พลังงานความร้อน (Heat energy)

Post on 15-Jul-2015

223 views 3 download

Transcript of พลังงานความร้อน (Heat energy)

การเปรียบเทียบอุณหภูมิในหนวยตาง

ตัวอยาง... เมื่อนําปรอทมาวัดที่คนไขปรากฎวาอานคา

อุณหภูมิได 38 องศาเซนเซียส...

พลงังานความรอน (Heat Energy)

พลังงานความรอน (Heat Energy)พลงังานความร้อน เปนรูปแบบหนึง่ของพลังงาน ซึ่งมนุษยเราไดพลังงาน

ความรอนมาจากหลายแหงดวยกนั เชน จากดวงอาทิตย, พลังงานในของเหลวรอนใตพื้นพิภพ, การเผาไหมของเชื้อเพลิง, พลังงานไฟฟา, พลังงานนิวเคลียร, พลงังานน้ําในหมอตมน้ํา, พลงังานเปลวไฟ

ผลของความรอนทําใหสารเกิดการเปลี่ยนแปลง เชน อุณหภูมิสูงขึ้น หรือมีการเปลีย่นสถานะไป และนอกจากนีแ้ลว พลังงานความรอนยังสามารถทําใหเกิดการเปลีย่นแปลงทางเคมีไดอีกดวย หนวยทีใ่ชวัดปรมิาณความรอน คือ แคลอรี่ (cal) หรือจูล (J) โดยใชเครื่องมือที่เรยีกวา แคลอรี่มิเตอร

หน่วยทีใ่ช้วดัปริมาณความร้อนในระบบต่างๆ ระบบเมตริก ใชพลังงานความรอนในหนวยของ แคลอรี่ (Cal) หรอืกิโลแคลอรี่ (Kcal) ระบบเอสไอ ใชพลังงานความรอนในหนวยของ จูล (J) หรือกิโลจูล (KJ) ระบบอังกฤษ ใชพลังงานความรอนในหนวยของ บีทียู (Btu)

นิยามของปริมาณความรอน

ปริมาณความรอน 1 Cal คือ

ปริมาณความรอนทีท่ําใหน้ํา มวล 1 กรมัมีอุณหภูมิสูงข้ึน 1 องศาเซลเซยีส

ปริมาณความรอน 1 Kcal คือ

ปริมาณความรอนท่ีทําใหนํ้ามวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1

องศาเซลเซียส (ปริมาณความรอน 1 กโิลแคลอรี ่= 1,000 Cal)

ปริมาณความรอน 1 Btu คือ

ปริมาณความรอนทีท่ําใหน้ํามวล 1 ปอนดมีอุณหภูมิสูงขึ้น 1

องศาฟาเรนไฮด โดยที่ปริมาณความรอน 1 Btu = 252 Cal

หนวยการวัดน้ําหนัก

ในระบบเมตริกเทียบกับระบบอังกฤษ (โดยประมาณ)

1 กิโลกรัม เทากบั 2.2046 ปอนด

BTU แอรคืออะไร คํานวณ BTU แอรอยางไร เรามีคําตอบ

BTU (British Thermal Unit) คือ หนวยที่ใชวัดปริมาณความรอนหนวยหนึง่ ( ซึ่งเปนทีน่ิยมใชกนัมากในระบบของแอร ) สามารถเทียบไดกับหนวยจลูหรือแคลอรีในระบบสากล โดยที่ความรอน 1

Btu คือปริมาณความรอนทีท่ําใหน้าํ 1 ปอนดมีอุณหภมูทิี่เพ่ิมข้ึนหรือลดลง 1 องศาฟาเรนไฮด แอรนั้นจะวัดกําลังความเย็นหรือความสามารถในการดึงความ รอน ( ถายเทความรอน ) ออกจากหองปรับ

อากาศในหนวยบีทียู ( Btu ) เชนแอรขนาด 14,000 บีทียูตอชั่วโมง หมายความวาแอรเคร่ืองนั้นมีความสามารถในการดึงความรอนออกจาก หองปรับอากาศ 14,000 บีทยีูภายในเวลา 1 ชัว่โมง

วิธีคํานวน BTU แอร นัน้มีคนถามมาเปนจาํนวนมาก การคํานวณคา BTU นัน้ถาจะใหไดคาทีต่รงจริง

ข้ึนอยูกับหลายปจจัยมาก วันนี้เราจึงมีวิธีคํานวณ BTU โดยประมาณมาแนะนํา

BTU = พ้ืนที่หอง(กวางxยาว) x ตวัแปร ]ตัวแปรแบงได 2 ประเภท

700 = หองที่มีความรอนนอยใชเฉพาะกลางคืน

800 = หองที่มีความรอนสูงใชกลางวันมาก

Note:กรณีที่หองสูงกวา 2.5 เมตร บวกเพ่ิม 5 %

ทราบหรือ ...ไม รูไวใชวา... ใสบาแบกหาม

• เจมส จูล นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษพบวาพลังงานความรอน 1 แคลอร่ีเกิดจากการทํางาน 4.2 จูล ดังนั้นเราจึงใชตัวเลขคานี้คํานวณพลังงานความรอนจากแคลอร่ีเปนจูลได นั่นคือ 1 Cal = 4.2 J หรือ

1 Kcal = 4,200 Jโดยปริมาณความรอน 1 จูล (1 J) คือ ปริมาณความรอนที่มีขนาดเทากับ

งานที่เกิดจากแรง 1 นิวตัน (N) กระทําตอวัตถุแลวมีผลใหวัตถุนั้นเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแรงกระทําเปนระยะทาง 1 เมตร (m)

อุณหภูมิ (Temperature)

• อุณหภูมิ (Temperature) คือ คุณสมบัติทางกายภาพของระบบ โดยจะใชเพื่อแสดงถึงระดับพลังงานความรอน เปนการแทนความรูสึก

ทั่วไปของคําวา "รอน" และ "เย็น" โดยสิ่งที่มีอุณหภูมิสูงกวาจะถูกกลาว

วารอนกวา หนวย SI ของอุณหภูมิ คือ เคลวินมาตราวัดอุณหภูมิ

มาตรฐานวัดหลัก ไดแก

เทอรโมมิเตอร (Thermometer)เทอรโมมิเตอรเปนเคร่ืองมือสําหรับวัดระดับความรอนหรืออุณหภูมิ

ประดิษฐขึ้นโดยอาศัยหลักการขยายตัวของของเหลวเม่ือไดรับความรอน และหดตัวเม่ือคายความรอน ของเหลวท่ีใชบรรจุในกระเปาะแกวของเทอรโมมิเตอร คอืปรอทหรือแอลกอฮอลท่ีผสมกับสีแดง เม่ือแอลกอฮอลหรือปรอทไดรับความรอน จะขยายตัวขึ้นไปตามหลอดแกวเล็กๆ เหนือกระเปาะแกว และจะหดตัวลงไปอยูในกระเปาะตามเดิมถาอุณหภูมิลดลง สาเหตุท่ีใชแอลกอฮอลหรือปรอทบรรจลุงในเทอรโมมิเตอรเพราะของเหลวท้ังสองน้ีไวตอการเปลี่ยนแปลงของอุณหภมิู และไมเกาะผิวของหลอดแกว แตถาเปนของเหลวชนิดอื่น เชน นํ้าจะเกาะผิวหลอดแกว เม่ือขยายตัวหรือหดตัว จะติดคางอยูในหลอดแกวไมยอมกลับมาท่ีกระเปาะ การอานเทอรโมมิเตอรตองใหระดับของของเหลวในหลอดแกวอยูในระดับสายตา ถาเปนเทอรโมมิเตอรชนิดบรรจุดวยปรอท ใหอานตัวเลขบริเวณฐานของสวนนูน สวนเทอรโมมิเตอรชนิดแลกอฮอล ใหอานตัวเลขบริเวณสวนท่ีเวาท่ีสุด

การวัดอุณหภูมิ

• การวัดอุณภูมิ เราสามารถทราบไดโดยการ วัดระดับความรอนของสิ่งน้ันๆ เครื่องมือท่ีใชวัดระดัความรอน เรียกวา "เทอรโมมิเตอร" ซึ่งท่ัวไปนิยมใชบอกองศาเซลเซียส และองศาฟาเรนไฮต การใชโดยการใหกระเปาะเทอรโมมิเตอรสัมผสักบัสิ่งท่ีตองการวัดโดยตรงจริงๆเทาน้ันและต้ังตรง อานสเกลตองอานในระดับสายตาและระดับเดียวกับของเหลวในเทอรโมมเิตอร

• หลักการทํางานของเทอรโมมิเตอร จะบรรจุของเหลวท่ีในปรอท หรือ แอลกอฮอลผสมสี เหตุท่ีใชของเหลวน้ีเพราะมีคุณสมบติัในการขยายและหดตัว หลักการสาํคัญของเทอรโมมเิตอรมีอยูวา สารเมื่อไดรบัความรอนจะขยายตัว และเมื่อลดความรอนจะหดตัว หรือมีการเปลี่ยนแปลงอุญหภูมิ

การอานคาอุณหภูมิจากเทอรโมมิเตอร

การถายโอนพลังงาน (Heat Transfer)การถายโอนพลังงานความรอน (Heat Transfer) วัตถุทีม่ีอุณหภมูติางกัน วัตถุหนึ่ง

มีอุณหภมูิสูงกวาวัตถุหนึ่งจะทําใหเกิดการถายพลังงานความรอนจากวัตถุทีม่ีอุณหภมูิสงูไปยังวัตถุ

ทีม่ีอุณหภมูิต่ํากวา การถายเทพลังงานความรอนจากทีห่นึ่งไปยังอีกที่หนึ่งนี้เรียกวา การถายโอน

พลังงานความรอน นักเรียนคดิวา การถายโอนพลังงานความรอนจะเกิดขึ้นไดดวยวิธีใดบาง เมื่อนํา

เสนลวดเสนหนึ่งมาลนไฟ แลวใชมือจับปลายเสนลวดใหหางจากเปลวไฟประมาณ 10 เซนตเิมตร

เราจะรูสึกรอนและเมื่อเวลาผานไปนาน ๆ จะรูสึกรอนข้ึนเร่ือย ๆ ทั้งๆทีบ่ริเวณดังกลาวจะไมรูสึก

รอนถาไมมีเสนลวด แสดงวาความรอนเคลื่อนที่ผานเสนลวดมาถึงมือเรา ตามทฤษฎีแลวสามารถ

อธิบายไดวา โมเลกุลของเสนลวด เมื่อไดรับความรอนกจ็ะมีพลังงานจลนมากข้ึน เกิดการสั่นแรงข้ึน

ทําใหเกิดการชน เกิดการขัดสีดกับโมเลกุลขางเคียง ทําใหโมเลกุลขางเคียงมีอณุหภมูิสงูข้ึน มี

พลังงานจลนมากข้ึน เกิดการสั่นแรงข้ึนและเกิดการขัดสีกับโมเลกุลที่อยูถัดไปเชนนี้เร่ือยๆ จนความ

รอนถูกสงมาถึงมอืเรา เราสามารถกลาวไดอีกวาความรอนสามารถสงผานเสนลวดได เสนลวดเปน

เสมือนทางทีน่ําความรอนมาสูมือเรา และสรุปไดวา "ความรอนสามรถถายโอนไดดวยวิธีการนํา

ความรอน" ซึ่งกรณีการนําความรอนนีต้องอาศัยตัวกลางในการถายโอนพลังงานความรอน ในการ

ถายโอนพลังงานความรอนจะมี 3 แบบดวยกัน คือ การนําความรอน การพาความรอน และ การแผ

รังสีความรอน โดยการนําความรอนและพาความรอนตองอาศัยตัวกลางในการถายโอนพลังงาน

ความรอน สวนในการแผรังสีความรอนไมตองใชตัวกลางในการถายโอนพลังงานความรอน

พิจารณาจากรปู...

สมดลุทางความรอน (Thermal equilibrium)

อุณหภูมิเปนคุณสมบตัิตัวหนึ่งที่ใชบอกระดับพลังงานของระบบ ถานําวัตถสุองกอนที่อุณหภูมิตางกันมาสัมผัสกันก็จะเกิดการถายเทความรอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกวาไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํากวา จนกวาอุณหภูมิของวัตถุทั้งสองเทากันกระบวนการการถายเทความรอนจึงจะส้ินสุดลง ณ จุดที่อุณหภูมิของวัตถุทั้งสองเทากันนี้เราเรียกวาสมดุลทางความรอน (Thermal equilibrium) สําหรับกฏขอที่ศูนยของเทอรโมไดนามิกสซึ่งเปนกฏที่กลาวถึงสมดุลทางความรอนไดกลาววา "ถาวัตถสุองกอนตางก็มีความสมดุลทางความรอนกับวัตถกุอนที่สามวัตถุทั้งสามกอนก็จะมีความสมดุลทางความรอนตอกัน" ดังตวัอยางเชน ถานําน้ํารอนอุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสผสมกับน้ําที่อุณหภูมิหอง (25 องศาเซลเซียส) น้ําที่ไดจะมีอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิหอง แตต่ํากวา 70 องศาเซลเซียส ซึ่งที่เปนเชนนี้เนื่องจากน้ํารอนไดถายโอนพลังงานความรอนใหกับน้ําเย็น จนกระทั่งน้ําที่ผสมกันมีอุณหภูมิเทากัน การถายโอนพลังงานความรอนจึงหยุด

ความรอนกับอุณหภูมิ

อุณหภูมิเปนปริมาณท่ีบอกระดับความรอนในวัตถุ เราใชเทอรโมมิเตอรในการวัดอุณหภูมิ เทอรโมมิเตอรจะมีขนาด รูปรางและลักษณะแตกตางกันไปตามลักษณะการใชงาน อุณหภูมิมีหนวยเปนเคลวิน (K) เราเรยีกความสามารถในการกกัเกบ็ความรอนของวัตถวุา ความจุความรอน และถาพิจารณาความจุความรอนเทียบตอหน่ึงหนวยมวลจะเรียกวา

ความจุความรอนจําเพาะ

โดยท่ีเราสามารถหาความจุความรอนจําเพาะไดจากสมการ เมือ่

Q = พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (J)m = มวลของวัตถุ (g)t = อุณหภูมิของวัตถุท่ีเปลี่ยนไป (K)c = ความจคุวามรอนจาํเพาะ (J/g.K) โดยท่ี ความจุความรอนจาํเพาะของนํ้าและนํ้าแขง็เทากบั 4,000 J/kg.Kความจุความรอนจาํเพาะของเหลก็เทากบั 450 J/kg.K

ความรอนกับสถานะของสาร

สสารมี 3 สถานะคือ ของแข็ง, ของเหลว และกาซ สารบางอยางจะ

มีทั้งหมดได 3 สถานะ เชน น้ํา กลาวคือน้ําแข็งเม่ือไดรับความรอนจะ

หลอมเหลวจนหมดเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเปนของเหลว

จากนั้นเม่ือน้ําไดรับความรอนที่อุณหภูมิประมาณ 100 ํC จะเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเปนไอ

• ซึ่งขณะที่วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะ อุณหภูมิของวัตถุจะมีคาคงที่

แมเราจะใหความรอนอยางตอเนื่องกับวตัถุ ที่เปนเชนนี้เพราะความรอน

ถูกนําไปใชในการเปลี่ยนสถานะของวัตถุ เราเรียกความรอนที่ใชในการ

เปลี่ยนสถานะวา ความรอนแฝง หากเราพิจารณาความรอนแฝงเทียบ

หนึ่งหนวยมวล จะเรียกชื่อใหมนี้วา ความรอนแฝงจําเพาะ ใช

สัญลักษณ L เราสามารถหาคาพลังงานความรอนแฝงของการเปลี่ยนสถานะไดจากสมการ

กราฟแสดงการดูด และการคายความรอนของสสาร

ความรอน(Thermal) • ความรอน (Thermal)• ความรอนเปนพลงังานรูปหน่ึงท่ีเปลีย่นมาจากพลังงานรูปอืน่ เชน พลังงานไฟฟา พลงังาน

กล (พลงังานศกัยและพลงังานจลน) พลงังานเคมี พลังงานนิวเคลยีร หรืองาน เปนตน

• พลงังานความรอนมีหนวยเปนจูล (Joule, J ) ในระบบเอสไอ (SI) แตบางคร้ังอาจบอกเปนหนวยอืน่ได เชน แคลอรี (cal) และบีทีย ู(BTU)

• พลงังานความรอน 1 แคลอรี คอืพลงังานความรอนท่ีทาํใหนํ้ามวล 1 กรัม มีอณุหภูเพิ่มขึน้ 1 องศาเซลเซียส (°C ) ในชวง 14.5 °C ถงึ 15.5 °C

• พลงังานความรอน 1 บทียี ูคอื พลงังานความรอนท่ีทาํใหนํ้าท่ีมีมวล 1 ปอนด มีอณุหภูมิเพิ่มขึน้ 1 องศาฟาเรนไฮต (°F) ในชวง 58.1 °F ถึง 59.1 °F

• จากการทดลองพบวา

• 1 cal = 4.186 J• 1 BTU = 252 cal = 1055 J

ปริมาณความรอนของวัตถุ (HEAT, Q)เปนพลังงานความรอนท่ีวัตถุรับเขามาหรอืคายออกไป จากการศึกษาผล

ของความรอนตอสสารหรือวัตถุในชั้นน้ีจะศึกษาเพียงสองดาน คือ

1. ความรอนจําเพาะ ( Specific heat ) หมายถงึ พลงังานความรอนท่ีทําใหวัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือตํ่าลงโดยสถานะยังคงรูปเดิม

2. ความรอนแฝง (Latent Heat) หมายถงึ พลงังานความรอนท่ีทําใหวัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงท่ี

ความจุความรอน ( Heat capacity, C ) คือความรอนท่ีทําใหสารท้ังหมดท่ีกําลังพิจารณามีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหน่ึงหนวย โดยสถานะไมเปลี่ยน

ถาใหปรมิาณความรอน ΔQ แกวัตถุ ทําใหอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป

ΔT ดังน้ันถาอุณหภูมิของวัตถุเปลีย่นไป 1 หนวย จะใชความรอน C คือ

การเปล่ียนสถานะของสาร

สารและสิ่งของท่ีอยูรอบตัวเราจะพบวามีอยู 3 สถานะ คอื ของแข็ง (นํ้าแข็ง) ของเหลว (นํ้า) และแกส (ไอนํ้า) ได

I. ของแข็ง แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคามาก ทําใหโมเลกุลอยูใกลกัน จึงทําใหรูปทรงของของแข็งไมเปลี่ยนแปลงมากเม่ือมีแรงขนาดไมมากนักมากระทํา ตามคําจํากัดความน้ี เหล็ก คอนกรีต กอนหิน เปนของแข็ง

II. ของเหลว แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอย โมเลกุลจึงเคลือ่นท่ีไปมาไดบาง จึงทําใหรูปทรงของของเหลวเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะท่ีท่ีบรรจ ุนํ้า นํ้ามัน ปรอท เปนของเหลว

III. แกส แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอยมาก จนโมเลกุลของแกสอยูหางกันมากและเคลื่อนท่ีไดสะเปะสะปะ ฟุงกระจายเตม็ภาชนะท่ีบรรจ ุเชนอากาศและแกสชนิดตางๆ

กิจกรรมที่ 1

พลังงานความรอนกับการเปลี่ยนแปลงของสาร

• วัตถุประสงค 1. ทดลองและอธบิายผลของพลังงานความรอน

ที่ทําใหสาร/วัตถุเกิดการเปล่ียนแปลง

• อุปกรณการทดลอง

• วธิีการทดลอง

• ตารางบันทึกผลการทดลอง

• อภิปรายและสรุปผลการทดลอง

• จากการทดลอง....เมื่อนํา........พบวา.........(เกิดอะไรขึ้น)