บทที่ 7

8
บทที7 ภาษามือหมวด ผลไม้ ผลไม้มีประโยชน์สำหรับคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งช่วยให้สุขภำพแข็งแรงไม่เป็นไข้หวัด บำงชนิด ช่วยซ่อมส่วนที่สึกหรอในร่ำงกำย คำศัพท์ในหมวดผลไม้นี้สำมำรถสอนได้หลำยรูปแบบ ได้แก่ กำร สอนคำศัพท์ กำรสอนเรื่องรสชำติและสีทำให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนมำกในกำรเอำไปช้ำใน ชีวิตประจำวัน กำรเริ่มต้นเรียนรู้ภำษำมือหมวดผลไม้ ก่อนอื่นขอนำเสนอภำษำมือในเรื่องสีและรสชำด เสียก่อนเพื่อให้เกิดควำมสมบูรณ์ในกำรทำเป็นรูปประโยคและกำรนำไปใช้ 1. ภาษามือหมวดสี ภำษำมือหมวดสี เป็นกำรทำภำษำมือโดยใช้ลักษณะของกำรกระทำ กำรชี้สีตำมอวัยวะ ต่ำงๆ ตลอดจนกำรนำเอำพยัญชนะมำใช้ในกำรทำภำษำมือ เช่น คำว่ำสี ใช้ลักษณะกำรกระทำ เหมือนกำรทำสีไปที่มือถูกไปมำ คำว่ำ สีดำ ใช้กำรชี้ที่คิ้วเนื่องจำกคิ้วเป็นสีดำ คำว่ำ สีฟ้ำ ใช้พยัญชนะ ฟ ตำมภำพ สี แบมือข้างหนึ่งแล้วใช้อีกมือหนึ่งถูไปมา ตามภาพ สีแดง ทาท่ามือ เลขหนึ่งและลากลงตามภาพ

Transcript of บทที่ 7

Page 1: บทที่ 7

บทท่ี 7 ภาษามือหมวด ผลไม ้

ผลไม้มีประโยชน์ส ำหรับคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งช่วยให้สุขภำพแข็งแรงไม่เป็นไข้หวัด บำงชนิดช่วยซ่อมส่วนที่สึกหรอในร่ำงกำย ค ำศัพท์ในหมวดผลไม้นี้สำมำรถสอนได้หลำยรูปแบบ ได้แก่ กำรสอนค ำศัพท์ กำรสอนเรื่องรสชำติและสีท ำให้เกิดประโยชน์กับผู้ เรียนมำกในกำรเอำไปช้ำในชีวิตประจ ำวัน กำรเริ่มต้นเรียนรู้ภำษำมือหมวดผลไม้ ก่อนอ่ืนขอน ำเสนอภำษำมือในเรื่องสีและรสชำดเสียก่อนเพื่อให้เกิดควำมสมบูรณ์ในกำรท ำเป็นรูปประโยคและกำรน ำไปใช้

1. ภาษามือหมวดสี ภำษำมือหมวดสี เป็นกำรท ำภำษำมือโดยใช้ลักษณะของกำรกระท ำ กำรชี้สีตำมอวัยวะ

ต่ำงๆ ตลอดจนกำรน ำเอำพยัญชนะมำใช้ในกำรท ำภำษำมือ เช่น ค ำว่ำสี ใช้ลักษณะกำรกระท ำเหมือนกำรทำสีไปที่มือถูกไปมำ ค ำว่ำ สีด ำ ใช้กำรชี้ที่คิ้วเนื่องจำกค้ิวเป็นสีด ำ ค ำว่ำ สีฟ้ำ ใช้พยัญชนะ ฟ ตำมภำพ

สี

แบมือข้างหนึ่งแล้วใช้อีกมือหนึ่งถูไปมา ตามภาพ

สีแดง ท าท่ามือ เลขหนึ่งและลากลงตามภาพ

Page 2: บทที่ 7

59

สีด ำ

ท าท่ามือ เลขหนึ่งและถูท่ีคิ้ว

สีขำว ท าท่ามือ เลขหนึ่งและลากท่ีแขน ตามภาพ

สีฟ้ำ

ท าท่ามือ ฟ และขยับซ้ายขวา

สีชมพู ท าท่ามือ ช ตามภาพ

สีอ่อน

แบมือและหมุนตามภาพ

สีเข้ม ก ามือและขยับเล็กน้อย

2. ภาษามือหมวดรสชาด

กำรภำษำมือหมวดรสชำด ต้องใช้ทั้งภำษำมือ สีหน้ำและท่ำทำง เพ่ือให้สื่อควำมหมำยถึงรสชำตินั้นๆได้ถูกต้องที่สุด เช่น รสชำติเปรี้ยว จะต้องท ำภำษำมือค ำว่ำเปรี้ยวและท ำสีหน้ำเปรี้ยวด้วย เพ่ือให้บุคคลที่มีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยินรู้ว่ำมีรสชำติเปรี้ยวมำก เปรี้ยวน้อย จะสังเกตได้จำกกำรท ำสีหน้ำและท่ำทำง ตำมภำพดังนี ้

Page 3: บทที่ 7

60

หวำน

ท าท่ามือ เลขสองและลูบท่ีข้างรมิฝีปาก

รสธรรมดำ คว่ ามือและขยับซ้ายขวา

อร่อย

ท าท่ามือ เลขหนึ่ง ช้ีที่ข้างริมฝีปากและก ามือ เผ็ด

แบมือและพัดที่ข้างปาก

3. ภาษามือหมวดผลไม้

กำรท ำภำษำมือหมวดผลไม้ส่วนใหญ่เป็นลักษณะของผลไม้ชนิดนั้นๆ เช่น กล้วย ท ำภำษำมือ คือ ท ำท่ำปลอกเปลือกกล้วย หรือบำงค ำจะใช้พยัญชนะร่วมกับลักษณะ เช่น มะปรำง จะท ำท่ำมือ L และท ำท่ำมือลูกเล็ก ๆ ตำมภำพดังนี ้

ผลไม้

ก ามือพร้อมกับสลัดมือ ตามภาพ

กล้วย ท าท่ามือ เลขหนึ่ง และท าท่าปลอกกล้วย

Page 4: บทที่ 7

61

น้อยหน่ำ

ท าท่ามือ ชาม มืออีกข้างหนึ่งท ามือเล็กๆ และแตะสามครั้ง ตามภาพ

มะปรำง ท าท่ามือ สีเหลือง และท ามือขนาดลูกมะปราง

เงำะ

ท าท่ามือ ถ้วย ส่วนมืออีกข้างหนึ่งจีบและดึงขยับลงเรื่อยๆ สามครั้ง

มะม่วง ท าท่าปอกมะม่วง

นอกจำกนี้ยังมีค ำศัพท์ภำษำมือหมวดผลไม้ที่ใช้ท่ำมือสองจังหวะ กำรท ำท่ำมือสอง

จังหวะคือกำรท ำท่ำภำษำมือสองค ำติดต่อกัน ยกตัวอย่ำงได้คือ ค ำว่ำแตงโม ท ำท่ำมือที่หนึ่งคือวงกลม ท่ำมือที่สองคือสีแดง เป็นต้น ซึ่งมีหลำยๆค ำที่ใช้ท่ำมือสองจังหวะ ดังภำพต่อไปนี้

แตงโม

แบมือสองข้างแล้วท าเป็นรูปวงกล และท าท่ามือสีแดง

ทุเรียน ท าท่าทางจับทุเรียนแล้วผ่า มือสองข้างดึงออก

Page 5: บทที่ 7

62

ลิ้นจี่ ช้ีมือท่ีลิ้นและท าท่ามือขนาดผลลิน้จี่

มะยม ท าท่ามือ ถ้วย และท าท่ามือ สีเหลือง

4. การสนทนาในหมวดผลไม้ กำรสนทนำในหมวดผลไม้สำมำรถท ำในหลำยๆ สถำนกำรณ์ ไม่ว่ำจะเป็นสถำนกำรณ์ที่

บ้ำน โรงเรียนและตลำดดังจะยกตัวอย่ำงต่อไปนี้

ก : คุณชอบผลไม้อะไร ข : ฉันชอบแตงโม

ข : คุณหละชอบผลไม้อะไร ก : ฉันชอบกล้วย

สรุป

Page 6: บทที่ 7

63

กำรท ำภำษำมือผลไม้ เริ่มต้นที่กำรรู้จักสี รู้จักรสชำด แล้วจึงค่อยมำท ำควำมรู้จักกับภำษำมือในหมวดผลไม้ ซึ่งแต่ละหมวดก็มีควำมส ำคัญและเชื่อมโยงกันอยู่ ท่ำมือในบทนี้ จะใช้หนึ่งจังหวะจนถึงสำมจังหวะก็มี แต่ก็ท ำมือตำมรูปร่ำงและลักษณะของผลไม้นั่นเอง

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษำจับคู่ผลไม้กับค ำให้ถูกต้อง

ก. ส้ม ข. สีแดง ค. มะละกอ ง. กล้วย จ. รสหวำน ฉ. สีเหลือง ช. แอปเปิ้ล ซ. รสเผ็ด ฌ. รสเปรี้ยว ญ. สีชมพู

……….1.1 ……….1.2

……….1.3 ……….1.4

Page 7: บทที่ 7

64

……….1.5 ……….1.6

……….1.7 ……….1.8

……….1.9 ……….1.10

เอกสารอ้างอิง กรมสำมัญศึกษำ. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว . กระทรวงศึกษำธิกำร. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว. ปทำนุกรมภำษำมือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนำพำนิช :

Page 8: บทที่ 7

65