Who are you…? ค.ต.ป.¸„ตป คือ...องค...

Post on 07-Nov-2020

4 views 0 download

Transcript of Who are you…? ค.ต.ป.¸„ตป คือ...องค...

Who are you…?

ค.ต.ป. คณะกรรมการการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

ส านักตรวจสอบภายใน

ผู้ตรวจราชการ ผู้ตรวจสอบภายในระดับกระทรวง กรม

ผู้ตรวจราชการ สนร.

ส.ก.พ.ร.

ส.ก.พ. ป.ป.ท.

สงป.

ผู้ตรวจราชการแผ่นดิน

ศาล

ปกครอง

คณะ

กรรมา

ธิการ

ปปช. ปปง. คตส.

กลไกควบคุมภายใน (หน่วยงานกลาง)

กลไกควบคุมภายใน (ภายในองค์การ)

กลไกควบคุมภายนอก

คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

(ค.ต.ป.)

ระบบการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน

กลไกการตรวจสอบและประเมิลผลภาคราชการ

ครม.

ค.ต.ป.

อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับการ

ก าหนดแนวทาง

วิธีการการตรวจสอบฯ

อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจเกี่ยวกับการก าหนดแนวทางวิธีการการ

บูรณาการฯ

อ.ค.ต.ป.

กลุ่มจังหวัด

(4 คณะ)

อ.ค.ต.ป.

กลุ่มกระทรวง

(4 คณะ)

รมต.

ค.ต.ป. ประจ ากระทรวง

(20 คณะ)

- ด้านเศรษฐกิจ

- ด้านสังคม

- ด้านความม่ันคงและ

การต่างประเทศ

- ด้านบริหาร และส่วน

ราชการไม่สังกัดฯ

- คณะที่ 1

- คณะที่ 2

- คณะที่ 3

- คณะที่ 4

- ส านักนายกรัฐมนตร ี

- กระทรวงกลาโหม

- กระทรวงการคลัง

- กระทรวงการต่างประเทศ

- กระทรวงการท่องเที่ยวฯ

- กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ

- กระทรวงเกษตรฯ

- กระทรวงคมนาคม

- กระทรวงทรัพยากรฯ

- กระทรวงเทคโนโลยี

สารสนเทศฯ

- กระทรวงพลังงาน

- กระทรวงพาณิชย์

- กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงยุติธรรม

- กระทรวงแรงงาน

- กระทรวงวัฒนธรรม

- กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

- กระทรวงศึกษาธิการ

- กระทรวงสาธารณสุข

- กระทรวงอุตสาหกรรม

มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 2 มีนาคม 2557

ให้ส านักงาน ก.พ.ร. พิจารณาจัดวางระบบการตรวจสอบภาคราชการใหม่ให้สอดคล้องกับการพัฒนาระบบราชการและระบบการบริหารการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ตลอดจนหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองท่ีดีตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.2556

หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ.2548, 2550, 2553

ส่วนราชการมีการก ากับดูแลตนเองท่ีดี

สร้างความน่าเชื่อถือและความม่ันใจแก่สาธารณชนต่อผลการด าเนินงานของสว่นราชการว่ามีการก ากับดูแลอย่างรอบคอบ

และมีประสิทธิภาพ

ยกระดับขีดมรรถนะ การเรียนรู้และศักยภาพการพัฒนาอย่าง

ยั่งยืนของส่วนราชการ

องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) (ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ.2548 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ.2552)

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

รัฐมนตรีซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง

ปลัดส านักนายกรัฐมนตร ี

ปลัดกระทรวงการคลัง

ปลัดกระทรวงมหาดไทย

ผู้อ านวยการส านักงบประมาณ

เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

อธิบดีกรมบัญชีกลาง

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งได้รับ

การสรรหาจ านวนไม่น้อยกว่าเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบคน

เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการที่เลขาธิการ

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมอบหมาย

ประธานกรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการและเลขานุการ

กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

อ านาจหน้าที่ของ ค.ต.ป.

วางแผนนโยบาย แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผล

ให้ความเห็นชอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลของคณะอนุกรรมการและหน่วยงานกลางที่มีภารกิจด้านการตรวจสอบฯ

ส่งเสริม ผลักดัน สอบทาน และเสนอแนะมาตรการให้ส่วนราชการด าเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการและหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

จัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผล ต่อ นายกรัฐมนตรี และ ครม. อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. และ มติครม.ที่เก่ียวข้อง และรายงานต่อ นายกรัฐมนตรี และ ครม.ทราบเป็นระยะ

แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ตามท่ี ค.ต.ป. มอบหมาย

ปฏิบัติการอ่ืนตามที่ ครม. มอบหมาย

1

6

7

2

3

4

5

อ านาจหน้าที่ของ ค.ต.ป.

ตามระเบียบ

ส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ.2548

นโยบายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ส่วนราชการ โดยเฉพาะให้มีระบบการก ากับดูแลตนเองท่ีดี

ผลักดันการบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี

ส่งเสริมการบูรณาการงานด้านการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เช่น ระบบข้อมูล การติดตามและประเมินผล เป็นต้น

สร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจแก่สาธารณชนต่อการด าเนินงานของส่วนราชการ

1

2

3

4

การรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ.2548

ข้อ 13 (4)

รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการรอบ

ระหว่างปี (6 เดือน)

รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการรอบ

ระหว่างปี (12 เดือน)

คณะรัฐมนตรี

ค.ต.ป. จัดท ารายงานผลการตรวจสอบและ

ประเมินผลภาคราชการ ปีละ 2 ครั้ง

ประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ 2 กรณี

• 1. การตรวจราชการ

• 2. การปฏิบัติตามค ารับรอง

• 3. การตรวจสอบภายใน

• 4. การควบคุมภายใน

มิติด้านการบริหารจัดการ

• 5. รายงานการเงิน มิติด้านการเงิน

Ⅰการสอบทานกรณีปกติ ประกอบด้วย 2 มิติ ครอบคลุมประเด็นการตรวจสอบ 5 เรื่อง

การสอบทานกรณีพิเศษ

Ⅱ เป็นการสอบทานและประเมินผลโครงการที่ ค.ต.ป. ประจ ากระทรวงร่วมกับ อ.ค.ต.ป กลุ่มกระทรวง และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด พิจารณาคัดเลือกโดยใช้แนวคิด - การด าเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) พิจารณาถึงความสอดคล้อง

เชื่อมโยงกันของยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์กระทรวงและจังหวัด และแผนงานโครงการที่ส าคัญของกระทรวงและจังหวัดเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

- การด าเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลที่ส าคัญ (Agenda Based) และการบูรณาการการสอบทานกรณีพิเศษให้เป็นภาพรวมร่วมกันของกระทรวงและจังหวัด

องค์ประกอบของ ค.ต.ป. ประจ ากระทรวง ประกอบด้วย

1. ประธานตามประกาศของ ค.ต.ป. 2. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 4 คน 3. กรรมการและเลขานุการ 4. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการไม่เกิน 2 คน ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระการด ารงต าแหน่งคราวละ 2 ปี หากพ้นต าแหน่งแล้วอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้ แต่ต้องไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน

อ านาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. ประจ ากระทรวง มีดังนี ้

1. ก ากับดูแลระบบการตรวจสอบและประเมินผลของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ ค.ต.ป. ก าหนด

2. สอบทาน ติดตาม และประเมินผลการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานราชการ และเสนอแนะแนวทางแก้ไข

3. สอบทานรายงานผลการด าเนินงานและรายงานผลสถานะทางการเงินของกระทรวง และหน่วยงานในสังกัดกระทรวง

4. รายงานผลการปฏิบัติงานของ ค.ต.ป.ประจ ากระทรวง ให้รัฐมนตรี พร้อมทั้งส่งส าเนาให้ปลัดกระทรวงและ ค.ต.ป. ทราบทุก 6 เดือน เว้นแต่มีเรื่องจ าเป็นเร่งด่วน ให้รายงานทันที

5. เรียกให้เจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความคิดเห็น หรือเรียกเอกสารหลักฐานต่างๆเพื่อประกอบการพิจารณา

6. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ ค.ต.ป. มอบหมาย