Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

35
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 27 2 - 8 Aug 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits &Vegetables Food Ingredient &Ready-to-Eat สัมมนาเรื่อง หลักเกณฑ์และข้อปฏิบัติ เกี่ยวกับการส ่งออกสินค้าสัตว์น�้า RASFF 1ก.ค. - 8 ส.ค. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed; อย. เตรียมบังคับใช้ประกาศ อาหารน�าเข้าจากญี่ปุ ่น มาตรการเข้มน�าเข้ามะพร้าว แก้ผลผลิตลด หอการค้าห่วงปรับค่าแรง 300 อาจส่งผลต่อขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ

description

Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Transcript of Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Page 1: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 272 - 8 Aug 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

สัมมนาเร่ือง หลักเกณฑ์และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งออกสินค้าสัตว์น�้า

RASFF 1ก.ค. - 8 ส.ค. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed;

อย. เตรียมบังคับใช ้ประกาศ อาหารน�า เข ้ าจากญี่ปุ ่น

มาตรการเข้มน�าเข้ามะพร้าว แก้ผลผลิตลด

หอการค ้าห ่วงปรับค ่าแรง 300 อาจส ่งผลต่อขีดความสามารถ

ในการแข ่งขันของประเทศ

Page 2: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

2

ContentsContents333

4 5 6 7 8 8 9 9 10 10

12 13

14 14 15 16 16 17 18 19 20

04

08

12

14

21

03 ข่าวประชาสัมพันธ์• สัมมนาเรื่อง หลักเกณฑ์และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งออกสินค้าสัตว์น�้า เอกสารแนบ 1• สัมมนา อย.กับภาคธุรกิจ ประจ�าปี 2554 เอกสารแนบ 2• สัมมนาเรื่อง Laws and Regulations on Packaging and the Environment: Global and Asian Movement เอกสารแนบ 3

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร • RASFF 1 ก.ค. - 8 ส.ค. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed; RASFF) • เอกชน-องค์กรรัฐตื่นรับมาตรฐานการผลิตแห่ขอใบรับรองสินค้า • อย. เตรียมบังคับใช้ประกาศอาหารน�าเข้าจากญ่ีปุ่น • เวียดนามเข้มงวดมาตรการควบคุมการน�าเข้าสินค้าเกษตรเพิ่มข้ึน

สถานการณ์ด้านประมง • เวียดนามส่งออกกุ้งไปญี่ปุ่นลดลง • มะกันลดภาษีเอดีน�าเข้ากุ้งไทย• ซีพีเอฟรับอานิสงส์เอดี ส่งออกกุ้งแช่แข็งฉลุย!• กรมประมงเตือนผู้เลี้ยงปลาเฝ้าระวังเหตุน�้าท่วมฉับพลัน • มัน! มากับอาหาร: ยาตกค้างในกุ้ง • กรมประมงรวมพลังคนกุ้ง...ร่วมขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกุ้ง

สถานการณ์ด้านเกษตร• รับมือวิกฤติอาหารมั่นคง เกษตรฯวางแผนสร้างความสมดุลผลิตพืชอาหาร-พลังงาน • มาตรการเข้มน�าเข้ามะพร้าวแก้ผลผลิตลด

สถานการณ์ด้านการค้า• คาดส่งออกอาหารครึ่งปีหลังโต 12% มูลค่า 4.21 แสนล้านบาท • เกาหลีใต้เตรียมยกเว้นภาษีศุลกากรสินค้าบางรายการเพื่อควบคุมเงินเฟ้อ • อุตฯอาหารลุ้นโตกว่า15%ห่วงอียูขึ้นบัญชีด�าผักไทย • อาเซียนดึงสหรัฐฯ-รัสเซียแจม หวังขยายกรอบความร่วมมือ • ดึง’ย่ิงลักษณ์’โชว์กึ๋นAEC • ขั้นตอนการยื่นเอกสารกับทางการอาร์เจนตินา • EU เตรียมการ New EU GSP • สศก. เร่งศึกษาแนวทางบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ในกิจการเกษตร 10 จังหวัดทั่วประเทศ • หอการค้าห่วงปรับค่าแรงขั้นต�่า 300 อาจส่งผลกระทบต่อขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 3: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

3

Contentsข่าวประชาสัมพันธ์

สัมมนาเร่ือง หลักเกณฑ์และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งออกสินค้าสัตว์น�้า

กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานคุณภาพสัตว์น�้าและ

ผลิตภัณฑ์สัตว์น�้าร่วมกับส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร

และอาหารชาติ(มกอช.) ก�าหนดจัดสัมมนาเรื่อง “หลัก

เกณฑ์และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งออกสินค้าสัตว์น�้า”

วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบการแปรรูปสัตว์น�้า ผู้ส่งออก

สินค้าสัตว์น�้า ผู้ประกอบธุระกิจที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก

สินค้าสัตว์น�้า และผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนได้รับ

ทราบกฏระเบียบมาตรฐานและข้อตกลงระหว่างประเทศ

ปัจจุบัน อันจะน�าไปสู ่การเพิ่มขีดความสามารถในการ

แข่งขันให้กับผู ้ประกอบการแปรรูปสัตว์น�้าและสินค้าสัตว์

น�้าไทย ในวันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม 2554 เวลา 8.00-

16.30 น. ณ โรงแรมมารวยการ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร

รายละเอียดหัวข้อสัมมนา ปรากฏตามเอกสารแนบ 1

สัมมนา อย.กับภาคธุรกิจ ประจ�าป ี 2554สนง.คณะกรรมการอาหารและยาได้จัดสัมมนาความร่วม

มือระหว่าง อย.กับภาคธุรกิจ ประจ�าปี 2554 ในวันศุกร์ที่

26 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวน

ช่ัน กทม. โดยมีวัตถุประสงค์รับฟังความคิดเห็น ปัญหา

อุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาในการ

ติดต่อประสานงานกับ อย.รายละเอียดตามเอกสารแนบ 2

สัมมนาเรื่อง Laws and Regulations on Packaging and the Environment: Global and Asian Movement

ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรม

เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จะจัดสัมมนาทางวิชา

เรื่อง Laws and Regulations on Packaging and the

Environment: Global and Asian Movement ในวันที่

6 กันยายน 2554 ณ ห้องกรุงเทพ2 โรงแรม โซฟิเทล เซ็น

ทารา แกรนด์ กรุงเทพ โดยมีเนื้อหาการสัมมนาเกี่ยวข้อง

กับกฎหมายและระเบียบส�าคัญด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

กับวัสดุและภาชนะบรรจุ ซึ่งเป็นส่วนจ�าเป็นอย่างมากใน

การด�าเนินธุรกิจ โดยเฉพาะในการผลิตวัสดุและการใช้

ภาชนะบรรจุเพื่อการส่งออก รายละเอียดของการสัมมนา

ได้ดังเอกสารแนบ 3 ค่าลงทะเบียน 8,500-9,800 บาท

ทั้งน้ีท่านสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่คุณสุกัลยา

มาเจริญ โทร 025625045 โทรสาร 025625046-7

Email [email protected] หรือ ผศ.ดร.ธัญญารัตน์ จิญ

กาญจน์ที่ [email protected]

Page 4: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

4

WEEKLY BRIEF

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

date reference notification type notification basis notified by subjectfood contact materials5/7/2011 2011.BKJ border rejection border control -

consignment de-

tained

FINLAND migration of formaldehyde (9.1-

16 mg/dm²) from melamine wares

from Thailand

fruit and vegetables4/7/2011 2011.0885 information for at-

tention

border control

- consignment

released

NETHER-

LANDS

carbofuran (0.36 mg/kg - ppm)

in water mimosa from Thailand

herbs and spices6/7/2011 2011.BKQ border rejection border control -

consignment de-

tained

DENMARK carbofuran (0.21 mg/kg - ppm)

in fresh coriander from Thailand

3/8/2011 2011.BPB border rejection border control -

consignment de-

tained

FRANCE clothianidin (0.42 mg/kg - ppm)

in coriander from Thailand

RASFF 1ก.ค. - 8 ส.ค. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed; RASFF) ข้อมูลระบบเตือนภัยเร่งด่วนของสหภาพยุโรป-การน�าเข้าสินค้าอาหารจากไทย

Page 5: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

5

เอกชน-องค์กรรัฐต่ืนรับมาตรฐานการผลิตแห่ขอใบรับรองสินค้า

นายสัตวแพทย์ศักดิ์ชัย

ศรี บุญซื่ อ ผู ้ อ� านวยงาน

ส�านักงานมาตรฐานสินค ้า

เกษตรและอาหารแห่งชาติ

(มกอช.) กล่าวว่า ได้เปิด

บริการระบบจัดการอาหาร

ปลอดภัย รับรองมาตรฐาน

(Food Safety Management System: FSMS) โดย

จะเป็นครั้งแรกในไทยที่ให้การรับรองมาตรฐาน ISO/TS

22003:2007 ซ่ึงได้รับความสนใจจากบริษัทซึ่งเป็นหน่วย

งาน และตัวแทนส่วนราชการยื่นความจ�านงขอรับบริการ

เพ่ือรับรองระบบตามเกณฑ์ที่ก�าหนดทันที 6 องค์กร คือ

บริษัท ทูฟ นอร์ด(ประเทศไทย) จ�ากัด บริษัทโกลบอล

เซอทิฟิเคชั่น เซอร์วิส จ�ากัด บริษัทเอสจีเอส ส�านัก

รับรองคุณภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แห่งประเทศไทย (สรร.วว.) สถาบันรับรองมาตรฐาน

ไอเอสโอ และศูนย ์ รับรองระบบมาตรฐานนานาชาติ

ส่วนระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหารด้วย

การน�าระบบตามมาตรฐาน ISO 90001 หรือ HACCP

มาประยุกต์ใช้ร ่วมกัน เพื่อความสะดวกในการจัดการ

ผลิตอาหารในห่วงโซ่อาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่

ต้นน�้าในช่วงเกษตรกรเริ่มต้นการผลิตไปจนถึงการแปรรูป

ผลผลิตและครอบคลุมถึงการจัดการองค์กรที่เกี่ยวข้องกับ

ห่วงโซ่อาหารทั้งหลาย มีมาตรฐานกลางเป็นมาตรฐาน

เดียวที่สอดคล้องกัน โดยมีข ้อก�าหนดทุกมาตรฐานที่

เกี่ยวข้องกับคุณภาพและความปลอดภัย สามารถตรวจ

ประเมินได้ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และช่วยผลัก

ดันให้ผู ้ประกอบการด�าเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับระเบียบ

กฎหมายด้วย

“หากหน่วยงานหันมาสนใจยื่นขอจดทะเบียบรับรอง

โดยประยุกต์ใช้มาตรฐาน ISO/IEC 17021 หรือหลักการ

และข้อก�าหนดส�าหรรับหน่วยที่ประเมินและรับรองระบบ

การจัดการทุก ประเภทที่มีความสามารถ (Competence)

ความคงเส ้นคงวา (Consistency) และความเป็นก

ลาง (Impartiality) เพื่อใช้ในการจัดการองค์กรแล้ว น�า

มาตรฐาน ISO/TS 22003 มาประยุกต์ด้วยจะยิ่งง่ายขึ้น

เนื่องจากข้อก�าหนดของมาตรฐาน ISO/TS 22003 อ้างอิง

มาจากข้อก�าหนดมาตรฐาน ISO/IEC 17021 ทั้งหมด ส่วน

มาตรฐาน ISO/TS 22003 ได้ก�าหนดให้จัดแยกประเภท

Food Chain Categories ไว้ในภาคผนวก A ท�าให้ง่าย

ต่อหน่วยรับรองในการที่จะน�าไปก�าหนดความสามารถของ

ผู้ตรวจประเมิณตาม Catagories ด้วย”

ท่ีมา : มกอช. (ประชาชาติธุรกิจ) วันที่ 1 ส.ค. 54

Page 6: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

666

ของรัฐ ห้องปฏิบัติ

ก า ร ที่ ไ ด ้ รั บ ม อ บ

หมายหรือได้รับการ

รั บ ร อ ง จ ากหน ่ ว ย

ง านขอ ง รั ฐ ห รื อ

ห ้องปฏิบัติการที่ได ้

รับการรับรองความ

ส าม า ร ถห ้ อ ง ปฏิ บั ติ ก า ร ทดสอบต าม ม าต ร ฐ าน

ส า ก ล แ ส ด ง ที่ ด ่ า น อ ย . ทุ ก ค รั้ ง ท่ี น� า เ ข ้ า

เลขาธิการฯ อย. กล่าวต่อไปว่า ส�าหรับผู้น�าเข้า

อาหารทุกประเภท ยกเว้นวัตถุเจือปนอาหาร วัตถุแต่ง

กลิ่นรส วัตถุที่ใช้รักษาคุณภาพอาหาร จากประเทศญี่ปุ่น

ที่ผลิตจากเขตพื้นที่อื่นนอกเหนือ 9 จังหวัด ต้องมีหนังสือ

รับรองแหล่งก�าเนิดของสินค้าที่มีการเพาะปลูกหรือเพาะ

เลี้ยง หรือผลิตในเขตดังกล่าว ซึ่งออกโดยหน่วยงานของรัฐ

ของประเทศญ่ีปุ่น หรือหน่วยงานอื่นที่ได้รับการยอมรับจาก

หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบของประเทศ ญ่ีปุ่น หรือสภา

หอการค้าและอุตสาหกรรม (Chamber of Commerce

and Industry) ของประเทศญ่ีปุ่น แสดงที่ด่าน อย. ทุก

ครั้งที่น�าเข้า กรณีไม่มีหนังสือรับรองแหล่งก�าเนิดของสินค้า

ผู ้น�าเข้าอาจใช้หลักฐานแสดงผลการตรวจวิเคราะห์ระบุ

ประเภท ชนิดอาหารและปริมาณกัมมันตรังสีแทนได้ ขณะ

นี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ลงนามในประกาศ

เรียบร้อยแล้ว คาดว่าจะสามารถประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 6 สิงหาคม 2554

ท่ีมา : มกอช. (อย.) วันที่ 3 ส.ค. 54

อย. เตรียมบังคับใช้ประกาศอาหารน�าเข้าจากญ่ีปุ่น

ล่าสุด รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้ลงนาม

ในประกาศอาหารน�าเข้าจากญี่ปุ ่นแล้ว คาดจะสามารถ

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใช้ในวันที่

6 ส.ค. 2554 พร้อมเผย ยอดสะสมอาหารที่สุ ่มตรวจ

หาการปนเปื ้อนสารกัมมันตรังสี 401 รายการ ได้รับ

ผลแล้ว 386 รายการ ทุกรายการ อยู่ในระดับ “ปกติ”

นพ.พิพั²น์ ยิ่ง

เสรี เลขาธิการคณะ

ก ร ร ม ก า ร อ า ห า ร

และยา เป ิดเผยว ่า

อย. ได้ออกประกาศ

กระทรวงสาธารณสุข

เร่ือง ก�าหนดเง่ือนไข

การน�าเข ้าอาหารที่มีความเสี่ยงจากการปนเป ื ้อนสาร

กัมมันตรังสี พ.ศ.2554 โดยยกเลิกประกาศกระทรวง

สาธารณสุขฉบับเดิม เรื่อง ก�าหนดเงื่อนไขการน�าเข้า

อาหาร ที่มีความเสี่ยงจากการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี ลง

วันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2554 ส�าหรับประกาศฉบับใหม่

นี้ก�าหนดให้อาหารทุกประเภทยกเว้นวัตถุเจือปนอาหาร

วัตถุแต่งกล่ินรส วัตถุที่ใช้รักษาคุณภาพอาหาร ที่ผลิตจาก

ประเทศญี่ปุ ่นในเขตพื้นที่ 9 จังหวัด ฟูกูชิมะ กุมมะ อิบา

รากิ โทจิงิ มิยางิ โตเกียว ชิบะ คานากาวะ และ ชิซูโอ

กะ ที่น�าเข้ามาในราชอาณาจักร ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน

อาหาร ที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี โดยตรวจพบได้ไม่เกิน

ปริมาณที่ก�าหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง

มาตรฐานอาหารที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี ลงวันที่ 11

เมษายน พ.ศ.2554 โดยผู้น�าเข้า จะต้องมีหลักฐานระบุ

ประเภท ชนิดอาหาร ปริมาณกัมมันตรังสี และพื้นที่ที่ผลิต

อาหาร จากหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งดังนี้

หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบของประเทศญี่ปุ ่น หน่วย

งานอ่ืนที่ได ้รับการยอมรับจากหน่วยงานของรัฐที่รับผิด

ชอบของประเทศ ญี่ปุ ่น ห้องปฏิบัติการของหน่วยงาน

Page 7: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

7

Vol. 2 Issue 2

7

เวียดนามเข้มงวดมาตรการควบคุมการน�าเข้าสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น

เนื่องจากเวียดนามประสบภาวะขาดดุลต่อเนื่อง

ยาวนานกว่า 18 ปี รัฐบาลเวียดนามจึงบังคับใช้กฎหมาย

ควบคุมการน�าเข้าเข้มงวดขึ้น อาทิเช่น มาตรการควบคุม

ความปลอดภัยอาหารน�าเข้าที่มีแหล่งก�าเนิดจากพืช (Cir-

cular No. 13/2011) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม

2554 ก�าหนดให้สินค้าพืช ผัก ผลไม้ และผลิตภัณฑ์ (พิกัด

ศุลกากร 0701-0714, 0801-0814, 0901-0910, 1001-

1008, 1104, 1201-1207 และ 1212) ต้องผลิตในประเทศ

ที่กระทรวงเกษตรและพั²นาชนบทเวียดนามรับรอง และ

หากมีการดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified)

ต้องแนบเอกสาร Certificate of Free Sale ที่ออกโดย

หน่วยงานรับผิดชอบของประเทศผู้ส่งออก

นอกจากนี้ยังต ้องบรรจุและเก็บรักษาด้วยวิธีที่ถูกสุข

อนามัย ติดฉลากระบุชื่อของสินค้า ชื่อและที่อยู่ของสถานที่

ผลิตและข้อมูลอื่นๆ เป็นภาษาเวียดนาม อีกทั้ง ยังก�าหนด

ให้สินค ้าและโรงงานผู ้ผลิตต ้องผ ่านการตรวจสอบและ

รับรองจากหน่วยงานของเวียดนามก่อน จึงจะสามารถส่ง

ออกและวางจ�าหน่ายในเวียดนามได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มภาระ

ค่าใช้จ่ายให้ผู ้ประกอบการไทย ดังนั้น ผู้ประกอบการไทย

จึงควรติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด ตลอดจนปรับการผลิต

ให้เป็นไปตามมาตรฐานของเวียดนาม เพื่อป้องกันปัญหา

สินค้าถูกตีกลับหรือถูกแย่งชิงส่วนแบ่งตลาดโดยประเทศคู่

แข่งได้

ท่ีมา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ วันที่ 5 ส.ค. 54

หมายเหตุ : ดูรายละเอียดพิกัดศุลกากรได้ท่ี http://www.customs.go.th/

Tariff/Tariff.jsp

ดูรายละเอียดประกาศเพิ่มได้ท่ี http://www.nafiqad.gov.vn/?set_

language=en&cl=en

Page 8: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

88

สถานการณ์ด้านประมง

เวียดนามส่งออกกุ้งไปญี่ปุ่นลดลง

เป็นเวลาหลายปีที่สหรัฐฯ ญี่ปุ ่น และสหภาพยุโรปเป็น

ตลาดรายใหญ่ที่น�าเข้ากุ้งจากเวียดนาม อย่างไรก็ตาม ใน

ช่วง 6 เดือนแรกของปีเวียดนามส่งออกกุ้งไปญี่ปุ ่นลดลง

ในปี 2553 เวียดนามมีแนวโน้มส่งออกกุ ้งสูง

ข้ึน โดยส่งออกกุ้งไปสหรัฐฯ และญี่ปุ ่นถึง 1.474 พัน

ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็น 70% ของมูลค่าการส่ง

ออกกุ้งเวียดนามทั้งหมด (2.106 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)

ในปี 2554 เวียดนามเสียต�าแหน่งผู้ส่งออกกุ้งไป

ญี่ปุ ่นอันดับหนึ่งให้แก่ไทย โดยเวียดนามส่งออกไปตลาด

ญี่ปุ ่นเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงสามเดือนแรก และต่อมาส่ง

ออกลดลงติดต่อกัน 3 เดือน เช่น ปริมาณลดลง 17.7%

และมูลค่าลดลง 14.7%ในเดือนเมษายน 2554 ปริมาณ

ลดลง 31.8% และมูลค่าลดลง 3.4% ในเดือนพฤษภาคม

และปริมาณลดลง 19.1% และมูลค่าลดลง 12.2% ใน

เดือนมิถุนายน ผู้ประกอบการกุ้งและผู้ส่งออกกุ้งเวียดนาม

ก�าลังเผชิญการขาดแคลนวัตถุดิบ เนื่องจากโรคระบาด

ที่มา : มกอช.(FIS) วันที่ 3 ส.ค. 54

มะกันลดภาษีเอดีน�าเข้ากุ้งไทย

เม่ือวันที่ 2 สิงหาคม 2554 นายสุรศักดิ์ เรียง

เครือ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ เปิดเผยว่า

กระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐฯ ได้ออกประกาศทบทวน

อัตราอากรตอบโต ้การทุ ่มตลาด(เอดี ) ประจ�าป ีครั้ ง

ที่ 5 แก่สินค้ากุ ้งแช่แข็งจากไทย โดยได้ลดภาษีเอดี

จากเดิมที่มีอัตรา 1.11-4.39% เหลือ 0.41-0.73% ซ่ึง

ส่งผลดีต่อการส่งออกกุ้งของไทยไปสหรัฐฯ เพราะการที่

สหรัฐฯ ปรับลดอัตราเอดีไม่ถึง 1% เป็นอัตราท่ีต�่ากว่า

คู่แข่งของไทย โดยเฉพาะอินเดียที่ถูกเรียกเก็บถึง 1.36-

2.31% ทั้งนี้ ไทยยังต้องรอว่า ผลการทบทวนอัตราเอดี

ของประเทศที่เหลือ เช่น จีน และเวียดนาม หากอัตรา

อากรเอดีในภาพรวมยังสูงกว่าไทย ก็จะท�าให้การส่งออก

กุ ้งไทยมีโอกาสและได้เปรียบในตลาดสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น

ผลอัตราเอดีกุ ้งที่ออกมาในครั้งนี้ เป็นอัตราที่ต�่า

กว่าการทบทวนในครั้งที่ผ ่านๆมา ซึ่งเป็นความส�าเร็จ

ของผู้ส่งออกไทย ที่สามารถและช้ีแจงให้สหรัฐฯ เห็นว่า

ปัจจุบันนี้ไทยไม่มีการทุ ่มตลาดสินค้ากุ ้งในสหรัฐฯ แล้ว

และไทยหวังว่า ในการพิจารณาทบทวนครั้งต่อไป สหรัฐฯ

จะยกเลิกการใช ้มาตรการเอดีกับสินค้ากุ ้งไทยในที่สุด

ส�าหรับการส่งออกสินค้ากุ ้งแช ่แข็งและแปรรูป

ของไทยในช่วง 6 เดือนของปี 54 (ม.ค.-มิ.ย.) มีมูลค่า

1,447 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มข้ึน 15.1% โดยตลาดส่ง

ออกส�าคัญอยู่ที่สหรัฐฯ ญี่ปุ ่น และประเทศในกลุ่มสหภาพ

ยุโรป ซึ่งผลจากการที่อัตราอากรเอดีลดลง ก็จะยิ่งท�าให้

สินค้ากุ้งไทยเข้าสู่ตลาดสหรัฐฯ ได้เพิ่มข้ึน และจะท�าให้

ปริมาณการส่งออกเพิ่มมากข้ึนตามไปด้วย

ท่ีมา : มกอช. (เดลินิวส์ ) วันที่ 3 ส.ค. 54

Page 9: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

9

ซีพีเอฟรับอานิสงส์เอดี ส่งออกกุ้งแช่แข็งฉลุย!

ซีพีเอฟ ชี้อัตราภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด ช่วยเพิ่มขีด

ความสามารถในการแข่งขันของกุ้งแช่แข็งไทยในตลาดสหรัฐฯ

นายพิสิฐ โอมพรนุวั²น์ ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติ

การ สายธุรกิจการค้าต่างประเทศ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์

อาหาร จ�ากัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ เปิดเผยว่า จากผล

การทบทวนอัตราภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti-dumping

หรือ AD) สินค้ากุ้งแช่แข็งของประเทศสหรัฐอเมริกา ประจ�า

ปี ครั้งที่ 5 (POR 5) โดยมีอัตราภาษีเฉล่ียอยู่ที่ 0.41-0.73%

ลดลงจากเดิมที่มีอัตรา 1.11-4.39% ว่าจะส่งผลดีโดยรวมต่อ

ประเทศ เนื่องจากเป็นตลาดส่งออกกุ้งอันดับ 1 ของไทย

โดยสินค้ากุ้งกว่าร้อยละ 46 ในปี 2553 ที่ไทยผลิตถูกส่งไป

ขายในตลาดนี้ อัตราภาษีที่ลดลงข้างต้นจึงช่วยเพิ่มขีดความ

สามารถในการแข่งขันของกุ ้งแช่ แข็งไทยในตลาดสหรัฐฯ

ในปี 2553 ที่ผ ่านมา ไทยส่งออกกุ ้งโดยรวมทั้ง

อุตสาหกรรมที่ปริมาณ 407,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 100,400

ล้านบาท ในส่วนของซีพีเอฟมีสัดส่วนส่งออกกุ้งในปีดังกล่าว

อยู่ท่ี 50,000 ตัน และคาดว่าจะสามารถส่งออกได้เพิ่มข้ึน

เป็น 60,000 ตัน หรือคิดเป็นสัดส่วนเพิ่มขึ้นเฉล่ียที่ร้อยละ

20 ในปีน้ี (2554) โดยคาดการจะมีสัดส่วนส่งออกที่เพิ่มข้ึน

โดดเด่นในตลาดหลักคือ สหรัฐฯ ที่ 35% ส่วนยุโรป ญ่ีปุ่น

และออสเตรเลีย ที่ 15-25%”

ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 5 ส.ค. 54

กรมประมงเตือนผู้เลี้ยงปลาเฝ้าระวังเหตุน�้าท่วมฉับพลัน

นาย สุรจิตต ์ อินทรชิต

รองอธิบดีกรมประมง เป ิดเผย

ว ่ากรมประมงขอให ้ประชาชนท่ี

อาศัยในพื้นที่ เสี่ยงภัยที่ ใกล ้ทาง

น�้ า ไหล ผ ่านและพ้ืน ท่ีราบลุ ่ม

ระมัดระวังอันตรายจากสภาวะ

น�้าท่วมฉับพลันน�้าป่าไหล หลาก

และน�้าล้นตลิ่งเนื่องจากช่วงเดือน

ม.ค.-ก.ค.2554 ที่ผ ่านมา พบว่ามีฝนสะสมมาก ซึ่ง

มากกว่าค่าเฉลี่ยตลอด 30 ปีที่ผ ่านมาถึง 50%โดย

เฉพาะภาคกลางและภาคเหนือ ฉะนั้น นับจากนี้ ไป

จนถึงสิ้นป ี 2554 จะมีปริมาณน�้ามากข้ึนโดยล�าดับ

และปีนี้ เป ็นอีกป ีที่ปริมาณน�้าจะมีมาก เกษตรกรชาว

ประมงจึงต้องมีแผนรับมือกับความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้น

โดยช ่ ว งที่ มี ก า ร ระบายน�้ า และมี ฝนตกหนั ก

อาจเกิดน�้าท ่วมฉับพลันและน�้าป ่าไหลหลากใน บาง

พื้ น ที่ เ พื่ อ เ ป ็ น ก า ร เ ต รี ย มกา รป ้ อ ง กั น และแก ้ ไ ข

ปัญหาอุทกภัยที่อาจจะเกิดและได้รับผล กระทบจาก

ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ขอให้เกษตรกรผู ้ เลี้ยงปลาใน

กระชังควรผูกเชือกของตัวกระชังให ้แน ่นหนาแข็งแรง

อย่างไรก็ตาม วิธีการหลีกเลี่ยงและรับมือปัญหา

อุทกภัยที่ดีที่สุดก็คือ หากเกษตรกรวางแผนก่อนการเลี้ยง

สัตว์น�้าให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และฤดูกาลก็จะสามารถ

หลีกเลี่ยงอุทกภัยที่อาจจะเกิดข้ึนได้อย่างแน่นอน

ท่ีมา : อินโฟเควสท์ (นสพ.แนวหน้า) วันที่ 8 ส.ค. 54

Page 10: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

10

มัน! มากับอาหาร: ยาตกค้างในกุ้ง

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการส่งออกกุ ้งเป็น

อันดับ 1 ของโลก เนื่องจากเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ และได้

รับความไว้วางใจจากท่ัวโลก จึงท�าให้สินค้าอาหารชนิด

นี้สร้างมูลค่ามหาศาลให้กับประเทศได้อย่างไม่ต้องกังวล

เนื่องจากประเทศไทยมีการตรวจสอบคุณภาพ

อาหารส่งออกอย่างเข้มงวดมากขึ้น มีระบบคุณภาพที่

น่าเช่ือถือและเป็นท่ียอมรับในระบบโรงงานอุตสาหกรรม

แต่ภาคเกษตรยังจะต้องมีหน่วยงานที่ก�ากับดูแลด้าน

มาตรฐาน คอยให้ความรู้และค�าปรึกษาอยู่อย่างต่อเนื่อง

ในกรณีกุ ้ง มีเกษตรกรให้ความสนใจเป็นจ�านวน

มาก เนื่องจากมีราคาสูงท�าให้ต่อ 1 บ่อ มีความหนาแน่น

ของกุ้งสูง เมื่อมีความหนาแน่นสูงโอกาสเกิดโรคก็เป็นสิ่ง

ที่ยากจะหลีกเลี่ยง จึงท�าให้เกษตรกรต้องหันมาใช้ยาเพื่อ

รักษา โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และขาดความรู้ความเข้าใจ

อย่างแท้จริง ท�าให้กุ้งมีสารตกค้างจากยาต้องห้าม อย่าง

คลอแรมเฟนิคอล ซึ่ง เป็นสารปฏิชีวนะที่น�ามาใช้รักษา

โรคในคนและสัตว์มานานแล้ว แต่ส่ิงที่จะติดไปกับตัวกุ้ง

คือ สารตกค้าง ซึ่งเป็นอันตรายอย่างมากส�าหรับคน จน

ออกมาเป็นประกาศใหญ่โตเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว

เ ร่ืองการห ้ามใช ้ในสัตว ์น�้าที่น�ามาประกอบอาหาร

ทุกชนิด เม่ือตรวจพบว่ามีการตกค้างอยู ่จะถูกตีกลับ

หรือถูกท�าลายทันทวันนี้ เพื่อประกาศว่าประเทศไทย

เป็นประเทศที่ให ้ความส�าคัญและ ใส่ใจกับเรื่องระบบ

คุณภาพและการจัดการเกี่ยวกับระบบการเพาะเลี้ยง

เป ็นอย ่างดีสถาบันอาหารจึงท�าการสุ ่มตัวอย ่างกุ ้งสด

เพื่ อน� ามาวิ เคราะห ์หาการตกค ้างของคลอแรมเฟนิ

คอล จ�านวน 5 ตัวอย่าง ได้ผลที่สามารถการันตีถึง

คุณภาพว่าปลอดภัยทุกตัวอย่าง ถึงตรงนี้ อยากประ

กาศดังๆว่า ประเทศไทย อาหารไทยยังปลอดภัยอยู ่ .

ท่ีมา : ไทยรัฐ (กรอบบ่าย) วันที่ 5 ส.ค. 54

Page 11: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

1111

กรมประมงรวมพลังคนกุ้ง...ร่วมขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกุ้ง

กรมประมงจัดเวทีสัมมนาระดมความคิดเห็นผู ้คล�่า

หวอดวงการอุตสาหกรรมกุ ้ งไทยตลอดสายการผลิต

เพื่อหาแนวทางฝ่าฟันจากอุปสรรคภายใต้สถานการณ์

ความท้าทาย ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม

ให ้สอดคล ้องกับบริบทโลกที่ เปลี่ยนแปลงไป หนุน

สร้างความย่ังยืนแก่ อุตสาหกรรมกุ ้งไทยอย่างแท้จริง

ดร.สมหญิง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมง

เปิดเผยว ่า สินค้ากุ ้งและผลิตภัณฑ์เป ็นสินค้าหลัก

ในอุตสาหกรรมการ เกษตรของประเทศไทย

มากว่า 20 ปี สามารถสร้างรายได้จากการส่งออก

มูลค่าเฉลี่ย 8 หมื่น ถึง 1 แสนล้านบาทต่อปี แต่

นับวันปัญหาและอุปสรรคในวงจรอุตสาหกรรมกุ ้งไทย

ยิ่งมี แนวโน้มรุนแรงมากขึ้นทั้งจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจ

สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยส่ิงส�าคัญที่สุดในการหาทาง

รอดให้ไทยยังคงศักยภาพรักษา แชมป์ผู้ส่งออกอันดับ 1

ได้ คือ “การปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ต่างๆ” นั่นเอง

โดยกลไกในการรับมือจะต ้องอาศัยความร ่วม

มือจากเครือ ข่ายผู ้เกี่ยวข้องตลอดสายการผลิต ทั้งผู ้

เพาะเลี้ยงกุ้ง ผู้ค้าปัจจัยการผลิต โรงงานแปรรูป ผู้ส่ง

ออก ตลอดจนภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น กรมประมง

จึงก�าหนดจัดการสัมมนาระดมความคิดเห็นเรื่อง”การ

ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกุ้งไทย ภายใต้สถานการณ์ความ

ท้าทายด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม” ขึ้น เพื่อ

ระดมความคิดเห็นจากกลุ่มเครือข่ายดังกล่าว ในการปรับ

กระบวนการขับเคล่ือนอุตสาหกรรมกุ ้งไทยให้สอดรับกับ

สถานการณ์ท่ี เปลี่ยนแปลงไปซึ่งเป็นความท้าทายจาก

บริบทโลก เช่น สถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม

และสิ่งแวดล ้อมที่ มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมกุ ้งไทย

มาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี(NTB) โดยเฉพาะอย่าง

ยิ่งมาตรการด้านสวัสดิการแรงงานภาคประมง นวัตกรรม

ทางการเงินที่น�ามาปรับใช้กับอุตสาหกรรมกุ้ง รวมท้ังการ

วิจัยและพั²นานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงกุ ้งท่ีสอดคล้อง

กับการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศ ซึ่งยังไม ่ได ้มีการ

ด�าเนินการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังมาก นัก จึงนับเป็น

โอกาสดีที่การสัมมนาครั้งนี้จะได้มีการน�าเสนอแนวทาง

ต่างๆ ต่อรัฐบาล และน�าไปเป็นแนวทางในการก�าหนด

กลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนให้อุตสาหกรรมกุ้งไทย ยั่งยืนต่อไป

ส�าหรับผู ้สนใจสามารถร่วมแลกเปลี่ยนความคิด

เห็นใน การสัมมนาได้ในวันจันทร์ที่ 8 สิงหาคม 2554

ตั้งแต่เวลา 08.00-17.00 น. ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทารา

แกรนด์ ลาดพร้าว กรุงเทพฯ สอบถามรายละเอียดเพิ่ม

เติมได้ที่สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงกุ้ง ทะเล กรมประมง

โทรศัพท์ 02-5620588

ท่ีมา : พิมพ์ไทย วันที่ 8 ส.ค. 54

Page 12: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

1212

สถานการณ์ด้านเกษตร

รับมือวิกฤติอาหารม่ันคง เกษตรฯวางแผนสร้างความสมดุลผลิตพืชอาหาร-พลังงาน

นาย นิวัติ สุธีมีชัยกุล รองปลัดกระทรวงเกษตร

และสหกรณ์ เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ราคาอาหาร

โลกที่ปรับตัวสูงขึ้นในปัจจุบัน ท�าให้มีความกังวลว่าโลก

จะขาดแคลนอาหาร ซึ่งทางองค์การการค้าโลก(WTO)

และธนาคารโลก ได้เสนอให้ประเทศเศรษฐกิจขนาด

ใหญ่ จี20 รวมทั้งประเทศทั่วโลกยุติการสนับสนุนการ

ใช้เช้ือเพลิงชีวภาพ ขณะที่กลุ ่มอุตสาหกรรมการผลิต

เช้ือเพลิงชีวภาพมีความเห็นแย้งว่า การที่ราคาอาหาร

ปรับตัวสูงขึ้นเป็นผลมาจากการผลิตที่ลดน้อยลงเกิดจาก

ปัญหา ปริมาณฝน และความแห้งแล้งมากกว่าปัจจัยอื่น

ส�าหรับประเทศไทยมีนโยบายระดับชาติแผน

พั²นาพลังงานทดแทน พ.ศ.2551-2565 โดยวางเป้าหมาย

ปี 2554 ร้อยละ 15.6 ซึ่งท�าได้ไม่ถึง 1 ใน 3 ของเป้า

หมาย ขณะที่ในช่วงไตรมาส 1-2 ที่ผ่านมา สินค้าพืช

พลังงาน 3 ชนิด ได้แก่ อ้อย มันส�าปะหลัง และปาล์ม

น�้ามัน มีราคาสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดการเก็งก�าไรตามมา เช่น

การขาดแคลนน�้ามันปาล์มในประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา

อย่างไรก็ตามการสร้างความสมดุลของอาหารและ

พลังงาน ไม่ได้เกิดขึ้นจากนโยบายของไทย แต่เป็นผลสืบ

เน่ืองจากปัจจัยการด้านการค้าและราคาน�้ามันดิบของโลก

หากราคาน�้ามันดิบมากกว่า120เหรียญต่อบาเรล ก็จะส่ง

ผลต่อความต้องการสินค้าเกษตร เพื่อมาผลิตเชื้อเพลิง

ทันที

ดังนั้นหากประเทศไทยมีสูตรในการก�ากับดูแล

เช่น ต้องมีสต็อกส�ารองเท่าไรในประเทศและนโยบายดูแล

ผลิตให้โรงงานเอทานอลและไบโอ ดีเซล พร้อมท้ังจัดท�า

Contrac Farm เพื่อรับประกันการซื้อและราคาหน้า

โรงงานก็ไม่ต้องมีการปิดโรงงาน ขณะที่การดูแลด้านภาษี

โรงงานน�้าตาลและโรงงานผลิตไบโอดีเซลในกรณีน�ากาก

น�้าตาลมาใช้ผลิตพลังงาน จะช่วยสร้างแรงจูงใจเหมือน

การผลิตไฟฟ้าจากน�้าเสียของโรงงานแป้งมัน เป็นการ

ลดปัญหามลภาวะโรงงานแป้งมัน ไม่ต้องถูกชาวบ้าน

เดินขบวน ปิดโรงงาน โดยควรมีการส�ารองร้อยละ 5-10

ของการผลิต เพื่อไม่เกิดผลกระทบต่อประชาชนภายใน

ประเทศ ทั้งนี้การสนับสนุนราคาในช่วงสถานการณราคา

ตกต�่า เพื่อไม่ให้เกษตรกรออกมาเรียกร้องให้ช่วยเหลือ

ภายใต้โครงการ Contrac Farmหรือช่วยเหลือด้านภาษี

ให้แก่โรงงาน และมีกองทุนช่วยเหลือราคาให้กับเกษตรกร

หน้าโรงงานเพื่อให้เกิดความม่ันคงทาง การผลิต จะท�าให้

ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านความมั่นคงทางอาหารและ

พลังงานของประเทศใน กลุ่มอาเซียนได้

ท่ีมา : มกอช. (นสพ.แนวหน้า หน้า 14) วันที่ 2 ส.ค. 54

Page 13: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

1313

มาตรการเข้มน�าเข้ามะพร้าวแก้ผลผลิตลด

เกษตรฯ เ ร ่ งน� า เ ข ้ า

ม ะพ ร ้ า ว จ ากอิ น โ ด ฯ -

เวียดนาม ปัญหาผลผลิต

ในประเทศลด ขณะที่

แนวโน ้มความต ้องการ

ข อ ง ต ล า ด - ผู ้ บ ริ โ ภ ค

เพิ่มขึ้น เพิ่มมาตรการ

เข ้มงวดน�าเข ้าสกัดการ

เ ล็ ด ล อ ด ข อ ง ศั ต รู พื ช

นายจิรากร โกศัยเสวี

อธิบดีกรมวิชาการเกษตร

เปิดเผยว่า จากปัญหา

การแพร่ระบาดของศัตรูมะพร้าวช่วงที่ผ่านมาโดยเฉพาะ

แมลงด�าหนาม มะพร้าวและหนอนหัวด�ามะพร้าว ได้

สร ้างความเสียหายให้แก ่แหล่งปลูกมะพร ้าวของไทย

เป ็นวงกว ้าง ส ่งผลให ้ปริมาณผลผลิตมะพร ้าวของ

ประเทศลดน้อยลง ซึ่งไม ่ เพียงพอกับความต้องการ

ของผู ้บริ โภคและตลาดที่มีแนวโน ้มขยายตัว เพิ่มขึ้น

โดยเฉพาะกับความต ้องการใช ้มะพร ้าวเป ็น

วั ตถุดิ บ เพื่ อผลิต น�้ ามั นมะพร ้ าวบ ริ สุทธิ์ และกะทิ

ส�า เร็จรูป จึงจ�า เป ็นต ้องน�าเข ้ามะพร ้าวผลสดจาก

เวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งกรมวิชาการ

เกษตรได้เพิ่มมาตรการควบคุมการน�าเข ้ามะพร้าวผล

สดเข้มงวดมากยิ่งขึ้น โดยประเทศผู ้ส ่งออกต้องเสนอ

ข้อมูลวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชของแต่ละ ประเทศ

ให้พิจารณาก่อน อีกทั้งยังได ้มอบหมายให้เจ ้าหน้าที่

ด่านตรวจพืชด�าเนินการตรวจสอบมะพร้าวที่ จะน�าเข้า

อย่างละเอียด“มะพร้าวที่น�าเข้าต้องผ่านการรมสารเมทิล

โบรไมด์รมสารต้องมีใบรับรองสุขอนามัยพืชก�ากับสินค้า

มาด ้วยทุกชิปเม ้นท ์ เพื่อป ้องกันไม ่ให ้ ศัตรูพืชกักกัน

เล็ดลอดเข้ามาแพร่ระบาดในแหล่งปลูกมะพร้าว ของไทย”

นายสุวิทย์ ชัยเกียรติยศ ผอ.สถาบันวิจัยพืชสวน

กรมวิชาการเกษตร กล่าวเพิ่มเติมว่า เนื่องจากมีปริมาณ

ผลผลิตมะพร้าวออกสู ่ตลาดน้อยลง ท�าให้สถานการณ์

ราคามะพร้าวขยับตัวสูงขึ้นกว่าทุกปี โดยราคาท่ีเกษตรกร

ขายหน้าสวน มะพร้าวแห้งชนิดใหญ่ เฉลี่ย 1,418 บาท/

ร ้อยผล มะพร้าวแห้งชนิดรอง 1,012 บาท/ร ้อยผล

มะพร้าวแห้งชนิดเล็ก 727 บาท/ร้อยผล และมะพร้าว

แห้งชนิดคละ 1,199 บาท/ร้อยผล

ท่ีมา : คม ชัด ลึก วันที่ 8 ส.ค. 54

Page 14: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

14

สถานการณ์ด้านการค้า

คาดส่งออกอาหารคร่ึงปีหลังโต 12% มูลค่า 4.21 แสนล้านบาท

นายเพ็ชร ชินบุตร ผู้อ�านวยการสถาบันอาหาร

เปิดเผยว่า การส่งออกอาหารไทยในช่วงคร่ึงปีหลัง คาด

จะขยายตัวต่อเนื่องตามความต้องการสินค้าในตลาดโลก

โดยจะมีมูลค่าประมาณ 4.21 แสนล้านบาท โดยสินค้าที่มี

แนวโน้มขยายตัวดี เช่น ไก่และสัตว์ปีก น�้าตาลทราย ขณะ

ท่ีข้าวจะชะลอตัวลง รวมทั้งกลุ่มอาหารทะเลที่ประสบปัญหา

ขาดแคลนวัตถุดิบ โดยภาพรวมการส่งออกในไตรมาส 3

คาดจะมีมูลค่า 2.12 แสนล้านบาท ขยายตัว 12% และ

ไตรมาส 4 จะมีมูลค่า 2.09 แสนล้านบาท ขยายตัว 4% รวม

ท้ังปี คาดมีมูลค่า 9 แสนล้านบาท โต 12% โดยราคาสินค้า

ส่งออกจะยังอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่องในช่วงครึ่งปีหลัง

ส�าหรับปัจจัยเสี่ยงต่ออุตสาหกรรมอาหารในช่วง

ครึ่งปีหลังและต่อเนื่องไปถึง ต้นปีหน้า ได้แก่ ภาวะ

เศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะสหรัฐฯ และยุโรปยังไม ่ดีขึ้น

แนวโน้มค่าเงินบาทแข็งค่า และปริมาณวัตถุดิบที่หลาย

อุตสาหกรรมยังมีปริมาณไม่พอกับความต้องการ รวมทั้ง

ราคาสูงขึ้น

ที่มา : มกอช. (แนวหน้า ) วันที่ 2 ส.ค. 54

เกาหลีใต้เตรียมยกเว้นภาษีศุลกากรสินค้าบางรายการเพื่อควบคุมเงินเฟ้อ

เม่ือวันที่ 2 สิงหาคม 2554 กระทรวงการ

คลังเกาหลีใต ้กล ่าวว ่า เกาหลีใต ้วางแผนเพิ่มรายชื่อ

สินค้าที่ได้รับการยกเว้นภาษีน�าเข้าเพื่อควบคุม เงินเฟ้อ

ซึ่ ง เกิดจากเหตุการณ์ฝนตกหนักและโรคปากและเท ้า

เปื ่อย (FMD)ระบาด เกาหลีใต้จะยกเว ้นภาษีน�าเข ้า

กล ้วย สับปะรด หัวไชเท ้า ซึ่ ง มีอัตราภาษีน�า เข ้า

ที่ 30 % และกะหล�่าปลี ซึ่งมีอัตราภาษีน�าเข้าท่ี 27%

จนกระทั่งถึงสิ้นเดือนกันยายน 2554 เกาหลีใต้

ตัดสินใจยกเลิกภาษีน� า เข ้ าสินค ้าดั งกล ่าว เนื่ องจาก

เกิดความกังวลว ่า เหตุการณ์ฝนตกหนักในช่วง 2-3

วันที่ผ ่านมาจะส ่งผลกระทบต ่ออุปทานสินค ้าเกษตร

ส�านักงานอุตุนิยมวิทยาเกาหลี (KMA) ระบุว ่า เมื่อ

วันที่ 27 กรกฎาคม 2554 กรุงโซลมีปริมาณน�้าฝน

301.5 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นวันที่ฝนตกหนักและมีปริมาณ

น�้าฝนมากที่สุดใน 1 วันในเดือนกรกฎาคม นับตั้งแต่

ส�านักงานอุตุนิยมวิทยาได้เริ่มบันทึกสถิติตั้งแต่ปี 2450

นอกจากนี้กระทรวงการคลังกล ่าวเพิ่มเติมว ่า

ภายในสิ้นเดือนกันยายน 2554 เกาหลีใต ้จะเพิ่ม

โควตาเนื้อสุกรแช่เย็นที่ได้รับการยกเว้นภาษีน�าเข้า โดย

จะไม่จ�ากัดปริมาณการน�าเข ้า ก ่อนหน้านี้ เนื้อสุกร

สดและแช่แข็งปริมาณ 130,000 ตันได้รับการยกเว้น

ภาษีน�าเข ้า เนื่องจากเกาหลีใต ้ต ้องการควบคุมราคา

ที่พุ ่งสูงข้ึนซึ่งมีสาเหตุจากการระบาด ของเชื้อ FMD

ราคาผู ้บริโภคเกาหลีใต้เพิ่ม 4.7 % ในเดือน

กรกฎาคม จากปี 2553 ซึ่งเกินเป้าหมายช่วงเงินเฟ้อท่ี

ธนาคารกลางเกาหลีใต้ก�าหนดไว้ที่ 2-4 % เป็นเวลาเจ็ด

เดือนติดต่อกัน

ที่มา : มกอช. (Xinhua) วันที่ 4 ส.ค. 54

Page 15: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

15

อุตฯอาหารลุ้นโตกว่า15%ห่วงอียูขึ้นบัญชีด�าผักไทย ส.อ.ท.คาดอุตฯ อาหารปีนี้โตกว่า 15% มองปี

หน้าต่างชาติแห่ลงทุนอุตฯ อาหารในไทย ห่วงอียูบัญชี

ด�าพืชผักของไทย สูญยอดส่งออกไปแล้วกว่า 2 พันล้าน

นายวิศิษฏ์ ลิ้มประนะ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรม

อาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

กล ่าวว ่า ในป ีนี้คาดว ่าอุตสาหกรรมอาหารจะขยาย

ตัว 15% เนื่ องจากสินค ้าหลักเกือบทุกประเภทส ่ง

ออกทะลุเป ้าหมาย อีกทั้ งมีป ัจจัยบวกคือ การที่สื่อ

ระดับโลกได้ส�ารวจอาหารที่คนทั่วโลกชื่นชอบมากที่สุด

ผ ่านทาง เว็บไซต์ปรากฎว่าแกงมัสมั่นของไทยได้รับ

การโหวตเป ็นอันดับ1ที่คนทั่ ว โลกชอบ รับประทาน

ส่วนอุปสรรคส�าคัญในอุตสาหกรรมอาหารขณะนี้

คือ การที่สหภาพยุโรป (อียู) ขึ้นบัญชีด�าพืชผัก 16 ชนิด

ของไทย หลังตรวจพบสารพิษตกค้าง เนื่องมากจากมี

โรงงานผลิตไม่ได้มาตรฐาน ท�าให้มูลค่าการส่งออกในกลุ่ม

นี้ลดลงไปกว่าครึ่งหนึ่งจาก 4 พันล้านบาท เหลือเพียง 2

พันล้านบาท ภายในระยะเวลาแค่ 3 เดือน ซึ่งถ้าปล่อย

เวลานานไปถึงส้ินปียอดรวมความเสียหายก็จะมีมากขึ้น

อย่างไรก็ตาม แม้ว ่าในกลุ ่มผักจะมีปัญหา แต่ใน

ภาพรวมของุตสาหกรรมอาหารทั้ งหมดไทยยังได ้รับ

ความเช่ือม่ันจากต ่างชาติ สูงเป ็นอันดับ1ของเอเชีย

จึงท�าให ้คาดว ่าในปีหน ้าจะมีต ่างชาติเข ้ามาลงทุนใน

อุตสาหกรรมอาหารมากข้ึน เนื่องจากหลายประเทศกังวล

เรื่องความม่ันคงทางอาหารจึงย้ายฐานการผลิตมายัง ไทย

ส่วนในปี 2555 หากภูมิอากาศไม่เลวร้ายจนเกินไป

คาดว่าอุตสาหกรรมอาหารจะขยายตัวไม่ต�่ากว่า 15% ซึ่ง

หากต้องการให้อุตสาหกรรมอาหารไทยเข้มแข็งมากกว่านี้

รัฐบาลจะต้องให้ความส�าคัญโดยการตั้งกรมอาหารในกระ

ทรวงเกษตรฯ เพื่อดูแลอาหารทั้งหมดครบวงจร

ท่ีมา : มกอช. (นสพ.คมชัดลึก หน้า 6) วันที่ 1 ส.ค. 54

Page 16: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

16

อาเซียนดึงสหรัฐฯ-รัสเซียแจม หวังขยายกรอบความร่วมมือ

อาเซียนเชิญสหรัฐฯ-รัสเซีย ร่วมแจมหวังขยาย

กรอบความร่วมมอืทางเศรษฐกจิ การค้า จากอาเซยีน +6 เป็น

+8 ส่งผลดีส่งออกเกษตร อุตสาหกรรมไทยตีตลาดเสรีทั่วโลก

เมื่อวันที่ 4 ส.ค. นายยรรยง พวงราช ปลัด

กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยถึงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ

อาเซียน (เออีเอ็ม) และการประชุมคณะมนตรีเขตการ

ค้าเสรีอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย วันที่ 9-13 ส.ค.นี้

ว่า อาเซียนได้เชิญตัวแทนจากสหรัฐฯ และรัสเซีย เข้ามา

หารือในเวทีการของประเทศเอเชียตะวันออก เพื่อขยาย

กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจจาก 16 ประเทศ หรือ

อาเซียนบวก 6 (อาเซียน 10 ประเทศ รวมกับจีน อินเดีย

ญ่ีปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) เพ่ิมเป็น

18 ประเทศ หรือเป็นอาเซียนบวก 8 ซึ่งจะท�าให้กรอบ

การเปิดเสรีอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาขยายวงกว้างข้ึน

ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจการค้าของอาเซียนและไทย

นายยรรยง กล่าวว่า “จะพบกับผู้แทนการค้าของ

สหรัฐฯ และรมว.พัฒนาการเศรษฐกิจรัสเซีย เพื่อแสวงหา

แนวทางส่งเสริมและกระชับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการ

ค้าระหว่าง กัน โดยสหรัฐฯ และรัสเซีย ถือเป็นประเทศ

มหาอ�านาจทางเศรษฐกิจ หากอาเซียนขยายความร่วม

มือ จะเกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสร้างโอกาสขยาย

การส่งออกแก่ไทยได้ ทั้งสินค้าเกษตร และอุตสาหกรรม”

นอกจากนี้ ในการประชุมยังจะมีการติดตามความคืบ

หน้าการด�าเนินการเขตการค้าเสรีอาเซียน เช่น การ

ลด/เลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี และการด�าเนิน

มาตรการด้านการอ�านวยความสะดวกทางการค้า เป็นต้น.

ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 4 ส.ค. 54

ดึง’ยิ่งลักษณ์’โชว์กึ๋นAECส ภ า ห อ ก า ร ค ้ า

เตรียมเทียบเชิญ “ย่ิง

ลักษณ์” โชว์วิสัยทัศน์

ทิศทางประเทศไทยใน

เออีซี พร้อมดึงประธาน

หอการค้ากลุ่ม CLMV ชี้

ช่องทางโอกาสขยายการ

ค้า การลงทุน ขณะสสว.

เตรียมชง 2 โปรเจ็กต์รัฐบาลใหม่ ตั้งไทยแลนด์พลาซ่า

ใน 9 ประเทศสมาชิก หนุนตั้งเออีซี ฟันด์ เพ่ิมศักยภาพ

แข่งขันผู้ประกอบการไทย

นาย ดุสิ ต นนทะนาคร ประธานกรรมการ

หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เปิด

เผยว่า ในวันที่ 18 สิงหาคมศกนี้ สภาหอการค้าฯร่วม

กับส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

หรือ สสว. จะจัดเสวนาเรื่อง “AEC and SMEs Chal-

lenges : Next Steps (Phase 2) เพื่อเตรียมความพร้อม

ผู้ประกอบการไทยซึ่งส่วนใหญ่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดย่อม(เอสเอ็มอี) ในการรับมือการแข่งขันในประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน(เออีซี)ที่จะมีขึ้นในปี 2558 หรือในอีกไม่

ถึง 4 ปีข้างหน้า

อีกทั้งได ้ เชิญผู ้บริหารบริษัทคนไทยที่ประสบความ

ส�าเร็จในการท�าธุรกิจใน ประเทศเพื่อนบ้าน มาเล่าให้ฟัง

ถึงประสบการณ์ในการท�าธุรกิจในประเทศเพื่อนบ้านว่า

เคยเจอปัญหา อุปสรรคอะไรบ้าง แก้อย่างไร หรือธุรกิจ

ประสบความส�าเร็จอย่างไรบ้าง เพื่อผู ้ประกอบการไทย

จะได้เรียนรู ้และน�าไปประยุกต์ใช้ในการบุกตลาดประเทศ

เพื่อนบ้านให้ประสบความส�าเร็จเช่นกัน ซึ่งจะมีผลท�าให้

ผู ้ประกอบการไทยมีความตื่นตัวและออกไปรุกตลาดเออีซี

มากกว่า ในปัจจุบัน อ่านต่อคลิก

http://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&vie

w=article&id=78206:aec&catid=87:2009-02-08-11-23-26&Itemid=423

ท่ีมา : ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 7 ส.ค. 54

Page 17: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

17

ขั้นตอนการยื่นเอกสารกับทางการอาร์เจนตินา

สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงบัวโนสไอเรส ได้

แนะน�าเก่ียวกับการยื่นหนังสือและเอกสารกับทางการ

อาร์เจนตินา ส�าหรับผู้ผลิต/ผู้ส่งออกของไทย เพ่ือแก้

ปัญหาในการยื่นเอกสารที่แปลเป็นภาษาสเปน โดยมี

ข้ันตอนด�าเนินการดังนี้

1.ผู ้ยื่นจะต้องน�าเอกสารต้นฉบับภาษาไทยไป

แปลเป็นภาษาอังกฤษ และน�าไปผ่านการรับรองจาก

กระทรวงการต่างประเทศและสถานเอกอัครราชทูต

อาร์เจนตินาประจ�าประเทศไทย

2 . เมื่ อผ ่ านการรั บ รองค� าแปลภาษาอั งกฤษ

แล ้ ว ผู ้ ย่ื นจะต ้ องน� า เอกสารดั งกล ่ าว ไปผ ่ าน

การรั บรองจากกระทรวงการต ่ า งประ เทศของ

อาร์เจนตินาอีกคร้ัง เพื่อรับรองลายมือชื่อของเจ้า

หน้าที่สถานเอกอัครราชทูตอาร ์ เจนตินาที่ลงนาม

3.เมื่อผ ่านการรับรองลายมือชื่อของเจ ้าหน ้าที่

แล้ว ผู ้ ย่ืนสามารถน�าค�าแปลภาษาอังกฤษไปแปล

เป็นภาษาสเปนกับ Traductores Publico และ

ผ่านการรับรองจาก Colegio de Traducto-

res Publ ico ที่อาร ์ เจนตินา ก ่อนยื่นเอกสาร

ดังกล ่ าวกับทางอาร ์ เจนตินาอย ่ าง เป ็นทางการ

ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 3 ส.ค. 54

Vol. 2 Issue 26

17

Page 18: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

18

EU เตรียมการ New EU GSP กรมการค้าต่างประเทศ ได้เชิญ Mr.Gert van’t

Spijker และ Ms. Marie-Louise Willemsen ผู้เชี่ยวชาญ

ด้านกฏแหล่งก�าเนิดสินค้าจากศุลกากรเนเธอร์แลนด์ มา

เป็นวิทยากรในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ(Workshop) เร่ือง

New EU-GSP Rules of Origin for Food/Agriucul-

tural Products เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2554 ในโอกาส

นี้ Mr.Spijker ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเตรียมการ New

EU GSP ของ EU ว่า โครงการ EU GSP ปัจจุบัน

(Regulation(EC) No.732/2008 of 22 July 2008, ใช้

1 Jan 2009- 31 December 2011) จะหมดอายุ Dec

2011 แต่ EU จะขยาย(Roll-over regulation)ระเบียบ

ปัจจุบันไปจนถึง Dec 2013 และก�าลังจะพิจารณา

โครงการ new EU GSP ส�าหรับใช้ตั้งแต่ 1 Jan 2014

โดยมุ่งให้สิทธิประโยชน์กับประเทศที่มีรายได้ระดับ lower

middle income และ low income และส่งเสริมการ

พั²นาที่ยั่งยืนและมีระบบบริหารจัดการทีดี(Sustainable

development and good governance)

โ ด ย จ ะ ท บ ท ว น ร า ย ชื่ อ ป ร ะ เ ท ศ ที่ ไ ด ้ รั บ สิ ท ธิ

ประโยชน์(beneficiary countr ies) พิจารณาจาก

World Bank criterion: upper middle income

GNI = $3,976-$12,275 ถ้าไทยมีตัวเลข GNI 3 ปีติดต่อ

กันระหว่าง 2010-2012 อยู่ในช่วงนี้ ก็จะถูกตัดสิทธิ ใน

ขณะนี้ Thailand’s GNI ปี 2010 เป็น $4,210 อยู่ใน

ระดับ upper middle income (http://data.world-

bank.org/country/thailand) ทาง EU เสนอให้ไทย

เจรจา TH-EU FTA โดยประเด็นส�าคัญที่ EU ให้ความ

ส�าคัญ ได้แก่ Government Procurement, Intellec-

tual Property, Investment Protection, Sustainability

(ต้องได้ตามมาตรฐานสากล) และ Services sector

ส�าหรับการสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ จัดข้ึนเพื่อสร้างความ

เข้าใจระเบียบใหม่ Regulation(EC) No.1063/ 2010 of

18 November 2010 Rule of Origin ภายใต้ EU GSP

ปรับปรุงจากระเบียบ Regulation(EC)No.1063/ 2010

บังคับใช้เม่ือวันที่ 1 Jan 2011 รายละเอียด http://

www.gumruk.gov.tr/tr-TR/abdisiliskiler/Documents/

GSP-Commission-Reg-1063-2010.pdf

Page 19: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

19

โดยเน้นเร่ืองกฎเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดศุลกากรและ

การพิจารณาแหล่งก�าเนิดสินค้าของวัตถุดิบที่ใช ้ในการ

ผลิตเพื่อน�ามาค�านวณหาสัดส่วนการใช้วัตถุดิบน�าเข้าต่อ

ราคาหน้าโรงงาน(Value added)ในการพิจารณากฎ

แหล่งก�าเนิดสินค้า เริ่มแรกให้ดู List rule ก่อน ซึ่งอยู่ใน

Part II ของระเบียบฯ ชื่อตาราง List of Products and

Working or Processing Operations which Confer

Origination Status ใน Article 72 Originatingระบุว่า

กฎแหล่งก�าเนิดแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ Article 75 แหล่ง

ก�าเนิดแบบ Wholly obtained กับ Article 76 การแปร

สภาพอย่างเพียงพอ Sufficient working or processing

หากใช้กฎ Sufficient working ก็จะต้องพิจารณา Article

78(Insufficient working or processing) ว่ากระบวนการ

นั้นต้องไม่อยู ่รายการที่ถือว ่าไม่มีการเปลี่ยนสภาพหรือ

ใช้กระบวนการผลิตเพียงเล็ก น้อย และต้องพิจารณา

Article 79 Tolerance หากใช้วัตถุดิบที่ถือว่าเป็น non

origination materials จะอนุญาตให้ใช้ได้ในสัดส่วน

a)15% ของน�้าหนักสินค้า เฉพาะสินค้าในตอนที่ 2 และ

4-24 ไม่รวมสินค้าประมงตอนที่ 16 หรือ b)15%ของ ex-

works price ของสินค้า ยกเว้นสินค้าตอนที่ 50-63 โดย

ค�านวณจากค่าเฉลี่ยตาม Article 77 Calculation on

average basis แต่ต้องดู Article 86 Regional cu-

mulation และตาราง Annex II (Annex 13b)Materials

excluded from regional cumulation ด้วยว่ายกเว้น

สินค้าใดบ้างที่ไม่ให้ผลิตโดยสะสมวัตถุดิบระหว่างภูมิภาค

อย่างไรก็ตาม ทางผู้เชี่ยวชาญของ EU แจ้งว่า ให้ตรวจ

สอบความถูกต้องกับกรมการค้าต่างประเทศก่อนเสมอ

ข ้อ มูลเพิ่ม เ ติม : ส�านักสิทธิประโยชน ์ทางการค ้า กรมการ

ค ้าต ่างประเทศ โทรศัพท ์ 02-547-4817-8 โทรสาร : 02-

547-4816 เวปไซด์ http://www.dft.moc.go.th/aStructure06_th.asp

ที่มา : ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูปร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ(Workshop)

เรื่อง New EU-GSP Rules of Origin for Food/Agriucultural Products

วันที่ 2 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี

สศก. เร ่งศึกษาแนวทางบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ในกิจการเกษตร 10 จั งหวัดทั่ วปร ะ เทศ

นายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการส�านักงานเศรษฐกิจ

การเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิด

เผยถึงปัญหาการขาดแคลนแรงงานประเภทงาน 3”D

หรืองานหนัก (Difficult) สกปรก (Dirty) และอันตราย

(Dangererous) ในภาคเกษตรซึ่งแรงงานไทยไม่นิยม

ท�า เป็นเหตุนายจ้างจ�านวนมากต้องน�าแรงงานต่างด้าว

มาใช้ส่งผลต่อประเทศไทยทั้งด้านความม่ันคง เศรษฐกิจ

สังคม และสาธารณสุขส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตรใน

ฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจในเรื่องการเสนอแนะนโยบาย

ในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการพั²นาการเกษตรและได้

รับมอบหมายให้เป็นผู ้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ในคณะอนุกรรมการจัดระบบและก�าหนดมาตรฐานการ

จ้างแรงงานต่างด้าว จึงได้ด�าเนินการศึกษาแนวทางการ

บริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในกิจการเกษตรท่ีส�าคัญ

เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา สาเหตุ และผลกระทบ

ต่าง ๆ ของการใช้แรงงานต่างด้าวในภาคเกษตรจาก

การสัมภาษณ์เกษตรกร/ผู ้ประกอบการเกษตรแรงงาน

ต่างด้าว หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องทุก

ฝ่าย โดยศึกษาเฉพาะจังหวัดที่มีแรงงานต่างด้าวมาขอรับ

ใบอนุญาติท�างานมากที่สุด 10 จังหวัดในประเทศไทยที

มีการจ้างแรงงานต่างด้าวในภาคเกษตรเป็นหลัก ได้แก่

จังหวัดสมุทรสาคร สุราษฏร์ธานี เชียงใหม่ ภูเก็ต ตาก

ระนอง สมุทรปราการ ชลบุรี นครปฐม และสงขลา

เพื่อให้ได้มาซึ่งรูปแบบที่เหมาะสมของการบริหารจัดการ

แรงงานต่างด้าวในภาคเกษตรกรของประเทศไทย และ

เพือให้เกษตกรและผู้ประกอบการในภาคเกษตรมีแรงงาน

ใช้ในการผลิตได้เพียงพอต่อการผลิต/การส่งออก รวม

ทั้งมีการใช้แรงงานต่างด้าวที่ถูกต้องตามกฏหมาย ซึ่งจะ

ท�าให้แรงงานต่างด้าวที่ถุกต้องตามกฏหมาย ซึ่งจะท�าให้

แรงงานต่างด ้าวได ้รับการคุ ้มครองตามสิทธิมนุษยชน

ท่ีมา : หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ วันท่ี 20 ก.ค. 54

Page 20: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

20

หอการค้าห่วงปรับค่าแรงขั้นต�่า 300 อาจส่งผลกระทบต่อขดีความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

นายดุสิต นนทะนาคร ประธานกรรมการหอการค้าไทย

และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เปิดเผยภายหลัง

การประชุมคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (

กกร.) นัดพิเศษ เพื่อหารือเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดข้ึน

หากรัฐบาลชุดใหม่มีการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต�่า 300 บาท/

วัน ว่า เอกชนเห็นด้วยกับการปรับค่าแรงขั้นต�่า แต่ควร

ด�าเนินการในระดับที่เหมาะสม และแสดงข้อกังวล ดังนี้

1.ระยะสั้น ธุรกิจของประเทศไทย ซ่ึงส่วนใหญ่ เป็น

ขนาดเล็ก (SMEs) จะได้รับผลกระทบอย่างมากต่อ

การปรับค่าจ้าง โดยผู้ประกอบการส่วนใหญ่กว่าร้อย

ละ 90 ไม่สามารถที่จะแบกรับภาระต้นทุนดังกล่าวได้

2.ระยะยาว การขึ้นค่าแรงขั้นต�่าวันละ 300 บาท จะท�าให้

ค ่าจ ้างแรงงานของไทยสูงโดยเปรียบเทียบกับประเทศ

เพื่อนบ้าน ดังนั้นประเทศไทยอาจสูญเสีย ความสามารถ

ในการแข่งขันในการดึงเงินลงทุนจากต่างประเทศ ซึ่งโดย

ปกติจะเข้ามาลงทุนในประเทศไทยปีละประมาณ 4 แสน

ล้านบาท ซึ่งอาจจะปรับลดได้ปีละ 25% หรือ 1 แสน

ล้านบาท และต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น อาจท�าให้ราคา

สินค้าของไทยในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งอาจส่งผลต่อ

ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในตลาดโลก

ที่มา : สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย วันที่ 21 ก.ค. 54

Page 21: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

21

อัตราแลกเปลี่ยน

ท่ีมา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวเลขวันที่ 30, 31 กรกฏาคม 2554 ธนาคารแห่งประเทศไทยไม่มีข้อมูล

Page 22: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

22

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 23: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

Vol. 2 Issue 272 Aug - 8 Aug 2011

23

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 24: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

2 Aug - 8 Aug 2011

24

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATIONTel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7E-mail: [email protected]

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net6. http://www.dailynews.co.th7. http://www.acfs.go.th8. http://www.posttoday.com9. http://www.matichon.co.th10. http://www.naewna.com

เสนอข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

th

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM

Page 25: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

'RCIt'l : FIOD. InspectlongCert i f i cat i on

T

FRX t{CI. :+66 2

dn {rlr " In ufi {n qrJ : v ardrf, ohl{rhr n 0 u n 1 I urJ :Xrld'n {r!r {ei r a o n f, u fi,rr d u r {s r rTv n r r s'l s a n flu#r #n { dr *n r {ld a r do wirn r a fg ua u i o nt ul fifu

d ns ocoa c/ e g#s n o{rflraor iur osrrrq:t1 uqomilfu {ri.rununf,qrYrrnfin{rfi n:lrJ:nlmurmnr rtnoqfnr flil!. oocoo

\/ntn61alr bddd

r{o.r tJrwrfrr{u&ru#rnrurtls.r "ufrnrn0Jiluaudorlfrrlf,rdurrYunr:dloonf,udrf,n{rir.

rtou {drur0n1?fi!1lltlorur:drrf qrJ

drunosnrrttou{uto-:mn:ITJqilnrnda{rfi unfi f, nrYa&idn{ririurfu drfnrrulrn:grufiufrrtnu$:uaco'rrartwhtrfr (unat.) ldrilruordodtsrurdsr "udnrnsuriualiorJfiffirdurriunr:Ccoonf,uf,r#nJrir {tl:rnouq:fiodfi11unA?stfaulrntgruuartiornnl:sr,lrllrJ:grilildriuf,11riu drrrgilrlil{nr:rfrlirmusrurrnlunrruriqfi.fi#fiu{rJtnotnr:rnJ:lJdn{riruar{ei.roonfrufrrf,i{rfi1vru tufirtrqfiaufidoo f,ulrll bddd t?ttl d.oo - ob.$o u. ru ltlgrurmunr{rdud nllrvrrruulunl nuacrdua

tun r :S nou tn ir gtrllr oryFrlt vdar r alr ilrctr ilufiufhialrtnr! i 61n rtl urYld r,lrn{u:vn0!nlrtrulRU:ce rdrdrJtrnJ:a1l IU:odlBuunouluudlnomrrqnou{ulocttlrt!'lxqrunrrrfin{frualerf,n#snfr{q'irh nrulufird c isurar bddd utturarruulum!o bdcra( orr6(d dru {ntouqnrijl

rB$6a{fi?luriudn

O Btru uioru4ln1t .Stf.r d" @ .<o ar/oe .

tflolrtnrlqt5nareJotur€ -l

Cci fi,n'<za-ai fr<rreorrulr .dururr l io:r(ur larrqtuaf i t f rTSgrntnj)rruf?,finQrl$qair

g,i u.rn., //a"i'u'{'o"n'*t

*a' n0{nr?qd0ufu:ourntg'rrrqaurnfin{druncnfi$fiodfr{rir j?* 4au.€

I 4-a'no luYr^{o'

//"ft/,

n cp n m n a ouunr{u:o l q cun rilfo{fr rnce f, o tfrudilr {rlrInr. o bddd oodo-d io osrco< Ittarr o bdldc osi€td

Page 26: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

rRSl :FIOD. Inspectior8Certi f icttion

I

!

F$( M. :+66 2 ST%T9S

rfruurnrrfruu'r

Aug' At Utl tBtBS.

{ l f i 1 , ; .

od.oo - o6.mo

od.no - od.oo

rlo r r,l#nrnnrduar{srlfrffi durfiu nrrdro onf,lf,rfritrlrlunqriavdd ?r lrurau bc(d

ru lrlurlrl:2u ngt?rtt.l' . : . . : '

nficrfiuu

f,ilfirrn, tdhrnrrnC n fi e nniuntileu - : {druranrrfnimrunnrgT uiu#rmtn:uncotfirudwrf,

oc.oo - oet.bo n1flJ?t010f,$n: nnrunrrnlf,o$ulfunrrdrgonlufrtt:gntarluuIea rsloBuiln*rrJrcrq (a:. rluf, ur qiurJrt ralg)

oc.bo - oo.sno nrt!fig1u: n1?tlrtfuraErfitfiorrlilt{rhdueno. H frn r n rurfi u a r ri o ul tr d o rlr uu n rf rlrt d r f r u n r : n r z n iu m l ar i n d'rur{dr {rir

dsosnb. nlrnr?{fi aotrqorn rnef, rrlurifia{rhrtruful:.rtudtrifuf, vr3fi rlt utu

nrroontufu:orsdrd ordorm. n r rtdfi o nJ! ff; n rrn r n o u rf; a n1: i fl a il? tl t 0u r s u u r? $n 1 Tl

uavcrlrJtl:v tfi udou nvr,isrt rnnr:r:?eniufi ourfouJfi rif, nrtl: cqrri

rin furJ tgilru o rur rd t sa c rnlo lCl

nltu?t01s; nfn rnsurlnr:;trnftroliludrrJtcrtldroonttisslrtAlrftlflruqrdrrl"o. r1n:n1r n?uqiln1*nCsu6rtug rJsocah saodureUn'rr go nurT.:dorirdu

nr:drudruuouaalalru. u dn nnrri $a r il o !h n rrldfi q fi u u tl : 1J m n a o ru utJ r 1J r{r {llr rdo l frusr. 11 Et nlrd olfiuurfiulain uaga'l:rafi qnr{{ufrn{rlr!1n n1:lr{1udso

oo.ero - oo.dd

Eo.dG - ob.oo

ob,oo - osl,slo rYn fu rJ: uvr ruor ur:na r lu

Page 27: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

f*lhnuunrqbulp ;lttltgrytpnguoobPstu'pcpeuelF {L ww ltntuLutnullrr^lB3nlgFlTgc$Lrsneu0s}ltBLu'N0

1epp1p,rnrl,Fqnluro$r1n0pltnLuus0lp3LuryLpt1rho$ :attlstft3tu

ry gpt trtttlttst||tgrum3Fnlu$

SouurE;rurusutu Bo lpn$pnrn{nuuttl*or n5ruuptuuluf n -

nppru,gnsrunyuu.'rva.'U::'.ff;l$ffi ;ffiffi.$l,';..

otr!,!$lgruptog$ lgur$F{irgfip?qtlgrlulrriluaclpruu'rlnr/u&ugrvurunugts :r,ugfi onltsbtrlppfppf ngusclpiLu'p

nlrsis sn n9 rLruagl nalt3Flpfiltltgry*ntu Bolpsuu' o

tnsn&tsrtAl.3rl}3FltFD 0pncttuo0 sltsLU'

n$l|lIog$ftuvops$r5nhcftltanu0BqlsLu'o ogtssltoorf,inrfupfqstoltf5rftutt$ucerpruu'

pluugrerr[1ru$$9uooo|$}rpqnen0tuct|lLu|{t3tus3ul.cqtlrrur{qp}surrpqm}tl10tuuierpruuqguagl$Fep !nn33muu

LnnnIBwrEo$'qe

ot!'qo - orr.plD

otl pO . l9'tte

ln5llgc$srfii0$3f1B0BL$t3F|rr\tT{rltlln8us0}l,sLu q

oo'to - ou'uto

LU?,1

!

tJOtl"c tJ ttJ.36r.Flloadsul '@IJ: l,{oUJ *,at rtw, ta '6Yrvs5a6Ag Z %+t 'O.l xldj

Page 28: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

'ROFI :FIED. lnspectior8Certif tcatlon FS( t{0. :+66 ? S?96?gF Aug. AI nn tgzilT p4

. 7

utruiorrfrrrffu$nrurrlor u fin rn ur{ nn s{sil fi tfi rfr ar r1u nr: d soo nfi uf,rfl2{rlr

{urrnrfsutif oo itrlrlar bd&dru lruuonrru nr{rft { nrlr?r?rffi rt.tat

rJrcnfl{ftdqrftufiduqu3&r.r rtTCrlf;rnrrrrr{or u#nrnorduacds{f,rifirdu, fitrn'rra{laantufrrdrfrh frod

do . nqn ....d'r$$rl{

IvrrfirrriE-mail :.,............,

Inrrrrr

a tt'l[!ru{

lnrarr

rr olfrIU:nnou tuu mu fr nrr r{rdtr*rprnrulufud c isurau bd(d nrqbnRrtmnlg$t o bcrfi oeilcdovrfinuaqoJodrtd{

{rJrvarwru : ul{a1?s!f,um s.rilup tvr:. o wtdoodo-d d0 omdod

Page 29: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

r.t'/n. utr z lta

q*/

w7.of *lo n'o/

+(r.yt*"r/,Jta

fr.kl,a,fu t1/.4tt Ut nlgrt t>a/. I

?kYtrnlYal-ta4l0Vlnbt

-,..nrt | )-/"]r,/ry^'ri- nf

Lt?,iu1'tELitL@tLUitgiu r:li'J9LUiLfl,g'l

nnllgLUtrLr g.nuF tLU l LrLplr.g!,(sup,ugu uLnsuILrr)

rtl -'tft,l

BUflnmLLUbr.4pll0n

qqq)e-epp6l-o gLpgr4ls

pwuetrr-o )epc,l-o' gt41s

gLngnftnAsunnsumbu s4

\q 'u'p I'I

F"I,t\J1\b$\frF\OFl

*u*{"U'acfl-O

I

G1 ru LmruUfte[tofr s

lTLO gLUITggU AruUNL}UNLE PPPq AUllnr|/tuLuIP

u bp LIi @ E xrvrfros u nt n o u nlbefl u s [| lA eT LL I u $^r, tAnLu p I u11 L u tl ntmL 6 Lnm mp m rs rn 1 rr s Fle t.tl rmn B 91 ]g

Bt tdLtft.pt lp 4tFs

frL 14 r.4 Bo1 I u B L s rmffiTFf0LSfrfrsll$sl nr Ppp6l fruLlrlg c6l s,suunlnl)DpP61 Fr.U3S[t UUggULUft-U'B@ ]10!{Bg0ftfttSttLtuntPesn,LnmmlrsLUsltil4^utdnktLy.rdl

LBAsllgLrtL@gLUftgguaruunLsunLpLpnBglert' ru$L^[email protected] LB,l

AUngLltt@gLUftgguAruunt$unLP]0 n^u]L$,r4BgrlSsLUnPAsF sfruLUnBg[r1upl1sLUnFleU,lnub0Urdl^

uusbuuuut u 'B0 ru^unLlnrgns[r@urdgsrunlLlrfugru1gne uusLnrnflBn11enpre&Aunusrupbunfu;rngt1tdg|tLtU}u,n3cM1U}eerpbra^t,mau1l@uulbuuun^u.B0}LLKBge mm L g m L uu n L p A g ft L n mm p g tu rd u ul L B I u1l g LLr u e s L u ft g g u A ru un t ! u nL p t^tt L 14 F I aa h 6 0 F

' (xrp \t

pPp6l ELpBSt-t U gSSUtunU

o PPpcl muuEusu

ooocoto sh14nnucttt,u 1,1nnLL6nruu P6At

T l. Fu \|r,:cft ) unmmumLsLtulsLut-ran@uftl '6t

'BO $LLKBg@EnLSfsLLUnLpAgnLnmm€gLUUnnLU'@ Br{dLfr[.pS}P

$ug r qpstt4Lsuuufnuuttpurun nagl

pppq l-tL.unsF ugsbuuun^u 'BG !Lrkrf,g@$nLsfsLLUnLpssftLnmmjrmusfugroru begl

r{'rl\t

rubnrsuguprLgt agu

LB BUtlgLktLE gLU rSggU stUUntlUnLpql'ft" p r,1>tooto sP tf \ f

Page 30: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

(LnmmpsLunleLpg,lLgeg1l'rl ) pppcl frurr4lp p Snln1aLunsneunpp : buununu

A

Lnf$tpnLgLttlM' at44

'fnn11Lt4

'Gp"bu

Bt lvtll@m\egul f-l tpph,

BLSun^OislrL E LB E$r@rplesul fl srKro E

(lcrugbgMr ul3sD I |Bu,luBulrdsrru BoBmlrumilssFmLsL!,l .cl

r uPsr u;on]nLlBqtn/u^ulP

'$nn11Lt4

L M,rArlLu n-Gnclneu,ungufl ugrt!,sngll !!,1 nt

uggsuLun-u'Bg lLclrsgesncgnLtuLnEBpnr!,LrNgLunSneunn]l

'npppo - orD'po Luu pppq nutltlg qq pgubn^rPP;Pq'U'ra ruLnsgFn!0qu8sfr

LnmmpsLUrdft

nenmbuni,*sFsLu uMenprLn

nt bLuugrurL0nLt^As0n3

(!6rugti gMB trl aon mbu mh,nrp

sp1$8 rn6$sFt l,rflBLn rsLusLftul Brdl

eepmbunLesplornpLpsLr renLr*gFn3 iournumu

'n pP'P@

'n oue'p(9

'n oo'u9(9

'n oo'6-lr€)

- o(D'p(o

- oo'w(9

- 00'6l(9

- orD')9o

6uLn@npu uS sult fi:^uuputnulnruLUSLUpM !os1 Ru1U,BLBggn

nBnla|^]u

untrtlu nlnuneu,nngur e$r!,Engr\!,I nt'npppo-or!'po LeLl pppq EULr lg qq $hn!, F-

PPPq'9'1it ruLn^!,Fnb0Lussfi

'n ow')eo - oo')eo

'n oo'po - orre'po

ugrbuuung'Bo \LctrAgegmr!,rLcunLpaspLnn[JrgLuunnLu

Page 31: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11
Page 32: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11
Page 33: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11
Page 34: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11
Page 35: Weekly Brief 2 Aug - 8 Aug 11

ใบลงทะเบียนเขา้รว่มสมัมนา REGISTRATION FORM

Law and Regulation on Packaging and Environment:

Global and Asian Movement

จดัโดย ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจแุละวัสด ุ คณะอตุสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร ์วันองัคารท่ี 6 กนัยายน 2554 เวลา 08.30-16.30 น. หอ้งกรงุเทพ 2 โรงแรม โซฟิเทล เซ็นทารา แกรนด ์กรงุเทพ

ชือ่-นามสกลุ (NAME)

ตาํแหนง่ / หนว่ยงาน (INSTITUTION/COMPANY)

ท่ีอยู่ (ADDRESS)

โทรศพัท ์/ โทรสาร (PHONE)

อีเมล ์ (E-MAIL)

(กรณุากรอกขอ้มลูใหส้มบรูณช์ดัเจน)

วิธีการชําระเงิน ชําระโดยการโอนเงิน ธนาคารกรงุศรีอยธุยา (สาขาย่อยมหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร)์ ชื่อบญัช:ี หนว่ยบริการเทคโนโลยีทางอตุสาหกรรมเกษตร เลขท่ีบญัชี: 374-1-49269-8 ประเภทบญัช:ี ออมทรพัย ์สง่โทรสารหลกัฐานการโอนเงนิพรอ้มใบสมคัรมาท่ี คณุสกุญัญา มาเจริญ โทรสารเลขท่ี 02-562-5046-7