02 พัฒนาการ

Post on 23-Jul-2015

122 views 0 download

Transcript of 02 พัฒนาการ

ดร . รงัสรรค ์ โฉมยา

การเจริญเติบโตพัฒนาการการเปลี่ยนแปลงเนื่องมาจากพัฒนาการ

หลักพฒันาการทฤษฎีพัฒนาการ

การเจรญิเตบิโต การเปลี่ยนแปลงด้านขนาด

ส่วนสงู นำ้าหนัก และสัดส่วนในรา่งกายของ

บุคคล ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในแง่ที่เจรญิ

ขึ้น ดีขึ้นตามอายุทีเ่พิ่มขึ้นของเด็ก

พฒันาการ(Development)

การเปลี่ยนแปลงของบุคคล ในทุก ๆ ด้านตามระยะเวลา

ที่เปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นผลมา

จาก ระบบชีววทิยาในตัว การเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงจะเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงวฒุิภาวะ

พัฒนาการ 4 ด้าน

1. พัฒนาการทางกาย2. พัฒนาการทางสติปัญญา3. พัฒนาการทางอารมณ์4. พัฒนาการทางสงัคม

การเปล ี่ยนแปลงเน ื่องมาจากพัฒนาการ

1. การเปลี่ยนแปลงด้านขนาด2. การเปลี่ยนแปลงด้านสัดส่วน

3. การเปลี่ยนแปลงที่เกิด ขึ้นทำาให้ลักษณะเก่า ๆหาย

ไป4. ลักษณะใหม่ ๆ ในร่างกายเพิ่มขึ้น

หลักของพัฒนาการ 1. ตามแบบแผน

1.1 ทิศทางจากส่วนบนลงส ู่ส ่วนล ่าง

อว ัยวะส ่วนใดจะขยับได ้อ ันด ับ1และอ ันด ับส ุดท ้าย

1.2 ทิศทางจากใกล้ต ัวไปส ู่ไกลต ัว

อว ัยวะส ่วนใดจะขยับได ้อ ันด ับ1และอ ันด ับส ุดท ้าย

เฉลย อ ันด ับ 1 = ศีรษะ อันด ับส ุดท ้าย = นิ้วเท ้า

เฉลย อ ันด ับ 1 = ร ่างกาย อันด ับส ุดท ้าย = นิ้วมอื

หลักของพัฒนาการ(ต่อ)

2. ลกัษณะรวม ๆ กว ้างเดก็เกดิใหม่จะเคล ื่อนไหวทัง้ต ัวก ่อนทีจ่ะเคล ื่อนไหวได้เฉพาะแขน

3. เป ็นล ำาดบั เชน่ เด ็กจะเร ิ่มต ้นพฒันาการ

จากหงาย ควำ่า ค ืบ คลาน นัง่ ย ืน เด ิน และว ิ่ง เป ็นต ้น

4. มีล ักษณะแตกต่างกนั5. มีอ ัตราการเจร ิญเฉพาะ

ดา้นเป ็นส ่วน ๆ ไป6. มีความสัมพันธ ์ก ันท ุก ๆดา้น

หลักของพฒันาการ (ตอ่)

ทฤษฎีพัฒนาการ1. ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์2. ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจท์

3. ทฤษฎีพฒันาการของอรีิคสัน4. ทฤษฎีพัฒนาการของฮาวิกเฮิรสท์

ทฤษฎีการพฒันาของฟรอยด์

พัฒนาการความต้องการทางเพศและบุคล ิกภาพของบุคคลต้องอาศ ัยการพัฒนาที่ต ่อเน ื่องอย ่างเป ็นล ำาด ับข ั้นจนกลายเป ็นบ ุคล ิกภาพที่ถาวรในที่ส ุด

พ ัฒนาการแต่ละข ั้นเป ็นการตอบสนองความสุขความพึง

พอใจของตนเอง บร ิเวณที่ไว ต่อความร ู้ส ึก เร ียกว ่า อ ีโร

จ ีเน ียส (erogenous zone)

ลำาดบัขั้นพฒันาการของซิกมันดฟ์รอยด์ 1. ขั้นพึงพอใจทางปาก

(Oral Stage)2. ขั้นพึงพอใจทางทวาร(Anal Stage)

3. ขั้นสนใจอวยัวะเพศของ ตน (Phallic)

4. สติปัญญาและสังคม(Latency)5. วยัรุ่น (Genital Stage)

ตั้งแต ่แรกเกดิถ ึงประมาณ1-2 ปี เด ็กจะชอบ ดูด ก ัด

อม เช ่น ด ูดนม กัดแทะ ของเล ่น ด ูดน ิ้ว เล ่น

นำ้าลาย และทำาเส ียงต ่าง ๆ ถ้าถ ูกข ัดขวางจะเกดิ Oral

fixation เม ื่อโตขึ้นจะเก ิด การพูดมาก ชอบนินทา

ฯลฯ

อยู่ในช่วงอาย ุ 2-3 ปี ระยะนี้เด ็กจะพึงพอใจกบัการขับ

ถา่ย การฝึกการขับถ ่ายควรทำาค ่อยเป ็นค ่อยไปด้วย

ความอ่อนโยนอย่าบ ังค ับ ถา้เก ิดการต ิดตร ึงจะท ำาให ้

เป ็นพวกชอบสะสมของ หวงของ ต่อต ้านกฎ

ระเบ ียบ

อยู่ระหว ่าง 3-5 ปี เด ็กจะม ีความพึงพอใจกับการได้สมัผ ัสอว ัยวะเพศของตนเองถ ้าไม ่ได ้ร ับการตอบสนองจะเก ิดความแปรปรวนทางเพศขึ้นในว ัยผ ู้ใหญ่

ชาย = ปมออดิป ุส หญิง= ปมอิเลก็ตรา

อายุ 6 -12 ปี ระยะนี้จะเป ็นระยะพกัเด ็กจะเร ิ่มแสวงหาบทบาทที่เหมาะ

สมให้กบัตนเอง ชอบเล ่น ในกลุ่มเพศเด ียวกนั เล ่น

กีฬา เล ่นเกม และ กิจกรรมต่าง ๆที่ต ้องใช้

สต ิป ัญญา

อาย ุต ั้งแต ่ 13 ปีข ึ้นไป ถ้าเด ็กผ ่านขั้นอวยัวะเพศ

ไปได้อย ่างราบร ื่น เด ็กจะแสดงบทบาทความเป ็นชายและหญิงตรง

ตามเพศของตน

ทฤษฎีการพฒันาของเพียเจท์

1. ขั้นใช้อวยัวะส ัมผ ัสและกล้ามเน ื้อ2. ขั้นเร ิ่มค ิดเร ิ่มเข ้าใจ

3. ขั้นค ิดออกเองโดยไมต่ ้องใช้เหต ุผล4. ขั้นใช้ความคิดเช ิงร ูปธรรม5. ขั้นเข ้าใจความคิดเช ิงนามธรรม

ตัง้แต ่แรกเก ิดถ ึง 2 ปี เป ็นว ัยท ี่เร ิ่มเร ียนร ู้โดยใช้ประสาทสมัผ ัสและการเคล ือ่นไหวของร ่างกายเพือ่ตอบสนองส ิง่แวดลอ้มเด ็กท ี่สามารถใช้ประสาทสัมผ ัสก ับส ิ่งแวดล ้อมได้มากเท ่าใดก็จะช ่วยพัฒนา

เชาวน์ป ัญญาของเด ็กได ้มาก

อายุต ั้งแต ่ 2-4 ขวบ เร ิ่มเร ียน ร ู้การใชภ้าษาเรยีกส ิ่งของ

เชน่ ข ้าว นม เป ็นต ้น

อายุ 4 -7 ปี เช ื่อต ัวเองไม ่ ยอมเปล ีย่นความคิด หร ือ

เช ือ่ในเร ื่องการทรงภาวะเดมิของว ัตถ ุ

ก ข

อายุ 7 – 11 ปี เป ็นระยะที่เด ็กสามารถคิดอย ่างม ีเหต ุผลใน

เร ื่องท ีเ่ป ็นร ูปธรรม ถ้าให ้วาด ภาพครอบครัวของฉนั เด ็กใน

ว ัยน ี้จะสามารถวางภาพได้ ใกลเ้ค ียงความเป ็นจร ิง จ ัด

หมวดหมู่ได ้ เร ียงล ำาด ับได ้

เด ็กอาย ุระหว ่าง 11 ถึง 15 ปี เด ็กจะเร ิ่มค ิดได ้แบบผู้ใหญ่

สามารถเข ้าใจส ิ่งท ี่เป ็น นามธรรมได้ ค ิดต ั้ง

สมมติฐานและสร ้างทฤษฎี แบบนักว ิทยาศาสตร ์ได ้

เป ็นต ัวของตนเอง ต ้องการความเป ็นอ ิสระ

ทฤษฎีการพฒันาของอ ีร ิคส ัน1. ขั้นไว ้ใจก ับไม ่ไว ้ใจผ ู้อ ื่น2. ขั้นท ี่ม ีความอิสระก ับความสงส ัย

3. ขั้นความคิดร ิเร ิ่มก ับความร ู้ส ึกผ ิด4. ขั้นขยันหมั่นเพ ียรก ับความร ู้ส ึกม ีปมด้อย5. ขั้นเข ้าใจเอกลกัษณ์ของตนเองก ับไม ่เข ้าใจตนเอง6. ขั้นร ู้สกึว ่าตนมีเพ ื่อนที่ใกล ้ชดิก ับความร ู้ส ึกอ ้างว ้าง7. ขั้นบ ำาร ุงส ่งเสร ิมผ ู้อ ื่นก ับการพะว ้าพะวงแต่ตนเอง8. ขั้นความร ู้สกึม ั่นคงทางจ ิตใจกับท ้อแท้ส ิ้นหว ัง

ตั้งแต ่แรกเก ิดจนถึง 1 ปี ถา้เด ็ก ได้ร ับความร ัก ความอบอุ่น

และการดูแลจากคนใกล้ช ิดเด ็กโตขึ้นก ็จะเก ิดความร ู้ส ึก

ไว ้วางใจส ังคม แต่ถา้ไม ่ได ้ร ับ ความร ัก ความอบอุ่น เม ื่อโต

ขึ้นกจ็ะหล ีกหนีส ังคม

ผู้ท ี่ม ีบทบาทกับเด ็ก พ ่อแม ่ ผ ู้ ปกครอง หร ือพ ี่เล ี้ยง

ผู้ม ีบทบาท พ่อแม ่และผ ู้เล ี้ยงด ู

อาย ุ 2-3 ปี เด ็กจะเร ียนร ู้การ เด ิน การพูด และทำาอะไร

ตามอิสระ พ่อแม ่ควรให้อ ิสระก ับเด ็กในการทำา

กิจกรรมต่าง ๆ ด ้วยตนเองพยายามให้เด ็กช ่วยเหล ือ

ตนเองให้มากที่ส ุด ไม ่ข ่มข ู่ลงโทษเม ื่อเด ็กท ำาผ ิดอย ่าง

ร ุนแรง เด ็กจะเก ิดความ ลังเล สงส ัย ไม ่ม ั่นใจในสิ่งท ี่

ตนเองกระทำาลงไป

อาย ุ 3 - 5 ปี เด ็กจะใช้ของเล ่น ทดแทนจินตนาการ โดยนำา

ของเล ่นรวมกันแล ้วสร ้าง เป ็นเร ื่องราวขึ้นมา เด ็ก

พอใจที่จะเล ียนแบบ พฤติกรรมผู้ใหญ่ท ี่ใกล ้ช ิด

ด ังน ั้นหากพ่อแมแ่ละคนเล ี้ยงด ูยอมร ับผลงานของ

เด ็กให ้ก ำาล ังใจ ยกย่องชมเชยเด ็กจะทำาให ้เด ็กกล ้า

แสดงความคิดร ิเร ิ่มใหม่ ๆ

ผู้ท ีม่ ีบทบาทคือ บ ุคคลในครอบครัวและเพ ื่อนในว ัยเด ียวก ัน

อายุ 6-11 ปี เด ็กในว ัยน ีไ้ม ่อย ู่น ิ่ง ชอบเขียน อ่าน ทำาในสิ่งท ี่ตน

อยากทำาขยันในการทำางานต่างๆและภาคภูม ิใจในผลงานทีไ่ด ้ร ับความสำาเร ็จเน ื่องจากความ

พยายามของตน ผู้ใหญ่ต ้องไม ่ คาดหวังในตัวเด ็กส ูงเก ินไป จน

ทำาให ้เด ็กไม ่สามารถบรรลใุนส ิ่ง ที่ตนเองหร ือผ ู้ใหญ่คาดหวังได ้

เด ็กจะเก ิดปมด้อย

ผู้ม ีบทบาท พ่อแม ่ คร ู และเพ ื่อน

อายุ 12-18 ปี ช ่วงน ี้ถ ือเป ็นช่วง ว ิกฤตมากที่ส ุด เม ื่อเด ็กเก ิด

ปัญหาใด ๆ ขึ้น เขาจะเก ิดความสบัสนว ่าควรจะเช ือ่ใคร

ดีระหว ่างพ่อแม ่ ตนเอง หร ือ เพ ื่อน เด ็กว ัยน ี้ค ือการ

แสวงหาตนเองเพ ื่อให ้ร ู้จ ัก ตนเองในแง ่ม ุมต ่าง ๆ

ว ัยผ ู้ใหญ่ตอนต้น เร ิ่มน ัดหมายการแต่งงานและชีว ิต

ครอบครัว ถ ้าหากว ่าแตล่ะคนได้พ ัฒนาความเข ้าใจ

เอกลกัษณ์ตนเองดีพอ แต่ถ ้าบ ุคคลใดไม่สามารถผ่านขั้นน ี้

ไปได้ จะกลายเป ็นคนร ักตนเองและไม่สามารถจะแสดง

ความร ักต ่อผ ู้อ ื่นได ้

ระยะว ัยกลางคนเป ็นระยะที่จะคอยให้ความช่วยเหล ือคนร ุ่นหล ังส ำาหร ับผ ู้ท ี่ผ ่าน

ขั้นพ ัฒนาการต้น ๆ มาเป ็น อย่างด ี แต ่ถา้บ ุคคลใดไม่

สามารถแก้ป ัญหาขัดแย ้งในอดีตของตนได้จะกลายเป ็นคนชอบแยกตัวอย ู่ตามล ำาพ ัง

ว ัยชรา เขาจะม ีความไว ้วางใจเพ ื่อนร ่วมโลกและต ัวเองถ ้าเขามคีวามทรงจ ำาในด้าน

ความสุขความสบายใจ แต่ถา้เขาม ีความทรงจ ำาเก ี่ยวก ับความผิดหว ังตลอดเวลาเขาก ็ไมม่ ีความส ุขในชีว ิต