บทที่ 15

7
บทที15 ภาษามือหมวด อาชีพและกีฬา การประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองนั้นสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินก็สามารถ ประกอบอาชีพได้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป ซึ่งในแต่ละอาชีพนั้นมีภาษามือที่สามารถสื่อสารกับบุคคล ทั่วไปได้ นอกจากอาชีพที่เรารู้จักกันแล้ว ในปัจจุบันอาชีพนักกีฬาต่างๆ ก็เป็นที่นิยมเช่นกัน ต่างกับ สมัยก่อนที่นักกีฬาต้องประกอบอาชีพที่ตนเองถนัดและเล่นกีฬาที่ตนเองชอบ แต่ปัจจุบันสามารถยึด กีฬาเป็นอาชีพได้เลย เพื่อเป็นประโยชน์ในการสื่อสาร 1. ภาษามือหมวดอาชีพ อาชีพที่ปัจจุบันได้รับความสนใจมากในตอนนี้ คือ อาชีพอิสระ ซึ่งสามารถประกอบการ ด้วยตนเองได้ มีรายได้ดีและเป็นเจ้านายของตนเอง ในกลุ่มของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน นั้นส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพอิสระ เนื่องจากมีขีดจากัดในการสื่อสาร ดังนั้นคาศัพท์ภาษามือใน หมวดนี้จึงมีการแนะนาอาชีพต่างๆ เป็นภาษามือซึ่งทาท่ามือตามลักษะะของการทางานเป็นส่วนใหญ่ ดังภาพต่อไปนีอาชีพ ทำท่ำมือ ฟ และวำงด้ำนหน้ำช่วงปำกขยับไปมำ ช่างศิลป์ (วาด) ช่างทาผม

Transcript of บทที่ 15

Page 1: บทที่ 15

บทท่ี 15 ภาษามือหมวด อาชีพและกีฬา

การประกอบอาชีพเพ่ือเลี้ยงตนเองนั้นส าหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินก็สามารถประกอบอาชีพได้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป ซึ่งในแต่ละอาชีพนั้นมีภาษามือที่สามารถสื่อสารกับบุคคลทั่วไปได้ นอกจากอาชีพที่เรารู้จักกันแล้ว ในปัจจุบันอาชีพนักกีฬาต่างๆ ก็เป็นที่นิยมเช่นกัน ต่างกับสมัยก่อนที่นักกีฬาต้องประกอบอาชีพที่ตนเองถนัดและเล่นกีฬาที่ตนเองชอบ แต่ปัจจุบันสามารถยึดกีฬาเป็นอาชีพได้เลย เพ่ือเป็นประโยชน์ในการสื่อสาร

1. ภาษามือหมวดอาชีพ

อาชีพที่ปัจจุบันได้รับความสนใจมากในตอนนี้ คือ อาชีพอิสระ ซึ่งสามารถประกอบการด้วยตนเองได้ มีรายได้ดีและเป็นเจ้านายของตนเอง ในกลุ่มของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพอิสระ เนื่องจากมีขีดจ ากัดในการสื่อสาร ดังนั้นค าศัพท์ภาษามือในหมวดนี้จึงมีการแนะน าอาชีพต่างๆ เป็นภาษามือซึ่งท าท่ามือตามลักษะะของการท างานเป็นส่วนใหญ่ ดังภาพต่อไปนี้

อาชีพ

ท ำท่ำมือ ฟ และวำงด้ำนหน้ำช่วงปำกขยับไปมำ

ช่างศิลป์ (วาด) ช่างท าผม

Page 2: บทที่ 15

124

ท ำท่ำมือ ท ำ และท ำท่ำมือ วำด

ท ำท่ำมือ ท ำ และท ำท่ำมือ เลขสอง วำงข้ำงศีรษะ และตดัขึ้น

ช่างตัดเสื้อ จับที่เสื้อ และ ท ำมือตัด ตำมภำพ

พ่อค้า ท ำท่ำมือ ผู้ชำย และท ำท่ำมือ ขำย

มอเตอร์ไซต์รับจ้าง

ท ำท่ำมือ เสื้อกล้ำม และท ำท่ำมือมอเตอรไ์ซต ์

คนขับรถแท็คซี่ น ำนิ้วช้ีกับน้ิวโป้งทั้งสองข้ำงมำแตะกันเป็นสำมเหลี่ยม

และท ำท่ำมือขับรถ

อาชีพอีกประเภทหนึ่งที่นิยมกัน คือ อาชีพรับจ้าง ซึ่งเป็นอาชีพที่มีนายจ้าง ไม่ว่าจะเป็น

ของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ ต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันนี้บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเริ่มถูกจ้างงานและบรรจุเป็นข้าราชการเพ่ิมมากขึ้นในหลากหลายอาชีพจนต้องมีการอบรมเกี่ยวกับภาษามือเพ่ือใช้ในการสื่อสารในหน่วยงานนั้นๆ ค าศัพท์อาชีพนี้มีอีกหลายอาชีพที่น่าสนใจดังต่อไปนี้

ครู อาจารย์ ผู้สอน

ท ำท่ำมือ สอน และท ำท่ำมือ คน

พยาบาล ท ำท่ำมือ ยี่สิบ ชูเหนือศีรษะ แล้วท ำท่ำมือ เลขหนึ่ง

Page 3: บทที่ 15

125

ขีดที่ต้นแขนเป็นรูปกำกบำท

ต ารวจ

ท ำท่ำท ำควำมเคำรพ และท ำท่ำถกูล็อคกุญแจ ทหาร

ท ำท่ำท ำควำมเคำรพ

หมอ

ท ำท่ำมือ เลขสอง และขดีที่ต้นแขนเป็นรูปกำกบำท

บุรุษไปรษะีย์ ท ำท่ำมือ เลขสองแล้วแตะที่ปำกและน ำไปวำงที่มือ

2. ภาษามือหมวดกีฬา ภาษามือหมวดกีฬาสามารถท าได้โดยใช้ลักษะะและท่าทางในการเล่นกีฬานั้นๆ ดังภาพ

ต่อไปนี้

กีฬา

ท ำท่ำมือ ฟ ทั้งสองข้ำงคล้องกัน และสลับไปมำ

Page 4: บทที่ 15

126

ฟุตบอล มือด้ำนหนึ่งวำงบนข้อมือของมืออีกข้ำงที่ก ำไว้และขยับ

ขึ้นลง

บาสเกตบอล ท ำท่ำแตะลูกบำสลงพื้นและท ำท่ำโยนข้ึนด้ำนบน

วอลเลย์บอล แบมือหงำยขึ้นและดันมือขึ้น

แบดมินตัน ท ำท่ำมือ ไก่ และท ำท่ำจับไม้พร้อมกับตีไปด้ำนหน้ำ

มวย

ก ำมือสองข้ำงและขยับไปมำ

ตะกร้อ แบมือแตะที่หน้ำผำกและดันมือข้ึน

3. การใช้ภาษามือหมวดอาชีพและกีฬา

Page 5: บทที่ 15

127

ก: คุะชอบกีฬาอะไรคะ ข : ฉันชอบฟุตบอลครับ

ข : คุะล่ะชอบกีฬาอะไรคะ ก : ฉันชอบแบดมินตันคะ

สรุป การท าภาษามือหมวดอาชีพและกีฬาสามารถจดจ าได้ง่ายเนื่องจากเป็นการจ าลักษะะของงานและลักษะะของกีฬา โดยที่แต่ละค ามีท่ามือตั้งแต่หนึ่งท่าเป็นต้นไป

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาท าภาษามือตามค าศัพท์ที่ก าหนดให้

1.1 ครู 1.2 หมอ 1.3 ต ารวจ 1.4 พยาบาล 1.5 ช่างตัดผม 1.6 วิ่ง 1.7 ว่ายน้ า 1.8 ยิมนาสติก 1.9 มวย 1.10 ฟุตบอล

2. ให้นักศึกษาจับคู่และฝึกการสนทนาภาษามือ

Page 6: บทที่ 15

128

เอกสารอ้างอิง กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 6. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. (2544). เดก็ที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยิน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว .

Page 7: บทที่ 15

129