การจัดทำแผนความต้องการ/บริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพของ...

Post on 28-Oct-2019

7 views 0 download

Transcript of การจัดทำแผนความต้องการ/บริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพของ...

ยุทธศาสตร์การปฏริูปก าลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย

2560-2579

26 กรกฎาคม 2560

น าเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และผู้บริหารระดับสูง

กรอบการน าเสนอ

1. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการปฏิรูปก าลังคนด้านสุขภาพ

ของประเทศไทย

2. สถานการณ์ก าลังคนด้านสุขภาพของประเทศ

3. ความคืบหน้าการวางแผนก าลังคนด้านสุขภาพของประเทศ

ในอีก 20 ปีข้างหน้า

2

ทธศาสตร์การขับเคลื่อนการปฏิรูปก าลังคน

ด้านสุขภาพของประเทศไทย

ยุ

ส่วนที่ 1

3

สถานการณแ์ละสภาพปัญหา

• สถานการณ์ความขาดแคลนในวิชาชีพหลักดีขึ้น แต่การกระจาย

ยังเป็นปัญหา

• ความขาดแคลนในวิชาชีพเฉพาะ

• Professionalism

• ความต้องการด้านปริมาณและคุณภาพของประชาชนสูงขึ้น

• ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรสูงขึ้นเรื่อยๆ

• ความเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตและผู้ใช้

• ระบบข้อมูลแยกส่วน ไม่ครบถ้วน

• ฯลฯ

4

การด าเนินงานในรอบทศวรรษที่ผ่านมา

5

ปี 2549 สช. ท าแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ

ก าลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ

ปี 2550 - 2559

ปี 2555 กสธ. ท าแผนยุทธศาสตร์ก าลังคนด้านสุขภาพกระทรวงฯ

ผลการด าเนินงาน

1) มีการวิเคราะห์ภาระงานและวางแผนก าลังคน

2) ปรับระบบการจ้างงาน

3) ปรับปรุงระบบค่าตอบแทนและสร้างแรงจูงใจ

ปี 2558 - 2559 กสธ. ก าหนด People excellent

เป็นหนึ่งในสี่ยุทธศาสตร์หลัก เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี

เจ้าหน้าทีม่ีความสุข และระบบสุขภาพยั่งยืน

ปี 2559 คณะกรรมการก าลังคนฯ(ภายใต้ สช.)

พัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

การวางแผนก าลังคนด้านสุขภาพ

ในระยะ 10 ปีข้างหน้า

(พ.ศ.2560 - 2569)

6

One vision

Two goals

Three agencies

Fourreforms

ปฏิรูปก าลังคนด้านสุขภาพเพื่อสนับสนุน

ให้ประเทศมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

1. ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง

2. ค่าใช้จ่ายด้านก าลังคนอยู่ในระดับเหมาะสม

ภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น ประชาสังคม

1. ปฏิรูปการวางแผนก าลงัคนด้านสุขภาพของประเทศ

2. ปฏิรูปการท าแผนยุทธศาสตร์ก าลงัคนด้านสุขภาพแห่งชาติ

3. ปฏิรูปการจ้างงานและการบริหารจัดการก าลงัคนด้านสุขภาพภาครัฐภายใต้

พลวัตตลาดแรงงาน

4. ปฏิรูประบบข้อมูลก าลงัคนด้านสุขภาพ

โครงสร้างการท างานนโยบายก าลังคน

HRH Coordinating Unit

(Secretariat body)

คณะท างานขับเคล่ือนและปฏิรปูระบบ

สาธารณสุข ด้านก าลังคน

รองปลัด - ประธาน

อนุกรรมการ คปร.

นพ.สุพรรณ - ประธาน

1. คณะท างานวิชาการ

พัฒนาระบบสุขภาพและก าลังคนใน

อนาคต 20 ปี

คณะท างานขับเคล่ือนและปฏิรปูระบบ

สาธารณสุข

รมต.สธ.- ประธาน

3 คณะท างานวิชาการ

พัฒนาระบบการจา้งงานในอนาคต

ชุดสิทธิประโยชน์ ค่าตอบแทน

4. คณะท างานวิชาการ

พัฒนาระบบขอ้มูลและตัวชีวั้ด

ก าลังคนด้านสุขภาพ

2. คณะท างานวิชาการ

พัฒนาแผนยทุธศาสตรก์ าลังคน

ด้านสุขภาพแหง่ชาติ

คกก.ก าลังคน กสธ.

ปลัด กสธ. - ประธาน

คกก.ปฏิรูปการศึกษา

นพ.วิจารณ ์- ประธาน

คกก.ก าลังคนแหง่ชาติ

นพ.มงคล - ประธาน

7

ถานการณ์ก าลังคนด้านสุขภาพของประเทศส

ส่วนที่ 2

8

9

จ านวนที่มีสัดส่วนต่อ ปชก.

(ประชากรปี 59)

จ านวนใน

สป.กสธ.

1.แพทย์ 50,573 1,292 17,469 (35%)

2.พยาบาล 158,317 419 103,403 (65%)

3.ทันตบุคลากร

3.1 ทันตแพทย์ 11,575 5,643 5,133 (44%)

3.2 ทันตาภิบาล 6,818 9,581

4.เภสัชกร 26,187 2,494 8,282 (32%)

5.เทคนิคการแพทย์ 15,200 4,298 3,765 (25%)

6.กายภาพบ าบัด 10,065

(Active 4,355)

6,490

(Active 14,999)

2,605 (26%)

7. นักวิชาการสาธารณสุข 27,917 2,419 27,917 (100%)

สถานการณก์ าลังคนดา้นสุขภาพในปัจจบุนั

10

จ านวนสถาบันทีม่ี อัตราการผลติ

1. แพทย์ 21 3,406

2. พยาบาล

2.1 พยาบาล 86 11,000

2.2 ผู้ช่วยพยาบาล 8,000

3. ทันตบุคลากร

3.1 ทันตแพทย์ 13 1,010

3.2 ทันตาภิบาล 7 300 (มีผู้สมัคร 75%)

4. เภสัชกร 19 2,000

5. เทคนิดการแพทย์ 12 1,118

6. กายภาพบ าบัด 16 1,150

7. สัตวแพทย์ 9 650

8. สาธารณสุข 69 10,988-14,197

9. แพทย์แผนไทย/ประยุกต์ 27 6,352

สถานการณ์การผลติก าลงัคนด้านสุขภาพ

ารจัดท าแผนความต้องการก าลังคนด้านสุขภาพ

ของประเทศในอีก 20 ปีข้างหน้า

ส่วนที่ 3

11

ขอบเขตการวางแผน

ระบบบรกิารสขุภาพ ครอบคลุม

• ทุกระดับบริการ – Primary, Secondary และ Tertiary

• ทุกหน่วยงาน – รัฐ (กสธ./นอก กสธ.), เอกชน และ ท้องถิ่น

• New care models **

ก าลังคนด้านสขุภาพ ครอบคลุม

• สาขาหลัก (ที่มีสภาวิชาชีพ/กฎหมาย ดูแล) – แพทย์ พยาบาล

ทันตแพทย์ เภสัช กายภาพ เทคนิคการแพทย์ สาสุข

• สาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้องใน patient-care team

12

คณะท างานวิชาการ

o ทีมที่ปรึกษา - ผศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ และคณะ

o ทีมวิชาชีพ – ทันตแพทย,์ เภสัชกร, กายภาพบ าบัด,

เทคนิคการแพทย,์ นักวิชาการสาธารณสุข

o ทีมนักวิชาการกระทรวงสาธารณสุข

oส านักงานพัฒนานโ ยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)

oกองยุทธศาสตร์และแผนงาน

13

ข้อจ ากดัของการวางแผนก าลงัคนในอดีต

• ระบบสุขภาพเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การวางแผนไม่สามารถปรับให้

สอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงได้

• การวางแผนที่ไม่น าปัจจัยส าคัญที่เกี่ยวข้องเข้ามาคิดอย่างเป็นระบบ

• การวางแผนก าลังคนแยกจากแผนระบบบริการ

• วางแผนแยกเป็นวิชาชีพ ขาดการบูรณาการการใช้บุคลากรระหว่าง

วิชาชีพ (Skill mix/Cadre mix)

• ขาดกระบวนการมีส่วนร่วม และหาข้อตกลงร่วมในประเด็นที่ขัดแย้ง

14

Time frame

15

กิจกรรม กลุ่มเปา้หมาย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

พค มิย กค สค กย ตค พย ธค มค กพ.

1. จัดตั้งคณะท างาน นักวิชาการ/ผู้เชีย่วชาญดา้น

ก าลังคน

X

2. จัดจ้างที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญดา้นก าลังคน X

3. การประชุมคณะท างาน เดือนละ 1 ครั้ง X X X X X X X X

4. การจัดประชุมเชงิปฏิบัตกิาร จ านวน 4 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย 60 คน

X X

5. การจดัประชุมระดมความเหน็จาก

ผู้เชี่ยวชาญ

จ านวน 5 กลุ่มๆละ 10-15 คน

จ านวน 2 รอบ

X X X X

6. การจัดท าประชาพิจารณ์ จ านวน 1 ครั้ง /150 คน x

7 น าเสนอความก้าวหน้าตอ่ผู้บรหิาร ทุก 2 เดือน X X X X

8. น าเสนอผลการศึกษาฉบบัสมบูรณ์

ต่อผู้บริหาร / คปร.

. X