค 0 0 72 0 0 0

1. สํานักศิลปากรท่ี 1 ราชบุรี 0 0 5 0 0 0

2. สํานักศิลปากรท่ี 2 สุพรรณบุรี 0 0 6 0 0 0

3. สํานักศิลปากรท่ี 3 พระนครศรีอยุธยา 0 0 7 0 0 0

4. สํานักศิลปากรท่ี 4 ลพบุรี 0 0 7 0 0 0

5. สํานักศิลปากรท่ี 5 ปราจีนบุรี 0 0 9 0 0 0

6. สํานักศิลปากรท่ี 6 สุโขทัย 0 0 4 0 0 0

7. สํานักศิลปากรท่ี 7 นาน 0 0 3 0 0 0

8. สํานักศิลปากรท่ี 8 เชียงใหม 0 0 4 0 0 0

9. สํานักศิลปากรท่ี 9 ขอนแกน 0 0 4 0 0 0

10. สํานักศิลปากรท่ี 10 รอยเอ็ด 0 0 3 0 0 0

11. สํานักศิลปากรท่ี 11 อุบลราชธานี 0 0 4 0 0 0

12. สํานักศิลปากรท่ี 12 นครราชสีมา 0 0 4 0 0 0

13. สํานักศิลปากรท่ี 13 สงขลา 0 0 4 0 0 0

14. สํานักศิลปากรท่ี 14 นครศรีธรรมราช 0 0 4 0 0 0

15. สํานักศิลปากรท่ี 15 ภูเก็ต 0 0 4 0 0 0

ขอมูล ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2552

ตารางที่ 3-3 สรุปจํานวนอุปกรณสวนกลาง

ลําดับ ชื่อหนวยงาน

จํานวน

Printer เครื่องโทรสาร Scanner

ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได1. กรมศิลปากร 289 0 0 0 159 0

ขอมูล ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2552

Page 26: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 3-2

ตารางที่ 3-4 สรุปจํานวนอุปกรณสวนภูมิภาค

ลําดับ ชื่อหนวยงาน

จํานวน

Printer FAX Scanner

ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได ใชได ใชไมได

กรมศิลปากรสวนภูมิภาค 27 0 0 0 18 0

1. สํานักศิลปากรท่ี 1 ราชบุรี 1 0 0 0 1 0

2. สํานักศิลปากรท่ี 2 สุพรรณบุรี 2 0 0 0 1 0

3. สํานักศิลปากรท่ี 3 พระนครศรีอยุธยา 2 0 0 0 1 0

4. สํานักศิลปากรท่ี 4 ลพบุรี 1 0 0 0 1 0

5. สํานักศิลปากรท่ี 5 ปราจีนบุรี 2 0 0 0 3 0

6. สํานักศิลปากรท่ี 6 สุโขทัย 1 0 0 0 2 0

7. สํานักศิลปากรท่ี 7 นาน 1 0 0 0 1 0

8. สํานักศิลปากรท่ี 8 เชียงใหม 2 0 0 0 1 0

9. สํานักศิลปากรท่ี 9 ขอนแกน 2 0 0 0 1 0

10. สํานักศิลปากรท่ี 10 รอยเอ็ด 1 0 0 0 1 0

11. สํานักศิลปากรท่ี 11 อุบลราชธานี 2 0 0 0 1 0

12. สํานักศิลปากรท่ี 12 นครราชสีมา 2 0 0 0 1 0

13. สํานักศิลปากรท่ี 13 สงขลา 2 0 0 0 1 0

14. สํานักศิลปากรท่ี 14 นครศรีธรรมราช 3 0 0 0 1 0

15. สํานักศิลปากรท่ี 15 ภูเก็ต 3 0 0 0 1 0

ขอมูล ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2552

3.1.2 ปจจัยดานบคุลากร

ตารางที่ 3-5 สรุปจํานวนเจาหนาที่

ลําดับ ชื่อหนวยงาน

ขาราชการ

(คน

)

พนักงาน

ราชการ

(คน

)

ลูกจาง

(คน

)

ลูกจาง

ชั่วคราว

(คน

)

ลูกจาง

ประจํา

(คน

)

อื่นๆ

(คน

) รวม

1. กรมศิลปากร(สวนกลาง) 939 155 0 0 254 0 1,348 2. สํานักศิลปากร 15 พ้ืนท่ี 441 190 0 0 307 0 939

ขอมูล ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2552 ตารางที่ 3-6 สรุปอัตราสวนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลตอเจาหนาที่

ลําดับ หนวยงาน จํานวนเครื่อง PC จํานวนคน อัตราสวน

(เครือ่ง/คน)

1. กรมศิลปากร(สวนกลาง) 672 1,348 0.50 : 1

2. สํานักศลิปากรพื้นที่ 1-15 72 939 0.08 : 1 ขอมูล ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2552

Page 27: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 3-3

3.1.3 ปจจัยดานซอฟตแวร ตารางที่ 3-7 สรุปซอฟตแวรที่ใชในหนวยงาน

ลําดับ หนวยงาน ระบบงานตามภารกิจหลักของสํานักงาน

ซอฟตแวรที่ใชสนับสนุนงานเลขา การส่ือสาร และงานสํานักงานทัว่ไป

ระบบ Back Office กลางภาครัฐ

1 กรมศิลปากร (สวนกลาง) 1. ระบบทะเบียนบราณสถาน 2. ระบบทะเบียนโบราณวัตถ ุ3. ระบบภมูิสารสนเทศดานโบราณสถาน : GIS

4. เว็บไซตกรมศิลปากร

1. ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

2. ระบบอีเมลสํานักงาน

1. ระบบรายงานทางบัญชีงบประมาณ(GFMIS)

2. ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม(DPIS)

2 สํานักศลิปากรพื้นที่ 1-15 1. เว็บไซตของสํานักฯ 1. ระบบสารบรรณ

อิเล็กทรอนิกส 1. ระบบรายงาน

ทางบัญชีงบประมาณ(GFMIS)

ขอมูล ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2552

3.1.4 ปจจัยดาน งบประมาณ และ การบรหิารจัดการ ตารางที่ 3-8 สรุปรายการและระยะเวลาของการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรม

ศิลปากร หนวยงานราชการ/ หนวยงานรฐัวสิาหกิจ

แผนแมบท ICT (มี/ไมมี)

ระยะเวลาของแผนแมบท ICT ฉบับลาสุด

หมายเหตุ

กระทรวงวฒันธรรม มี พ.ศ. 2547-2549 แผนแมบทเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2547-2549

อยูระหวางจัดทํา

พ.ศ. 2552-2556 ปรับระยะเวลาตามแผน ICT ของประเทศไทย ฉบับที่ 2

กรมศิลปากร (ศก.) อยูระหวางจัดทํา

พ.ศ. 2552-2556

3.2 วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและปจจัยหรอือทิธิพลจากภายนอกที่มีผลกระทบตอดานเทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่ือสารกรมศิลปากร 3.2.1 ปจจัยภายในอื่นๆ ที่มีผลกระทบตอเทคโนโลยีสารสนเทศกรมศิลปากร สามารถสรุปไดดังตารางที่

3-9

Page 28: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 3-4

ตารางที่ 3-9 สรุปการวิเคราะหปจจยัภายในและปจจัยภายนอกเพื่อเปนแนวทางการกําหนดยทุธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารของกรมศิลปากร

บทวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน

S จุดแข็ง/ขอไดเปรียบ (Strengths) 1. มีโครงสรางการบริหารและภารกิจหนาที่ชัดเจน 2. มีแผนยุทธศาสตรและตัวชี้วัดที่มุงเนนทางดาน ICT 3. มีการพัฒนาโครงสรางของกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร 4. มีหนวยงานดาน IT เพื่อสนับสนุนการทํางาน 5. บุคลากรในหนวยงานมีความรูความสามารถดาน IT เฉพาะดาน

ตามลักษณะงาน 6. หนวยงานมีความพยายามและมีทัศนคติที่ดีตอระบบ ICT และมี

การสนับสนุน 7. มีคณะกรรมการ CIO ระดับกรม 8. องคความรูสารสนเทศ ทรัพยากร มรดกทางวัฒนธรรมของ

กรมศิลปากรมีมากมาย และหลากหลายที่สามารถนําไปใชเปนทุนทางวัฒนธรรมและเปนพื้นฐานทางวัฒนธรรมในการพัฒนาประเทศ

W จุดออน/ปญหา (Weaknesses) 1. ระบบในปจจุบันใชงานไมได

• การออกแบบไมรองรับการทํางานในปจจุบัน • ขาดการนําเขาขอมูลพื้นฐานอยางตอเนื่อง

2. อุปกรณดาน IT มีประสิทธิภาพต่ํา และไมสามารถพัฒนาประสิทธิภาพของวัสดุอุปกรณและเครือขายใหสอดคลองกับความกาวหนาในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. ระบบงานเพื่อรองรับภารกิจของแตละหนวยงานในกรมมี ความซ้ําซอน

4. ขาดการประชุมหารือเพื่อสรางเจาภาพในการเปนเจาของขอมูลที่ใชงานรวมกัน

5. บุคลากรสวนหนึ่งไมมีความรูความเขาใจในเรื่องขอมูลสารสนเทศ และไมสามารถปรับตนเองไดทัน

6. ขาดแคลนทรัพยากรในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ(เงิน คน วัสดุอุปกรณ)

7. ขาดการบูรณาการระหวางหนวยงานของกรมในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

O โอกาส (Opportunities) 1. การเชื่อมตออินเตอรเน็ตมีราคาถูกลง ในขณะที่มีความเร็วที่สูงขึ้น 2. เทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบันพัฒนาและแพรหลายอยางรวดเร็ว

และสังคมโลกยอมรับและเขาถึง 3. รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. มีความรวมมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศกับหนวยงานอื่น 5. การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชงาน สามารถเผยแพรขอมูล

ขาวสารแกประชาชนไดมากขึ้นและรวดเร็วยิ่งขึ้น 6. เทคโนโลยีสารสนเทศชวยใหเกิดการแบงปนและใชขอมูลรวมกันได

งายและรวดเร็วขึ้น และคนหาขอมูลทั้งในและตางประเทศไดสะดวกขึ้น

T ภัยคุกคาม และ อุปสรรคสําคัญ (Threats) 1. ไดงบประมาณในการจัดซื้อจัดจางในการพัฒนาดาน IT ไม

เพียงพอ 2. เครือขายของกระทรวงไมมีความเสถียร 3. ระบบการรักษาความปลอดภัยของขอมูลมีประสิทธิภาพต่ํา 4. มีการจัดเก็บขอมูลประเภทเดียวกันซ้ําซอนระหวางหนวยงาน

ภายในกระทรวง 5. ความลาชาในการกําหนดมาตรฐานและแผนแมบท

ดานเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับประเทศ 6. การจัดสรรทรัพยากรทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศไมสอดคลอง

กับความตองการ 7. มีความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงตอความปลอดภัย ลิขสิทธิ์

และการคุมครองขอมูลสารสนเทศมรดกทางศิลปวัฒนธรรม 8. การถายเททางวัฒนธรรมผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมี

ผลกระทบตอเอกลักษณทางวัฒนธรรม และมรดกทางศิลปวัฒนธรรม

บทวิเคราะห

สภาพแวดลอมภายนอก

Page 29: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -1

บทที่ 4 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสารของกระทรวงวฒันธรรม

4.1 วิสัยทศันดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของกระทรวงวฒันธรรม จากวิสัยทัศนของกระทรวงวัฒนธรรมที่ไดกําหนดกรอบแนวทางการดําเนินการขององคกรไว

แลวน้ัน กระทรวงจึงไดกําหนดทิศทางการพัฒนาและวิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไวดังตอไปน้ี

“กระทรวงวฒันธรรมเปนผูนําองคความรูดานศาสนา ศลิปะ และวัฒนธรรมของชาติ

ดวยเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร”

4.2 พันธกจิดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของกระทรวงวัฒนธรรม

จากการศึกษาแนวนโยบายตางๆ ตลอดจนแผนปฏิบัติราชการ และแผนยุทธศาสตรระดับตางๆ รวมถึงแผนยุทธศาสตรเฉพาะดานวัฒนธรรมที่เก่ียวของ สามารถสรุปเปนพันธกิจเฉพาะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม รวมทั้งสิ้น 4 พันธกิจ ดังน้ี

พันธกิจที่ 1 พัฒนากําลังคนเพ่ือสรรสรางการใหบริการระบบสารสนเทศที่เปนองคความรู ดานศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรมของชาติ และความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่นใหคงอยูอยางม่ันคง โดยพัฒนาโครงสรางระบบสารสนเทศของศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรมใหเปนหนาตางเชื่อมไปยังขอมูลสําคัญทางวัฒนธรรม

พันธกจิที่ 2 พัฒนาระบบฐานขอมูลหลักทีส่นับสนุนงานตามภารกิจรายกรม/สํานักงาน (Departmental Core Function) เพ่ือสนับสนุนการอนุรักษ รักษา สืบทอด ปกปอง เชิดชูคณุคาวัฒนธรรมของชาติ ความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่น และจติวิญญาณของความเปนไทย โดยสงเสริมใหทุกภาคสวน สรางสรรค และ พัฒนาสังคมรวมกัน

พันธกิจที่ 3 พัฒนาระบบสวนโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ตามแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส

พันธกิจที่ 4 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนเครื่องมือหลักเพ่ือสนับสนุนงาน ดานการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในกระทรวงและทุกหนวยงานในสังกัด

4.3 เปาหมายโดยรวมในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของกระทรวงวฒันธรรม

ภายใตวิสัยทัศนและพันธกิจดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงฯ กระทรวงวัฒนธรรมมีเปาหมายโดยรวมในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรมเพ่ือใหเกิดการใชทรัพยากร ICT ในระดับประเทศรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ําซอนในการลงทุนพัฒนาระบบตามแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศภาครัฐไปสูการเปนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสซึ่งตองอาศัยองคประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ (1) โครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศ (2) การเชื่อมตอโครงขายสารสนเทศของหนวยงานตางๆ และ (3) พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานใหเขมแข็งทั้งภายในและนอกองคกร เพ่ือใหสามารถพัฒนาบริการใหมๆ โดยอาศัยเครือขายที่เชื่อมโยงระหวางภาครัฐและเอกชน ดังน้ี

• ใหมีการพัฒนาระบบศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรมใหเปนระบบบริหารจัดการองคความรูหลักดานวัฒนธรรมของชาติตลอดจนขอมูลวัฒนธรรมชุมชน ใหสามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานภายในกระทรวง เปนลําดับชั้นพรอมทั้งรองรับการจัดเก็บ ปรับปรุง คนหา และประมวลผลขอมูลเพ่ือสนับสนุนการใหบริการสารสนเทศดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมไดในหลายมิติ

• ใหมีการกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลดานวัฒนธรรมเพ่ือสนับสนุนการเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานภายในกระทรวง และนํา“มาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลดานวัฒนธรรม” ประกาศไวใน ระบบศูนยขอมูลกลางของกระทรวง

• ใหมีการพัฒนากระบวนการและมาตรฐานการดําเนินการดานสารสนเทศ (Workflow& Transaction-process-flow & Standard Operation Procedure :SOPs) เชน ข้ันตอนในการนําเขา จัดเก็บ บํารุงรักษา ประมวลผล และการบริหารจัดการฐานขอมูลสําคัญดานวัฒนธรรมของชาติภายในหนวยงานตั้งแตระดับกอง ไปจนถึงระดับกรม/สํานักงานตามภารกิจและความจําเปนของหนวยงานเพื่อใหเกิดกระบวนการบริหารจัดการสารสนเทศที่ดี เปนระบบตอเน่ือง และยั่งยืน

• ใหมีการใหบริการเผยแพรสารสนเทศดานวัฒนธรรมของชาติที่เปนเอกภาพ โดยจัดใหมีกลไกในการจัดกลุมขอมูลทางวัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย สังคมวัฒนธรรม การศึกษา และวิชาการดานวัฒนธรรมระดับทองถิ่นและระดับชาติของประเทศ ซึ่งจะใหประโยชนโดยรวมตอบสนองความตองการของผูมีสวนไดเสียทุกภาคสวน ไดแก ภาคธุรกิจ ชุมชน ภาคประชาชน และ หนวยราชการอ่ืน

Page 30: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -2

• ใหมีการใชงานระบบโครงสรางพ้ืนฐานดานสารสนเทศภาครฐั (IT Infrastructure department-level) ตามแนวทางรฐับาลอิเลก็ทรอนิกส โดยการพัฒนาและกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลดานวัฒนธรรมเพื่อสนับสนุนการเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงาภายนอกกระทรวง และนํา“มาตรฐานการแลกเปลีย่นขอมูลดานวัฒนธรรม” ประกาศไวในระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกระทรวงตามแนวทาง TH e-GIF1 (Thailand e-Government Interoperability Framework)

• ใหมีการใชประโยชนจากโครงสรางพ้ืนฐานดานการสื่อสารของประเทศตามแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (CT Infrastructure) ไดอยางเต็มประสิทธิภาพทั่วถึงทั้งองคกร โดย การพัฒนาระบบและสวนเชื่อมตอระบบรวมทั้งอุปกรณเครือขายที่จําเปนเพ่ือใหสามารถรวมใชเครือขายสื่อสารขอมูลเชื่อมโยงหนวยงานภาครัฐ (GIN) ที่จัดสรรโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ2

• ใหมีการพัฒนาบริการทางอิเล็กทรอนิกสของแตละกรมโดยอาศัยเครือขายที่เชื่อมโยงระหวางภาครัฐและเอกชน โดยพัฒนาจากบริการระดับ Information ไปสูระดับ Intelligence ตามเปาหมายของการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส 5 ระดับ3

• ใหมีการใชประโยชนจากโครงสรางพ้ืนฐานดานระบบขอมูลภูมิสารสนเทศ(Geographic Information System: GIS) ตามแนวทางการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) ของชาติ โดยการขอใชแผนที่ฐาน (Base map) รวมกับหนวยงานภาครัฐที่มีการลงทุนไปแลวเพ่ือนําไปตอยอดพัฒนาแผนที่ทางวัฒนธรรมในระดับตางๆ (Cultural Map Layer) และเชื่อมโยงเพ่ือแบงปนขอมูลบนระบบขอมูลภูมิสารสนเทศของกรมในสังกัดกระทรวงที่ไดลงทุนดําเนินการไปแลว

• ใหมีการพัฒนาระบบฐานขอมูลหลักที่สนับสนุนงานตามภารกิจรายกรม/สํานักงาน (Departmental Core Function) เพ่ือสนับสนุนการอนุรักษ รักษา สืบทอด ปกปอง เชิดชูคุณคาวัฒนธรรมของชาติ ความหลากหลายของวัฒนธรรมทองถิ่น และจิตวิญญาณของความเปนไทย โดยสงเสริมใหทุกภาคสวน สรางสรรค และ พัฒนาสังคมรวมกันโดยการจัดสรรทรัพยากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่พอเพียงตอการพัฒนาขอมูลเชิงรายการของแตละกรม/สํานักงาน (Transaction Record) เพ่ือใชเปนแหลงสะสมขอมูลสําคัญดานวัฒนธรรมของชาติ

• ใหมีการพัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนงานบริหารจัดการภายในกระทรวงและทุกหนวยงานในสังกัด โดยสงเสริมการใชระบบ Back Office ที่มีอยูแลวใหเกิดการใชงานอยางเต็มประสทิธิภาพ และพัฒนาใหมสาํหรับระบบที่มคีวามจาํเปน

• ใหมีการพัฒนาบุคลากรของทุกหนวยงานราชการในสังกัดกระทรวงตั้งแตระดับผูบริหารถึงระดับปฏิบัติการใหมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ที่เก่ียวของกับงานดานสารสนเทศในดานตางๆ ถวนทั่วพอเพียงที่จะรองรับการดําเนินการใชระบบที่เก่ียวของกับงานตามภารกิจของแตละบุคคล ไดแก ผูบริหาร (Executive) ผูปฏิบัติการหรือเจาหนาที่ผูใชระบบ (Operational User) ผูบริหารโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Project manager) ผูพัฒนาระบบ (Deleveloper) ผูดูแลบํารุงรักษาระบบ (Database Operational & Database Operational Office)

• ใหมีการพัฒนาประสิทธิภาพและศักยภาพในการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศของศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศของทุกกรม/สํานักงาน โดยจัดโครงสรางบริหารจัดการภายในใหครอบคลุมงานพ้ืนฐานของการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนากลไกการบริหารจัดการผูพัฒนาจากภายนอก (Outsourcer) อยางมีประสิทธิภาพ

สําหรับ เปาหมายไอซีทีโดยรวมหากวิเคราะหจากวิสัยทัศนของกระทรวงวัฒนธรรม ในการที่จะ

“เปนองคกรในการบูรณาการศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม สูประชาชน เพ่ือความภาคภูมิใจในความเปนไทย และมีวิถีชีวิตที่ดีงาม บนพ้ืนฐานวัฒนธรรมนําสูสังคมสันติสุขอยางยั่งยืน” เม่ือวิเคราะหลงไปถึงประเด็นยุทธศาสตร 4 ขอในการดําเนินยุทธศาสตรของกระทรวงวัฒนธรรมน้ันหากสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการดําเนินการจะทําใหผลลัพธโดยรวมของการปฏิบัติการมีแนวโนมที่จะบรรลุประสิทธิผลอยางมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

1 TH e-GIF หมายถึง Thailand e-Government Interoperability Framework เปนระบบสนับสนุนการแลกเปล่ียนขอมูลระหวางระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกสของหนวยงานภาครัฐโดยใชมาตรฐานขอมูลสารบรรณอิเล็กทรอนิกสท่ีพัฒนาขึ้นตามแนวทาง TH e-GIF (Thailand e-Government Interoperability Framework) 2 GIN หมายถึง Government Information Network เปนเครือขายสื่อสารขอมูลเช่ือมโยงหนวยงานภาครัฐใหบริการครอบคลุมหนวยงานระดับ กรมจํานวน 274 หนวยงาน ไดตั้งแตป พ.ศ. 2549

3 เปาหมายของการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส 5 ระดับ ไดแก ระดับท่ี 1 Information ระดับท่ี 2 Interaction ระดับท่ี 3 Interchange Transaction ระดับท่ี 4 Integration และ ระดับท่ี 5 Intelligence ท้ังน้ีจากการประเมินในดานการใหบริการอิเล็กทรอนิกสของภาครัฐ พบวาบริการภาครัฐสวนใหญเปนบริการในลักษณะใหขอมูล สามารถสืบคนขอมูล และมีเว็บบอรดเพ่ือปฏิสัมพันธกับประชาชน (เปน บริการระดับ Information และ Interaction) มีเพียง 7 หนวยงานเทาน้ันท่ีเปนบริการระดับ Integration ทําใหสามารถใหบริการแบบหนาตางเดียว (single window) ได (ท่ีมา:แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับท่ี 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556)

Page 31: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -3

4.3.1 วัตถุประสงคของการจัดทาํยุทธศาสตรไอซทีีของกระทรวงวัฒนธรรมโดยรวม (1) เพ่ือเชื่อมโยงขอมูลภายในกระทรวง โดยการพัฒนากลไกในการบริหารจัดการเพื่อการจัดเก็บ

บํารุงรักษา และบริหารฐานขอมูลสําคัญของกระทรวงวัฒนธรรมอยางมีระบบ (Systematic) เพ่ือใชเปนแหลงขอมูลอางอิงดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของประเทศโดยพัฒนา ดานอุปกรณคอมพิวเตอร ซอฟตแวร ระบบงาน การสื่อสารขอมูล การรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (1.1) เพ่ือกําหนดนโยบายดานการบริหารจัดการขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

(Data Policy & Information System Policy) (1.2) เพ่ือดําเนินการบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงานในสังกัดเพ่ือลดภาระดานขอมูล และ

ความซ้ําซอนของขอมูล ตลอดจนลดการลงทุนพัฒนาระบบ (1.3) เพ่ือการศึกษากําหนดและประกาศมาตรฐานกลุมขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และ

วัฒนธรรมและวิธีการในการจัดเก็บขอมูลตามมาตรฐานของแหลงขอมูล (จากหนวยงานภาครัฐอ่ืน)เพ่ือรองรับการเชื่อมโยงขอมูลระหวางระบบคอมพิวเตอรได

(1.4) เพ่ือเลือกและกําหนดมาตรฐานกลุมขอมูล (กรณีที่ยังไมมีองคกรใดกําหนด)เพ่ือสนับสนุนใหมีการเผยแพรใหความรูดานมาตรฐานกลุมขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมใหกับเจาหนาที่ทุกระดับโดยอางอิงรหัสสากล (ถามี) และเผยแพรวิธีการจัดเก็บขอมูลตลอดจนเผยแพรรูปแบบขอมูลที่สามารถนําไปจัดทําระบบการเชื่อมโยงขอมูลได (Open Format)

(1.5) เพ่ือกําหนดแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถดานไอซีทีใหแกบุคลากรกระทรวงอยางเหมาะสมและเปนระบบ

(1.6) เพ่ือผลักดันใหมีการปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการสารสนเทศ ระเบียบ และคําสั่งตางๆ ใหสอดคลองกับการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชงาน เชิงรุก

(2) เพ่ือสนับสนุนใหบุคลากรของกระทรวงวัฒนธรรม สามารถใชไอซีทีเปนเครื่องมือสนับสนุนการวิเคราะหขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม (2.1) การสนับสนุนใหมีการใชโปรแกรม/ซอฟตแวรที่เปนเครื่องมือในการวิเคราะหขอมูล (2.2) พัฒนาขีดความสามารถดานไอซีทีใหแกผูเชี่ยวชาญในการใชรายงานสารสนเทศแบบ

ดิจิตอลเพ่ือการวิเคราะหขอมูลอยางรวดเร็ว (3) เพ่ือเตรียมทรัพยากรสําหรับการปรับปรุงระบบขอมูลเดิมเพ่ือเตรียมพรอมในการบูรณาการ

ขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐอ่ืนเพ่ือใหสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส และ เพ่ือสนับสนุนการดําเนินยุทธศาสตรกระทรวงวัฒนธรรม โดยครอบคลุมเรื่องตางๆ ดังน้ี (3.1) การวางแผนในการพัฒนาหรือจัดหาระบบข้ึนใหม (Develop) ปรับเปลี่ยน (Redesign)

ทดแทน (Replace) ถายเทขอมูล (Data Transfer / Data Conversion) สําหรับระบบสารสนเทศและการส่ือสารที่มีอยูแลว และที่ตองการบํารุงรักษาใหคงไว ตลอดจนการเตรียมการเพ่ือรองรับการดําเนินงานตามภารกิจตางๆ ของกระทรวง

(3.2) การพัฒนาระบบตอเน่ืองจากการดําเนินการตามแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงวัฒนธรรม ในสวนที่กระทรวงวัฒนธรรมไดรับมอบหมายใหดําเนินการ เชน การออกแบบระบบรองรับการเชื่อมโยงขอมูลตามชุดขอมูลพ้ืนฐานของกระทรวง และการใหขอมูลความตองการบริการระบบเครือขายที่ เปนสาธารณูปโภคดานเทคโนโลยีสื่อสารกลาง

(3.3) การพัฒนาแนวทางการเชื่อมโยงขอมูลในระดับตางๆ เพ่ือใหสามารถสนับสนุนบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งเปนหน่ึงในหนวยงานที่ชี้นําขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

(3.4) การพัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูลกับหนวยงานภาครัฐอ่ืนเพ่ือตอบสนองยุทธศาสตรกระทรวงฯ

4.4 ยุทธศาสตรโดยรวมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของกระทรวงวัฒนธรรม

ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีของกระทรวงวัฒนธรรมโดยภาพรวมนี้จะกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร ระบบการสื่อสาร โครงสรางพ้ืนฐานดานสารสนเทศตลอดจนเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนตอการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายในกระทรวง โดยมุงหวังที่จะใชไอซีทีเปนเครื่องมือหลักในการพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามพันธกิจทั้ง 4 ประการ ดังกลาวขางตน กระทรวงฯ จึงไดกําหนดแนวทางของยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยรวมเปน 3 กลุม ไดแก

กลุมยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรไอซีทีเพ่ือตอบสนองงานดานนโยบายและยุทธศาสตรของ

กระทรวงฯ (Agenda & Strategic-based)

Page 32: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -4

กลุมยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรไอซีทีเพ่ือตอบสนองงานตามภารกิจหลัก (Routine operation & Functional-based)

กลุมยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรไอซีทีเพ่ือตอบสนองงานบริหารจัดการทั่วไปและงานอํานวยการ (Office Operation)

การจัดกลุมงานดานสารสนเทศแบงออกเปน 3 กลุมดังกลาวจะชวยใหหนวยงานตางๆ ในสังกัด

กระทรวงใชเปนกรอบแนวทางในการกําหนดแผนงานโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาระบบของภาครัฐโดยรวม

ทั้งน้ี ในแตละกลุมยุทธศาสตรจะมีองคประกอบสนับสนุน ที่เปนโครงสรางพ้ืนฐานของระบบคอมพิวเตอร (Computer System Infrastructure) เชน ซอฟตแวรระบบ (Operating system) ซอฟตแวรที่ใชพัฒนาระบบงาน (Developing Software) ระบบฐานขอมูล (Database System) ตลอดจนฮารดแวรและระบบเครือขาย (Hardware & Networking)

ในสวนของฮารดแวรและระบบเครือขาย (Hardware & Networking) ยังมีรายละเอียดของ เครื่องแมขาย(Server) ฮารดแวรและอุปกรณตอพวงเพ่ือการเชื่อมตอตางๆ ระบบไฟฟาและการสํารองไฟฟา ระบบสายสัญญาณตางๆ (Wiring) ระบบสัญญาณแบบไรสาย (Wireless/Wi-fi) ที่จําเปนตอระบบงานสารสนเทศใดๆ ขององคกรหน่ึงๆ สถานที่สําหรับการวางระบบคอมพิวเตอร เครื่องแมขาย และ การเชื่อมโยงของอุปกรณเครือขายตางๆ เชน การพัฒนาศูนยคอมพิวเตอรของหนวยงาน (Data Center) การพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยเครือขาย เปนตน ดังมีแนวทางยุทธศาสตรในแตละกลุมดังน้ี

รูปที่ 4-1 แผนภาพแสดงกลุมยุทธศาสตร ICTของกระทรวงวัฒนธรรม

กลุมยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรไอซีทีเพื่อตอบสนองงานดานนโยบายและยุทธศาสตร

ของกระทรวงฯ (Agenda & Strategic-based) กระทรวงจะพัฒนากลไกการบริการขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม โดยพัฒนาใหระบบศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรมเปนศูนยกลางของการรวบรวม และ เผยแพรขอมูลองคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมในระดับชาติ และระดับภูมิภาค เพ่ือใหรัฐบาล และผูมีสวนไดเสีย (Stakholders) สามารถนําไปใชไดอยางมีคุณภาพ จะสงเสริมและผลักดันใหมี การเชื่อมโยงระบบ/ขอมูลทุกระดับตามแนวนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสโดยประสานงานเพ่ือใหเกิดการใชงานระบบโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศภาครัฐ (ICT Infrastructure) และระบบกลางของภาครัฐ เพ่ือ ลดการลงทุนซ้ําซอน

กลุมยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรไอซีทีเพื่อตอบสนองงานตามภารกิจหลัก (Routine operation & Functional-based) กระทรวงวัฒนธรรมจะใชไอซีทีสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบฐานขอมูลหลักที่สนับสนุนงานตามภารกิจรายกรม/สํานักงาน (Departmental System - Core Functions)

Page 33: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -5

ใหมีระบบฐานขอมูลที่ยั่งยืน ตอเน่ือง มีการปรับปรุงขอมูลที่ทันสมัยเปนปจจุบันอยูเสมอเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของกระทรวงฯ เพ่ือใหเปนแกนหลักในการขับเคล่ือนกระทรวง และเปนรากฐานขอมูลสําคัญดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

กลุมยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรไอซีทีเพื่อตอบสนองงานบริหารจัดการทั่วไปและ งานอํานวยการ (Office Operation) กระทรวงวัฒนธรรมจะใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอยางเต็มที่ในทุกองคาพยพของกระทรวง โดยมีเปาหมายในการใหมีอัตราสวนขาราชการตอคอมพิวเตอรเปน 1:1 ขาราชการทุกระดับตองมีความสามารถในการใชอินเตอรเน็ต รูจักใชอีเมลและมีอีเมลทุกคน ระบบงานตางๆ ของกระทรวงจะตองสนับสนุนการทํางานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส เนนการใชอินเตอรเน็ตและเว็บเซอรวิสในทุกระบบงาน โดยจะปรับปรุงแกไขกระบวนการทํางานที่มีความยากและซับซอน ใหงายข้ึน และลดข้ันตอนลง

ใชไอซีทีเปนเครื่องมือหลักเพ่ือสนับสนุนงานดานการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในกระทรวงและทุกหนวยงานในสังกัด ตลอดจนใชไอซีทีสนับสนุนพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดย การพัฒนาระบบบริหารงานโครงการ ระบบติดตามงานโครงการโดยเนนปจจัยเชิงคุณภาพในการสรางกลไกดานการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางทั่วถึงและเพียงพอ มีการกําหนดนโยบายดานการบริหารจัดการดานสารสนเทศ โดยครอบคลุมการจัดสรรทรัพยากรดานไอซีทีของกระทรวงใหเพียงพอ ถูกตอง ครบถวน และทันเวลา

รูปที่ 4-2 แผนภาพแสดงกลุมยุทธศาสตรและยุทธศาสตร ICTของกระทรวงวัฒนธรรม

จากกลุมยุทธศาสตร 3 กลุมดังกลาว จําเปนตองมีแผนยุทธศาสตรในระดับบริหารที่จะเปนแนวทาง

ไปสูการปฏิบัติ ดังตอไปน้ี ยุทธศาสตรที่ 1 ผลักดันใหมีระบบศูนยขอมูลกระทรวงวัฒนธรรมเพื่อเปนศูนยขอมูลกลางองค

ความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติโดยกําหนดเปนหนวยบูรณาการและเผยแพรองคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติผานแผนที่องคความรูทางวัฒนธรรม 3 กลุม 3 มิติเวลา (3X3 Cultural Knowledge Map)

Page 34: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -6

ยุทธศาสตรที่ 2 สราง สะสม และ จัดใหมีทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดทําขอมูลในรูปแบบ National Digital Archives สําหรับสนับสนุนงานหอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลปใหอยูในระดับที่สามารถจัดเก็บคนหาและใหบริการขอมูลไดตามมาตรฐานสากล

ยุทธศาสตรที่ 3 สรางกลไกในการพัฒนาระบบจัดเก็บทะเบียนขอมูลสําคัญดานศิลปวัฒนธรรม และขอมูลเชิงลึกทางวิชาการดานศิลปวัฒนธรรมอยางเหมาะสม พอเพียงตอเน่ือง และเปนระบบ

ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการกิจกรรมการพัฒนาสือ่และเนื้อหาดานวัฒนธรรม (Cultural Digital Content) ทุกระดับตั้งแตระดับทองถิ่นถึงระดบัชาติเพ่ือสนับสนุนการอนรุักษ รักษา สืบทอด ปกปอง เชิดชูคณุคาวัฒนธรรมของชาติและความหลากหลาของวัฒนธรรม ตลอดจนใหบริการประชาชน

ยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาเครือขายประชาคมออนไลน (Online Social Network) เพ่ือเฝาระวังภัยคุกคามทางวัฒนธรรมอยูในสังคมแบบออนไลน และดูแลความเหมาะสมของ สื่อ และเน้ือหาออนไลน

ยุทธศาสตรที่ 6 ใช ICT เปนเครื่องมือหลักในการพัฒนาสังคมแหงความคิดสรางสรรค (Creative Society) เ พ่ือนําประเทศสูการพัฒนาเศรษฐกิจแหงความคิดสรางสรรค (Creative Economy)

ยุทธศาสตรที่ 7 พัฒนากลไกและชองทางการใหบริการโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขีดความสามารถในการบริการประชาชนและสนับสนุนการทํางานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสทุกมิติ และใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางเต็มที่ ในทุกองคาพยพของกระทรวง

4.4.1 ยุทธศาสตรและแผนงานในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

กระทรวงวฒันธรรม ยุทธศาสตรที่ 1 ผลักดันใหมีระบบศูนยขอมูลกระทรวงวฒันธรรมเพือ่เปนศูนยขอมูลกลาง

องคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติโดยกาํหนดเปนหนวยบูรณาการและเผยแพรองคความรูดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติผานแผนที่องคความรูความรูทางวัฒนธรรม 3 กลุม4 3 มิติเวลา5 (ภาคผนวก ก)

เปาหมาย • เพ่ือมีขอมูลและรายงานสารสนเทศ ตอบสนองความตองการในระดับนโยบายและยุทธศาสตรไดทันตอสถานการณดานวัฒนธรรมของชาติ

• เพ่ือพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานการเชื่อมโยงระบบขอมูลใหมีมาตรฐานกลางในการอางอิงถึงกันไดครอบคลุมขอมูลองคความรูของขอมูลกรม/สํานักงานในสังกัดกระทรวง ตลอดจนขอมูลดานกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่ เ ก่ียวของเพ่ือรองรับการเชื่อมโยงระหวางระบบ(Interoparability) และการวางสถาปตยกรรมที่สามารถใหบริการขอมูลระหวางระบบ

• เพ่ือใหมีมาตรฐานขอมูล(Data standard) ตองมีการจัดหมวดหมูและระดับของหมวดหมูตามหลักการจัดกลุมขอมูลแบบสากล

• เพ่ือใหทุกหนวยงานมีสวนรวมในการกําหนดกลุมขอมูลเพ่ือนําไปจัดทําเปนมาตรฐาน การเชื่อมโยงของระบบขอมูล

• การกําหนดผูรับผิดชอบในการบํารุงรักษาชุดขอมูลสวนที่เปน Meta Data ของหนวยงานเจาของขอมูล เชน เปนผูจัดทํา ประกาศ ปรับปรุง และเผยแพรเม่ือมีการเปลี่ยนแปลง

• เพ่ือใหมีระบบสําหรับประกาศชุดขอมูลมาตรฐานเพื่อการเชื่อมโยงขอมูลดานวัฒนธรรม • เพ่ือใหเกิดกลไกการดําเนินงานที่สนับสนุนความเร็วในการบริการประชาชน เพ่ือใหรัฐบาล และ ผูมีสวนไดเสีย (Stakeholders) สามารถนําสารสนเทศดานวัฒนธรรมไปใชไดอยางมีคุณภาพ

• เ พ่ือส ง เสริมให เ กิดการใช งานระบบโครงสร าง พ้ืนฐานสารสนเทศภาครัฐ ( ICT Infrastructure) และระบบกลางของภาครัฐ และลดการลงทุนซ้ําซอนของหนวยงานในสังกัดกระทรวง

4 การจัดการองคความรูทางวัฒนธรรม 3 กลุม ไดแก (1) บุคคล (People-based Knowledge):การจัดเก็บองคความรูของบุคคล (2) สถานท่ี: (Location-based Knowledge) เชน จุดสนใจทางวัฒนธรรม แหลงความรู/ศูนยการเรียนรูและ (3) ขอมูล (Information-based Knowledge):การจัดเก็บองคความรู (Knowledge) ภูมิปญญา (Wisdom) เร่ืองราว (Story) 5 การจัดการองคความรูทางวัฒนธรรม 3 มิติเวลา (Time-based Knowledge) (1) ขอมูลรองรอยทางวัฒนธรรมท่ีหลงเหลือในปจจุบัน (Now) (2) ขอมูลวัฒนธรรมรวมสมัย/การผสมผสานทางวัฒนธรรม (Contemporary) (3) ขอมูลประวัติศาสตร/อดีต (Then)

Page 35: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -7

แผนงาน แผนงานที ่1 พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานดานขอมูลของกระทรวงวัฒนธรรม

(Data Infrastructure) แผนงานที่ 2 พัฒนาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศภายในกระทรวง Interoperatibility แผนงานที่ 3 พัฒนาระบบศูนยกลางเพ่ือใหบริการและบริหารจัดการในการเช่ือมโยงขอมูล

ภายในกรม/สํานักงานที่สามารถเชื่อมโยง จัดเก็บ ปรับปรุง คนหา และประมวลผลขอมูลสําคัญที่กําหนดไวในไดเร็กทอรี่กลุมขอมูลเฉพาะเรื่องของแตละกรม/กอง

แผนงานที่ 4 การพัฒนาระบบจัดการองคความรูทางวัฒนธรรมเพื่อใหเปนระบบสนับสนุนการบริหารจัดการองคความรูหลักดานวัฒนธรรมของทุกหนวยงานภายในกระทรวงแบบหลายมิติ

แผนงานที่ 5 การเชื่อมโยงขอมูลจากหนวยราชการอ่ืนมายังศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรมเพ่ือใหเปนศูนยกลางองคความรูหลักดานวัฒนธรรมของชาติที่มีขอมูลที่เชื่อถือไดสามารถใชในการอางอิงทางวิชาการที่ถูกตอง

ยุทธศาสตรที่ 2 สราง สะสม และ จัดใหมทีรพัยากรเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดทํา

ขอมูลในรปูแบบ National Digital Archives สําหรับสนับสนุนงานหอสมดุ พพิิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลปใหอยูในระดบัที่สามารถจัดเกบ็คนหาและใหบรกิารขอมูลไดตามมาตรฐานสากล

เปาหมาย • เพ่ือใหมีระบบจดัเก็บ สืบคน และระบบสํารองขอมูลลงสื่อดจิติอล(Media backup in

Digital-form) สําหรับเอกสารขอมูลสําคญัทางประวัติศาสตรของชาติ ที่บันทึกไว ณ หอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศลิป

• ใหมีเปนระบบสืบคนที่สามารถอางอิงกับหมวดหมูมาตรฐานตามหลักการจัดกลุมขอมูลแบบสากลของหอสมุด พิพิธภณัฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลป

• เพ่ือใหมีระบบบริการ ณ จุดบริการของ หอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลป ทั่วประเทศที่สามารถตอบสนองความตองการดานขอมูลแก นักวิชาการ นักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย และประชาชนทั่วไปได

• เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบจดหมายเหตุอิเล็กทรอนิกส (eArchieves) หองสมุดอิเล็กทรอนิกส (eLibrary) และพิพิธภัณฑอิเล็กทรอนิกส (eMuseum) เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาระบบขอมูลของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสที่ยั่งยืน

แผนงาน แผนงานที่ 1 สแกน และบันทึกเอกสารหายาก เอกสารเกา และสงเสริมใหมีการใชงาน แผนงานที่ 2 พัฒนาระบบสารสนเทศของหอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลป

ใหเชื่อมโยงขอมูลกันทั้งหมดผานระบบสืบคนสื่อกลางระดับชาติ (National Media Center)

แผนงานที่ 3 ศึกษารูปแบบและความเปนไปไดในการพัฒนาระบบสืบคนขอมูลในระดับ National Digital Archives ตามหลักสากลภายใตการพัฒนาระบบขอมูลของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส

ยุทธศาสตรที่ 3 สรางกลไกในการพัฒนาระบบจัดเกบ็ทะเบียนขอมูลสําคัญดาน

ศิลปวัฒนธรรม และขอมูลเชิงลึกทางวิชาการดานศิลปวัฒนธรรมอยางเหมาะสม พอเพียงตอเน่ือง และเปนระบบ

เปาหมาย • เพ่ือผลักดันใหมีทรัพยากรสารสนเทศที่เพียงพอตอการจัดเก็บ ประมวลผล และใหบริการขอมูลตอผูสนใจทั่วไป

• เพ่ือพัฒนาตอยอดระบบฐานขอมูลหลักที่เปนพ้ืนฐานขอมูลสําคัญทางวัฒนธรรมของชาติตามภารกิจของหนวยงานในสังกัดกระทรวง

• เพ่ือพัฒนาและบํารุงรักษาระบบฐานขอมูลหลักที่สนับสนุนงานตามภารกิจรายกรม/สํานักงาน ที่สนับสนุนการอนุรักษ รักษา สืบทอด ปกปอง เชิดชูคุณคาวัฒนธรรมของชาติและความหลากหลายของวัฒนธรรม ตลอดจนขอมูลระบบจัดเก็บขอมูลเชิงลึกทางวิชาการ ดานศิลปวัฒนธรรมเฉพาะสําหรับนักวิชาการทางดานวัฒนธรรมแขนงตาง ๆ

• เพ่ือมีฐานขอมูลสําคัญดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ของประเทศ แผนงาน

แผนงานที่ 1 พัฒนาระบบศูนยขอ มูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของ สํา นักงานปลัดกระทรวง และสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบข้ันตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและ

Page 36: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -8

คุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเน่ือง เพ่ือสนับสนุนงานดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

แผนงานที่ 2 พัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของกรมการศาสนา และ วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบข้ันตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเน่ืองเพ่ือใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการได

แผนงานที่ 3 พัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของกรมศิลปากร วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบข้ันตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเน่ืองเพ่ือใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการได

แผนงานที่ 4 พัฒนาระบบศูนยขอ มูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของ สํา นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบข้ันตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเน่ืองเพ่ือใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการได

แผนงานที่ 5 การปรับปรุงและพัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของสํานักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบข้ันตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเน่ืองเพ่ือใหสามารถประมวลผลเรยีกใชงานไดอยางเปนระบบ

แผนงานที่ 6 การปรับปรุงและพัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบข้ันตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเน่ืองเพ่ือใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการไดอยางเปนระบบ

แผนงานที่ 7 การปรับปรุงและพัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบข้ันตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเน่ืองเพ่ือใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการไดอยางเปนระบบ

ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการกิจกรรมการพัฒนาส่ือและเน้ือหาดานวัฒนธรรม (Cultural

Digital Content) ทุกระดบัตั้งแตระดบัทองถิ่นถึงระดับชาติเพือ่สนับสนุนการอนุรักษ รกัษา สืบทอด ปกปอง เชิดชูคุณคาวัฒนธรรมของชาติและความหลากหลายของวัฒนธรรม ตลอดจนใหบรกิารประชาชน

เปาหมาย • เพ่ือผลักดันใหมีสถานที่และเครื่องมือเฉพาะสําหรับการผลิตสื่อดิจิตอลรูปแบบตางๆ สําหรับครูอาจารย นักเรียนนักศึกษา และชุมชน ไดใชงานรวมกันเชิงบูรณาการเพื่อสรางสรรคผลงานที่จะนํามาซึ่งการเผยแพรเน้ือหาทางวัฒนธรรมที่อยูในรูปแบบของสื่อใหม

• เพ่ือสงเสริมใหมีการเรียนการสอนดาน ICT ที่สงเสริมอุตสาหกรรมจตอยอดจากศิลปวัฒนธรรมไทย โดยการสราง Digital content ในรูปแบบของสื่อใหม เชน การตดัตอเสียง แตงเพลง เขียนโนต การสรางภาพยนตร ดนตรี นาฏศลิป คีตศิลป และ ศิลปะ แขนงตางๆ

• เพ่ือนักเรียนนักศึกษา ครู อาจารย ไดฝกปฏิบัติ และมีโอกาสเรียนรูจากการปฏิบัติงานจริงในการผลิตสื่อดิจิตอลพรอมทั้งสรางผลงานไวใหชุมชนของตน

• เพ่ือสงเสริมการเรียนการสอน และจัดทําศูนยปฏิบัติการผลิตสื่อ แผนงาน

แผนงานที่ 1 พัฒนาหองปฏิบัติการเพ่ือการผลิตสื่อ (Media Production Resource Center) เพ่ือใหบริการนักเรียน นักศึกษา และชุมชนในดานการสรางสรรค สะสม และนํากลับมาใชเพ่ือพัฒนาองคความรูทางวัฒนธรรมบนสื่อใหมรูปแบบตางๆ

แผนงานที่ 2 พัฒนาระบบบริหารจัดการสื่อการเรียนการสอนเพื่อรองรับการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาและวิชาการตั้งแตระดับพ้ืนฐานวิชาชีพถึงวิชาชีพชั้นสูง ดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลป คีตศิลป ชางศิลป ทั้งไทยและสากล รวมทั้งศิลปนวัฒนธรรมระดับทองถิ่นและระดับชาติ

Page 37: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 4 -9

ยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาเครือขายประชาคมออนไลน (Online Social Network) เพื่อเฝาระวังภัยคุกคามทางวัฒนธรรมอยูในสังคมแบบออนไลน และดูแลความเหมาะสมของ ส่ือ และ เน้ือหาออนไลน

เปาหมาย • เพ่ือจัดตั้งเครือขายผูบริโภคทางวัฒนธรรม สรางความเขมแข็งของกระบวนการคุมครองผูบริโภคในการบริโภคสื่อออนไลน

• ใชเครือขายประชาชนและใชกลไกดูแลตนเองและพัฒนาภูมิคุมกันใหประชาชนมีสวนรวมในเครือขายเฝาระวังผานระบบอินเทอรเน็ต

• ใชไอซีทีสนับสนุนบทบาทในสังคมของผูบริโภคสื่อทุกประเภท • การสรางเครือขายผูประกอบการ และผูบริโภคสื่อใหกับสังคม โดยการจัดเรทติ้งสื่อประเภทตางๆ โดยเฉพาะสื่อใหมที่เกิดข้ึนจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีที่มีผลตอสังคม และวัฒนธรรม

แผนงาน แผนงานที่ 1 พัฒนาศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรมใหมีขีดความสามารถในการตอบโต และ

เตือนภัยทางวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ แผนงานที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสารสนเทศและบริการหนวยงานเครือขายทางวัฒนธรรม

ยุทธศาสตรที่ 6 ใช ICT เปนเคร่ืองมอืหลักในการพัฒนาสังคมแหงความคิดสรางสรรค

(Creative Society) เพื่อนําประเทศสูการพัฒนาเศรษฐกิจแหงความคิดสรางสรรค (Creative Economy)

เปาหมาย • สงเสริมการจัดทําสื่อสรางสรรคของประชาชนทุกระดับ • สงเสริมการสรางสรรคเน้ือหาเชิงวัฒนธรรม และการอนุรักษศิลปะ วัฒนธรรม ของชาติ

แผนงาน แผนงานที่ 1 จัดใหมีระบบที่ใชเปนเวทีแสดงออกทางวัฒนธรรมเพื่อเปนการเพ่ิมชองทางใน

การแสดงออกทางวัฒนธรรม เชน ภาพหรือวีดีโอคลิปการแสดงของไทย การถายภาพแนะนําสถานที่ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ หรือสถานที่ในชุมชน/ทองถิ่นที่มีเอกลักษณทางวัฒนธรรมของไทย และเน้ือหาทางภูมิปญญาในหลายรูปแบบ อาทิ video clip, web-based information

แผนงานที่ 2 ใหขอมูล และความเขาใจกับนานาชาติในเรื่องทางวัฒนธรรมผานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (เว็บไซต 4 ภาษา อังกฤษ สเปน ญี่ปุน จีน)

ยุทธศาสตรที่ 7 พัฒนากลไกและชองทางการใหบรกิารโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่ม

ขีดความสามารถในการบริการประชาชนและสนับสนุนการทาํงานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสทกุมิต ิและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอยางเต็มที่ ในทุกองคาพยพของกระทรวง

เปาหมาย • จัดสรรอัตราสวนขาราชการตอคอมพิวเตอรในอัตรา 1:1 • ขาราชการทุกระดับตองสามารถใชอินเตอรเน็ต อีเมลและมีอีเมลใชงานทุกคน • ใชไอซีทีสนับสนุนพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยการพัฒนาระบบติดตามงาน

(Workflow) แผนงาน

แผนงานที่ 1 เปนเจาภาพจัดการมาตรฐานการเชื่อมโยงขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติ

แผนงานที่ 2 ปรับปรุงกลไก CIO กระทรวงใหสอดคลองกับนโยบาย โดยใชหลักการบริหารจัดการตามแนวทางเดียวกัน

แผนงานที่ 3 พัฒนาระบบรองเรียนรองทุกขกลางเพื่อรับ-สง-ติดตามผล ปญหาเรื่องเดือดรอนของประชาชนที่เก่ียวของกับหนวยงานดานวัฒนธรรม

แผนงานที่ 4 ศึกษา พัฒนา เชื่อมตอ ขยายผลการทํางานของระบบ รายการระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานบริหารจัดการภายในกระทรวงและหนวยงานในสังกัดภารกิจรายกรม/สํานักงาน

แผนงานที่ 5 พัฒนาขีดความสามารถ ปรับปรุง และบํารุงรักษาโครงสรางพ้ืนฐานระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย และระบบบริการพื้นฐานของหนวยงานในสังกัดกระทรวงวฒันธรรม

แผนงานที่ 6 พัฒนาบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการประยกุตใชและพัฒนา ICT ใหกับขาราชการในสงักัดกระทรวงวฒันธรรม

Page 38: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 5 -1

บทที่ 5 การบริหารจัดการและการตดิตามประเมินผล

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศกระทรวงวัฒนธรรมและกรมศิลปากร การวัดผลวาแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงวัฒนธรรมและกรมศิลปากร

ประสบผลสําเร็จดังเปาหมายที่ตั้งไวหรือไมน้ันจําเปนตองพัฒนาโครงสรางการพัฒนาการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลเพ่ือใหเปนเครื่องมือในการบริหารแผนฯและการประเมินผลอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยตัวชี้วัดความสําเร็จในหลายมิติและหลายระดับ 5.1 การบริหารจัดการระดบันโยบายตามแนวทางของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของ

ประเทศไทย พ.ศ. 2552 – 2556 ในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2552 – 2556 ไดกําหนดให

กระทรวงและหนวยงานในสังกัด ใหมีคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวง และของหนวยงานในสังกัดรับผิดชอบในการบริหารแผนในแตละระดับ โดยใหผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) เปนประธานคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและใหคณะกรรมการฯ รายงานผลการดําเนินงานตอคณะกรรมการฯในระดับสูงข้ึนไปทุก 6 เดือน ดังผังแสดงความสัมพันธของแผนฯ และการบริหารจัดการแผนฯ

รูปที่ 5-1 แผนภาพแสดงการบริหารจัดการตามแผนแมบทเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ป 2552-2556

ทั้งน้ี ใหคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ รับผิดชอบในการบริหารแผนแมบทฯ ในภาพรวม

โดยมีสวนงานที่รับผิดชอบดานนโยบายและแผนของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทําหนาที่สนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ

Page 39: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 5 -2

คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ

คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานในระดับกรม

คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศระดับกระทรวง

สวนงานดานนโยบายและแผนของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวง

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานในสังกัดกระทรวง

ที่มา : แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยป 2552 - 2556

รูปที่ 5-2 แผนภาพแสดงการบริหารจัดการตามแผนแมบทเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ป 2552-2556 (ตอ)

5.2 แนวทางการบริหารจัดการแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารระดับสํานักงานของ

กระทรวงวฒันธรรม แนวทางการบริหารจัดการแผนแมบท ICT ของกระทรวงวัฒนธรรมน้ันมุงเนนตั้งแตการสรางความตระหนัก

ในความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับผูบริหาร ทั้งน้ีการที่ผูบริหารตระหนักวาความสําเร็จขององคกรจะเกิดข้ึนไดจากการมีสารสนเทศที่ดีเปนปจจัยหลักที่สําคัญที่สุดของการกําหนดนโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Policy) ซึ่งจะนําไปสูการวางแผน ICT ที่ดี (ICT Planning) และการมีแผนที่ดียอมนําไปสูการมีหลักปฏิบัติดาน ICT ที่ดี (ICT Operational) โดยผูบริหารของกระทรวงวัฒนธรรมในทุกระดับเปนผูกําหนดความคาดหวังถึงแนวทางของปฏิบัติการดานเทคโนโลยีสารสนเทศพรอมทั้งแนวโนมที่จะใช ICT นําไปสูความสําเร็จในการเพิ่มขีดความสามารถขององคกร

ดังน้ันผูบริหารจําเปนตองทราบวามีการบริหารจัดการสารสนเทศในองคกรอยูในรูปแบบใดเปนรูปธรรมทีจ่ะปฏิบัติการไดจริงหรือไม โดยพิจารณาจากปจจัยดังน้ี:

• แนวโนมที่ ICT จะนําไปสูการบรรลุวัตถุประสงคในระดับองคกร • องคกรมีประสบการณพอเพียงในการเรียนรูและปรับตัวดานเทคโนโลยีสารสนเทศ • มีการจัดการที่รอบคอบเพียงพอตอความเสี่ยงที่มีอยู • มีความตระหนักตอโอกาสที่มีอยู และใชโอกาสน้ันเพ่ือการพัฒนาองคกรไดอยางเหมาะสม การกําหนดนโยบายดาน ICT อาจใชการนําหลักปฏิบัติที่ดีดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT best

practice) มาใช ทั้งน้ีจะตองคํานึงถึงปจจัยสําคัญหลายประการดังน้ี: • ความตองการของผูบริหารในมุมมองของความคุมคาจากการลงทุนดาน ICT เชน การตอบคําถามวา

ICT ใหคุณคาอะไรตอการดําเนินงานในระดับตางๆ ของสํานักงานบาง • ระดับของคาใชจายดาน ICT ที่จะเพิ่มข้ึน • ความจําเปนที่ตองมีการควบคุมกระบวนการดาน ICT เพ่ือใหสอดคลองกับกําหนดกฎเกณฑของสํานักงาน และหนวยงานยอยทั้งหมด

• การเลือกผูใหบริการ (Service Provider) การจางเหมาบริการ (Outsourcing) หรือ การรับระบบงานดาน IT จากหนวยงานภายนอก

Page 40: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 5 -3

5.2.1 การกาํหนดนโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT Policy) เพ่ือที่จะสรางความเขาใจอันดีและใหนโยบายสามารถนําไปสูการปฏิบัติไดจริงนโยบายดาน

ICT สําหรับองคกรตองเปนฉบับเดียวเพื่อการส่ือสารถูกตองตรงกัน กรณีที่สวนงานยอยแตละสวนอาจมีการกําหนดนโยบายข้ึนมาเพ่ิมเติมควรจะพิจารณาวาเน้ือหาขัดแยงกับนโยบายหลักขององคกรหรือไม หากนโยบายสวนยอยน้ันไมมีความขัดแยงกับนโยบายภาพรวมใหมีการจัดกระบวนการพิจารณาทบทวนปรับปรุงใหเปนแผนปฏิบัติแทนที่จะเปนนโยบาย หรือกรณีที่แผนงานใดมีเน้ือหาขัดแยงกับนโยบายภาพรวมควรมีการจัดประชุมหารือ หรือจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาวาจะมีเน้ือหาใดที่เปนประโยชนนํามาปรับปรุงนโยบายรวมและทําการประกาศความเปลี่ยนแปลงน้ันๆ ใหทราบโดยทั่วกัน

5.2.2 การจัดทํา ทบทวน และบริหารนโยบาย

โครงสรางการบริหารจัดการโครงการ ICT และ ศูนยสารสนเทศ กระทรวงวัฒนธรรมเปาหมายตามนโยบายของกระทรวงวัฒนธรรม

เปาหมายของ กระทรวงวัฒนธรรมที่เปนตัวกําหนด

ความตองการดาน ICT

โครงสรางการบริหารจัดการโครงการดาน ICT

และหนวยงานดาน ICT (ศูนยสารสนเทศ)

ความตองการสารสนเทศของกระทรวงวัฒนธรรม

เปาหมายดาน ICTของกระทรวงวัฒนธรรม

กําหนด

ผลท่ีไดรับมีเปาหมายตรงกัน

นโยบายของกระทรวงวัฒนธรรม

กําหนด

ผลทลัพธ

ความสําเร็จของการดําเนินการดาน ICT

ความตองการในการบริหารจัดการและการควบคุมการปฏิบัติงาน

บริการสารสนเทศ( ฺInformation Services)

เง่ือนไขดานสารสนเทศ( ฺInformation Criteria)

กระบวนการดาน ICT รวมถึง

อํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบดาน ICT

สารสนเทศ(Information)

ซอฟตแวรระบบงาน(Applications)

โครงสรางพ้ืนฐานดาน ICT และบุคคลากร

เกิดผลผลิตเปน

ดําเนินการ/ปฏิบัติการ

ตองมี

กําหนด กําหนด

กําหนด

หลักการสําคัญ:

- การกําหนดเปาหมายดาน ICT และกําหนดโครงสรางการบริหาร จัดการ ICT จะตองดําเนินการควบคูกับนโยบายหลักของกระทรวงวัฒนธรรมเสมอ

- หากมีการเปล่ียนแปลงสวนใดสวนหน่ึงของนโยบายหลัก ของกระทรวงวัฒนธรรมหรือมีการเปล่ียนนโยบาย/แผนงานดาน ICT จะตองมีการทบทวนและบริหารการเปลี่ยนแปลง น้ันควบคูกันไปเสมอ

รูปที่ 5-3 กรอบแนวทางการดําเนินงานดาน ICT ทีต่องดําเนินการควบคูกับปฏิบัติการอ่ืนๆ ตามนโยบาย ของ

กระทรวงวฒันธรรม

การจัดทํานโยบายจะดําเนินการดังน้ี 5.2.2.1 วิเคราะหและทาํความเขาใจเก่ียวกับนโยบายและเปาหมายหลักของกระทรวงและพิจารณาวา

จะสามารถนํา ICT มาใชประโยชนเพ่ือการไดอยางไร โดยผูบรหิารจะตองดําเนินการและมีสวนรวมในประเด็นดังตอไปน้ี • มีการทบทวนและการจดักลยทุธดานสารสนเทศ (ICT Strategy) • มีการจัดลําดับข้ันของกลยุทธ ICT ใหสอดคลองกับเปาหมายของกระทรวง • มีการกําหนดโครงสรางบริหารงานดาน ICT ที่สอดคลองกับโครงสรางการบริหารจัดการกระทรวง และกํากับใหเกิดการดําเนินงานตามโครงสรางดังกลาว

• มีการกําหนดแนวทางใหมีการพัฒนาความสัมพันธอันดีและพัฒนาดานการสือ่สารที่ดีระหวางหนวยปฏิบัติการดานอ่ืนๆ และ หนวยงานดาน ICT ตลอดจนหนวยงานภายนอกที่เก่ียวของ

• กําหนดใหมีการวัดผลการดําเนินงานดาน ICT เชนเดียวกับงานดานอ่ืนๆ

Page 41: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 5 -4

5.2.2.2 จัดใหมีการปรับวิธีการในการวางแนวทางของกระทรวงควบคูไปกับการดําเนินการบริหารจัดการและควบคุมกิจกรรมดาน ICT ควบคูกันไป โดยตองมีการกําหนดกรอบงานดาน ICT ข้ึนมาเพ่ือบรรลุวัตถุประสงคดังน้ี • ทําใหสามารถสรางความเชื่อมโยงระหวางงานดานสารสนเทศกับความตองการตามภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม

• ทําใหสามารถวัดผลการปฏิบัตงิานของงานตามภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรมไดอยางโปรงใส

• ทําใหเกิดการจดัการกระบวนการดาน ICT ใหเปนไปตามรูปแบบและกระบวนการท่ีไดรับการยอมรบัจากคนในองคกร

• ทําใหมีการกําหนดการใชทรัพยากรดาน ICT ที่เหมาะสม (ทรัพยากรดาน ICT ไดแก คน ซอฟตแวร อุปกรณคอมพิวเตอร และระบบเครือขายการสื่อสาร)

• ทําใหมีกรอบแนวทางในการพัฒนางานดาน ICT ที่ชัดเจน และไมซ้ําซอน 5.2.2.3 ใหมีการกําหนดกรอบหรือกฎเกณฑเพ่ือจัดการและควบคุมงานดาน ICT โดยอาจเลือกใช

หลักปฏิบัติที่ดีของการบริหารจัดการดาน ICT ในการชวยสรางกฎเกณฑเพ่ือควบคุมจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสรางความตอเน่ืองในการดําเนินงานควบคุมงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปนรูปธรรม

5.2.2.4 ในข้ันตอนการจัดทํานโยบายควรจะใหผูใชงานของแตละฝายงานตลอดจนเจาหนาที่ฝายคอมพิวเตอร มีสวนในการจัดทํานโยบายโดยมีอาจจะมีการจัดทํารางมากอนโดยสวนดานเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนํานโยบายที่มีอยูแลวมาวิเคราะหปรับปรุง

5.2.2.5 ใหความสําคัญตอขอคิดเห็นจากเจาหนาที่ปฏิบัติการ โดยเฉพาะในประเด็นที่เปนขอจํากัดและปญหาเพ่ือใหสามารถพิจารณาความเหมาะสมและความเปนไปไดในทางสรางสรรค

5.2.2.6 จะตองมีการนําเสนอนโยบายตอผูบริหารและตองไดรับการอนุมัติจากผูรับผิดชอบโดยเจาหนาที่ที่มีสวนเก่ียวของตองลงนามยอมรับและปฏิบัติตามนโยบายของหนวยงาน

5.2.2.7 ใหมีการกําหนดข้ันตอนปฏิบัติใหสอดคลองกับนโยบายภาพรวมพรอมทั้งดําเนินการตามข้ันตอนที่วางไวอยางสมํ่าเสมอเปนระบบ และตอเน่ือง

5.2.2.8 ตองมีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายใหเปนปจจุบันเสมอ และตองมีการจัดทําและเผยแพรนโยบายใหเจาหนาที่ทุกระดับในหนวยงานทราบทุกครั้งที่มีการปรับปรุงแกไข

5.2.2.9 ใหจัดทําเอกสารนโยบายเปนลายลักษณอักษร พรอมทําใหมีประกาศเปนทางการลงนามโดยผูบริหารเปนลายลักษณอักษร

รูปที่ 5-4 ผังแสดงภาพรวมการบริหารจดัการโครงการดาน ICT ตามแผนแมบท ICT กระทรวงวัฒนธรรม

Page 42: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 5 -5

5.3 การดาํเนินการตามโครงการและการกาํหนดเจาภาพในการดําเนินโครงการดาน ICT หลักการในการกําหนดเจาภาพในการดําเนินโครงการดาน ICT มี 3 ประการดังน้ี หลักการที่ 1 : เจาของขอมูลที่เปนแหลงขอมูล (source) หรือผูที่ตองการใชสารสนเทศหลัก

(primary user) ของโครงการฯ ตองเปนเจาภาพของขอมูลในกรณีที่มีความซ้ําซอนกัน อาจจะแบงความรับผิดชอบในการ update เปนบางฟวด(fields) ตามที่ตนรับผิดชอบ

หลักการที่ 2 : เจาหนาที่ศูนยสารสนเทศตองมีสวนรวมในการควบคุมการดําเนินโครงการดานสารสนเทศตั้งแตตนของทุกโครงการ แมแตการ outsource หรือ การซ้ือขอมูลมาก็ตาม เพ่ือใหรูภาพรวมของสํานักงาน

หลักการที่ 3 : การกําหนดรายละเอียดเงื่อนไขของการดําเนินโครงการตองระบุบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของเจาภาพ และเจาหนาที่สารสนเทศใหชัดเจนวาใครรับผิดชอบอะไรเชน

(1) การนําเขาขอมูล หรือการปรับปรุงขอมูลในระบบงานในลักษณะงานประจํา (routine process) หลังจากพัฒนาระบบสําเร็จ

(2) การบํารุงรักษาระบบฐานขอมูลที่เกิดจากโครงการสารสนเทศ (Database Operation)

(3) การบํารุงรักษา HW และ อุปกรณตางๆ ของโครงการสารสนเทศน้ันๆ

5.4 การตดิตามประเมินผล การติดตามประเมินผลการเปลี่ยนแปลงแผนฉบับน้ีไปสูการปฏิบัติ ใหยึดแนวทางตามแผนแมบท

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแหงชาติ ที่ไดกําหนดแนวทางไว 2 ขอดังน้ี 5.4.1 การสรางตัวชี้วดัเพ่ือเปนเครื่องมือที่บงบอกถงึความสําเร็จและผลกระทบของการดําเนินการตาม

แผนแมบทฯ เพ่ือใชเปนประโยชนในการตดิตามประเมินผลโดยอยางนอยควรมตีัวชีว้ัดใน 3 ระดับ ไดแก การวัดผลกระทบสุดทายของการพัฒนา (output) และการวดัประสทิธิภาพขององคกร/หนวยงานที่เก่ียวของในการนําแผนแมบทฯ ไปปฏิบัต ิ

5.4.2 การจัดทําระบบฐานขอมูลของตัวชี้วัดความสําเร็จของการพัฒนาในทุกระดับรวมทั้งการสรางเครือขายเชื่อมโยงฐานขอมูล

Page 43: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 6 -1

บทที่ 6 สรุปยุทธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กรมศิลปากรท่ีมคีวามสอดคลองกับยทุธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลักทีก่ําหนดไวในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของ

ประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556

ยุทธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กระทรวงวฒันธรรมที่มีความสอดคลองกับยทุธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลักที่กําหนดไวในแผนแมบทเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารของ ประเทศไทย ดังตารางที่ 6-1 ตารางที่ 6-1 สรุปยทุธศาสตรตามแผนแมบท

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

1 การพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลท่ัวไปใหมีความสามารถในการสรางสรรค ผลิต และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน

III. มาตรการสนับสนุนอ่ืนๆ (2) สนับสนุนใหเกิดสมาคม/ชมรม/องคกรอิสระ หรือ

เครือขายท่ีสงเสริมการใช ICT อยางสรางสรรค - กระทรวง ICT - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงวัฒนธรรม - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

2 การบริหารจัดการดาน ICT ของประเทศอยางมี ธรรมาภิบาล

2.2 ปรับปรุงกระบวนการจัดทํา/เสนองบประมาณ และกระบวนการพิจารณาจัดสรร งบประมาณดาน ICT เพ่ือใหเกิดการใชจายอยางคุมคา

(1) สรางกลไกการทํางานรวมกันระหวางสํานักงบประมาณ กระทรวง ICT และ CIO ภาครัฐในการจัดทําและพิจารณางบประมาณดาน ICT เพ่ือใหการจัดสรรงบประมาณมีประสิทธิภาพ มีการบูรณาการ ลดการซํ้าซอนและเกิดการใชจายอยางคุมคา ท้ังนี้ ในกรณีของซอฟตแวร ใหพิจารณาทางเลือกท่ีเปนซอฟตแวรโอเพนซอรสดวยเพ่ือความเหมาะสมของการใชงบประมาณ

- กระทรวง ICT - กระทรวงการคลัง - CIO ภาครัฐ - สภา ICT

(2) กําหนดใหมีการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ (Feasibility study) สําหรับโครงการใดๆ ของรัฐ ท่ีมีมูลคาสวน ICT (ICT content)ในโครงการนั้นรวมกันเกิน 300 ลานบาท โดยในกระบวนการศึกษา ใหมีการเผยแพรและนําเสนอหลักการของโครงการตอสาธารณชนและผูท่ีอาจไดรับผลกระทบจากการดําเนินโครงการ เพ่ือรับฟงความคิดเห็น รวมท้ังใหขอความเห็นจากสภา ICT และนําขอมูลท่ีไดรับท้ังหมดไปประกอบในการศึกษาดวยท้ังนี้ เมื่อมีการดําเนินโครงการ ใหจัดทําประกาศบงบอกชื่อโครงการ คําอธิบายลักษณะโดยยอ ขนาดวงเงินงบประมาณระยะเวลาและผูดําเนินการ (ผูรับเหมา) ใหสาธารณชนรับทราบผานเว็บกลางของภาครัฐและเว็บสาธารณะท่ีมีผูเขาชมจํานวนมาก

- กระทรวง ICT - กระทรวงการคลัง - ทุกกระทรวง/กรม/หนวยงาน ของรัฐ

- สภา ICT

2.4 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลตัวช้ีวัดสถานภาพการพัฒนาICT ของประเทศ เพ่ือสนับสนุนการติดตามประเมินผลการพัฒนา ICT ของประเทศ และการดําเนินการตามแผนแมบท ICT

(1) จัดทําฐานขอมูลรายการดัชนีชี้วัดหลักของการพัฒนา ICT ของประเทศ (ICT core indicators) โดยกําหนดใหหนวยงานท่ีรับผิดชอบแตละดัชนีปรับปรุงขอมูลใหทันสมัย ตลอดเวลา และเช่ือมโยงขอมูลไปยังหนวยงานกลางเพื่อเผยแพรใหหนวยงาน/ประชาชนรับทราบท่ัวไป รวมท้ังใหมีการศึกษาติดตามการพัฒนาดัชนีดังกลาวในระดับนานาชาติอยางตอเนื่อง เพ่ือปรับปรุงดัชนีชี้วัดของประเทศไทยใหเหมาะสมตามกาลเวลา

- กระทรวง ICT - ทุกกระทรวง/กรม/หนวยงานท่ีมีการจัดเก็บขอมูลท่ีเก่ียวของ

3 การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

3.2 พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือยกระดับการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน

Page 44: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 6 -2

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

ส่ือสาร

(4) สงเสริมการพัฒนาเนื้อหาท่ีเปนภาษาไทยและเนื้อหาท่ีเก่ียวกับทองถิ่น (local contents) ท่ีเปนประโยชนตอการศึกษา การงานอาชีพ สุขภาพและสาธารณสุข ท้ัง โดยการสนับสนุนงบประมาณและสรางแรงจูงใจแกภาคเอกชน

- กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวง ICT - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงสาธารณสุข - สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น - ทุกหนวยงานท่ีมีเนื้อหาท่ีเก่ียวของ

3.4 เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงขายและทรัพยากร

(1) เรงรัดการดําเนินการใหมีพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคล่ืนความถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ใหรองรับมาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เพ่ือใหมีผลบังคับใชใกลเคียงกับท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญโดยเร็วท่ีสุด

- กระทรวง ICT - รัฐสภา - คณะรัฐมนตร ี

4 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือสนับสนุนการสรางธรรมาภิบาล ในการบริหารและการบริการของภาครัฐ

4.1 สรางความเขมแข็งของหนวยงานกลางท่ีรับผิดชอบการกําหนดกรอบแนวทาง ปฏิบัติและมาตรฐานท่ีจําเปนสําหรับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ

(2) ใหหนวยงานท่ีมีขอมูลท่ีจําเปนตอการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนๆ ใหความรวมมือในการเช่ือมโยง/แลกเปล่ียนขอมูลกับหนวยงานอ่ืนได ภายใตโครงการพัฒนาเครือขายส่ือสารขอมูลเช่ือมโยงหนวยงานภาครัฐ (Government Information Network: GIN) ท่ีกระทรวง ICT จัดทําขึ้น และขยายการเช่ือมโยงไปสูหนวยงานในภูมิภาค และสวนทองถิ่นในลําดับถัดไป

- กระทรวง ICT - หนวยงานของรฐัท้ังหมด

(4) จัดใหมีการประเมินผลการใหบริการทางอิเล็กทรอนิกสของภาครัฐท่ีไดมีการดําเนินการไปแลว โดยเนนผลท่ีเกิดแกประชาชนผูรับบริการ และ/หรือหนวยงาน/ภาคธุรกิจท่ีตองติดตอกับภาครัฐ รวมท้ังผลตอหนวยงาน อาทิ การลดคาใชจาย การลดขั้นตอน / เพ่ิมประสิทธิภาพ เปนตน เพ่ือใชเปนขอมูลประกอบในการกําหนดแผนการดําเนินงานในระยะตอไป

- กระทรวง ICT - สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

- หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

4.2 ใหทุกกระทรวงดําเนินการเพ่ือพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ

(1) ใหทุกหนวยงานปรับปรุงระบบขอมูล และระบบบริหารจัดการ ใหสามารถเช่ือมโยงกับระบบ NSDI และ GIN (Government Information Network) ท้ังภายในและระหวางหนวยงาน ภายใตกรอบมาตรฐาน TH e-GIF(Government Interoperability Framework)

- กระทรวง ICT - หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

(2) ใหทุกหนวยงานใช ICT เปนชองทางหนึ่งในการสงเสริมและสนับสนุนใหภาคประชาสังคมเขามามีสวนรวมในการบริหารราชการแผนดินโดยเฉพาะการพัฒนานโยบายหรือบริการสาธารณะ และการออกกฎหมาย การติดตามตรวจสอบ และใหสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) กําหนดเปนตัวช้ีวัดหนึ่งในมาตรการการพัฒนาระบบราชการ ในสวนท่ีเก่ียวกับการบริหารราชการแบบมีสวนรวม

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

- หนวยงานภาครฐัทุกหนวยงาน

5 ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม

5.3 สรางโอกาสทางการตลาดและโอกาสในการแขงขันสําหรับผูประกอบการไทย ท้ังตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศ

Page 45: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาท่ี 6 -3

ลําดับ ยุทธศาสตร ขอ แผนงานและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับกระทรวงวัฒนธรรม กรม /สํานักงาน

ICT เพ่ือสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

(7) กําหนดใหมีหนวยงานรับผิดชอบการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนตและแผนยุทธศาสตรดิจิทัลคอนเทนตระดับชาติ เพ่ือพัฒนากลไกท่ีจําเปนในการสรางโอกาสทางการตลาดและการเสริมสรางศักยภาพใหกับผูประกอบการดิจิทัลคอนเทนตของประเทศไทย

- กระทรวง ICT - กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- กระทรวงพาณิชย - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

- สมาคมผูประกอบการ/สมาคมวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

6

การใช ICT เพ่ือสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันอยางยั่งยนื

6.5

ยกระดับศักยภาพในการแขงขันของผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และวิสาหกิจชุมชน (OTOP)

(6) ใหหนวยงานของรัฐใชประโยชนจาก ICT ท่ีแพรกระจายคอนขางท่ัวถึงในชุมชม(โทรศัพทเคล่ือนท่ี วิทยุ โทรทัศน) เพ่ือเผยแพรความรูท่ีเก่ียวของกับอาชีพ และขาวสารทางเศรษฐกิจ ท่ีจะเปนประโยชนตอการพัฒนาสินคาและบริการ เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชน

- กระทรวง ICT - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ

- กระทรวงวิทยาสาสตรและเทคโนโลยี

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น - ทุกๆหนวยงานท่ีมีการดําเนินงานในระดับภูมิภาค

Page 46: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -4

ตารางที่ 6-2 สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตรที่ 1 ผลกัดันใหมรีะบบศูนยขอมูลกระทรวงวัฒนธรรมเพื่อเปนศูนยขอมูลกลางองคความรูทางวัฒนธรรมของชาตโิดยกําหนดเปนหนวยบูรณาการและเผยแพรองคความรูทางวัฒนธรรมของชาตผิานแผนที่องคความรูทางวัฒนธรรม 3 กลุม 3 มิติเวลา (3X3 Cultural Knowledge Map)

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ (ลานบาท / ป) ตัวชี้วัด รวม

งบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

1 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานขอมูลของกระทรวงวัฒนธรรม (Data Infrastructure)

2 พัฒนาการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศภายในกระทรวงInteroperatibility

3 พัฒนาระบบศูนยกลางเพื่อใหบริการและบริหารจัดการในการเชื่อมโยงขอมูลภายในกรม/สํานักงานที่สามารถเชื่อมโยง จัดเก็บ ปรับปรุง คนหา และประมวลผลขอมูลสําคัญที่กําหนดไวในไดเร็กทอรี่กลุมขอมูลเฉพาะเรื่องของแตละกรม/กอง

4 การพัฒนาระบบจัดการองคความรูทางวัฒนธรรมเพื่อใหเปนระบบสนับสนุนการบริหารจัดการองคความรูหลักดานวัฒนธรรมของทุกหนวยงานภายในกระทรวงแบบหลายมิติ

4.2 โครงการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศ ดานมรดกศิลปะวัฒนธรรม

ศก. -มีจํานวนขอมูลทางศิลปวัฒนธรรมที่ถูกตองครบถวน -จํานวนเรื่องตามบริบททางวัฒนธรรม

- งานนําเขาขอมูลมรดกทางศิลปวัฒนธรรม 1.700

1.700

- งานจัดทําและปรับปรุงชั้นขอมูลพื้นฐานในระบบ GISมาตราสวน 1:50,000

-เจาของหนวยงานนําเขาขอมูลเอง

- งานสํารวจ นําเขาขอมูลมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ในมาตราสวน 1:50,000 เพิ่มเติม

0.120

0.090

0.090

0.030

0.030

0.360

- งานจัดทําชั้นขอมูลเมืองโบราณที่กรมศิลปากรใหราษฎรเชาใชประโยชน ในมาตราสวน 1:4,000 (เมืองสุพรรณบุรี, เมืองสงขลาเกา)

0.300 0.300 0.600

- งานจัดทําชั้นขอมูลแหลงมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ในมาตราสวน 1:1,000 พื้นที่ 1,568.7 km2 (กทม.และปริมณฑล)

2.000

3.000

3.000

3.000

3.000

14.000

- แผนที่โบราณสถานและแหลงคนพบโบราณวัตถุ

2.500 2.500 2.500 7.500

Page 47: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -5

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ (ลานบาท / ป) ตัวชี้วัด รวม

งบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

4.3 โครงการบูรณาการขอมูลองคความรูสํานักโบราณคดี

ศก. 6.700 5.200 4.800 3.800 2.100 - จํานวนเรื่องในระบบองคความรูสํานักโบราณคดี

22.600

5 การเชื่อมโยงขอมูลจากหนวยราชการอื่นมายังศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรมเพื่อใหเปนศูนยกลางองคความรูหลักดานวัฒนธรรมของชาติที่มีขอมูลที่เชื่อถือไดสามารถใชในการอางอิงทางวิชาการที่ถูกตอง

รวมงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร 46.760 ลานบาท

Page 48: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -6

ตารางที่ 6-3 สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตรที่ 2 สราง สะสม และ จัดใหมีทรัพยากรเทคโนโลยสีารสนเทศเพื่อการจัดทําขอมูลในรูปแบบ National Digital Archives สําหรับสนับสนุนงานหอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลปใหอยูในระดับทีส่ามารถจัดเก็บคนหาและใหบริการขอมูลไดตามมาตรฐานสากล

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

1 สแกน และ บันทึก เอกสารหายาก เอกสารเกา และสงเสริมใหมีการใชงาน

1.1 โครงการพัฒนาระบบสํารองขอมูลลงสื่อดิจิตอล(Media backup in Digital-form) ของหอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลป (1) ระดับทองถิ่น (2) ระดับชาติ

ศก. 0.500 0.500 -ปริมาณขอมูลที่สามารถจัดทําเปนดิจิตอลได -จํานวนบริการสื่อดิจิตอล -ผูใชบริการเพิ่มขึ้น -ความพึงพอใจของผูใชบริการเพิ่มขึ้น

1.000

1.2 โครงการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกสใหบริการสื่อดิจิตอลของหอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลป (1) ระดับทองถิ่น (2) ระดับชาติ

ศก. 1.000 0.500 -ปริมาณขอมูลที่สามารถจัดทําเปนดิจิตอลได -จํานวนบริการสื่อดิจิตอล -ผูใชบริการเพิ่มขึ้น -ความพึงพอใจของผูใชบริการเพิ่มขึ้น

1.500

1.3 โครงการจัดทําฐานขอมูลเอกสารโบราณอิเล็กทรอนิกส

ศก. 4.690 4.630 4.400 -ปริมาณขอมูลที่สามารถจัดทําเปนดิจิตอลได -จํานวนบริการสื่อดิจิตอล -ผูใชบริการเพิ่มขึ้น -ความพึงพอใจของผูใชบริการเพิ่มขึ้น

13.720

2 พัฒนาระบบสารสนเทศของหอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลป ใหเชื่อมโยงขอมูลกันทั้งหมดผานระบบสืบคนสื่อกลางระดับชาติ (National Media Center)

2.1 โครงการพัฒนาปฏิทินกิจกรรมของแหลงเรียนรูของชาติ ใหสามารถเชื่อมโยงขอมูลการจัดกิจกรรมเพื่อบริการประชาชนของหอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลปทั่วประเทศได

ศก. 0.500 -มีระบบสืบคนสื่อกลางระดับชาติ

0.500

2.2 โครงการพัฒนาระบบสืบคนสื่อกลางระดับชาติ (National Media Center) ที่สามารถระบุแหลงขอมูลสําคัญที่อยูใน หอสมุด พิพิธภัณฑ หอจดหมายเหตุ และหอศิลป ทั่วประเทศได

ศก. 0.500 -มีระบบสืบคนสื่อกลางระดับชาติ 0.500

2.3 โครงการสรางเครือขายความรวมมือในการเชื่อมโยงระบบสืบคนสื่อกลางระดับชาติ (National Media Center) กับหนวยงาน

ศก. 2.500 3.000 -จํานวนหนวยบริการสื่อดานวัฒนธรรมที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลผานระบบสืบคนสื่อกลางได

5.500 ป 2555 เปนโครงการนํารองในการ

Page 49: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -7

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

ภาครัฐ ภาคเอกชน ในการ บูรณาการแหลงความรูทางวัฒนธรรมระดับชาติ ไดแก หองสมุด พิพิธภัณฑ หอศิลป ที่อยูในสังกัดหนวยราชการอื่น และเอกชน

เชื่อมโยงเครือขายกับหองสมุดจํานวน 5 แหง

2.4 โครงการปรับปรุงระบบทะเบียนหอสมุดแหงชาติ ใหเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย และ UNINET ของ สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาโดยผานระบบ Web service โดยใหมีมาตรฐานเดียวกัน

ศก.(สสช.)

2.000 2.000 -มีระบบทะเบียนหอสมุดแหงชาติ จํานวน 1 ระบบ -สามารถเชื่อมโยงกับหนวยงานอื่นๆ ไดผานระบบ Web service โดยเปนมาตรฐานเดียวกัน

4.000

2.5 โครงการพัฒนาระบบงานหองสมุดโสตทัศนวัสดุสื่อดิจิตอล

ศก. (สสช.)

-มีระบบงานหองสมุดโสตทัศนวัสดุสื่อดิจิตอล -จํานวนการสืบคนจากระบบเพิ่มขึ้น

(1) แปลงภาพถายฝพระหัตถสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพเปนดิจิตอล

2.400

2.400

(2) แปลงขอมูลไมโครฟอรมสูระบบดิจิตอล 6.300 1.200

2.200

1.000

10.700

(3) บันทึกขอมูลวิทยานิพนธฉบับเต็มลงฐานขอมูลระบบหองสมุดอัตโนมัติ สํานักหอสมุดแหงชาติ

0.200 0.200 0.200 0.200 0.800

(4) บันทึกขอมูล ซีดี-รอม สื่อการเรียนการสอนเขาฐานขอมูลระบบหองสมุดอัตโนมัติ สํานักหอสมุดแหงชาติ

0.200 0.200 0.200 0.200 0.800

(5) จัดทําขอมูลสารสนเทศดานสื่อโสตทัศนแผนที่เปนระบบดิจิตอล

0.625 0.625 0.625 0.625 2.500

(6) จัดทําขอมูลสารสนเทศดานสื่อโสตทัศนภาพถายเกาเปนระบบดิจิตอล

0.400 0.400 0.400 0.400 1.600

(7) จัดทําขอมูลสารสนเทศดานสื่อโสตทัศนเทปอภิปรายและสัมมนาเปนระบบดิจิตอล

0.108 0.108 0.108 0.108 0.432

(8) โครงการจัดทําขอมูลสารสนเทศดานสื่อ โสตทัศนวีดิโอเปนระบบดิจิตอล

0.225 0.225 0.225 0.225 0.900

(9) บันทึกขอมูลเลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ (ISBN) ลงฐานดวยระบบคอมพิวเตอร

0.173 0.173 0.173 0.173 - จํานวนขอมูลหนังสือที่ไดรับเลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ(ISBN) ในระบบ

0.692

(10) บันทึกขอมูลการลงรายการบรรณานุกรมผูผลิตสิ่งพิมพในประเทศไทย (CIP)

0.042 0.042 0.042 0.042 -จํานวนรายการบรรณานุกรมผูผลิตสิ่งพิมพในประเทศไทย (CIP)

0.168

(11) บันทึกขอมูลเลขมาตรฐานสากลประจําวารสาร (ISSN) ดวยระบบคอมพิวเตอร

0.042 0.042 0.042 0.042 - จํานวนขอมูลหนังสือที่ไดรับเลขมาตรฐานสากลประจําวารสาร

0.168

Page 50: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -8

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

(ISSN) ในระบบ

2.6 โครงการพัฒนาและบริการขอมูลจดหมายเหตุที่เกี่ยวเนื่องในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล อดุลยเดชและพระบรมวงศเพื่อการบริการประชาชน

ศก. (สจช.)

-จํานวนผูใชบริการจากระบบเพิ่มขึ้น -จํานวนขอมูลจดหมายเหตุเพื่อใหบริการ

(1) นําเขาขอมูลจดหมายเหตุ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ในรูปแบบ Data Format และ Digital Format

9.000 11.000 10.000 5.000 35.000

(2) รวบรวมและเผยแพรขอมูลจดหมายเหตุเพื่อการบริการประชาชนของหอจดหมายเหตุแหงชาติสวนภูมิภาค 10 สาขา

5.000 5.000 5.000 15.000

(3) งานพัฒนาโปรแกรมระบบงานรวบรวมและเผยแพรขอมูลจดหมายเหตุเพื่อการบริการประชาชนสําหรับสวนภูมิภาค ดําเนินการตอเนื่อง 3 ป

7.500

5.000 12.500

3 ศึกษารูปแบบและความเปนไปไดในการพัฒนาระบบสืบคนขอมูลในระดับ National Digital Archives ตามหลักสากลภายใตการพัฒนาระบบขอมูลของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส

3.1 โครงการศึกษารูปแบบและความเปนไปไดในการพัฒนาระบบจดหมายเหตุอิเล็กทรอนิกส (eArchieves) เพื่อวางรูปแบบและแนวทางการบริหารจัดการขอมูลจดหมายเหตุ (1) ศึกษา วิเคราะห เพื่อวางรูปแบบและแนว

ทางการพัฒนาระบบจดหมายเหตุอิเล็กทรอนิกส (eArchieves) ระดับชาติ

(2) ศึกษา วิเคราะห เพื่อวางรูปแบบและแนวทางการพัฒนาระบบจดหมายเหตุอิเล็กทรอนิกส (eArchieves) ระดับทองถิ่น

ศก. (สจช.)

5.000 -จํานวนผลการศึกษา -จํานวนระบบที่ไดรับการพัฒนาตอเนื่องจากผลการศึกษา

5.000

3.2 โครงการศึกษารูปแบบและความเปนไปไดในการพัฒนาระบบหอสมุดอิเล็กทรอนิกส (eLibrary) เพื่อวางรูปแบบและแนวทางการบริหารจัดการหอสมุดแหงชาติและชุมชน (1) ศึกษา วิเคราะห เพื่อวางรูปแบบและแนว

ทางการพัฒนาระบบหอสมุดอิเล็กทรอนิกส (eLibrary) ระดับชาติ

ศก. (สสช.)

3.000 -จํานวนผลการศึกษา -จํานวนระบบที่ไดรับการพัฒนาตอเนื่องจากผลการศึกษา

3.000

Page 51: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -9

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

(2) ศึกษา วิเคราะห เพื่อวางรูปแบบและแนวทางการพัฒนาระบบหอสมุดอิเล็กทรอนิกส (eLibrary) ระดับทองถิ่น

3.3 โครงการศึกษารูปแบบและความเปนไปไดในการพัฒนาระบบพิพิธภัณฑอิเล็กทรอนิกส (eMuseum) เพื่อสนับสนุน (1) ศึกษา วิเคราะห เพื่อวางรูปแบบและแนว

ทางการพัฒนาระบบพิพิธภัณฑอิเล็กทรอนิกส (eMuseum) ระดับชาติ

(2) ศึกษา วิเคราะห เพื่อวางรูปแบบและแนวทางการพัฒนาระบบพิพิธภัณฑอิเล็กทรอนิกส (eMuseum) ระดับทองถิ่น

ศก. (สพช.)

3.000 -จํานวนผลการศึกษา -จํานวนระบบที่ไดรับการพัฒนาตอเนื่องจากผลการศึกษา

3.000

3.4 โครงการจัดทําหนังสือบรรณานุกรมฉบับยอนหลังในรูปอิเล็กทรอนิกส

ศก. 0.300 -จํานวนบรรณานุกรมฉบับยอนหลังในรูปอิเล็กทรอนิกส

0.300

รวมงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร 121.680 ลานบาท

Page 52: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -10

ตารางที่ 6-4 สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตรที่ 3 สรางกลไกในการพัฒนาระบบจัดเก็บทะเบียนขอมูลสําคัญดานศลิปวัฒนธรรม และขอมูลเชิงลกึทางวิชาการดานศิลปวัฒนธรรม อยางเหมาะสม พอเพียงตอเนื่อง และเปนระบบ

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

1 พัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของสํานักงานปลัดกระทรวง และ สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบขั้นตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเนื่อง เพื่อสนับสนุนงานดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

2 พัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของกรมการศาสนา และ วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบขั้นตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเนื่องเพื่อใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการได

3 พัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของกรมศิลปากร วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบขั้นตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเนื่องเพื่อใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการได

-จํานวนผูใชบริการจากระบบเพิ่มขึ้น -จํานวนระบบบริการสารสนเทศที่สามารถใหบริการได -สามารถรักษาระยะเวลาในการใหบริการประชาชนที่รวดเร็วได -สัดสวนปริมาณงานกับจํานวนเจาหนาที่ที่ใหบริการสวนหนามีความสัมพันธกันมากขึ้น

รายละเอียดการดําเนินโครงการอางอิงตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกรมศิลปากร ปพ.ศ. 2552-2555(อยูระหวางการจัดทํา)

3.1 โครงการพัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลดานการขออนุญาตนําเขาและสงหรือนําโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุออกนอกราชอาณาจักรและสถานประกอบการคาหรือสถานจัดแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ

ศก. 1.000 0.200 -ระยะเวลาในการใหบริการประชาชนที่รวดเร็วขึ้น

1.200

3.2 โครงการนําเขาขอมูลโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ศก. -จํานวนขอมูลโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่เปนระบบดิจิตอล -จํานวนการใหบริการที่เพิ่มขึ้น

Page 53: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -11

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

(1) นําเขาขอมูลโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ทั่วประเทศเขาสูระบบ

ศก. 1.000

1.000

1.120

3.120

(2) ถายภาพโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติทั่วประเทศ เปนระบบดิจิตอลคุณภาพสูงและนําเขาสูระบบ

ศก. 18.000 21.000 22.800 61.800

(3) การแปลงภาพจากฟลมชนิดตางๆ เปนระบบดิจิตอล - ดําเนินการแปลงภาพจากฟลมชนิด

ตางๆ เปนระบบดิจิตอลดวยเครื่องดรัมสแกน

-สํานักพิพิธภัณฑ ดําเนินการเอง

3.3 โครงการพัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลดานการอนุรักษโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ

ศก.

-จํานวนขอมูลโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่เปนระบบดิจิตอล -จํานวนการใหบริการที่เพิ่มขึ้น

(1) พัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลดานการอนุรักษโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ

2.500

2.500

(2) นําเขาขอมูลโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่ดําเนินการอนุรักษดวยวิธีทางวิทยาศาสตร

0.200

0.400

0.400

1.000

(3) นําเขาภาพถายโบราณวัตถุศิลปวัตถุ สภาพกอนและหลังดําเนินการอนุรักษดวยวิธีทางวิทยาศาสตร

0.400 0.800 0.800 2.000

3.4 โครงการพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซตสํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ (1) จัดทําพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเสมือน

จริง (visual museum)

ศก. (สพช.)

1.000 -จํานวนผูใชบริการที่เพิ่มขึ้น -มีการใหบริการพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเสมือนผานเว็บไซต

1.000

3.5 โครงการพัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลดานงานควบคุมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ

ศก. -จํานวนขอมูลโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่เปนระบบดิจิตอล -จํานวนการใหบริการที่เพิ่มขึ้น

(1) พัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลการขออนุญาตนําเขาและสงออกโบราณวัตถุศิลปวัตถุ และสถานประกอบการคาหรือสถานจัดแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ

2.000

2.000

(2) นําเขาขอมูลสถานประกอบการคาและขอมูลการขออนุญาต

0.144 0.144 0.144 0.432

Page 54: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -12

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

3.6 โครงการพัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลผลงานการศึกษาคนควาวิจัยดานมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและวิชาการพิพิธภัณฑ

ศก. -จํานวนขอมูลมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและวิชาการพิพิธภัณฑ -จํานวนการใหบริการที่เพิ่มขึ้น

- พัฒนาระบบและจัดเก็บขอมูลผลงานการศึกษา คนควา วิจัยฯ

1.000

1.000

- นําเขาขอมูลผลงานการศึกษา คนควา วิจัยฯ

0.150 0.150 0.150 0.450

3.7 โครงการจัดทําฐานขอมูลและองคความรูอิเล็กทรอนิกส (ตูพระธรรม)

ศก. 0.630 1.200 1.100 0.500 - จํานวนขอมูลและองคความรูดานพุทธศาสนา

3.430

3.8 โครงการจัดเก็บเอกสารจดแจงการพิมพในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส

ศก. 0.200 0.200 0.200 0.200 - จํานวนเอกสารจดแจงการพิมพในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส

0.800

3.9 โครงการพัฒนาระบบจัดเก็บขอมูลดานวรรณกรรมและประวัติศาสตร

ศก. ศก.

-จํานวนขอมูลดานวรรณกรรมและประวัติศาสตร

(1) นําขอมูลเขา192 ชื่อเรื่อง 0.150 0.150 0.150 0.150 0.600 (2) พัฒนาระบบ 0.150 0.150 0.150 0.150 0.600 3.10 โครงการบริหารจัดการขอมูลสารสนเทศดาน

สถาปตยกรรม ศก.

(1) จัดทําระบบฐานขอมูลองคความรูดานการออกแบบสถาปตยกรรม วิศวกรรม และมัณฑนศิลป

0.600 0.120

0.120 -จํานวนขอมูลองคความรูดานการออกแบบสถาปตยกรรม วิศวกรรม และมัณฑศิลป

0.840

(2) จัดทําระบบหองสมุดและหองสมุดอิเล็กทรอนิกสองคความรูทางสถาปตยกรรม

0.487

0.120

-มีระบบหองสมุด จํานวน 1 ระบบ -จํานวนขอมูลองคความรูทางสถาปตยกรรม

0.607

(3) จัดทําระบบวางแผน รายงาน ติดตามผลการปฏิบัติงานออกแบบและงานโครงการ

0.600 0.120

-จํานวนรายงาน ติดตามผลการปฏิบัติงานออกแบบและงานโครงการ

0.720

(4) จัดทํา Website สถาปตยกรรม 0.200

0.307 0.120

-จํานวนผูใชบริการ -มี Website สถาปตยกรรม

0.627

(5) จัดทําระบบฐานขอมูลแบบสถาปตยกรรม วิศวกรรม และมัณฑนศิลป

1.300 1.000 0.200 -จํานวนขอมูลแบบสถาปตยกรรม วิศวกรรม และมัณฑศิลป

2.500

3.11 โครงการพัฒนาสารสนเทศดานชางสิบหมูจัดเก็บแบบงานศิลปกรรม ในรูปแบบดิจิตอล เพื่อการอนุรักษตนฉบับ

ศก. -จํานวนขอมูลแบบงานศิลปกรรม

(1) จัดจางออกแบบและพัฒนาระบบ 4.000 1.000 5.000

Page 55: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -13

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

โปรแกรมสําหรับจัดเก็บขอมูล (2) จัดจางนําขอมูลเขาสูระบบ 0.750 0.750 0.750 0.750 3.000 3.12 โครงการพัฒนาสารสนเทศเพื่อรวบรวม และ

จัดเก็บองคความรูดานชางสิบหมู ศก. -จํานวนขอมูลองคความรูดาน

ศิลปกรรม

(1) จัดจางออกแบบและพัฒนาระบบโปรแกรมสําหรับจัดเก็บขอมูล

4.000 1.000

5.000

(2) จัดจางนําขอมูลเขาสูระบบเพื่อการใชงาน

1.500 1.500 1.500 4.500

(3) จัดเก็บ รวบรวม เรียบเรียงขอมูลวิชาการดานศิลปกรรมทุกประเภทของสํานักชางสิบหมู

1.500 1.500 1.500 4.500

3.13 โครงการระบบสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส ศก. 3.000 0.100 0.100 -จํานวนหนังสือที่รับ-สงผานระบบเพิ่มขึ้น -ความพึงพอใจของผูใชบริการที่เพิ่มขึ้น

3.200

3.14 โครงการจัดการบริหารงบประมาณ ศก. 3.000 0.100 0.100 -มีระบบบริหารงบประมาณจํานวน 1 ระบบ

3.200

4 พัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของสํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบขั้นตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเนื่องเพื่อใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการได

5 การปรับปรุงและพัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของสํานักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบขั้นตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเนื่องเพื่อใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานไดอยางเปนระบบ

6 การปรับปรุงและพัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบขั้นตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูล

Page 56: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -14

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

เชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเนื่องเพื่อใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการไดอยางเปนระบบ

7 การปรับปรุงและพัฒนาระบบศูนยขอมูลหลักและระบบฐานขอมูลหลักของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป วางแผนกระบวนการนําเขาและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบขั้นตอน ดําเนินการประเมินปริมาณและคุณภาพของขอมูลเชิงรายการ และดําเนินการนําขอมูลเขาระบบอยางตอเนื่องเพื่อใหสามารถประมวลผลเรียกใชงานในทางวิชาการไดไดอยางเปนระบบ

รวมงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร 115.626 ลานบาท

Page 57: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -15

ตารางที่ 6-5 สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการกิจกรรมการพัฒนาสื่อและเนื้อหาดานวัฒนธรรม (Cultural Digital Content) ทุกระดับตั้งแตระดับทองถิ่นถึงระดบัชาติเพื่อสนับสนุนการอนรุักษ รักษา สืบทอด ปกปอง เชิดชูคุณคาวฒันธรรมของชาติและความหลากหลายของวฒันธรรม ตลอดจนใหบริการประชาชน

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

1 พัฒนาหองปฏิบัติการเพื่อการผลิตสื่อ (Media Production Resource Center) เพื่อใหบริการนักเรียน นักศึกษา และชุมชนในดานการสรางสรรค สะสม และนํากลับมาใชเพื่อพัฒนาองคความรูทางวัฒนธรรมบนสื่อใหมรูปแบบตางๆ

2 พัฒนาระบบบริหารจัดการสื่อการเรียนการสอนเพื่อรองรับการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาและวิชาการตั้งแตระดับพื้นฐานวิชาชีพถึงวิชาชีพชั้นสูง ดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลป คีตศิลป ชางศิลป ทั้งไทยและสากล รวมทั้งศิลปนวัฒนธรรมระดับทองถิ่นและระดับชาติ

-มีระบบอางอิงการจัดเก็บและเผยแพรสื่อวิชาการเฉพาะเรื่อง -ขีดความสามารถในการแลกเปลี่ยนสื่อระหวางวิทยาลัยเพิ่มขึ้น

2.1 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศใหบริการดานดนตรีและนาฏศิลปไทย

ศก. -จํานวนผูเขาใชบริการ -ความพึงพอใจของผูใชบริการ -จํานวนขอมูลดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลป

(1) งานบันทึกและนําเขาขอมูลดานภาพนิ่งและเอกสาร, ภาพ

3.000

3.000

3.000

9.000

(2) งานบันทึกและนําเขาขอมูลดานเสียง 1.500 1.500 1.500 4.500 (3) งานบันทึกและนําเขาขอมูลดานวดีิทัศน 3.000 3.000 3.000 9.000 (4) งานคนควาและบันทึกทะเบียนขอมูลดาน

นาฏดุริยางคศิลป (รวมถึงการบันทึกโนตดนตรี)

1.500

1.500

1.500

4.500

รวมงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร 27.000 ลานบาท

Page 58: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -16

ตารางที่ 6-6 สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาเครือขายประชาคมออนไลน (Online Social Network) เพื่อเฝาระวังภัยคุกคามทางวัฒนธรรมอยูในสังคมแบบออนไลน และดแูลความเหมาะสมของ สื่อ และ เนื้อหาออนไลน

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด

รวม

งบประมาณหมายเหตุ 52 53 54 55 56

1 พัฒนาศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรมใหมีขีดความสามารถในการตอบโต และ เตือนภัยทางวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ

2 การพัฒนาระบบบริการสารสนเทศและบริการหนวยงานเครือขายทางวัฒนธรรม

รวมงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร ลานบาท

Page 59: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -17

ตารางที่ 6-7 สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตรที่ 6 ใช ICT เปนเครื่องมือหลักในการพัฒนาสังคมแหงความคิดสรางสรรค (Creative Society) เพื่อนําประเทศสูการพัฒนาเศรษฐกิจแหงความคิดสรางสรรค (Creative Economy)

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานเจาภาพ

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

1 จัดใหมีระบบที่ใชเปนเวทีแสดงออกทางวัฒนธรรมเพื่อเปนการเพิ่มชองทางในการแสดงออกทางวัฒนธรรม เชน ภาพหรือวีดีโอคลิปการแสดงของไทย การถายภาพแนะนําสถานที่ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ หรือสถานที่ในชุมชน/ทองถิ่น ที่มีเอกลักษณทางวัฒนธรรมของไทย และเนื้อหาทางภูมิปญญา ในหลายรูปแบบ อาทิ video clip, web-based information

2 ใหขอมูล และ ความเขาใจ กับนานาชาติ ในเรื่องทางวัฒนธรรมผานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (เว็บไซต 4 ภาษา อังกฤษ สเปน ญี่ปุน จีน)

รวมงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร ลานบาท

Page 60: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -18

ตารางที่ 6-8 สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตรที่ 7 พัฒนากลไกและชองทางการใหบริการโดยใชเทคโนโลยสีารสนเทศเพิ่มขีดความสามารถในการบริการประชาชนและสนับสนุนการทํางานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสทุกมิติ และใชเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารอยางเตม็ที่ ในทุกองคาพยพของกระทรวง

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานหลัก

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

1 เปนเจาภาพจัดการมาตรฐานการเชื่อมโยงขอมูลดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติ

2 ปรับปรุงกลไก CIO กระทรวงใหสอดคลองกับนโยบาย โดยใชหลักการบริหารจัดการตามแนวทางเดียวกัน

3 พัฒนาระบบรองเรียนรองทุกขกลางเพื่อรับ-สง-ติดตามผล ปญหาเรื่องเดือดรอนของประชาชนที่เกี่ยวของกับหนวยงานดานวฒันธรรม

4 ศึกษา พัฒนา เชือ่มตอ ขยายผลการทํางานของระบบ รายการระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานบริหารจัดการภายในกระทรวงและหนวยงานในสังกัดภารกิจรายกรม/สํานักงาน

4.1 โครงการพัฒนารูปแบบการใหบริการขอมูล ศก. (1) ระบบเว็ปไซตกรมศิลปากร 2.000 2.000 1.000 -จํานวนผูใชบริการจากระบบ

-ความพึงพอใจของผูใชบริการ 5.000

(2) ระบบเว็ปไซตอินทราเน็ต 0.150 0.150 0.150 -จํานวนผูใชบริการจากระบบ -ความพึงพอใจของผูใชบริการ -มีระบบ Intranet ที่มีเนื้อหาครอบคลุมและทันสมัย

0.450

(3) ระบบเว็ปไซตศูนยขอมูลขาวสารกรมศิลปากร (ตามพรบ.ขาวสาร)

0.150 0.150 0.150 -จํานวนผูใชบริการจากระบบ -ความพึงพอใจของผูใชบริการ -เว็บไซตที่มีเนื้อหาครอบคลุมและทันสมัย

0.450

(4) ระบบเว็บไซตสํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ

1.600 2.800 -จํานวนผูใชบริการจากระบบ -ความพึงพอใจของผูใชบริการ

4.400

4.2 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารราชการของกรมศิลปากรโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศดานทรัพยากรบุคคล (HRIS)

ศก. 5.800 5.800 5.800 -มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริหารราชการของกรมศิลปากรโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศดานทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ

17.400

4.3 โครงการพัฒนาระบบคลังขอสอบวิชา ศก. 7.000 -มีระบบคลังขอสอบวิชาที่มีประสิทธิภาพ

7.000

4.4 โครงการพัฒนาระบบคลังขอมูลกลาง ศก. 30.000 10.000 5.000 -มีระบบคลังขอมูลกลางที่มีประสิทธฺภาพ

45.000

Page 61: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -19

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานหลัก

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

5 พัฒนาขีดความสามารถ ปรับปรุง และบํารุงรักษาโครงสรางพื้นฐานระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย และระบบบริการพื้นฐานของหนวยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม

5.1 โครงการพัฒนาระบบเครือขาย ศก (1) ระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูล ศก 12.000 6.000 2.000 -ระบบคอมพิวเตอรมีความปลอดภัย

และใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 20.000

(2) จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ(ใหม)

ศก 10.300 10.300 10.000 -มีเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณเพิ่มขึ้นอยางเหมาะสม

30.600 - เครื่องใหมเพื่อ ใหเพียงพอกับเจาหนาที่ จํานวน 1,000เครื่อง = 1,000x30,000

- เครื่องคอมพิวเตอรเฉพาะรองรับงานดาน กราฟฟค จํานวน 14เครื่อง = 14x42,500

(3) จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ เพื่อทดแทนเครื่องเดิม / เครื่องประสิทธิภาพต่ํา

ศก 9.000 9.000 9.000 27.000 - ทดแทนเครื่องเการะยะเวลา 5 ปจํานวน 300 เครื่อง = 300x30,000

(4) พัฒนาระบบเครือขาย และการเชื่อมตอ ศก 15.000 28.000 9.200 -ระบบเครือขายสามารถใชงานไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ

52.200

(5) ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณประกอบและติดตั้งระบบเครือขายเพื่อใชในงานภูมิสารสนเทศ (GIS) ดานมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของหนวยงานกรมศิลปากร

ศก 2.140 2.750 2.800 7.690

(6) งานปรับปรุงหองติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย

ศก 5.000 5.000

Page 62: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -20

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานหลัก

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

(7) พัฒนาระบบปองกันความเสี่ยง ตาม พรบ.การกระทําผิดทางคอมพิวเตอร ของหนวยงานในกรมศิลปากร

ศก 11.600 8.280 8.280 28.160

5.2 โครงการรวบรวมและเผยแพรขอมูลจดหมายเหตุเพื่อการบริการประชาชน (1) ติดตั้งเครือขายและอุปกรณ

ศก

16.900

3.000

19.900

5.3 โครงการพัฒนาและบริการขอมูลจดหมายเหตุที่เกี่ยวเนื่องในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล อดุลยเดชและพระบรมวงศเพื่อการบริการประชาชน (1) บํารุงรักษาระบบ และการขยาย

ฐานขอมูลอุปกรณการจัดเก็บ

ศก

9.000

3.000

12.000

5.4 โครงการระบบประชุมทางไกลผานระบบ VDO Conference

ศก. 20.000 -มีระบบประชุมทางไกลผานระบบ VDO Conference ที่มีประสิทธิภาพ

20.000 - คาอุปกรณควบคุมสวนกลางมูลคา10 ลาน

- อุปกรณประชุมทางไกล มูลคา 15x500,000

- อุปกรณสัญญาณภาพ 15x50,000

- อุปกรณสัญญาณเสียง 15x50,000

- คาใชจายอื่นๆ 1 ลาน

6 พัฒนาบุคลากร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการประยุกตใชและพัฒนา ICT ใหกับขาราชการในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม

6.1 โครงการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานและบริหารจัดการมรดกทางศิลปวัฒนธรรม

ศก.

5.500 5.500 5.500 -บุคลากรในสังกัดไดรับการฝกอบรมอยางนอย 2,287 คน -ความพึงพอใจของผูไดรับการฝกอบรม

16.500 ทําใหบุคลากรกรมศิลปากรมีความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 63: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

หนาที่ 6 -21

แผนงาน แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม หนวยงานหลัก

งบประมาณ(ลานบาท/ป) ตัวชี้วัด รวมงบประมาณ หมายเหตุ 52 53 54 55 56

สามารถใชเทคโนโลยีไดอยางมีประสิทธิภาพ

รวมงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร 318.750 ลานบาท ตารางที่ 6-9 สรุปงบประมาณจําแนกตามยทุธศาสตรป พ.ศ. 2552 -2556

ป พ.ศ. ยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรที่ 5 ยุทธศาสตรที่ 6 ยุทธศาสตรที่ 7 งบประมาณรวม (ลานบาท)

2552 13.020 0.000 0.900 0.000 0.000 0.000 0.000 13.920 2553 10.790 24.705 1.880 0.000 0.000 0.000 0.000 37.375 2554 10.690 24.845 43.431 9.000 0.000 0.000 110.240 198.206 2555 7.130 37.615 37.191 9.000 0.000 0.000 136.630 227.566 2556 5.130 34.515 32.224 9.000 0.000 0.000 71.880 152.749

งบประมาณรวม(ลานบาท) 46.760 121.680 115.626 27.000 0.000 0.000 318.750 629.816

จากการสรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก ตามยทุธศาสตรของกรมศิลปากร กระทรวงวฒันธรรม ทีม่ีความสอดคลองกับยุทธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลักที่

กําหนดไวในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 นั้น รวมงบประมาณทกุยุทธศาสตรทัง้สิ้น 629.816ลานบาท

Page 64: 1 1-1แผนแม บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556 หน าที่

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศิลปากร พ.ศ. 2552 - 2556

ภาคผนวก ก-1

ภาคผนวก ก

แนวคิดการพฒันาระบบศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรมดวยแผนทีอ่งคความรูทางวัฒนธรรม แบบ 3 กลุม 3 มติิเวลา (3X3 Cultural Knowledge Map)

ระบบศูนยขอมูลกลางทางวฒันธรรม องคความรูทางวัฒนธรรม 3 กลุม

(3 layers of Cultural Knowledge Map)

3 มิติเวลา (Time-based Knowledge)

รองรอยทางวฒันธรรมที่หลงเหลือในปจจุบัน

(Now)

วัฒนธรรมรวมสมัย/การผสมผสานทางวัฒนธรรม

(Contemporary)

ประวตัิศาสตร/อดีต (Then)

ฐานขอมูลบุคลากรทางวัฒนธรรม (เชน ครู ชางนักเรียน/นักศึกษา ศิลปนวัฒนธรรมระดับทองถิ่นและระดับชาต)ิ

บุคคล:การจัดเก็บองคความรูของบุคคล (People-based Knowledge)

ผูรู หรือบุคคลที่สามารถสืบสาน/ถายทอดเรื่องราวทางวฒันธรรม

ศิลปน/บุคลากรทางวัฒนธรรม บุคคลในประวัตศิาสตร

ระบบภูมสิารสนเทศ (แผนที่ปจจุบัน และแผนที่โบราณ)

สถานที:่ (Location-based Knowledge) • จุดสนใจทางวัฒนธรรม • แหลงความรู/ศูนยการเรยีนรู

แผนที่เสนทางทองเที่ยว (ทางวฒันธรรม)

สถานทีท่ี่เกี่ยวของกับงานดานวัฒนธรรม เชน หอศิลป หอสมุด หอจดหมายเหตุ

แผนที่โบราณ (ตามยุคสมัย)

ระบบจดัเก็บและเผยแพรองคความรูทางวัฒนธรรม

ขอมูล: :การจัดเก็บองคความรูตามเรื่องราวหรือขอมูล (Information-based Knowledge) • ความรู (Knowledge) • ภูมิปญญา (Wisdom) • เรื่องราว (Story) • หลักสตูร/สื่อการเรียนการสอน

องคความรูเพื่อสืบทอดมรดกทางวฒันธรรม ไดแก ภาษาไทย วรรณคดี ประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี นาฏศิลป ดุริยางคศิลป คตีศิลป สถาปตยกรรม ศิลปกรรม ชางศิลป ฯลฯ

• องคความรูดานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย

• การตอยอดองคความรู • การตอยอดภูมปิญญา • วรรณกรรมรวมสมัย/เรื่องราวที่เกิดขึ้นรวมสมัย

• องคความรูเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของชาติและศลิปวัฒนธรรมที่หลากหลายของชุมชนในทองถิ่น

• เรื่องราวในประวัตศิาสตร