เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

56
คูมือสําหรับครู เด็กเรียนรูชา

description

คูมื่อนี้รวบรวมเทคนิคในการสอนเด็กเรียนรูช้าและการดูแล ช่วยเหลือด้านอารมณ์จิตใจ หลักการสร้างแรงจูงใจ และการปรับพฤติกรรมซึ่งเป็นการรวบรวมความรู้ทั้งจากตำราและจากข้อมูลที่ได้จากการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างผู้ปกครอง ครูและครูการศึกษาพิเศษที่มีประสบการณ์กับเด็กเรียนรู้ช้า นำมาเรียงร้อยเป็นคู่มือที่ง่ายต่อการที่คุณครู จะนำไปปฏิบัติจริง คู่มือเล่มนี้น่าจะเป็นตัวช่วยที่ดีในการดูแลเด็กเรียนรู้ช้าต่อไป

Transcript of เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

Page 1: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

คูมือสําหรับครูเด็กเรียนรูชา

Page 2: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

2 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ชื่อหนังสือ : เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครูจัดพิมพโดย : สถาบันราชานุกูลพิมพครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2555จํานวนพิมพ : 1,000 เลมพิมพที่ : บริษัท บียอนด พับลิสชิ่ง จํากัด

Page 3: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

3เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

เด็กเรียนรูชาคือเด็กที่ เรียนรูสิ่งใดอยางเช่ืองชา ใชเวลานานในการเรียนรูสิง่ใหมๆ ไหวพริบปฏิภาณไมทนัเพือ่นในวัยเดียวกัน เดก็จะมีปญหาการเรียนและมักเกิดปญหาอารมณหรือพฤติกรรมตามมา เปนที่ทราบกันดีวาหลกัการสอนเดก็เรยีนรูชาคอืการสอนซํา้ ยํา้ และทวนบอยๆ การยอยงานและการกระตุน ในคูมือน้ี ไดมีการเพ่ิมเติมเทคนิคในการสอนเด็กเรียนรูชา และการดูแลชวยเหลือดานอารมณจิตใจ หลักการสรางแรงจูงใจ และการปรับพฤติกรรมซึ่งเปนการรวบรวมความรูทั้งจากตําราและจากขอมูลที่ไดจากการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณระหวางผูปกครอง ครแูละครูการศึกษาพิเศษทีม่ปีระสบการณกบัเดก็เรยีนรูชา นาํมาเรยีงรอยเปนคูมอืทีง่ายตอการทีค่ณุครูจะนําไปปฏิบัติจริง คณะผูจัดทําหวังวาคูมือเลมนี้นาจะเปนตัวชวยที่ดีในการดูแลเด็กเรียนรูชาตอไป

คณะผูจัดทํา

คํานํา

3เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

Page 4: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

4 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

Page 5: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

5เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

สารบัญ

คําจํากัดความ 7ลักษณะของเด็กเรียนชา (Slow learner) 10ลักษณะของเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย 13สาเหตุของภาวะเรียนรูชา 15การชวยเหลือเด็กเรียนรูชาในโรงเรียน 18การจัดการชั้นเรียนสําหรับเด็กเรียนรูชา 19การชวยเหลือเด็กเรียนรูชาในช้ันเรียน 25การสรางทักษะสําคัญใหกับเด็กเรียนรูชา 29เอกสารอางอิง 40ภาคผนวก 43

5เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

Page 6: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

6 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

คูมือสําหรับครูเด็กเรียนรูชา

Page 7: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

7เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

เด็กเรียนรูชา ในคูมือนี้ หมายถึง เด็กที่มีปญหาการเรียนที่เกิดจากเดก็มรีะดบัเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑปกต ิโดยกลาวถงึเฉพาะกลุมเดก็เรยีนชา(Slow learner) และกลุมที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย (Mild Intellectual Disability, Mild ID) เนื่องจากโครงการวิจัยพัฒนาตวัแบบเชิงระบบการจดัการการเรยีนรูสาํหรบักลุมเดก็พเิศษฯ ดาํเนนิโครงการในโรงเรียนที่จัดการศึกษาภาคปกติเทานั้น จึงไมไดกลาวถึงการชวยเหลือเด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญาในระดับปานกลางท่ีอยูในระบบการศึกษาพิเศษและเด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญาในระดับรุนแรงที่ไมสามารถเขาสูระบบการศึกษาได

คําจํากัดความ

เด็กเรียนรูชา

Page 8: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

8 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

เด็กเรียนชา (Slow learner) หมายถึง เด็กที่มีปญหาการเรียนอันเน่ืองมาจากระดับเชาวนปญญาต่ํากวาปกติ ปญหาอาจเกิดจากเด็กที่มีการรับรูและเขาใจไดชาหรืออาจเปนเด็กดอยโอกาสทางสังคม ทางวัฒนธรรม หรือทางเศรษฐกิจมากจนมีผลกระทบตอเชาวนปญญา แตไมจัดวาเปนเด็กที่มีความบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา หากทดสอบระดับเชาวนปญญา จะพบวามีระดับเชาวนปญญาอยูระหวาง 70-89 เด็กท่ีมีความบกพรองทางดานสติปญญาระดับนอย (Mild Intellectual Disability, Mild ID) หมายถึง เด็กที่มีความสามารถสติปญญาและความสามารถในการปรับตัวตํ่ากวาเกณฑปกติ ซึ่งความบกพรองนี้จะเกิดขึ้นในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งของพัฒนาการเด็ก แตจะตองเกิดกอนอายุ 18 ปหากทดสอบระดับเชาวนปญญา จะพบวามีระดับเชาวนปญญาอยูระหวาง 50-69 เพื่อชวยใหเห็นภาพของคําจํากัดความมากยิ่งข้ึน จะขอกลาวถึงการแบงระดับเชาวนปญญา (Intelligence Quotient, IQ) ของ Wechsler Intelligence Scale for Children – Revised (WISC-R) ซึ่งเปนเครื่องมือในการทดสอบเชาวนปญญา ซึ่งแบงระดับเชาวนปญญาดังนี้

Page 9: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

9เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

จากระดับเชาวนปญญา จะเห็นวาเด็กเรียนชา (Slow learner) คือเด็กท่ีมีคาระดับเชาวนปญญาระหวาง 70 - 89 ซึ่งจะรวมกลุมเด็กที่มีระดับเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑ (Low average) และเด็กที่มีระดับเชาวนปญญาคาบเสน (Borderline) ไวดวยกัน เด็กเรียนชา (Slow learner) และเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอยทั้งสองกลุมนี้ คือเด็กที่จะพบในโรงเรียนปกติ จัดเปนเด็กที่มีความตองการพิเศษ โดยเฉพาะเด็กที่ชวยเหลือตนเองไดดี คุณครูและผูปกครองจึงไมทราบปญหาจนเขาเรียนไประยะหนึ่งแลวพบวาเด็กเรียนไมทันเพื่อนนั่นเอง

คาตัวเลข IQ การแบงระดับเชาวนปญญา 130 ขึ้นไป จัดอยูในกลุมสติปญญาอัจฉริยะ 120 -129 จัดอยูในกลุมสติปญญาฉลาดมาก 110 – 119 จัดอยูในกลุมสติปญญาคอนขางฉลาด 90 – 109 จัดอยูในกลุมสติปญญาอยูในเกณฑปกติ (normal) 80 – 89 จัดอยูในกลุมสติปญญาตํ่ากวาเกณฑ (Low average) 70 - 79 จัดอยูในกลุมสติปญญาคาบเสน (Borderline) 50 - 69 จัดอยูในกลุมที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย (Mild Intellectual Disability) 35 - 49 จัดอยูในกลุมที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับปานกลาง (Moderate Intellectual Disability) 20 - 34 จัดอยูในกลุมที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับมาก (Severe Intellectual Disability) ตํ่ากวา 20 จัดอยูในกลุมที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรง (Profound Intellectual Disability)

Page 10: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

10 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

วัยอนุบาล เด็กเรียนชา (Slow learner) จะมีลักษณะดังนี้ คือ มีปญหาการเรียน ไมสามารถทํางานหรือเรียนรูสิ่งท่ีเด็กในชวงอายุเดียวกันเรียนรูไดเรียนรู-รบัรู-เขาใจสิง่ตางๆ ได ชากวาเดก็อืน่ โดยเฉพาะความคิดแบบนามธรรม มกีารคิดและการตัดสินใจชา มกีารตอบสนองตอสิง่ตางๆ ชา ความคิดดูไมเปนระบบหรือไมคอยมีเหตุผล มักแกปญหาโดยการลองผิดลองถูก และแกปญหาเฉพาะหนาไดไมสมวัย มักมีปญหาทางอารมณและการปรับตัวตามมา

ขอสังเกต

ลักษณะของเด็กเรียนชา (Slow learner)

Page 11: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

11เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ดานความสนใจ เด็กเรียนชา (Slow learner) มีความยากลําบากในเร่ืองการคงความสนใจมคีวามสนใจสัน้ ทาํงานอะไรไมคอยไดนาน รวมทัง้ไมสามารถยบัยัง้สิง่รบกวนที่มากระทบได จึงไมสามารถจะมีจุดสนใจไดถามีสิ่งรบกวนและไมสามารถแยกแยะความสําคัญของสิ่งตางๆ เพราะไมรูจะเลือกสนใจอะไร จึงดูเหมือนไมมีความสนใจตอสิ่งใด นอกจากนี้ เด็กเรียนชา (Slow learner) มักมีความสนใจใฝรูอยูในระดับนอย ไมคอยถามและไมติดตามท่ีจะหาคําตอบ ไมคอยแสดงความสนใจวาจะทําสิ่งตางๆ ใหสําเร็จไดนั้นตองทําอยางไร

ดานความจํา เด็กเรียนชา (Slow learner) มีความจําระยะสั้นไมดี แตสามารถเก็บขอมูลไดเปนเวลานานและจะมีความจําระยะยาวโดยท่ัวไปใกลเคียงกับเด็กปกติ ซึ่งจะจําไดดียิ่งขึ้นถาเร่ืองนั้นๆ มีความหมาย เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน

ดานการถายโยงการเรียนรู มีความลําบากในการนําความรูหรือประสบการณจากสถานการณหน่ึงไปสูอีกสถานการณหน่ึง แตถาทําอะไรสําเร็จ เด็กจะมีแรงจูงใจในการทําสิ่งใหมๆ แกปญหาใหมๆ

Page 12: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

12 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ลักษณะอื่นๆ ที่พบรวมไดในกลุมเด็กเรียนชา (Slow learner) มากกวากลุมเด็กปกติ 1. เด็กเรียนชามักมีภาวะการเจริญเติบโตของรางกายตํ่ากวาเกณฑ 2. มีพฤติกรรมเด็กกวาวัย 3. มีปญหาการทํางานประสานของกลามเน้ือตางๆ เชน มีปญหาในการเคล่ือนไหวรางกาย การประสานระหวางกลามเน้ือแขนและขาไมดี เมื่อเลนกีฬาจะมีลักษณะงุมงาม ไมคลองแคลว

Page 13: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

13เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ลักษณะของเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย (Mild Intellectual Disability, Mild ID) ลกัษณะของเดก็ทีม่คีวามบกพรองทางสตปิญญาระดบันอย (Mild ID) จะมีลักษณะที่คลายคลึงกับเด็กเรียนชา (Slow learner) แตจะมีความรุนแรงของปญหาตางๆมากกวา พบวาเดก็มปีระวตัพิฒันาการทางภาษาลาชา แตอาการจะชัดเจนมากขึ้นเมื่อเขาเรียน โดยเฉพาะปญหาการเรียน เนื่องจากเด็กกลุมนี้จะมีพัฒนาการทางสติปญญาชากวาเด็กในวัยเดียวกัน 2 - 4 ป เด็กจึงมีปญหาในการอาน การเขียน การคํานวณ การประสานงานระหวางกลามเนื้อตางๆในรางกายไมดี มีปญหาในการปรับตัวเขากับเพื่อนๆ เด็กกลุมนี้สามารถพัฒนาความสามารถในการใชภาษาในชีวิตประจําวันได สามารถพึ่งตนเอง ดูแลกิจวัตรประจําวันของตนเองได รวมถึงทักษะที่ใชในชีวิตทั่วไปและงานบาน สําหรับปญหาดานสังคม อารมณ พฤติกรรมเด็กกลุมนี้จะมีแนวโนมท่ีจะเกิดปญหาในการปรับตัวเขากับสถานการณใหมๆ ปญหาการควบคุมอารมณ และปญหาพฤติกรรมไดมากกวาเด็กปกติ

Page 14: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

14 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ตารางแสดงระดับความสามารถในการรับการศึกษาระหวางกลุมเด็กเรียนชา (Slow learner) และกลุมเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย (Mild ID)

ประเภท ระดับสติปญญา ความสามารถในการรับการศึกษาเด็กเรียนชา(Slow learner)

เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย (Mild ID)

70-89

50-69

เชาวนปญญาตํ่ากวาเกณฑ สามารถรับการศึกษาที่ ใหการชวยเหลือสาํหรับเดก็เรยีนชา (Slow learner)ได และสามารถประกอบอาชีพชางฝมือไดมีพัฒนาการดานสติปญญาชากวาเด็กวัยเดียวกัน 2-4 ป การปรับตัวทางสังคมทําไดเต็มท่ีเทากับเด็กวัยรุนในดานท่ัวๆ ไป แตขาดความสามารถในการวางแผน และการคาดการณลวงหนา อาจพอรับการศึกษาในระดบัประถมตนหรอืการศกึษาพิเศษแต จะมี ปญหาการ เ รี ยน ในทุ กกลุมวิชา สามารถประกอบอาชีพที่ไมตองใชความรับผิดชอบสูง หรืองานประเภทชางฝมือได

Page 15: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

15เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

สาเหตุของภาวะเรียนรูชา สาเหตุท่ีทําใหเด็กเรียนรูชาเกิดไดจากปจจัยตางๆ ซ่ึงอาจเกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหน่ึงเพียงอยางเดียวหรือหลายสาเหตุเกิดรวมกันทําใหเด็กมีภาวะเรียนรูชา สาเหตุเหลานั้นไดแก

1. ภาวะทางรางกายที่สงผลกระทบตอการเรียนรูของเด็ก ในปจจุบันพบสภาวะความบกพรองทางรางกาย หรือโรคบางอยางท่ีสงผลกระทบโดยตรงตอการทาํงานของสมองและการเรยีนรูของเดก็ ทาํใหเดก็เรียนรูไดไมเต็มศักยภาพ ถูกมองวาเปนเด็กที่มีปญหาเรียนรูชา ภาวะเหลานั้นไดแก - โรคทางระบบประสาท ทีพ่บไดบอยๆ คอื โรคลมชัก โรคไขสมอง

อักเสบ หรือภาวะท่ีทําใหเกิดการกระทบเทือนตอสมองต้ังแตทารกยังอยูในครรภ เชน มารดาดื่มเหลา หรือสูบบุหรี่ระหวางต้ังครรภ มารดาไดรับสารตะก่ัวระหวางต้ังครรภ ภาวะขาดออกซิเจน

ระหวางการคลอดหรือหลังคลอด ซึ่งภาวะเหลานี้มีผลตอการเจริญเติบโตของสมองและมักมีผลกระทบตอการทํางานของสมองอยางถาวร

- ปญหาดานการมองเห็น (เชน การมองเห็นบกพรอง ตาบอดสี) ปญหาการไดยิน ปญหาดานการมองเห็นและปญหาการไดยินพบไดบอยครั้งที่ทําใหเด็กมีปญหาการเรียน ซึ่งเปนสาเหตุที่สามารถใหการชวยเหลือและทําใหเด็กกลับมาเรียนหนังสือไดอยางเต็มประสิทธิภาพ

ดจากตหน่ึง

Page 16: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

16 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

- ภาวะโลหิตจางเรื้อรัง ภาวะนี้สงผลโดยตรงตอความบกพรองทางพัฒนาการของระบบประสาทในวัยเด็ก เด็กท่ีมีภาวะโลหิตจางจะมีอาการออนเพลีย เหน่ือยงาย หายใจลําบากเวลาออกแรง สมาธิในการเรียนลดลง

- ภาวะการขาดสารไอโอดนี อาการของเดก็ทีม่กีารขาดสารไอโอดนีคือ มีคอพอก ซ่ึงมีลักษณะคอโต ตัวเต้ีย แคระแกรน พัฒนาการชา

นอกจากนีย้งัพบวาการขาดสารไอโอดีนเพียงเลก็นอยไมทาํใหเกดิ ความผิดปกติทางรางกาย แตจะสงผลตอระดับเชาวนปญญา

ของเด็ก - ภาวะทุพโภชนาการ การขาดสารอาหารท่ีจําเปนตอรางกาย

Page 17: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

17เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

2. การเลี้ยงดูและสภาพแวดลอม มีงานวิจัยที่ใหเด็กกลุมหนึ่งถูกปลอยใหเล้ียงตามธรรมชาติเทาที่ครอบครัวมีความรู และอีกกลุมหนึ่งใหความรูเรื่องการเลี้ยงดูที่ถูกตอง นั่นคือใหขอมลูพดูคยุกบัเดก็ สอนเด็กทกุอยางต้ังแตชวงแรกเกดิ พบวาเดก็กลุมทีส่องมีการเรียนรูที่เร็วกวาเด็กในกลุมแรก ดังนั้น การเลี้ยงดูอยางปลอยปละละเลย ปลอยใหเด็กอยูตามลําพัง ดูโทรทัศนลําพังเปนเวลานานๆ ทําใหสมองของเด็กไมถูกกระตุนใหคิด จินตนาการ หรือคิดแกปญหา เสนใยของสมองท่ีจะมีการแตกก่ิงกานสาขาจากการกระตุนก็จะมีการเจริญเติบโตท่ีนอยกวาปกติทําใหเด็กเสี่ยงตอการที่จะเปนเรียนรูชาได ในเด็กหลายๆ ราย อาจไมพบสาเหตุที่ชัดเจนท่ีทําใหเด็กมีภาวะเรยีนรูชา เชน เด็กไมเคยมีประวัตภิาวะแทรกซอนระหวางคลอดหรือหลังคลอด ไมมีโรคประจําตัวใดๆ มากอน มาทราบอีกคร้ังก็พบวาเด็กมีปญหาการเรียนเมื่อเขาโรงเรียนไปแลว

Page 18: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

18 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การชวยเหลือเด็กเรียนรูชาในโรงเรียน เด็กเรียนรูชาควรไดรับการพัฒนาต้ังแตวัยทารก ในบางกรณีที่ครูหรอืผูปกครองไมแนใจวาเด็กมภีาวะบกพรองทางสติปญญาหรือภาวะบกพรองดานอ่ืนหรือไมนั้น ขอแนะนําใหชวยเหลือไวกอน เพราะการชวยเหลือต้ังแตระยะแรกเริม่ เชน การกระตุนพฒันาการนัน้ มแีตประโยชนไมไดมโีทษสาํหรบัเด็กแตอยางใด ในกรณีที่พบภายหลังวา เด็กคนนั้นมีความบกพรองในดานใดก็ตาม ก็ถือวาเด็กไดรับการชวยเหลืออยางทันทวงที แตหากพบวา เด็กคนนั้นไมมีความบกพรองใดๆ การชวยเหลือที่ไดก็ชวยใหเด็กมีพัฒนาการท่ีดีขึ้นกวาเดิม การจัดการศกึษาสาํหรบัเด็กเรยีนรูชา ควรพจิารณาจากความสามารถของเด็ก เชน เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอยควรไดรับการสอนที่เนนความรูทางวิชาการ และควรใหเด็กไดเรียนในชั้นเรียนรวมกับเด็กปกติ เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรงขึ้นควรเรียนรูทักษะการชวยเหลือตนเอง ทักษะการใชชีวิตในชุมชน และทักษะอาชีพ อยางไรก็ตาม เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาไมวาระดับใด เด็กจําเปนตองเรียนรูทักษะทางวิชาการ ทักษะการชวยเหลือตนเอง ทักษะการใชชีวิตในชุมชนและทักษะอาชีพดวยทุกคน แตระดับและปริมาณของเน้ือหาน้ันควรเหมาะสมกับความสามารถของแตละคน

Page 19: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

19เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การจัดการชั้นเรียนสําหรับเด็กเรียนรูชา ชั้นเรียนปกติ เด็กที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับนอยสวนใหญมักไดรับบริการทางการศึกษาพิเศษในชั้นเรียนปกติ รวมกับการทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เพื่อเปดโอกาสใหเด็กเรียนรวมกับเพ่ือนท่ีเปนเด็กปกติในโรงเรียนทั่วไปในละแวกบาน เพ่ือใหเด็กมีโอกาสเรียนรูทักษะตางๆ ที่เด็กทั่วไปไดเรียน และไดรับการสอนเร่ืองทักษะทางสังคมมากขึ้น สวนเด็กเรียนชา (Slow learner) ตองการการชวยเหลือโดยการสอนเสริมในชั้นเรียนปกติ

Page 20: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

20 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ลักษณะของชั้นเรียนปกติ เมื่อเด็กเขาเรียนรวมกับเพื่อนที่เปนเด็กปกติ โรงเรียนมักวางแผนใหเด็กเรียนรูดวยวิธีการสอนปกติตามหลักสูตรท่ีระบุไวใน IEP สวนผูที่ทําหนาที่ในการจัดการศึกษาพิเศษใหกับเด็กนั้นอาจเปนคุณครูในชั้นเรียนปกติ คุณครูในหองเสริมวชิาการ หรอืคณุครูเวยีนสอนก็ได การจัดชัน้เรียนแบบน้ีทาํใหเด็กสวนใหญสามารถเรียนในหองเรียนปกติไดอยางมีประสิทธิภาพ ขอดีของการเรียนในหองเรียนปกติ ขอดีที่เดนชัดที่สุดของการจัดใหเด็กไดเรียนในช้ันเรียนแบบน้ี คือ เดก็มโีอกาสไดเรยีนดวยวธิปีกติเหมอืนกบัเดก็ทัว่ไปและไดเรียนรูจากเดก็ปกติมากทีส่ดุ เดก็ไดเรยีนกบัคณุครทูีห่ลากหลาย ซึง่ตรงขามกบัการเรยีนในชัน้เรยีนพิเศษที่มีคุณครูการศึกษาพิเศษเพียงหนึ่งคนหรือสองคนเทานั้น นอกจากนี้ วิธีนี้ยังเหมาะสําหรับเด็กในโรงเรียนที่ไมมีคุณครูการศึกษาพิเศษดวย การที่เด็กเรียนรูชาไดเรียนในชั้นเรียนปกตินี้ ชวยใหเด็กสามารถปรบัตวัใหเขากบัสถานการณตางๆ ในชีวติจริงไดดขีึน้ เพราะยังมทีกัษะท่ีจาํเปนในชีวิตจริงหลายดานที่เด็กไมสามารถเรียนรูในชั้นเรียนพิเศษหรือในหองเสริมวิชาการที่เด็กไปเรียนบางเวลาได เชน การส่ือสารพูดคุยกับเด็กทั่วไป หรือการปฏิบัติตามกฎกติกาของสังคม เปนตน ในกรณีที่เด็กจําเปนตองเรียนในช้ันเรียนพิเศษ เด็กเหลาน้ันก็ควรมีโอกาสไดเขารวมในกจิกรรมตางๆ กบัเดก็ปกตดิวย เพราะเดก็จะไดใชชวีติและเรียนรูอยูในสถานการณจริง และเด็กปกติยังเปนตัวแบบใหกับเด็กที่เรียนรูชาอีกดวย นอกจากนี ้ไมใชเฉพาะเดก็เรียนรูชาเทานัน้ท่ีไดประโยชน แตเดก็ปกติท่ีเรียนรวมกับเด็กท่ีเรียนรูชาก็จะไดเรียนรูวาคนในสังคมมีลักษณะแตกตางกัน ไดเรยีนรูทกัษะตางๆ ในการอยูรวมกบัผูอืน่ เชน การแบงปน การเอือ้เฟอเผือ่แผ

Page 21: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

21เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

หรือการรูจักชวยเหลือคนท่ีออนแอกวา เปนตน ซึ่งทักษะเหลานี้เด็กปกติจะเรียนรูจากเด็กที่เรียนรูชาไดดีกวาการเรียนรูจากเด็กปกติดวยกันเอง

ขอเสียของการเรียนในชั้นเรียนปกติ ขอเสียเดนชัดที่สุด คือ คุณครูในชั้นเรียนปกติมักไมสามารถจัดการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับความตองการพิเศษของเด็กเรียนรูชาในชั้นเรียนปกติได ขอเสียอีกประการหนึ่งของการเรียนในชั้นเรียนปกติ คือ คุณครูในช้ันเรียนปกติมักมีเจตคติทางลบตอเด็กเรียนรูชา คุณครูหลายคนรูสึกวาการสอนเด็กเรียนรูชาในช้ันเรียนนั้นเปนภาระอยางมาก และมักปฏิเสธเด็กเหลานี้ คุณครูสวนใหญยังมองวาการสอนเด็กเรียนรูชาเปนหนาท่ีของคุณครูการศึกษาพิเศษเทานั้น และขอเสียท่ีเปนปญหาที่พบบอยในปจจุบัน คือ โรงเรียนปกติไมมีคุณครูการศึกษาพิเศษในโรงเรียนท่ีจะทําหนาที่ใหคําปรึกษาแกคุณครูในชั้นเรียนปกติ ซึ่งผูบริหารโรงเรียนมักมองขามในเรื่องนี้ อีกทั้งคุณครูการศึกษาพิเศษท่ีมีอยูในโรงเรียนปกติสวนใหญมักทําหนาท่ีสอนในช้ันเรียนพิเศษเทานั้น สวนคุณครูที่สอนในชั้นปกติจํานวนมากยังไมมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนสําหรับเด็กท่ีมีความตองการพิเศษอยางเพียงพอ ดังนั้น ผูบริหารจึงควรสนับสนุนใหมีการอบรม ใหความรูความเขาใจแกคุณครูในชั้นเรียนปกติอยางตอเนื่อง รวมถึงผูบริหารเองตองเขาใจและตระหนักถึงความรูสึกของคุณครูและการอบรมนั้นๆ ตองเปนแนวทางที่สามารถนําไปปฏิบัติไดจริงดวย

Page 22: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

22 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ชั้นเรียนพิเศษ ลักษณะของช้ันเรียนพิเศษ คุณครูในหองมักเปนคุณครูการศึกษาพิเศษ 1 คน และนักเรียนมักมีลกัษณะใกลเคยีงกนั หรอืมคีวามบกพรองประเภทเดียวกนั นกัเรยีนในช้ันเรยีนพิเศษนี้แทบไมมีโอกาสปฏิสัมพันธกับเด็กปกติ ถึงแมลักษณะการจัดชั้นเรียนพิเศษในแตละโรงเรียนอาจแตกตางกันไปบาง แตโดยรวมแลวชั้นเรียนพิเศษมักมีลักษณะทั่วไปดังนี้ 1. คุณครูการศึกษาพิเศษทําหนาที่รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนเด็กในหองนี้ 2. การเรียนการสอนสวนใหญเกิดในหองนี้หองเดียว 3. โรงเรียนอาจจัดนักวิชาชีพดานอ่ืนมาใหบริการบาง เชน นักกายภาพบําบัดนักกิจกรรมบําบัด นักแกไขการพูด แตสําหรับในประเทศไทยนั้น การจัดชั้นเรียนแบบนี้ มักมีคุณครูการศึกษาพิเศษเปนผูรับผิดชอบเด็กทุกคนในหองพิเศษ 4. คุณครูอาจสอนเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมเล็กๆ ก็ได ซึ่งข้ึนอยูกับประเภทความบกพรองของเด็ก จํานวนเด็ก ระดับความสามารถของเด็กตลอดจนทักษะในการจัดการเรียนการสอนของคุณครู ชนิดของส่ือ อุปกรณในชั้นเรียนดวย เดก็ในหองเรียนพเิศษน้ีอาจไดเขารวมกิจกรรมกับเด็กปกติในหองเรียนปกติเปนบางเวลา ซึ่งกิจกรรมน้ันๆ ตองไมใชดานวิชาการ เชน การเลนกีฬา การเขาฟงการประชุมในหองประชุม หรือกิจกรรมดนตรี เปนตน แตถึงแมเด็กท่ีมีความบกพรองจะมีโอกาสไดมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับเด็กทั่วไปบางตามโอกาสตางๆ แตโดยท่ัวไป เด็กที่มีความบกพรองจะมีโอกาสมีปฏิสัมพันธกับเด็กปกติในวัยเดียวกันหรือไดเขารวมกิจกรรมท่ีตองใชความรวมมือซึ่งกันและกันนอยมาก

Page 23: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

23เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ขอดีของหองเรียนพิเศษ 1. สดัสวนของเดก็นกัเรยีนทีค่ณุครตูองรับผิดชอบนัน้ตํา่กวาหองเรียนปกติ เชน คุณครู 1 คน ตองรับผิดชอบเด็กที่มีความตองการพิเศษ 6 - 8 คน หรืออัตรา 1: 6 - 8 ทําใหคุณครูสามารถดูแลเด็กไดทั่วถึงมากกวา 2. คุณครูที่ดูแลหองเรียนพิเศษมีคุณวุฒิทางการศึกษาพิเศษ หรือเปนคุณครูที่ผานการอบรมดานการสอนเด็กประเภทนี้โดยเฉพาะ 3. คุณครูมักสอนเปนกลุมเล็ก ทําใหการสอนมีคุณภาพมากกวาการสอนแบบกลุมใหญ 4. การเรยีนในชัน้เรยีนพเิศษนัน้มกัเปนแบบผอนคลายและสนกุสนานมากกวาการเรียนในชั้นปกติ เด็กที่มีความบกพรองจึงไมรูสึกเครียด 5. เมื่อเด็กท่ีมีความตองการพิเศษไดเรียนกับเด็กที่มีความสามารถพอๆ กัน เด็กมักรูสึกมั่นคงทางจิตใจมากกวาการเรียนอยูในชั้นปกติที่เด็กคนอื่นทําไดดีกวาตน และเมื่ออยูในหองเรียนพิเศษ เด็กจะไมถูกลอเลียนจากเพื่อน 6. ผูปกครองสามารถติดตอ สอบถาม พูดคุย และสรางสัมพันธภาพกับคุณครูไดงายกวาเพราะมีคุณครูประจําหองเพียงคนเดียว 7. เนื่องจากคุณครูมีเด็กในการดูแลนอย ทําใหคุณครูรูจักเด็กดีกวา รูวาเด็กแตละคนมีจุดออนและจุดแข็งอยางไร อยางไรก็ตามคุณครูในชั้นเรียนพิเศษจะตองมีคุณลักษณะดังตอไปนี้ 1. เขาใจจุดแข็งและจุดออนของเด็ก รวมถึงรูปแบบและลีลาการเรียนรูของเด็กแตละคน 2. ปรับการสอนใหสอดคลองกับความตองการพิเศษของเด็กแตละคนได 3. สนับสนนุและชวยเหลือเพือ่ตอบสนองความตองการพเิศษของเดก็ไดอยางแทจริง

Page 24: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

24 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

4. คาํนงึถงึปจจยัตางๆ ทีอ่าจสงผลกระทบตอการเรยีนการสอนและวางแผนการจัดการเรียนการสอนสําหรับเด็กแตละคนเพื่อใหเกิดผลประโยชนสําหรับเด็กในอนาคตดวย ขอเสียของหองเรียนพิเศษถึงแมหองเรียนพิเศษจะมีขอดีหลายอยาง แตก็มีจุดออนบางประการ 1. การจัดการเรียนการสอนแบบน้ีไมเหมาะสําหรับเด็กท่ีมีความบกพรองในระยะยาว แมวาการเรียนชั้นเรียนพิเศษอาจชวยใหเด็กมีทักษะดานวิชาการมากขึ้น แตทักษะในการอยูรวมกับผูอื่นในสังคมนั้นนอยลง 2. เนื่องจากเด็กเรียนรูไดดีที่สุดจากการเลียนแบบ และเด็กปกติถือเปนตัวแบบที่ดีที่สุดสําหรับเด็กท่ีมีความบกพรอง ดังนั้นการเรียนในหองเรียนพิเศษจึงทําใหเด็กขาดโอกาสในการพัฒนาทักษะทางสังคมไป 3. คุณครูในหองเรียนพิเศษมักไมมีโอกาสไดรวมกิจกรรมกับคุณครูทั่วไปในโรงเรียน ทําใหความสัมพันธระหวางคุณครูการศึกษาพิเศษกับคุณครูในหองเรยีนปกตหิางเหนิกนั หองเรยีนพเิศษจงึมกัเปนหองเรยีนทีโ่ดดเดีย่วและมักไมไดรับความรวมมือหรือความชวยเหลือจากคุณครูคนอื่นในโรงเรียน

ปจจุบันนี้ เด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญามีโอกาสเขาเรียนในช้ันเรียนรวมมากข้ึน โดยเฉพาะเด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญาระดับนอย สวนชัน้เรยีนพเิศษจึงเปนท่ีจดัการศึกษาใหกบัเด็กทมีคีวามบกพรองทางสติปญญาระดับปานกลางข้ึนไป

Page 25: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

25เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การชวยเหลือเด็กเรียนรูชาในช้ันเรียน การชวยเหลือเด็กเรียนรูชาทําไดโดยการสอนใหเด็กเรียนรูทักษะการเรียนเชน การจัดตารางเวลาอานหนังสือ การขีดเสนใตใจความสําคัญของเร่ืองที่อาน ฯลฯ และสิ่งท่ีสําคัญคือการปรับวิธีการตางๆ ของคุณครูใหเหมาะสมกับความตองการของเด็กแตละคน ดังนั้น จึงเห็นไดวาคุณครูไมควรใหการชวยเหลือเด็กเรียนรูชาทุกคนดวยวิธีเดียวกันไปหมด บุคลากรในโรงเรียนทุกคนมีสวนชวยเหลือเด็กทั้งส้ิน ตั้งแตระดับการบริหารถึงระดับการชวยเหลือในชั้นเรียน - ในระดับการบริหารนั้นสามารถชวยไดโดยการพิจารณาหลักสูตรที่ใชสําหรับเด็กเรียนรูชาวามีความเหมาะสมหรือไม เพียงใด - การชวยเหลือในช้ันเรียนน้ัน คุณครูควรปรับวิธีการสอนใหเหมาะสมสําหรับเด็กแตละคน

Page 26: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

26 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การชวยเหลือโดยคุณครูมีเทคนิค ดังนี้ การชวยเหลือโดยตัวคุณครู ส่ิงสําคัญท่ีชวยใหคุณครูสามารถสอนเด็กเรียนรูชาไดอยางมีประสิทธิภาพ มีดังตอไปน้ี 1. คุณครูควรแจงเน้ือหาสําคัญที่เด็กตองเรียนในภาคการศึกษาน้ันโดยใชโครงรางของแตละวิชา นอกจากน้ันควรแจงวนัสงงานท่ีไดรบัมอบหมายจะชวยใหเด็กสามารถมองภาพเน้ือหาท่ีตองเรียนทั้งหมดได วิธีนี้จะเปนประโยชนสําหรับเด็กเรียนรูชาในช้ันมัธยมศึกษาอยางมาก เพราะชวยใหเด็กสามารถคาดการณถึงสิ่งที่จะตองพบในอนาคตอันใกล และเตรียมตัวรับสถานการณได 2. แนวทางในการเรียน เปนวิธีการชวยเหลือสําหรับเด็กเรียนรูชาวิธีหนึ่ง แนวทางในการเรียนรูที่คุณครูควรแจงใหเด็กทราบมีดังนี้ 2.1 กําหนดวัตถุประสงคที่เด็กตองทําใหชัดเจน 2.2 ระยะเวลาแนนอนที่เด็กตองเรียนในบทเรียนนั้นๆ 2.3 ผลงานทีค่ณุครูคาดหวงัในแตละบทเรยีน เชน การทาํรายงาน หรือ การทําโครงงาน เปนตน 2.4 งานที่คุณครูมอบหมาย และกิจกรรมการเรียนตางๆ 2.5 เกณฑการประเมินผล สิง่เหลานีช้วยใหเด็กเรยีนรูชาโดยเฉพาะระดับประถมศึกษาตอนปลายหรือระดับมัธยมศึกษามีแนวทางในการเรียนมากขึ้น ทั้งนี้ หากคุณครูตองการนําวิธีนี้มาใชกับเด็กที่มีภาวะเหลานี้ คุณครูจําเปนจะตองแนะนําชวยเหลือโดยเฉพาะในระยะแรกๆ

Page 27: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

27เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

3. การใชคําถามลวงหนา เปนการเตรียมคําถามกอนการอานเพ่ือชวยใหเดก็จดจอกับเน้ือหาท่ีกาํลังจะอานตอไป รูจกัการจับใจความสําคัญ ตัวอยางเชน การอานเรื่องกระตายกับเตา การอานหนังสือนิทานเรื่อง กระตายกับเตา การเตรียมการลวงหนา ควรใชคําถามตอไปนี้ 1. เกิดอะไรข้ึนระหวางกระตายกบัเตา 2. กระตายมีนิสัยอยางไร 3. ใครเปนผูทาชิงในการแขงขัน 4. ใครเปนผูชนะ 5. นักเรียนคิดวาเตาชนะเพราะอะไร

Page 28: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

28 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

4. การนําเสนอประเด็นสําคัญดวยรูปภาพ เปนการนําเสนอคําศัพทหรือใจความสําคัญในรูปแบบของกราฟ แผนภูมิโครงราง แผนภูมิความคิด (Mind mapping) ทําใหเด็กเรียนรูชาเรียนไดดีขึ้น เพราะเด็กเหลานี้ทําความเขาใจกบัเนือ้หาทีอ่านไดคอนขางยาก ดงันัน้ในการนําเสนอใจความสาํคญัตางๆ ดวยรปูภาพจะชวยใหเดก็สามารถจดัระบบความคดิ ความจาํ และเขาใจเร่ืองที่อานไดงายขึ้น รูปภาพ 1. ตัวอยางแผนภูมิความคิดเร่ืองกระตายกับเตา

อุปกรณชวยในการสอนอ่ืนๆ พบวา สื่อการเรียนการสอนบางอยางท่ีใชเสียงและภาพในการนําเสนอชวยใหเด็กสนใจ กระตือรือรน และเขาใจงายข้ึนซึ่งโดยทั่วไป โรงเรียนตางๆ มกัใชอุปกรณเหลานี้อยูแลว เชน เทปบันทึกเสียงวีซีดี คอมพิวเตอร เปนตน

รูปภาพ 2. ตัวอยางแผนภูมิกางปลา เร่ืองกระตายกับเตา

หูยาว

หูยาว

ขายาว

ขายาว

กระดองแข็ง

ขาสั้น กระดองแข็ง

ออนนอม ถอมตน

มุงมั่น อดทน

เดินชา

กระตายกับเตา

ขาสั้น

สีนํ้าตาล เดินชา

กระตายแพเตาชนะ

เตา

แขงกัน

รับคําทาแขง

สีขาว

สีขาว

วิ่งเร็ว

วิ่งเร็ว

ชอบดูถูก

คนอื่น

ประมาท

ชะลาใ

กระตาย

หลับใตตนไม

เขาเสน

ชัยออกจากจุดเริ่มตน

เริ่มทาวิ่งแขง

Page 29: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

29เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การสรางทักษะสําคัญใหกับเด็กเรียนรูชา คณุครผููสอนจะพบวาเดก็เหลานีม้ปีญหาทางการเรยีนหลายอยาง เชน เรียนตามเพ่ือนไมทัน ทํางานท่ีคุณครูสั่งลาชา ซึ่งปญหาเหลานี้สงผลกระทบตอเดก็หลายดาน ทกัษะหลายอยางทีเ่ด็กขาดไปมักเปนทกัษะทีค่ณุครมูองขามและไมมีการสอนใหกับเด็กเหลานี้ในชั้นเรียน ไดแก

การสรางความรูสึกวาตนเองมีคุณคา สิ่งสําคัญประการแรกท่ีคุณครูควรคํานึงถึงคือ เด็กเรียนรูชาเหลานี้มักมีความรูสึกวาตนเองไมคอยมีคุณคาเพราะทําอะไรไมไดเหมือนเพื่อนๆ ในชั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการเรียน ในขณะท่ีคุณครูหลายคนมักมีเจตคติตอเด็กที่เรียนไมดีในแงลบ ความคาดหวังที่คุณครูมีตอเด็กเหลานี้จึงต่ํากวาความคาดหวังท่ีคุณครูมีตอเด็กท่ัวไป เราจึงมักไดยินคุณครูพูดวา “เด็กคนน้ีทาํไมไดหรอก เพราะเขาไมรูเรือ่ง” ไมวาคณุครูจะต้ังใจหรือไมกต็าม ความรูสกึทางลบท่ีคุณครูมีตอเด็กท่ีมีความบกพรองนั้นจะแสดงออกมาใหเด็กคนอื่นเห็นและรับรูไมทางใดก็ทางหน่ึง ดังนั้น คุณครูจึงควรเปนตัวแบบท่ีดีสําหรับเด็กทุกคนดวยการปฏิบัติตอเด็กทุกคนในหองเรียนในแงบวก รวมถึงเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาทุกคนดวย ทั้งนี้ เพื่อใหหองเรียนมีบรรยากาศของการยอมรับชวยเหลือสนับสนุนเพ่ือนท่ีแตกตางจากเรา นอกเหนือจากน้ี สิ่งท่ีเด็กรับรูไดวาคุณครูเต็มใจสอนคือ การที่คุณครูสนับสนุน ใหกําลังใจในความพยายามของเขานั่นเอง

Page 30: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

30 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

วิธีชวยใหเด็กประสบความสําเร็จในชั้นเรียน ไดแก 1. ในการมอบหมายงาน คณุครูตองเลอืกงานท่ีเดก็เขาใจและสามารถทําได 2. การช้ีใหเด็กเห็นส่ิงท่ีเขาทําสําเร็จในแตละวัน ชมเชยในความพยายามและความมุงมั่นที่จะทําสิ่งนั้น แมวาสิ่งที่เขาทําจะเปนเรื่องเล็กนอยก็ตาม สวนใหญความรูสึกวาตนเองมีคุณคามักเก่ียวของกับการยอมรับในสังคม ดังนั้นการที่เด็กไดมีโอกาสทํากิจกรรมตางๆ รวมกับเพ่ือนคนอื่นในชั้นเรียนนับเปนสิ่งหนึ่งที่สรางความรูสึกมีคุณคาใหกับเด็กเหลานี้ได หรือเมื่อเด็กเรียนเปนกลุม เด็กอาจไดอธิบายสิ่งที่เขาคุนเคยหรือสิ่งที่เขาสนใจใหเพื่อนฟงได อีกท้ังการเลนบทบาทสมมติหรือสรางสถานการณใกลเคียงกับสถานการณจริงใหเด็กไดฝกฝน วธิกีารเหลานีย้อมจะชวยใหเด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญาตอบสนองตอส่ิงตางๆ ในสังคมไดอยางเหมาะสมดวย การเรียนรูแบบรวมแรงรวมใจจะชวยใหเด็กไดเรียนรูกับกลุมไดดีขึ้น การจัดกลุมไดอยูในกลุมเพ่ือนท่ีมีความสนใจคลายกันนั้นจะชวยใหเด็กทํางานเปนกลุมไดด ีหรอืคณุครอูาจใหโอกาสเดก็ทีม่คีวามรูสกึตอตนเองตํา่ ไดมโีอกาสพูดถึงสิ่งที่เด็กทําแลวประสบความสําเร็จใหเพื่อนในชั้นฟง และคุณครูควรใหคะแนนที่เด็กทําถูกตองหรืออยูในระดับที่ยอมรับได

Page 31: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

31เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การสอนทักษะการเรียน ทักษะการเรียน เปนความสามารถท่ีเด็กทราบวา เขาจะตองเรียนอยางไรจึงจะประสบความสําเร็จในโรงเรียนได เด็กทั่วไปเรียนรูไดเองวาเขาควรทําอยางไร เชน เมื่อตองการใหไดคะแนนดีๆ เด็กปกติจะต้ังใจเรียน ฝกทําแบบฝกหัด หรืออานหนังสือทบทวนที่บาน แตเด็กเรียนรูชาจะขาดทักษะในดานน้ี วิธีที่จะทราบวาเด็กมีทักษะการเรียนหรือไมนั้น คุณครูสามารถตรวจสอบไดโดยการใชคําถามเก่ียวกับนิสัยการเรียนของเด็กหรือใชแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ดังตัวอยางตอไปนี้

Page 32: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

32 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ตัวอยางแบบตรวจสอบรายการทักษะการเรียน1. นักเรียนมีสถานที่ประจําสําหรับทําการบาน หรืออานหนังสือหรือไม ...............2. นักเรียนมีเวลาทําการบานหรืออานหนังสือเปนประจําหรือไม ...............3. นักเรียนมีสมุดจดงานแตละรายวิชาหรือไม ...............4. นักเรียนจดงานขณะที่คุณครูสอนในหองเรียนหรือไม ...............5. นักเรียนทําสมุดยองานหรือใชปากกาเพื่อเนนขอความสําคัญ ที่ไดอานไปหรือไม ...............6. นักเรียนทบทวนส่ิงที่เรียนมาเปนประจําหรือไม ...............7. นักเรียนไดจดหรือทําสิ่งที่อานใหเปนหัวขอยอยๆ หรือไม ...............8. นักเรียนทําตารางหรือทําเครื่องหมายในวันที่ตองสงงาน หรือวันที่ตองสอบหรือไม ...............9. นักเรียนเขาหองสมุดเปนประจําหรือไม ...............

นอกจากน้ี คุณครูอาจนําขั้นตอนการอานเพื่อความเขาใจมาสอนเด็กบางคนที่มีปญหาดานความเขาใจจากการอาน โดยเฉพาะการอานเรื่องยาวๆ เพื่อชวยใหเด็กอานไดดีขึ้น วิธีดังกลาวมีลําดับขั้นตอนดังนี้ 1. สอนใหเด็กรูจักกวาดสายตา โดยการอานช่ือเร่ือง ยอหนาแรก หัวขอแตละขอ และยอหนาสุดทายแบบผานๆ 2. ตั้งคําถามโดยใชหัวเรื่องและหัวขอยอยเปนตัวตั้งคําถาม 3. อานเนื้อเรื่อง เพื่อหาคําตอบจากคําถามที่ตั้งไว 4. ทบทวนท้ังคําถามและคําตอบ 5. อานเนื้อเรื่องเพื่อทบทวนคําถามและคําตอบทุกวัน

Page 33: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

33เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ทั้งนี้เด็กจะอานไดเขาใจมากขึ้นหากเขาสามารถเช่ือมโยงส่ิงที่อานเขากับส่ิงท่ีเกิดในชีวิตประจําวันหรือประสบการณสวนตัวของเขาได แตเน่ืองจากประสบการณของเด็กแตละคนแตกตางกัน ดังนั้นการเปดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูประสบการณหลากหลาย เชน การทัศนศึกษา จึงจําเปนอยางยิ่ง วิธีการอีกอยางหน่ึง คือ คุณครูควรกระตุนใหเด็กรูจักคิดเก่ียวกับชื่อเรื่องตั้งแตเริ่มอานเรื่องนั้น ๆ หรือคุณครูอาจกระตุนใหเด็กคิดหลังจากอานเร่ืองจบ เชน เมื่ออานเร่ืองนี้แลวใหนักเรียนลองคิดดูวาเธอจะทําอยางไรถาเกิดนํ้าทวมและตองติดอยูในรถอยางเด็กในเร่ืองนี้ เปนตน นอกจากน้ีคุณครูควรสนับสนุนใหเด็กแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองทีอ่านหรอืใหเดก็อานทลีะยอหนาแลวแสดงความคดิเหน็ เมือ่ใดกต็ามทีเ่ดก็ไดคาดเดาและคิดต้ังคําถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีอานเด็กจะมีความเขาใจมากข้ึน เด็กท่ีมีความบกพรองมักรูสึกเครียดเมื่อตองอานเรื่องยาวๆ ทีละมากๆ หรอืการตอบคําถามท่ีเปนการอธิบายยาวๆ ดัง้นัน้ คณุครูควรลดงานใหนอยลงหรืออาจใหเด็กแสดงความเขาใจเร่ืองท่ีไดเรียนมาดวยการทําโครงงานตางๆ แทนการสอบเพียงอยางเดียว

Page 34: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

34 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การสรางทักษะการจัดระเบียบงาน มีดังน้ี 1. การตดิตามงานและอปุกรณการเรยีน คณุครคูวรตรวจสอบวาเด็กมีอปุกรณการเรยีนครบถวนหรอืไม ดวูาเดก็จดัระบบและวางแผนลวงหนาสาํหรบัความตองการของแตละชั้นเรียนอยางไร เชน ตารางเรียนที่มีแถบสีชวยใหเด็กมองเห็นไดชัดเจนวาเวลาใดตองไปที่ไหน และจะเรียนวิชาอะไร เปนตน 2. การทําตามคําสั่ง กอนที่จะใหเด็กทํางานอะไร คุณครูควรใหเขาเก็บโตะของตัวเองใหเรียบรอยเสียกอน โตะโลงจะชวยใหเด็กมีสมาธิในการฟงคําส่ังไดดีกวาโตะท่ีมีของลอตาลอใจเด็ก 3. คณุครูควรใชคาํส่ังเปนขอยอยๆ แลวใหเด็กทบทวนคําสัง่กอนเร่ิมทํางาน 4. ถาคําสั่งเปนตัวหนังสือ คุณครูควรใหเด็กขีดเสนใตหรือวงกลมคําสําคัญ เชน คําวา “จับคู” “สิ่งของตรงขาม” เปนตน 5. เด็กบางคนที่มีปญหาเรื่องการเรียงลําดับ วิธีการชวยเหลือ คือ คณุครูควรใหเด็กเขียนหรือบอกขั้นยอยๆ ตามลําดับ เชน 1) อานคําสั่งกอนลงมือทําทุกครั้ง 2) ใหเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 3) หากไมเขาใจใหยกมือขึ้นถาม เพือ่ใหเดก็มโีอกาสทบทวนคาํสัง่ตามลาํดบั และตรวจสอบความเขาใจกอนท่ีจะเริ่มทําดวย 6. การทาํงานท่ีไดรบัมอบหมายใหเสรจ็ กอนทีค่ณุครจูะเลือกวธิกีารที่จะชวยใหเด็กทํางานไดสําเร็จนั้น คุณครูควรวิเคราะหระบบการทํางานของเด็กคนนั้นเสียกอน - ประการแรกคือ การจัดแบงเวลาในการทํางานแตละอยาง เด็กแตละคนทํางานชาหรือเร็วไมเทากัน เด็กบางคนอาจตองการเวลาในการทํางานมากกวาเพื่อนคนอื่น

Page 35: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

35เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

- คุณครูอาจจําเปนตองใชอุปกรณชวย เชน นาิกาจับเวลา เพื่อใหเด็กเห็นวาตัวเองเหลือเวลาในการทํางานชิ้นนั้นอีกเทาไร และเด็กตองรูวาเขาตองสงงานเวลาใด เปนตน 7. การทําการบานใหเสร็จ การบานของเด็กแตละคนควรเปนสิ่งที่เหมาะสมกับความสามารถของเขา เพราะหากการบานยากเกินไป เด็กจะรูสึกเครียด คับของใจและหมดหวังในการทํางานชิ้นนั้น หากคุณครูไมไดระวัง อาจทําใหการบานกลายเปนปญหาสําคัญในการเรียนของเด็กดวย ปญหาเหลานี้มีดังตอไปน้ี - คุณครูใหการบานมากเกินไป เด็กจึงเกิดความรูสึกเบื่อหนายหรือไมมีโอกาสทํากิจกรรมดานอ่ืนๆ ที่เด็กวัยนั้นควรไดทํา เชน การพักผอนหรือการเลนกีฬา เปนตน - ผูปกครองสอนการบานทีไ่มตรงกบัวธิกีารสอนของคณุครทูีโ่รงเรยีน เด็กจึงเกิดความสับสน - เด็กท่ีไมเขาใจหรือไมสามารถทําการบานเองได จึงตองลอกการบานจากเพื่อน ดงันัน้ สิง่ทีค่ณุครูควรคํานงึ คอื การบานควรเปนตวัชวยใหเดก็ไดฝกฝนทกัษะท่ีเรยีนรูจากโรงเรียน แตปรมิาณการบานตองพอดีกบัความสามารถของเด็กดวย

Page 36: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

36 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

เมื่อใหการบาน สิ่งที่คุณครูควรทํา 1. การบานตองนาสนใจ นาสนุก เชน หากคุณครูตองการใหเด็กฝกเรื่องการวัด คุณครูควรใหเด็กวัดหาพื้นที่ของหองนอน หองครัว แทนที่จะใหฝกจากใบงานเพียงอยางเดียว 2. คุณครูตองอธิบายเหตุผลในการใหการบานแตละอยางใหชัดเจน 3. คุณครูควรรับฟงวานักเรียนคิดอยางไรกับการบานท่ีคุณครูมอบหมายให 4. ขอความคิดเห็นจากผูปกครองบาง คุณครูตองระลึกเสมอวาผูปกครองเปนคนดูแลและชวยเหลือใหเด็กทําการบาน ดังน้ันขอแนะนําจากผูปกครองจึงเปนประโยชนอยางมาก

สิ่งที่คุณครูไมควรทํา 1. เมื่อเด็กทําผิด ใหการบานเพิ่มขึ้นเพื่อเปนการทําโทษ 2. คุณครูคิดเอาเองวา การท่ีเด็กไมถาม หมายถึง เด็กเขาใจงานทีไ่ดรบัมอบหมาย เพราะบางครัง้เด็กทีไ่มเขาใจอะไรเลยจึงไมทราบจะถามอะไร 3. คุณครูคาดหวังวาเด็กทุกคน (แมจะเปนเด็กที่ดีที่สุดในช้ัน) จะทําการบานเสร็จเรียบรอยทุกครั้ง 4. ใหการบานในเรื่องที่ยังไมไดสอน

Page 37: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

37เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การสรางแรงจูงใจในการทํางาน 1. การใชรางวลัเปนแรงจงูใจ รางวลัหรอืแรงจงูใจอาจเปนขนม ของกนิ ของเลนเล็กๆ นอยๆ หรือสิ่งที่มีคามากกวาสิ่งของ คือ ทาทีของคุณครูที่แสดงการยอมรับ ชื่นชมเม่ือเด็กทําไดสําเร็จ ซึ่งสามารถแสดงไดโดยการใหคําชมการโอบกอด หอมแกม การพยักหนายิ้มตอบ เมื่อเด็กทํางานสําเร็จ - สิ่งที่สําคัญที่สุดของการใหรางวัลคือ คุณครูตองพยายามใหรางวัลทันทีหลังจากที่เด็กทําสําเร็จ เชน การใหคําชมโดยทันที การใหเหรียญสะสม การใหสติกเกอรติดในสมุด หลังเด็กทํางานเสร็จ - สิง่ท่ีสาํคญัรองลงมาคือ อยารอใหรางวัลเม่ือเด็กทาํงานเสร็จทัง้หมด เพราะเด็กอาจจะทอและเบื่อไปกอนที่จะไดรางวัล แตใหแบงงานนั้นเปนขั้นตอนยอยๆ แลวใหรางวัลทันทีที่เด็กทําสําเร็จไดในขั้นตอนยอยๆ เชน เด็กมีการบานเลขทั้งหมด 10 ขอ ใหรางวัลเม่ือเด็กทําเลขไดเสร็จทุก 2 ขอ จะทําใหเด็กสนใจและรวมมือในการทําจนเสร็จไดมากกวา 2. ควรมีการกําหนดงานที่ตองการใหเด็กทําอยางชัดเจน เชน อานหนังสือ 4 หนา ทองคําศัพท 10 คํากอนดูการตูน หรือ เอาขยะไปทิ้งหลังรับประทานอาหารเสร็จ หรือใชเวลาเปนตัวกําหนด เชน ทําแบบฝกหัดสะกดคําเปนเวลา 30 นาที หลังจากน้ันใหกําหนดส่ิงที่เด็กจะไดรับเม่ือเด็กทําไดสําเร็จ และสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อทําไมสําเร็จ เชน ถาตองการใหเด็กทําเลขทั้งหมด 20 ขอ คุณครูสามารถตั้งขอตกลงไดวา ถาเด็กทําเลขได 5 ขอ เด็กจะไดพัก 5 นาที (เปนการแบงงานและใหรางวัลทันที) แลวถาเด็กทําเลขเสร็จหมดครบ 20 ขอ เด็กจะไดทํากิจกรรมท่ีชอบ 1 เรื่อง แตถาวันนี้ทํางานไมเสร็จ เด็กจะตองงดทํากิจกรรมที่ชอบ

Page 38: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

38 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

3. ถาเด็กมีพฤติกรรม อิดออด ลุกจากท่ีนั่ง คุณครูจําเปนตองจัดการโดยเร็ว โดยการเขาไปใหความสนใจ เชน การแตะตัว นําตัวกลับมาที่เกาอี้ หาปญหาที่ทําใหเด็กทํางานตอไมไดและใหการชวยเหลือ เชน มีโจทยเลขบางขอท่ีเด็กไมเขาใจ ทําใหเด็กไมอยากทําตอ และยืนยันดวยทาทีสงบ หนักแนนใหเด็กทําตามขอตกลงท่ีตกลงกันไว คุณครูอาจพูดวา “คุณครูรูวาหนูไมอยากทําแลว แตไหนดูซิ โอโห หนูทําไปต้ังคร่ึงนึงแนะ คุณครูอนุญาตใหพักกอนได แลวเด๋ียวกลับมาคุณครูจะชวยทําขอท่ีหนูวามันยากนะ” “ตน เลิกเลนเดี๋ยวนี้ หนูไปทํางานตอไดแลว (คุณครูเดินจูงมือตนไปที่โตะ) ตนเราตกลงกันวาอะไร” 4. ถาเด็กอาละวาด ไมยอมทําตามกติกา หลังจากท่ียืนยันกติกาที่ตั้งไว คุณครูควรเขาไปหยุดพฤติกรรมนั้นโดยทันที โดยการจับตัวใหหยุด ถาพฤติกรรมนั้นเปนอันตรายตอเด็กหรือเปนอันตรายตอคนอื่น หรือมีการทําลายสิ่งของ แตถาเปนการรองอาละวาดโวยวายเพียงอยางเดียว คุณครูควรบอกเด็กวา คุณครูเขาใจส่ิงที่เขารูสึก แตกฎก็ยังเปนกฎ เชน “คุณครูรูวาหนูไมอยากทําแลว แตเราตกลงกันแลว คุณครูจะรอจนหนูรองไหเสร็จ แลวเรามาทําเลขขอที่เหลือกัน” เพื่อใหเด็กทราบวาไมวาจะรองอยางไรก็ตองทําจนเสร็จอยูดี

Page 39: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

39เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การพัฒนาทักษะทางสังคม เด็กเรียนรูชาจํานวนมากมีปญหาในการเขาสังคมกับเพื่อนวัยเดียวกัน ปญหาที่พบบอยคือ เด็กเรียนรูชามักถูกลอ ถูกแกลง ถูกเพื่อนแหยอยูเสมอๆ ทั้งนี้เนื่องจากเด็กเรียนรูชามักคิดไมทันเพื่อน ควบคุมอารมณตนเองไดนอย เมือ่ถกูเพือ่นแกลงมกัจะโวยวาย หรอืมพีฤตกิรรมกาวราว ยิง่ทาํใหเปนจดุสนใจของเด็กทั่วๆ ไป บางรายอาจเรียกรองความสนใจแบบไมเหมาะสม ทําใหเด็กกลายเปนตัวตลกไดบอยๆ การฝกทักษะทางสังคมรวมถึงการฝกควบคุมอารมณจะทําใหเด็กเขากับเพื่อนไดดีขึ้น ซึ่งคุณครูสามารถชวยเหลือไดดังนี้ 1. คนหาวาปญหาการเขาสังคมกับเพื่อนอยูที่ไหน โดยอาศัยการเลนของเด็ก ทักษะตางๆที่เด็กใชเวลาอยูกับเพื่อน เชน - ทักษะในการส่ือสาร ความเขาใจในกฎกติกาของเกมตางๆ การริเริ่มบทสนทนากับผูอื่นเมื่อเริ่มทําความรูจักกับเพื่อน - ความสามารถในการเลน เชน ทักษะกีฬาตางๆ เด็กทําไดดีหรือไม - ทักษะการอยูรวมกับผูอื่น ความสามารถในการเลนตามเพ่ือน รูจักเอื้อเฟอ มีนํ้าใจ ขอโทษ ขอบใจ เขาใจความรูสึกของคนอื่น 2. จัดโอกาสและหาแบบฝกหัดใหเด็กไดฝกฝนทักษะ โดยหากิจกรรมใหเด็กไดทําเปนคูหรือเปนกลุม โดยกิจกรรมเหลานั้นตองมีระเบียบกฎเกณฑ และขั้นตอนที่ชัดเจน โดยครูชวยควบคุม 3. จัดเพื่อนชวยดูแลเด็กเรียนรูชา ครูควรจัดเพื่อนที่สนิทหรือเพื่อนที่อาสาดูแล คอยชวยเตือน ชวยครูดูแลเด็กชวงระหวางที่เด็กไมอยูในหองเรียน และยังเปนตัวอยางท่ีดีในการฝกทักษะสังคมไดอีกดวย

Page 40: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

40 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

เอกสารอางอิงกุลยา กอสุวรรณ. (2553). การสอนเด็กที่มีความบกพรองระดับเล็กนอย.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ณัชพร นกสกุล. (2554). การบริหารจัดการเรียนรวม โดยใชโครงสรางซีท

สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรณีศึกษา : โรงเรียนวัดอุทัยธาราม สํา นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา กรงุเทพมหานคร. กรุงเทพ: กลุมงานการศึกษาพิเศษ สถาบันราชานุกูล.

นพวรรณ ศรีวงศพานิชย, พัฏ โชคมหามงคล. ภาวะบกพรองทางสติปญญา/ภาวะปญญาออน (Intellectual Disability/ Mental Retardation).

ใน นิชรา เรืองดารกานนท. ตําราพัฒนาการเด็กและพฤติกรรม. กรุงเทพมหานคร : โฮสสติกพับลิชชิ่ง. 2551: 179-204

มหาวิทยาลัยมหิดล. ไอโอดีนกับสติปญญาเด็กไทย: บทที่ 5 การควบคุมและปองกันโรค. จาก www.il.mahidol.ac.th/e-media/iodine/chapter 5.html

ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ. สุขภาวะเด็กและวัยรุนไทยอายุ 6 - 12 ป. ใน ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแหงประเทศไทย. รายงานโครงการวิเคราะหสุขภาวะของเด็กและวัยรุนไทย. 2552 : 137-161

วนิดา ชนินทยุทธวงศ และคณะ. (2554). พิมพครั้งที่ 3. สมองเด็กไทย...รอไมไหวแลว. กรุงเทพฯ: บริษัท บียอนด พับลิสชิ่ง จํากัด

-------------. (2554). แบบคัดกรองปญหาพัฒนาการและแนวทางการสงเสริมพัฒนาการเด็กบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา. กรุงเทพฯ: บริษัท บียอนด พับลิสชิ่ง จํากัด.

Page 41: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

41เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

วินัดดา ปยะศิลป และพนม เกตุมาน. (2550). ตําราจิตเวชเด็กและวัยรุน เลม 2. ภาวะปญญาออน. หนา 197 - 208. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จํากัด.

ศรีเรือน แกวกังวาล. เด็กปญญาออน. ใน ศรีเรือน แกวกังวาล. จิตวิทยาเด็กพิเศษ. กรุงเทพฯ สํานักพิมพหมอชาวบาน. 2545: 49 - 99

สินีนาฏ จิตตภักดี, แสงเดือน ยอดมณีวงศ และคณะ. (2548). พิมพครั้งที่ 2. คูมือเสริมสรางไอคิวและอีคิวเด็ก สําหรับครูโรงเรียนอนุบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด.

อุนเรือน อาํไพพัสตร. (2548). จติวทิยาการสอนเพือ่พฒันาบคุคลพเิศษดานสติปญญา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

Page 42: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

42 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

Page 43: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

43เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ภาคผนวก

Page 44: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

44 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(Individualized Education Program: IEP)

กอนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานช่ือสถานศึกษา......................................................สังกัด ................................................เร่ิมใชแผนวันท่ี .................................................................ส้ินสุดแผนวันท่ี ....................ระดับ อนุบาลปท่ี ............... ประถมศึกษาปท่ี ............

1. ขอมูลท่ัวไปช่ือ – ช่ือสกุล ................................................................................................................เลขประจําตัวประชาชน ...............................................................................................การจดทะเบียนคนพิการ ไมจด ยังไมจด จดแลว ทะเบียนเลขท่ี .................................................................................................................วัน/เดือน/ป เกิด ...................... อายุ ..........ป .................... เดือน ศาสนา ....................ประเภทความพิการ ........................................ลักษณะความพิการ ..............................ช่ือ – สกุลบิดา ...............................................................................................................ช่ือ – สกุลมารดา ...........................................................................................................ช่ือ – สกุลผูปกครอง ............................................................เก่ียวของเปน ....................ท่ีอยูผูปกครองท่ีติดตอได บานเลขท่ี .................................. ช่ือหมูบาน .......................ถนน ..........................ตําบล/แขวง ...........................อําเภอ/เขต .................................จังหวัด ....................................................... รหัสไปรษณีย ............................................โทรศัพท ...............................มือถือ ...................................... โทรสาร ...............................e-mail address ……………………………………………………………………………………………

Page 45: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

45เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

2. ขอมูลดานการศึกษา ไมเคยไดรับการศึกษา/บริการทางการศึกษา เคยไดรับการศึกษา/บริการทางการศึกษา ศูนยการศึกษาพิเศษ สวนกลาง .........................ระดับ .......................... พ.ศ. ............. โรงเรียนเฉพาะความพิการ ............................... ระดับ ........................ พ.ศ. ................ โรงเรียนเรียนรวม ............................................... ระดับ ......................... พ.ศ. ................ การศึกษาดานอาชีพ ........................................... ระดับ ...................... พ.ศ. ................ การศึกษานอกระบบ .......................................... ระดับ ...................... พ.ศ. ................ การศึกษาตามอัธยาศัย ...................................... ระดับ ....................... พ.ศ. ................ อ่ืน ๆ ................................................................... ระดับ ...................... พ.ศ. ...............

Page 46: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

46 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

3. กา

รวางแ

ผนกา

รศึกษ

ระดับค

วามส

ามารถ

ในปจ

จุบัน

เปาหม

ายระย

ะยาว

1 ป

จุดปร

ะสงค

เชิงพฤ

ติกรรม

(เปาห

มายร

ะยะสั้

น)กา

รประเ

มินผล

ปจจุบั

นผูรั

บผิดช

อบ

ดานก

ลามเนื้

อจุด

เดนกา

รใชงาน

ของก

ลามเนื้

อมัด

ใหญใ

นการ

ทํากิจ

กรรม

ตางๆ

สามา

รถทํา

ไดใน

ระดับ

หนึ่ง

จุดดอ

ยกา

รใชงาน

ของก

ลามเนื้

อมัด

เล็กยัง

ตองช

วยเหลื

อ เชน

เรื่อ

งนํ้าห

นักมือ

ในกา

รเขียน

การอ

อกกํา

ลังเพื่

อเสริม

สราง

พัฒนา

การข

องกล

ามเนื้อ

และ

การท

รงตัว

การฝ

กทักษ

ะการ

ใชงาน

ของ

กลาม

เนื้อมัด

เล็กใน

การ

หยิบ จั

บ ขีด เ

ขียน แ

ละกา

รใชมือ

กับอุ ป

กรณง

ายๆ

เมื่อต

องทํา

กิจกร

รมที่ต

องใช

คว

ามสา

มารถ

ในกา

รทํางา

นของ

กลาม

เนื้อส

วนตา

งๆ นั

กเรียน

สามา

รถทํา

ไดตา

มวัตถุ

ประส

งค

ทุกครั้

เมื่อฝก

กิจกร

รมปร

ะเภทลี

ลามือ

นัก

เรียนส

ามาร

ถลาก

เสนต

ามแบ

บได

ตั้งแต

ลักษณ

ะเสนพื้

นฐา

นจนถึ

งแบบ

พยัญช

นะงา

ยๆ

ที่ไมซั

บซอน

สังเกต

จากก

ารรวม

กิจกร

รมกล

างแจง

สังเกต

จากก

ารรว

มกิจ

กรรม

ภายใน

ชั้นเรีย

Page 47: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

47เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

3. กา

รวางแ

ผนกา

รศึกษ

า (ตอ

)

ระดับค

วามส

ามารถ

ในปจ

จุบัน

เปาหม

ายระย

ะยาว

1 ป

จุดปร

ะสงค

เชิงพฤ

ติกรรม

(เปาห

มายร

ะยะสั้

น)กา

รประเ

มินผล

ปจจุบั

นผูรั

บผิดช

อบ

ดานก

ารชวย

เหลือตั

วเอง

จุดเดน

นักเรีย

นสาม

ารถชว

ยเหลือ

ตัวเอง

ในเรื่อ

งงายๆ

ได เช

น รับ

ประท

านอา

หาร เ

ขาหอ

งนํ้า

ป สสา

วะ หยิ

บจับสิ่

งตางๆ

ตา

มควา

มตอง

การได

ดี

จุดดอ

ย-

ยังไมส

ามารถ

ชวยเห

ลือ

ตัว

เองไดดี

ยังตอ

งการ

ผูดู

แลใน

บางค

รั้ง เชน

รับปร

ะทาน

อาหา

รไดแต

ยังหกเล

อะเทอ

ะ เขาห

องนํ้า

ไดแ

ตยังต

องดูแ

ความ

สะอา

ด เป น

ตน-

ยังตอ

งเตือน

ในกา

รปฏิบั

ติ

กิจวัต

รประ

จําวันบ

างเรื่อง

การช

วยเห

ลือตัว

เองโด

ยลด

การดู

แลลง

รับผิด

ชอบต

อกิจวั

ตรปร

ะจําวัน

ของตั

วเอง

โดยไมต

องเตือ

- เมื่อ

ตองทํ

าควา

มสะอ

าด

รางกา

ย นักเรี

ยนสา

มารถ

ทํา

ความ

สะอา

ดไดเอง

โดยครู

ไมตอง

ช วยเห

ลือหรื

ลดกา

รชวย

เหลือล

งในบา

กิจกร

รม-

ขณะรั

บประ

ทานอ

าหาร

นัก

เรียนส

ามารถ

รับปร

ะทาน

ไดเ

รียบร

อยแล

ะเก็บ

เศษอา

หารจ

นสะอ

าดหลั

งจาก

รับ

ประท

านเสร็

จ-

เมื่อตอ

งปฏิบ

ัติกิจว

ัตร

ประจ

ําวัน

นักเรีย

นสาม

ารถ

สง

การบ

านแล

ะเก็บสิ่

งของ

ตา

งๆ ได

ถูกที่โด

ยครูไม

ตองเตื

อน

สังเกต

จากก

ารรวม

กิจกร

รมปร

ะจําวั

Page 48: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

48 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

3. กา

รวางแ

ผนกา

รศึกษ

า (ตอ

)ระดั

บควา

มสาม

ารถใน

ปจจุบั

นเปา

หมาย

ระยะย

าว 1

ปจุด

ประส

งคเชิง

พฤติก

รรม(เป

าหมา

ยระย

ะสั้น)

การป

ระเมิน

ผลปจ

จุบัน

ผูรับผิ

ดชอบ

ดานภ

าษาแ

ละกา

รสื่อส

าร

จุดเดน

รูจักแ

ละปฏิ

บัติตา

มคําสั่

งงาย

ๆ ที่ไมซั

บซอน

ได

จุด

ดอย

ไม มีเสีย

งพูด

พื้นฐา

นดาน

วิชาก

าร ภ

าษาไท

ย จุ

ดเดน

- สาม

ารถเขีย

นเสนพื้

นฐาน

ามรอ

ยได

- มีสม

าธิและ

ความ

สนใจ

ประ

มาณ

15 - 2

0 นาที

- นัก

เรียนส

ามารถ

สื่อสา

โดยคํา

พูด กา

รทํารูป

ปาก

ตา

มแบบ

ได-

นักเรีย

นเขาใจ

คําศัพ

ในชีวิ

ตประ

จําวัน

โดย

กา

รสื่อส

ารแบบ

ใชการพู

ประก

อบภา

- เขีย

นเสนพื้

นฐาน

ตามร

อย

แล

ะเสนป

ระพยั

ญชนะ

ตามร

อยไดเ

องโดย

ไมมีผูช

วย-

นักเรีย

นมีสม

าธิในก

ารทํา

กิจ

กรรม

ตาง ๆ

อยางน

อย

30

นาที

เมื่อตอ

งสื่อส

ารกับ

ผูอื่นนั

กเรียน

สามา

รถใชก

ารพูด

ภาษา

ทาทา

งหรื

อรูปภ

าพใน

การสื่

อสาร

ได

ทุกครั้

- เมื่อ

ใหนัก

เรียนทํ

ากิจก

รรม

นัก

เรียนส

ามารถ

ทํากิจ

กรรม

ไดอยา

งมีสม

าธิเปน

เวลา 3

0

นาที

สังเกต

จากก

ารรวม

กิจกร

รมปร

ะจําวั

สังเกต

จากก

ารรวม

กิจกร

รมปร

ะจําวั

Page 49: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

49เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

3. กา

รวางแ

ผนกา

รศึกษ

า (ตอ

)

ระดับค

วามส

ามารถ

ในปจ

จุบัน

เปาหม

ายระย

ะยาว

1 ป

จุดปร

ะสงค

เชิงพฤ

ติกรรม

(เปาห

มายร

ะยะสั้

น)กา

รประเ

มินผล

ปจจุบั

นผูรั

บผิดช

อบ

คณิ

ตศาส

ตร

จุด

เดน- จุด

ดอย

- ไมรู

จักตัว

เลข

และจํ

านวน

- ไมรู

จักสี

- เขีย

นตัวเล

ขโดยมี

รอ

ยประ

ไม ได

- บอ

กตัวเล

ข 1 - 1

0

ตามคํ

าสั่งได

- ชี้บ

อกสีต

ามคํา

สั่งได

ถูก

ตองอ

ยางน

อย 7

สี-

เขียนตั

วเลข 1

- 10 โ

ดย

มีร

อยปร

ะไดถูก

ตอง

- เมื่อ

ใหนัก

เรียนชี้

ตัวเลข

1 - 10

แบบไ

มเรียง

ลําดับ

นัก

เรียนส

ามารถ

ชี้ตัวเล

ขได

ถูก

ตอง 8

ครั้ง จ

าก 10

ครั้ง

- เมื่อ

ใหบอ

กสีนัก

เรียนส

ามารถ

บอ

กสีถูก

ตอง 4

จาก 7

สี-

เมื่อให

เขียนตั

วเลขนั

กเรียน

สามา

รถเขีย

นตัวเล

ข 1 - 1

0

ตามร

อยไดอ

ยางถู

กตอง

สังเกต

จากก

ารทํากิ

จกรร

มแล

ะการทํ

าแบบ

ฝกปร

ะจําวั

จุดดอ

ยปฏิ

บัติตา

มคําสั่

งไดบา

งสวน

เนื่อ

งจาก

ไมไดยิ

นเสียง

- นัก

เรียนส

ามารถ

ปฏิบัติ

ตาม

คํา

สั่งไดย

างถูกต

องอย

างนอย

วันละ

20 คํา

สั่ง

Page 50: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

50 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

4. คณะกรรมการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ช่ือ ตําแหนง ลายมือช่ือ.................................................. ผูอํานวยการโรงเรียน ........................................................................ หัวหนางานการศึกษาพิเศษ ..................................................... ................... ครูประจําช้ัน ........................................................................ ผูชวยครูประจําช้ัน ......................................................................... ผูปกครอง ....................... ประชุมวันท่ี ............... เดือน ...................................................... พ.ศ. .............................

5. ความคิดเห็นของบิดา/มารดา/ผูปกครองหรือผูเรียน การจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลฉบับน้ี ขาพเจา เห็นดวย ไมเห็นดวย เพราะ ...............................................................

ลงช่ือ ....................................................... ( .......................................................... )เก่ียวของเปน ...........................................

วันท่ี ......... เดือน ............................. พ.ศ. ..................

Page 51: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

51เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

ตัวอยางแผนการสอนรายบุคคล(Individual Implementation Plan: IIP)

ชื่อ - สกุล (นักเรียน)............................................................ระดับช้ัน อนุบาลพิเศษเนื้อหาหรือทักษะท่ีสอน การเขียนพยัญชนะตามรอยจุดประสงคเชิงพฤติกรรม นักเรียนสามารถเขียนพยัญชนะตามรอยไดอยางถูกตองสื่อ 1. แบบฝกเขียนพยัญชนะตามรอย 2. ฉากเพิ่มสมาธิ 3. โตะ/เกาอี้วิธีสอน 1. ใหนักเรียนนั่งบนเกาอี้หันไปท่ีโตะ 2. ครูใหแบบฝกเขียนพยัญชนะตามรอย 3. ในกรณีที่นักเรียนไมมีสมาธิ ชอบมองไปรอบๆ มากกวามองงานที่ตองการใหทํา ใหครูใชฉากเพิ่มสมาธิวางไวบนโตะ ฉากจะชวยก้ันสายตาไมใหมองไปที่อื่น ความสนใจจะอยูที่งานมากขึ้น 4. ครูเปนผูกระตุนใหนักเรียนทํางานและคอยแนะนําวิธีการ 5. ในกรณีที่เด็กยังทําเองไมได ครูชวยแตะมือไปดวย แตควรผอนแรงเมื่อนักเรยีนเริ่มทําได และคอยๆ ปลอยใหเขียนเองในที่สุด 6. จบกิจกรรมการฝกเขียน ทบทวนโดยการอานพยัญชนะท่ีเขียนไปแลว 7. ครูใหคําชมเชย/ใหรางวัลเมื่อเด็กทํางานเสร็จสิ่งเสริมแรงที่ใช 1. คําชมเชย เชน เกง เกงมาก ดี ดีมาก ปรบมือ 2. การสัมผัส เชน การกอด ลูบผม แตะไหล

Page 52: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

52 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

การประเมินผลจากการสังเกตการรวมกิจกรรมและการตอบคําถามวันเริ่มตนสอน วนัที ่............ เดือน ................................พ.ศ. .......................วันสิ้นสุดการสอน วันที่ ............ เดือน .................พ.ศ. .......................ผลการเรียน ทําไดเอง ทําไดแตตองชวย ยังทําไมได

Page 53: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

53เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

Page 54: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

54 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

Page 55: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

55เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

Page 56: เด็กเรียนรู้ช้า: คู่มือสำหรับครู

56 เด็กเรียนรูชา คูมือสําหรับครู

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................