การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ...

41
การสรางขอสอบตามแนวการวัด ในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA 30 กรกฎาคม 2544

Transcript of การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ...

Page 1: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

การสรางขอสอบตามแนวการวัด

ในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA

30 กรกฎาคม 2544

Page 2: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

การวัดและประเมินผลการเรียน

1. เพื่อประเมินความกาวหนาและพัฒนาการของ

การเรียนการสอน (Formative Assessment)

2. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเรียนการสอน (Summative

Assessment)

3. เพื่อประเมินการจบการศึกษา (Exit Examination)

เปาหมายของการวัดผล

Page 3: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

วิธีการวัดผลการเรียนการสอน

1. การทดสอบดวยขอสอบ

2. การประเมินผลจากการปฏิบัติงานและผลงานของผูเรียน

3. การประเมินจากบริบทอื่น

Page 4: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

องคประกอบสําคัญของขอสอบมี 2 สวน ดังนี้

1. สถานการณหรือขอสนเทศ

2. คําถามหรือปญหา

การทดสอบดวยขอสอบ

Page 5: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

เปนสวนของขอมูลเพ่ือใชในการตอบคําถาม โดยนําเสนอ

เหตุการณ ปรากฏการณ หรือการจัดประสบการณที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระ

ของบทเรียน ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร รวมทั้งมีความ

เชื่อมโยงกับความเปนจริงของชีวิต และสังคม

สถานการณหรือขอสนเทศ

Page 6: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

• เหตุการณจริงหรือสถานการณจําลองที่ใกลเคียงความจริง

ความรูตางๆ ที่มีผูอ่ืนรวบรวมไวแลว

• ปรากฏการณที่เกิดขึ้นในปจจุบัน หรือประเด็นที่สังคม

ใหความสนใจ

• สถานการณที่เก่ียวของกับบทเรียน สาระการเรียนรู

ในหลักสูตร

• เรื่องสมมติที่สามารถนํามาวิเคราะห แกปญหา

ใหความคิดเห็น หรือแสดงความรูสึก

สถานการณหรือขอสนเทศควรมีลักษณะ ดังน้ี

สถานการณหรือขอสนเทศ

Page 7: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

เปนสวนของคําสั่งที่ระบุใหทราบวาตองการใหทําอะไร

โดยทั่วไปตองการใหตอบสนองโดยการคิดในเชิงวิทยาศาสตรและ

นําความรู ทักษะตางๆ ไปเพื่อใชแกปญหา คําถามสวนใหญมี

ลักษณะปลายเปดที่ใหผูเรียนมีอิสระทางความคิด และถายทอด

ความรูในรูปแบบของการเขียนตอบได

คําถามหรือปญหา

Page 8: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

• สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและสถานการณ

ที่กําหนด

• สื่อสารไดชัดเจนและใชภาษาที่เหมาะสมกับระดับของ

ผูเรียน

• สงเสริมใหผูเรียนคิดวิเคราะห วิจารณ อภิปราย แกปญหา

ตัดสินใจ ประเมินคา และสรางคําตอบไดอยางสมเหตุผล

• เนื้อหาของคําถามมีความยุติธรรมสําหรับผูเรียนทุกคน

คําถามหรือปญหา ควรมีลักษณะ ดังนี้

คําถามหรือปญหา

Page 9: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ลักษณะขอสอบ

เลือกตอบ1

เลือกตอบแบบเชิงซอน2

เขียนตอบแบบสั้น/ปด3

เขียนตอบแบบอิสระ4

Page 10: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

การเตรียมขอสอบแบบเขียนตอบควรมีแนวการ

ตอบและเกณฑการใหคะแนนดวย เพื่อใหผูตรวจคําตอบ

สามารถตรวจไดสะดวกและใหคะแนนไดตรงกัน

- แนวการตอบ เปนหลักการหรือแนวคิดที่เปนไปได

ในการตอบคําถาม

- เกณฑการใหคะแนน เปนเกณฑที่กําหนดข้ึน

สําหรับการใหคะแนนคําตอบโดยพิจารณาความถูกตอง

ครบถวนและความสมบูรณของคําตอบเปนสําคัญ

ขอสอบแบบเขียนตอบ

Page 11: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

1. เกณฑใหคะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring Guideline )

เปนการใหคะแนน โดยดูภาพรวมที่แสดงถึงความเขาใจ การเกิด

แนวคิดหลัก กระบวนการที่ใช และการสื่อความหมาย และแบงระดับ

คุณภาพของงานโดยเขียนอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแตละระดับ

อยางชัดเจน

ลักษณะของเกณฑการใหคะแนนแบบเขียนตอบมี 2 รูปแบบ

เกณฑการใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบ

Page 12: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

2. เกณฑใหคะแนนแบบแยกองคประกอบ ( Analytic Scoring Guideline )

เปนการใหคะแนนผลงานโดยแยกองคประกอบของผลงาน

ออกเปนดานตางๆ และอธิบายพฤติกรรมการแสดงออกในแตละ

องคประกอบเปนระดับ

ขอดีของการใหคะแนนแบบน้ี คือ มีความเปนปรนัยในการ

ใหคะแนนมากขึ้นและสามารถกําหนดสัดสวนของคะแนนตาม

ความสําคัญได

เกณฑการใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบ

Page 13: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ชวงช้ันที่ 3 สาระที่ 5

ทดลองและอธิบายการดูดกลืนแสง และการคายความรอนของวัตถุตางๆ

สืบคนขอมูล รวมทั้งการนําความรูไปใชออกแบบเพื่อประโยชนในกิจกรรมตางๆ

ตัวอยางขอสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ

สถานการณ

นักเรียนกลุมหนึ่งทําการทดลอง

นําถังโลหะ 2 ใบขนาดเทากัน ใบที่ 1

ทาสีดําและใบที่ 2 ทาสีขาว ใสน้ําปริมาณ

ที่เทากัน ตากแดดในวันที่อากาศรอนจัด

และสังเกตอุณหภูมิของน้ําในตอนเริ่มตน

เวลา 8.00 น. และหลังจากตากแดดที่

รอนจัดถึงเวลา 12.00 น. ไดผลดังภาพ

เวลา 8.00 นาฬิกา

25 O C 25 O C

38 O C 33 O C

เวลา 12.00 นาฬิกา

Page 14: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

คําถาม

ผลของการทดลองนี้มีการเปลี่ยนแปลงอยางไร เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้น

แนวคําตอบ

ผูตอบมีความเขาใจการดูดกลืนและการคายพลังงานความรอนของวัตถสีุเขมและ

สีออนได โดยมีแนวการตอบดังนี้ “อุณหภูมิของน้ําในถังทั้งสองสูงขึ้น อุณหภูมิ

ของน้ําในถังสีดําสูงขึ้นมากกวาน้ําในถังสีขาว เนื่องจากวัตถุสีดําดูดกลืนแสงและ

คายความรอนไดดีกวาวัตถุสีขาว จึงทําใหน้ําในถังสีดํามีอุณหภูมิสูงขึ้นมากกวา”

ตัวอยางขอสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ

Page 15: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

ตองปรับปรุง

พอใช

ดี

เกณฑการประเมินแบบภาพรวม

• อธิบายการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิ แตไมสามารถอธิบายเหตุผลได

• อธิบายการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นไดโดยเปรียบเทียบ

อุณหภูมิท่ีแตกตางกันระหวางถังท้ังสอง และ อธิบายเหตุผล

ท่ีอุณหภูมิของถังท้ังสองเพ่ิมขึ้นไดบางสวน

• อธิบายการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นได โดยเปรียบเทียบ

อุณหภูมิท่ีแตกตางกันระหวางถังท้ังสอง และ อธิบาย

เหตุผลท่ีอุณหภูมิของถังท้ังสองเพ่ิมขึ้นโดยเปรียบเทียบ

สมบัติการดูดกลืนแสงและคายความรอนของวัตถุสีขาวและ

สีดํา

ตัวอยางขอสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ

Page 16: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

รายการประเมิน คะแนน

1• อุณหภูมิของน้ําในถังท้ังสองเพ่ิมขึ้น

1• อุณหภูมิของน้ําในถังสีดําเพ่ิมขึ้นมากกวาถังสีขาว

รวม 4 คะแนน

เกณฑการประเมินแบบแยกองคประกอบ

1• อธิบายวาวัตถุสีดําสามารถดูดกลืนแสงไดดีกวาวัตถุสีขาว

1• อธิบายวาวัตถุสีดําสามารถคายพลังงานความรอน

ไดดีกวาวัตถุสีขาว

ตัวอยางขอสอบเขียนตอบ: การดูดกลืนแสงของวัตถุ

Page 17: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

พิจารณารูปตอไปนี้

นํ้า

วัตถุ x

ตัวอยางขอสอบ: การจมหรือลอย

Page 18: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ถาตัดวัตถุ x ซึ่งมีเน้ือสม่ําเสมอออกเปน 2 สวน และนําไปลอยในนํ้า

จะไดผลดังรูปใด1.

ก. ข.

ค. ง.

ก. ข.

ค.

ก. ข.

ตัวอยางขอสอบ: การจมหรือลอย

Page 19: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ถาตัดวัตถุ x ออกเปน 2 สวน และนําไปลอยนํ้าจะไดผลดังรูปใด2.

จงอธิบาย?

ง.ค.

ก. ข.

ตัวอยางขอสอบ: การจมหรือลอย

Page 20: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ถาตัดวัตถุ x ออกเปน 2 สวน และนําไปลอยสารละลายชนิดอื่น

จะไดผลดังรูปใด3.

จงอธิบาย?

ง.ค.

ก. ข.

ตัวอยางขอสอบ: การจมหรือลอย

Page 21: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ถาตัดวัตถุ x ออกเปน 2 สวน และนําไป ลอยใน

ของเหลว y จะไดผลเปนอยางไร

4.

จงอธิบาย

ตัวอยางขอสอบ: การจมหรือลอย

Page 22: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ถาตองการทดสอบวาวัตถุ x มีเนื้อเดียวกัน ตลอดท้ัง

กอนหรือไม

5.

มีวิธีการทดสอบไดอยางไร?

ตัวอยางขอสอบ: การจมหรือลอย

Page 23: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

อัตราสวนของปริมาตรสวนที่จมตอ

ปริมาตรรวมของวัตถุ x เปนอยางไร

6.

3

1

4

3

2

1

4

1ก.

ค. ง.

ข.

ตัวอยางขอสอบ: การจมหรือลอย

Page 24: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

นักวิจัยตองการสรางทุนทรงกระบอกจากแผนโลหะผสมแลวนําไปลอยในทะเล

เพื่อวัดความหนาแนนของนํ้าทะเลบริเวณน้ันไดคาระหวาง 1020 kg/m3 ถึง 1029 kg/m3

นักวิจัยรูวาแผนโลหะที่ซ้ือมาหนัก M กิโลกรัม และเศษโลหะที่เหลือจากการสรางทุน

หนักนอยมากเม่ือเทียบกับนํ้าหนักของทุน เ

พื่อใหทุนลอยในทะเลได จะตองสรางทุนใหมีปริมาตรมากหรือนอยเพียงใดเม่ือ

เทียบกับนํ้าหนักของแผนโลหะ

จงอธิบายคําตอบ ………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………….

ตัวอยางคําถามวัดเน้ือหาและสมรรถนะหลายกลุม

Page 25: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ทุนทรงกระบอก

แนวคําตอบ Vทรงกระบอก > M ÷1029 พรอมแสดงท่ีมาของอสมการ เชน

Page 26: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ทุนทรงกระบอก

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ตามหลักสูตร 51:

สาระที่ 2 การวัด / มาตรฐาน ค 2.1, ค 2.2

ตัวชี้วัด

- ใชความรูเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรแกปญหาในสถานการณตาง ๆ

- คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตร และนํ้าหนักไดอยางใกลเคียง

และอธิบายวิธีการที่ใชในการคาดคะเน

สาระท่ี 4 พีชคณิต / มาตรฐาน ค 4.2

ตัวชี้วัด

- ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวในการแกปญหา

พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ

สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

Page 27: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ตัวอยางสถานการณ 1

น้ํามันที่ใชในการประกอบอาหารโดยทั่วไป จะมีทั้งกรดไขมัน

อิ่มตัวและไมอิ่มตัวรวมอยูดวยกัน แตจะมีสัดสวนที่แตกตางกัน บางชนิดมี

กรดไขมันอิ่มตัวเปนองคประกอบมาก เชน น้ํามันหรือไขมันที่ไดจากสัตว

ทุกชนิด น้ํามันมะพราว เปนตน สําหรับกรดไขมันไมอิ่มตัวหลายตําแหนง

พบมากในน้ํามันถั่วเหลือง น้ํามันดอกทานตะวัน เปนตน

ไขมันแตละชนิดจะมีผลตอรางกายตางกันโดยเฉพาะการ

เปลี่ยนแปลงของระดับคอเลสเตอรอลในเลือด การกินกรดไขมันอิ่มตัว

มากจะทําใหคอเลสเตอรอลที่ดี (HDL) และไมดี (LDL) สูงขึ้น ขณะที่กรด

ไขมันไมอิ่มตัวจะทําใหทั้งคอเลสเตอรอลที่ดีและไมดีกับรางกายลดลง

ท่ีมา : หมอชาวบาน ปที่ 33 ฉบับที่ 387

Page 28: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ตัวอยางสถานการณ 1

Page 29: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ตัวอยางสถานการณ 1

Page 30: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

คําถาม 1.1

นักวิชาการคนหนึ่งกลาววา “การโฆษณาของน้ํามันพืชที่ไมมี

คอเลสเตอรอล อาจทําใหเขาใจผิดวาสามารถกินน้ํามันพืชเทาไรก็ได”

คํากลาวของนักวิชาการเปนจริงหรือไม พรอมอธิบายเหตุผล

ของนักเรียน

..................................................................................................................

....................

Page 31: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

เกณฑการใหคะแนน คําถาม 1.1

เกณฑการใหคะแนน

เปนจริง โดยใหเหตุผลถึงผลเสียหรืออันตรายของการบริโภคไขมันในปริมาณท่ีมากเกินความจําเปน

เชน ทําใหไขมันสวนเกินสะสมเปนโรคอวน ปริมาณไขมันในเสนเลือดสูงขึ้น ไขมันอุดตันในเสนเลือด

ไขมันสวนเกินอาจถูกเปลี่ยนเปนคลอเรสเตอรอล

จุดประสงคของคําถาม

เพื่ออธิบายผลจากการไดรับไขมันในปริมาณท่ีมากเกินไป

สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551

สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดํารงชีวิต / มาตรฐาน ว1.1

ตัวชี้วัด ทดลอง วิเคราะห และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดสวนท่ีเหมาะสม

กับเพศและวัย

Page 32: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

คําถาม 1.2

องคการอนามัยโลก (WHO) และองคการอาหารและเกษตร

แหงสหประชาชาติ (FAO) แนะนําวา “การกินไขมันเพื่อสุขภาพที่ดี

ควรไดพลังงานจากไขมันไมเกินรอยละ 30 ของพลังงานทั้งหมด โดย

ไดกรดไขมันอิ่มตัวไมเกินรอยละ 10 ในคนปกติ สวนที่เหลือเปนกรด

ไขมันไมอิ่มตัว”

ไขมัน 1 กรัม ใหพลังงาน 9 กิโลแคลอรี

สมชายตองการพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี

..................................................................................................................

เพื่อสุขภาพที่ดี ควรรับประทานไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุดวันละกี่กรัม

Page 33: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

เกณฑการใหคะแนน คําถาม 1.2

เกณฑการใหคะแนน

60 กรัม

จุดประสงคของคําถาม

เพื่อคํานวณรอยละของพลังงาน และแปลงพลังงานใหเปนกรัม

สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551

สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ / มาตรฐาน ค1.2

ตัวชี้วัด วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาและโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ เศษสวน

จํานวนคละ ทศนิยม และรอยละ พรอมท้ังตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ และสราง

โจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนนับได

Page 34: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

คําถาม 1.3

นักเรียนคนหนึ่งอานขอมูลในตารางแลวสรุปวา “น้ํามันพืช

เหมาะกับการบริโภคมากกวาน้ํามันหมู”

..................................................................................................................

......................

นักเรียนเห็นดวยกับคํากลาวนี้หรือไม จงใชขอมูลในตาราง

สนับสนุนเหตุผลของนักเรียน

Page 35: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

เกณฑการใหคะแนน คําถาม 1.3

เกณฑการใหคะแนน

เห็นดวย เพราะน้ํามันพืชสวนใหญมีกรดไขมันอ่ิมตัวต่ํากวาน้ํามันหมู

ไมเห็นดวย เพราะน้ํามันหมูมีไขมันอ่ิมตัวนอยกวาน้ํามันพืชบางชนิด เชน น้ํามันปาลมและน้ํามันมะพราว

จุดประสงคของคําถาม

ตีความขอมูลปริมาณไขมันอ่ิมตัวและไมอ่ิมตัวในตาราง

สาระมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร 2551

สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตและกระบวนการดํารงชีวิต / มาตรฐาน ว1.1

ตัวชี้วัด ทดลอง วิเคราะห และอธิบายสารอาหารในอาหารมีปริมาณพลังงานและสัดสวนท่ีเหมาะสม

กับเพศและวัย

Page 36: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ใบงานที่ 1

สําหรับวันที่ 30 กรกฎาคม 2554

Page 37: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ใบงานที่ 1 - ออกขอสอบตามสถานการณที่กําหนดให

ใหแตละกลุม ออกขอสอบตามสถานการณท่ีให

เปนขอสอบวัด (1)วิทยาศาสตร (2)คณิตศาสตร

และ(3)การอาน หรือแบบบูรณาการ พรอมแนว

คําตอบ และเกณฑการใหคะแนน

ในแตละวิชาออกขอสอบจํานวน 3 ขอ โดยใหมี

รูปแบบขอสอบดังนี้

- แบบเลือกตอบ 1 ขอ

- แบบเขียนตอบส้ัน 1 ขอ

- แบบเขียนตอบใหเหตุผล 1 ขอ

Page 38: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ใบงานที่ 1 - ออกขอสอบตามสถานการณที่กําหนดให

แตละคําถามใหเช่ือมโยงกับจุดประสงคการเรียนรู

เกณฑการใหคะแนนใหมีท้ังแบบ Analytic และ

Holistic

ใหแตละกลุมนําเสนอเมื่อเสร็จแลว

Page 39: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ใบงานที่ 2

สําหรับวันที่ 31 กรกฎาคม 2554

Page 40: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ใบงานที่ 2 - ออกขอสอบตามสถานการณที่เลือก

ใหอาจารยแตละทาน ออกขอสอบตามสถานการณ

ท่ีทานเลือก เปนขอสอบในวิชาท่ีสอน/ถนัด

(วิทยาศาสตร/ คณิตศาสตร/การอาน หรือบูรณา

การ) พรอมแนวคําตอบ และเกณฑการใหคะแนน

ในแตละวิชาออกขอสอบจํานวน 3 ขอ โดยใหมี

รูปแบบขอสอบดังนี้

- แบบเลือกตอบ 1 ขอ

- แบบเขียนตอบส้ัน 1 ขอ

- แบบเขียนตอบใหเหตุผล 1 ขอ

Page 41: การสร้างข้อสอบตามแนวการวัดในโครงการวิจัยนานาชาติ PISA โดย ดร.ปรีชาญ

ใบงานที่ 2 - ออกขอสอบตามสถานการณที่เลือก

แตละคําถามใหเช่ือมโยงกับจุดประสงคการเรียนรู

เกณฑการใหคะแนนใหมีท้ังแบบ Analytic และ

Holistic