Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์...

Post on 11-Jan-2017

111 views 1 download

Transcript of Krungsri : วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์...

วางแผนภาษีร้านค้าออนไลน์ ลดหย่อนอย่างไรให้คุ้ม

TAXBUGNOMS

รู้จักกันสักนิด

• เจ้าของแฟนเพจ TAXBugnoms ที่มีคนติดตามกว่า 2 แสนคน• บล็อกเกอร์ บล็อกภาษีข้างถนน และ Aommoney.com• วิทยากรและอาจารย์พิเศษ ด้าน บัญชี ภาษี และการเงิน• หนึ่งใน Krungsri GURU ปี 2015

ปรับทัศนคติกันเบาๆ

• ไม่ว่าจะมีรายได้จากอะไร “ส่วนใหญ”่ ต้องเสียภาษี• การเสียภาษีเป็นหน้าที่ตามกฎหมาย• และเป็นหน้าที่ของ “เจ้าของธุรกิจ”

เริ่มต้นธุรกิจร้านค้าออนไลน์

• รู้จักตัวเอง = ประเภทธุรกิจ• รู้จักและเลือก “รูปแบบ” ของธุรกิจให้ถูกต้อง• กิจการเจ้าของคนเดียว = บุคคลธรรมดา• บริษัท ห้างหุ้นส่วน (จดทะเบียน) = นิติบุคคล

กิจการเจ้าของคนเดียว• จดทะเบียนพาณิชย์ = กรมพัฒนาธุรกิจการค้า• ภายใน 30 วันนับตั้งแต่เริ่มประกอบธุรกิจ• ร้านค้าออนไลน์ = จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิคส์

กิจการเจ้าของคนเดียว

• ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (PIT)• ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)

วิธีค านวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

(เงินได้สุทธิ)[ (เงินได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน) – เงินบริจาค ]

x อัตราภาษี(ขั้นบันได 5 - 35%)

วิธีค านวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

(เงินได้พึงประเมิน)

เงินได้ x 0.5%กรณีมีเงินได้มากกว่า 1 ล้านบาท

เงินได้มาจากไหน

ส าหรับการขายของออนไลน์

เงินได้ = รายได้ตามจ านวนที่ได้รับจริงในปีนั้น

ค่าใช้จ่ายมาจากไหน

ส าหรับการขายของออนไลน์

ค่าใช้จ่ายมี 2 ทางหักเหมา 80% หรือ หักค่าใช้จ่ายตามจริง

ตัวอย่าง• รายได้จากการขายครีมหน้าเด้งจ านวน 1 ล้านบาท

• ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในปี 2559 คือ 500,000 บาท

• นายบักหนอมจะมีเงินได้และค่าใช้จ่ายอย่างไร ?

ตัวอย่างหักเหมา 80%

• เงินได้ 1,000,000 บาท

• ค่าใช้จ่าย 80% = 800,000 บาท

• เงินได้ – ค่าใช้จ่าย = 200,000 บาท

หักค่าใช้จ่ายตามจริง

• เงินได้ 1,000,000 บาท

• ค่าใช้จ่าย = 500,000 บาท

• เงินได้ – ค่าใช้จ่าย = 500,000 บาท

วิธีค านวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

(เงินได้สุทธิ)[ (เงินได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน) – เงินบริจาค ]

x อัตราภาษี(ขั้นบันได 5 - 35%)

ค่าลดหย่อน

ค่าลดหย่อนส่วนตัว + คนดี

ค่าลดหย่อนสินทรัพย์ + มาตรการรัฐ

ค่าลดหย่อนการออมและการลงทุน

ค่าลดหย่อนส่วนตัว + คนดี

ส่วนตัว 30,000 บาท คู่สมรส 30,000 บาท บุตร 15,000 – 17,000 บาท

พ่อแม่ 30,000 บาท/คน เบี้ยประกันสุขภาพพอ่แม่สูงสุด 15,000 บาท

อุปการะเลี้ยงดูคนพกิาร หรือ คนทุพพลภาพ 60,000 บาท

ค่าลดหย่อนสินทรัพย์ + มาตรการรัฐ

บ้านหลังแรกสูงสดุ 120,000 บาท ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม 100,000 บาท

ค่าลดหย่อนท่องเทีย่วระหว่างปี 15,000 บาท (รอประกาศกฎหมาย)

ค่าลดหย่อนจากการใช้จ่ายช่วงสงกรานต์ 15,000 บาท

ค่าลดหย่อนการออมและการลงทุน

ประกันสังคม 9,000 บาท กอช 13,200 บาท กองทุนส ารองเลี้ยงชีพ 500,000 บาท

LTF 15% ไม่เกิน 500,000 / รอปรับปรุงเป็น 700,000 บาท RMF 15% ไม่เกิน 500,000

ประกันชีวิตบ านาญ 15% ไม่เกิน 200,000 บาทประกันชีวิต 100,000 บาท

เงินบริจาค

บริจาคธรรมดา

บริจาคการศึกษา + อื่นๆ 2 เท่า

อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเงินได้สุทธิ (บาท) ช่วงเงินได้สุทธิ (บาท) อัตราภาษี ภาษีแต่ละขั้น (บาท) ภาษีสะสมสูงสุด (บาท)

150,000 บาทแรก 150,000 ยกเว้น - -

150,001 – 300,000 150,000 5 7,500 7,500

300,001 – 500,000 200,000 10 20,000 27,500

500,001 – 750,000 250,000 15 37,500 65,000

750,001 – 1,000,000 250,000 20 50,000 115,000

1,000,001 – 2,000,000 1,000,000 25 250,000 365,000

2,000,001 – 4,000,000 2,000,000 30 600,000 965,000

4,000,001 บาทขึ้นไป - 35 -

ตัวอย่างการค านวณ• จากตัวอย่างเดิม มีค่าลดหย่อนดังต่อไปนี้ ..• ลดหย่อนส่วนตัว 30,000 บาท• เลี้ยงดูแม่ 1 คน (แม่ไม่มีรายได้) ลดหย่อนได้ 30,000 บาท• ซ้ือ LTF จ านวน 50,000 บาท• ซื้อประกันชีวิตจ านวน 20,000 บาท• มีดอกเบี้ยผ่อนบ้านจ านวน 30,000 บาท• บริจาคให้วัด 1,000 บาท บริจาคให้โรงเรียน 2,500 บาท

ตัวอย่างเงินได้ - ค่าใช้จ่าย

• เงินได้ 1,000,000 บาท

• ค่าใช้จ่าย 80% = 800,000 บาท

• เงินได้ – ค่าใช้จ่าย = 200,000 บาท

ค่าลดหย่อน

• ลดหย่อนส่วนตัว 30,000 บาท• ลดหย่อนแม่ 30,000 บาท• LTF 50,000 บาท• ประกันชีวิต 20,000 บาท• ดอกเบี้ย 30,000 บาท• รวมค่าลดหย่อนใช้สิทธิได้ = 160,000 บาท

ตัวอย่างเงินได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน

• เงินได้ 1,000,000 บาท

• ค่าใช้จ่าย 80% = 800,000 บาท

• ค่าลดหย่อน = 160,000 บาท

เงินบริจาค

• โรงเรียน 5,000 บาท (2 เท่า)• วัด 1,000 บาท• รวมเงินบริจาค 6,000 บาท

เงินได้สุทธิ = 1,000,000 – 800,000 – 160,000 – 6,000 = 34,000 บาท

ไม่ค านวณตามวิธีเงินได้พึงประเมิน เพราะรายได้ไม่เกิน 1 ล้านบาท

อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเงินได้สุทธิ (บาท) ช่วงเงินได้สุทธิ (บาท) อัตราภาษี ภาษีแต่ละขั้น (บาท) ภาษีสะสมสูงสุด (บาท)

150,000 บาทแรก 150,000 ยกเว้น - -

150,001 – 300,000 150,000 5 7,500 7,500

300,001 – 500,000 200,000 10 20,000 27,500

500,001 – 750,000 250,000 15 37,500 65,000

750,001 – 1,000,000 250,000 20 50,000 115,000

1,000,001 – 2,000,000 1,000,000 25 250,000 365,000

2,000,001 – 4,000,000 2,000,000 30 600,000 965,000

4,000,001 บาทขึ้นไป - 35 -

เมื่อไรควรจดนิติบุคคล ?เงินได้สุทธิ (บาท) ช่วงเงินได้สุทธิ (บาท) อัตราภาษี ภาษีแต่ละขั้น (บาท) ภาษีสะสมสูงสุด (บาท)

150,000 บาทแรก 150,000 ยกเว้น - -

150,001 – 300,000 150,000 5 7,500 7,500

300,001 – 500,000 200,000 10 20,000 27,500

500,001 – 750,000 250,000 15 37,500 65,000

750,001 – 1,000,000 250,000 20 50,000 115,000

1,000,001 – 2,000,000 1,000,000 25 250,000 365,000

2,000,001 – 4,000,000 2,000,000 30 600,000 965,000

4,000,001 บาทขึ้นไป - 35 -

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

เมื่อมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปีต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วัน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ภาษีขาย – ภาษีซื้อเวลาซื้อสินค้า ขอใบก ากับภาษี

เวลาขายสนิค้า ออกใบก ากับภาษี

ตัวอย่างภาษีมูลค่าเพิ่ม• ซื้อสินค้ามา 200,000 บาท มีภาษีมูลค่าเพิ่ม 100,000 บาท

(คิดเป็นภาษี 7,000 บาท)

• ขายสินค้าไป 500,000 บาท มีภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งจ านวน (คิดเป็นภาษี 35,000 บาท)

• วันที่ 15 เดือนถัดไปต้องน าส่งภาษี 28,000 บาท(35,000 – 7,000 = 28,000 บาท)

ความเข้าใจผิดภาษีมูลค่าเพิ่ม• ภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ใช่ต้นทุน แต่ผู้ขายมีหน้าที่เรียกเก็บจากลูกค้า

• มีหน้าที่ในการน าส่งภาษีทกุเดือน ต่อให้เสียแล้วยังคงต้องเสียภาษีเงินได้อยู่ดี

• มีหน้าที่จัดท ารายงาน (ภาษีซื้อ ภาษีขาย สินค้าคงเหลือ) และออกใบก ากับภาษีให้ถูกต้อง

สรุป

• “ภาษ”ี อยู่ที่ “รูปแบบ” กิจการ• ต้นทุนในการท าให้ถูกต้อง VS ต้นทุนในการหลีกเลี่ยง• เทคโนโลยีต่างๆที่จะตามมา ส่งผลให้ธุรกิจต้องปรับตัว

ฝากร้าน