บทที่ 1

7
บทที1 บทนำ ภูมิหลัง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ได้กาหนดหลักสูตรตามแนวการจัดการศึกษา ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 โดยมุ่งเน้นความสาคัญทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อพัฒนาคนให้มี ความสมดุลโดยยึดหลักผู้เรียนสาคัญที่สุดทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ให้ความสาคัญต่อความรู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลกรวมทั้งความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของไทย และระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทย อย่างถูกต้อง ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ การดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข (กรมวิชาการ. 2545 ค : 4) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 กาหนดแนวทางในการจัดการ ศึกษาไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ฉะนั้น ครู ผู้สอน และผู้จัดการศึกษาจะต้องเปลี่ยนแปลง บทบาทจากการเป็นชี้ผู้นา ผู้ถ่ายทอดความรูไปเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนผู้เรียน ในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน เพื่อนาข้อมูล เหล่านั้นไปช่วยสร้างสรรค์ความรู้ของตน การเรียนรู้ในสาระต่าง ๆ มีกระบวนการ และวิธีที่หลากหลาย ผู้สอนต้องคานึงถึงพัฒนาการทางด้านร่างกาย และสติปัญญา วิธีการเรียนรูความสนใจ และ ความสามารถของผู้เรียนเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการจัดการเรียนรู้แต่ละช่วงชั้น ควรใช้ รูปแบบ/วิธีการที่หลากหลาย เน้นการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้จากธรรมชาติ การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และการเรียนรู้แบบ บูรณาการ การใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรูการเรียนคู่คุณธรรม ทั้งนี้ต้อง พยายามนากระบวนการจัดการ กระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม กระบวนการคิด

Transcript of บทที่ 1

Page 1: บทที่ 1

บทที่ 1

บทน ำ ภูมิหลัง หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 ได้ก าหนดหลักสูตรตามแนวการจัดการศึกษา ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 โดยมุ่งเน้นความส าคัญทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และความรับผิดชอบต่อสังคม เพ่ือพัฒนาคนให้มี ความสมดุลโดยยึดหลักผู้เรียนส าคัญที่สุดทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ให้ความส าคัญต่อความรู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลกรวมทั้งความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของไทย และระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบ ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาเน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ การด ารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข (กรมวิชาการ. 2545 ค : 4) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ก าหนดแนวทางในการจัดการ ศึกษาไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญท่ีสุด ฉะนั้น ครู ผู้สอน และผู้จัดการศึกษาจะต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นชี้ผู้น า ผู้ถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนผู้เรียน ในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน เพื่อน าข้อมูลเหล่านั้นไปช่วยสร้างสรรค์ความรู้ของตน การเรียนรู้ในสาระต่าง ๆ มีกระบวนการ และวิธีที่หลากหลาย ผู้สอนต้องค านึงถึงพัฒนาการทางด้านร่างกาย และสติปัญญา วิธีการเรียนรู้ ความสนใจ และความสามารถของผู้เรียนเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการจัดการเรียนรู้แต่ละช่วงชั้น ควรใช้ รูปแบบ/วิธีการที่หลากหลาย เน้นการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้จากธรรมชาติ การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และการเรียนรู้แบบ บูรณาการ การใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ การเรียนคู่คุณธรรม ทั้งนี้ต้อง พยายามน ากระบวนการจัดการ กระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม กระบวนการคิด

Page 2: บทที่ 1

2

และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปสอดแทรกในการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื้อหา และกระบวนการต่าง ๆ ข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งการเรียนรู้ลักษณะองค์รวมการบูรณาการเป็น การก าหนดเป้าหมายการเรียนร่วมกัน ยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยน ากระบวนการเรียนรู้จากกลุ่มสาระ เดียวกันหรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่บูรณาการจัดการเรียนการสอน ซึ่งจัดได้ลักษณะ คือ การ บูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว การบูรณาการแบบคู่ขนาน การบูรณาการแบบสหวิทยา การบูรณา การแบบโครงงาน (กรมวิชาการ. 2545 : 21 – 22) กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมเพื่อให้เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังนี้ 1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการด ารงชีวิตและ ครอบครัว การอาชีพ การออกแบบและเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีเพ่ือการ ท างานและอาชีพ 2) มีทักษะในการท างาน การประกอบอาชีพ การจัดการ การแสวงหาความรู้ เลือกใช้เทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศในการท างาน สามารถท างานอย่างมีกลยุทธ์ สร้าง และพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ 3) มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน รักการท างาน ประหยัด อดออม ตรงต่อเวลา เอื้อเฟ้ือ เสียสละ และมีวินัยในการท างาน เห็นคุณค่าความส าคัญ ของงานและอาชีพสุจริต ตระหนักถึงความส าคัญของสารสนเทศ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน (กรมวิชาการ. 2545 : 2) การจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบ ไปด้วย 5 สาระ คือ สาระที่ 1 การด ารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3 การ ออกแบบและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาระท่ี 5 เทคโนโลยีเพ่ือการ ท างานและอาชีพ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนในสาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะพ้ืนฐานการออกแบบ เขียนแบบ โดยใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์การเขียนแบบได้เหมาะสมกับงานอย่างถูกต้อง มีคุณธรรม สามารถคิดออกแบบสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ในการท างาน (กรม วิชาการ. 2546 : 11 – 12) การเรียนรู้ที่ดีที่สุด ง่ายที่สุด คือ การลงมือท าจริง จากผลวิจัยทางสมองยืนยันว่าการ เรียนรู้ทั้งหลายจะต้องใช้ร่างกายทุกส่วน ใช้ทั้งกาย สมอง และอารมณ์ แล้วจะเกิดการเรียนที่ดี จ าได้ง่าย จ าได้นาน การลงมือปฏิบัติจะท าให้ร่างกายใช้ทุกส่วน ทั้งการคิด การท า การพูด และอารมณ์ การเรียนรู้ที่ดีจึงเป็นการใช้ความรู้ไปลงมือ ท าจริง การปฏิบัติในชีวิตปกติ งานในชีวิต ประจ าวันจะท าให้เกิดการเรียนรู้ที่ง่ายที่สุด ดีที่สุด เป็นธรรมชาติที่สุด การเพ่ิมพูนความรู้จึงได้จากการลงมือท าจริง ปฏิบัติจริงแล้วความรู้นั้น ๆ ก็จะเข้าไปอยู่ในความจ าระยะยาว จ าได้นาน น ามาใช้ได้ทันที การเรียนรู้แบบสัมผัสได้จริง ท าได้จริง ย่อมมีความหมายต่อสมอง และสมองก็จะจ าได้นาน ความรู้เหล่านี้สามารถเพ่ิมพูนสูงขึ้นด้วยการกระท าที่เป็นประโยชน์ต่อปวงชน การพัฒนาที่เป็นที่นิยม

Page 3: บทที่ 1

3

กล่าวขวัญกันอยู่ในปัจจุบัน และขอสรุปว่าความรู้ที่ดีที่สุด คือ การปฏิบัติร่วมกัน พัฒนาร่วมกันจนเกิดประโยชน์ต่อสังคมสิ่งแวดล้อมโดยรวม (สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. ม.ป.ป. : 16 – 17) สภาพปัญหาปัจจุบันในการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน กุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร นักเรียนขาดพ้ืนฐานในการออกแบบ และเขียนแบบ เนื่องจากโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในเขตพ้ืนที่การศึกษายโสธร เขต 2 มีงบประมาณในการบริหารการจัดการเรียนการสอนน้อย ไม่พอเพียง จึงท าให้ขาดอุปกรณ์ และเครื่องมือ ต่าง ๆ ที่ใช้ ในการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 2 ในสาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี ท าให้นักเรียนขาดประสบการณ์ในการเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานในการเขียนแบบ ออกแบบ เนื่องจากนักเรียนไม่มีพ้ืนฐานในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเขียนแบบ ท าให้ไม่สามารถเขียนภาพสามมิติได้ และภาพสามมิตินี้เป็นความรู้ ทักษะพ้ืนฐานส าคัญในการออกแบบ เขียนแบบ จึงส่งผลให้ประสบปัญหาในการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระท่ี 3 การออกแบบและเทคโนโลยีในช่วงชั้นต่อไป และในระดับท่ีสูงขึ้น

ดังนั้นผู้ศึกษาค้นคว้าจึงศึกษาเอกสารเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอนจากหนังสือ คู่มือและต าราจากนักวิชาการ จึงได้น าวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบชี้แนะ(Direct Instruction) เพ่ือเป็นการแก้ปัญหาด้านการเรียนการสอนดังกล่าว อีกท้ังเพ่ือให้นักเรียนเข้าใจง่ายขึ้นเกี่ยวกับการออกแบบ เขียนแบบ ตลอดจนวิธีการ และข้ันตอนการเขียน ให้เกิดทักษะกระบวนการการปฏิบัติ การท างานอย่างเป็นระบบ เป็นล าดับขั้นตอน และเกิดองค์ความรู้สามารถบูรณาการไปสู่รายวิชา อ่ืน ๆ อีกทั้งสามารถน าไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจ าวันต่อไป การจัดการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มีเป้าหมายเพื่อฝึกทักษะหรือให้ความรู้เบื้องต้นแก่ผู้เรียนเพ่ือให้มีพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ที่ได้ก าหนด การเรียนการสอนแบบชี้แนะนี้มีพ้ืนฐานมาจากทฤษฎีทางจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยม และจิตวิทยาการฝึก การเรียนการสอนเน้นการฝึกปฏิบัติ และเสริมแรงในขณะเรียน และจะค่อยลดการเสริมแรงเม่ือผู้เรียนเกิดพฤติกรรมที่ต้องการ การเรียนการสอนจะเน้นให้ผู้เรียนสามารถท างาน ได้อย่างมีล าดับขั้นตอน รวมทั้งสามารถท างานร่วมกับคนอ่ืนได้ การฝึกจะแบ่งออกเป็นทักษะย่อยเรียงล าดับความซับซ้อนของทักษะ ลักษณะของการเรียนการสอนแบบชี้แนะ จึงมีลักษณะของการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วน ๆ หรือทักษะย่อยแล้วจัดเรียงตามความซับซ้อนแล้ว หลังจากนั้นจึงฝึกผู้เรียนตามล าดับทักษะที่จัดเรียงไว้แล้วให้การเสริมแรงระหว่างการฝึก การฝึกแต่ละขั้นตอนจะเป็นการฝึกจากขั้นตอนที่ง่ายไปสู่ขั้นตอนที่ยากข้ึนตามล าดับ ส าหรับเกณฑ์การผ่านแต่ละทักษะได้นั้น ผู้เรียนควรจะสามารถท าได้ถูกต้องตามงานที่ได้รับมอบหมายร้อยละ 85 – 90 จึงจะสามารถผ่านเกณฑ์ท่ีก าหนด

Page 4: บทที่ 1

4

สามารถเรียนทักษะในขั้นต่อไปได้ ซึ่งวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบชี้แนะ(Direct Instruction) ประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน คือ ขั้นทบทวนความรู้เดิม ขั้นบอกวัตถุประสงค์ ขั้นน าเสนอเนื้อหาใหม่ ขั้นฝึกโดยการชี้แนะ ขั้นฝึกอิสระ และขั้นทบทวน (สุวิทย์ มูลค า และอรทัย มูลค า. 2547 : 230 – 236)

ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้ศึกษาค้นคว้าจึงศึกษาเอกสารเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอน จากหนังสือ คู่มือและต าราจากนักวิชาการ จึงได้น าวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบชี้แนะ(Direct Instruction) เป็นการแก้ปัญหาด้านการเรียนการสอนดังกล่าว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจง่ายขึ้นเก่ียวกับ การออกแบบ เขียนแบบ ตลอดจนวิธีการ และข้ันตอนการเขียน เพ่ือให้เกิดทักษะกระบวนการ การปฏิบัติ การท างานอย่างเป็นระบบ เป็นล าดับขั้นตอน และเกิดองค์ความรู้สามารถบูรณาการ ไปสู่รายวิชาอ่ืน ๆ อีกทั้งสามารถน าไปประยุกต์ใช้ชีวิตประจ าวันต่อไป ผู้ศึกษาได้ศึกษาหลักการ เหตุผล และงานวิจัยที่เก่ียวข้องแล้วจึงได้ด าเนินการ ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพ่ือเป็นแนวทางส าหรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในการพัฒนาการเรียนรู้ให้ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า

1 เพ่ือพัฒนาแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80

2 เพ่ือศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผนจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Page 5: บทที่ 1

5

ความส าคัญของการศึกษาค้นคว้า 1. ได้พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction)

2. ได้ตัวอย่าง รูปแบบวิธีสอน โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) ที่ถูกต้องส าหรับครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จ านวน 150 คน จาก 4 ห้องเรียน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียน กุดชุมวิทยาคม อ าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ได้มาโดยการเลือกแบบสุ่มกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เนื่องจากโรงเรียนได้จัดนักเรียนแต่ละห้องคละความสามารถกัน จ านวน 33 คน 3. ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โดยทดลองกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 24 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของเนื้อหา เนื้อหาบทเรียนที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คือ เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 กระทรวง ศึกษาธิการ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 4 แผนการเรียนรู้ รวมเวลา 24 ชั่วโมง ได้แก่ แผนการเรียนรู้ที่ 1 การเขียนภาพออบลิก (Oblique) เวลา 6 ชั่วโมง

แผนการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric) เวลา 6 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนภาพเพอร์สเปคทีฟ (Perspective) เวลา 6 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 4 การเขียนภาพออโตกราฟิก (Orthographic) เวลา 6 ชั่วโมง

Page 6: บทที่ 1

6

ค าศัพท์นิยามเฉพาะ 1. การจัดการเรียนรู้แบบชี้แนะ(Direct Instruction) หมายถึง รูปแบบการสอนที่มีเป้าหมายเพื่อฝึกทักษะหรือให้ความรู้เบื้องต้นแก่ผู้เรียนเพ่ือให้มีพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ที่ได้ก าหนด การเรียนการสอนแบบชี้แนะเน้นการฝึกและเสริมแรงทางในขณะเรียนหรือฝึกปฏิบัติงาน และจะค่อยลดการเสริมแรงเมื่อผู้เรียนมีพฤติกรรมที่ต้องการ การเรียนการสอนจะเน้นให้ผู้เรียนสามารถท างานได้อย่างมีล าดับขั้นตอน รวมทั้งสามารถท างานร่วมกับคนอ่ืนได้ ลักษณะการสอนแบบชี้แนะจะเริ่มจากการฝึกท าอย่างง่ายก่อนแล้วค่อยเพิ่มล าดับความยากข้ึนอย่างมีล าดับขั้นตอน ซึ่งมีองค์ประกอบส าคัญของการจัดการเรียนรู้ ดังนี้

1.1 ล าดับขั้นตอนการเรียนรู้ ผู้สอนต้องวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้เรียนว่า การเกิดการ เรียนรู้จะต้องมีพฤติกรรมย่อยอะไรบ้าง แล้วเขียนลงในกระดาษเป็นข้อ ๆ

1.2 เกณฑ์วัดสภาพความส าเร็จ ผู้สอนจะต้องก าหนดเกณฑ์วัดสภาพความส าเร็จ ซึ่ง ทุกคนต้องผ่านเกณฑ์อย่างน้อย ร้อยละ 85 ขึ้นไปถึงจะฝึกทักษะขั้นต่อไปได้ 2. ประสิทธิภาพของแผนการเรียนรู้ หมายถึง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งวัดผลตามสภาพจริงแล้วมีผลเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2.1 80 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคนที่ท าได้ระหว่างเรียนจากการตรวจผลงานของนักเรียน สังเกตพฤติกรรม และการทดสอบย่อย 2.2 80 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคนที่ท าได้จากการท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. ดัชนีประสิทธิผล หมายถึง ตัวเลขที่แสดงความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน โดยการเปรียบเทียบคะแนนที่เพ่ิมขึ้นจากคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน 4. ความพึงพอใจ หมายถึง พฤติกรรมหรือท่าทีของผู้เรียนที่แสดงออกถึงความรู้สึก ชื่นชอบ ความรู้สึกชอบ ความรู้สึกพอใจของนักเรียนที่ได้ร่วมปฏิบัติกิจกรรมด้วยแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction) เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยผู้เรียนอาจแสดงออกด้วยความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบ พอใจหรือไม่พอใจ เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้ ซึ่งวัดได้จากแบบวัดความพึงพอใจ

Page 7: บทที่ 1

7

5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial) โดยวัดจากแบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ 6. ภาพสามมิติ หมายถึง ภาพที่มองเห็นรูปร่างของชิ้นงานทั้งสามด้าน ในลักษณะเป็น สามมิติทั้งความ กว้าง ความยาว และความลึก จึงเป็นภาพที่สื่อให้ผู้อ่านแบบได้เข้าใจลักษณะรูปร่างชิ้นงานได้ดี และชัดเจน แสดงลักษณะรูปร่าง และรูปทรงได้เหมือนของจริงมาก คือ สามารถแสดงรายละเอียด ได้ถึง 3 ด้าน เหมือนกับได้เห็นชิ้นงานจริง สามารถแสดงรูปร่าง รูปทรง ลักษณะการประกอบกันอยู่ของชิ้นส่วนต่าง ๆ แต่ละชิ้น ทั้งหมดในภาพเดียวกันทั้งหมด สามารถท าความเข้าใจลักษณะของชิ้นงานได้ดียิ่งขึ้น และสามารถมองเห็นได้อย่างน้อย 3 ด้าน คือ ด้านหน้า (Front View) ด้านข้าง (Side View) ด้านบน (Top View)