Week 3 of TTFL

79
แนวคิดและระเบียบวิธีสอนภาษาต่างประเทศ อ.ดร.วัชรพล วิบูลยศริน

description

แนวคิดและระเบียบวิธีสอนภาษาต่างประเทศเป็นการศึกษาปัจจัยด้านความคิดทีส่งอิทธิพลต่อวิธีสอนภาษาต่างประเทศตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

Transcript of Week 3 of TTFL

Page 1: Week 3 of TTFL

แนวคิดและระเบียบวิธีสอนภาษาต่างประเทศ อ.ดร.วัชรพล วิบูลยศริน

Page 2: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา

Page 3: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา

Page 4: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา

จิตวิทยา

วัฒนธรรม

สังคม

Page 5: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา: วัฒนธรรม

“ภาษาไม่ได้แยกตัวออกจากวัฒนธรรม แต่มาจากการรวบรวมสืบทอดต่อกันมาทางสังคมของสิ่งที่ปฏิบัติเป็นกิจวัตรกับความเชื่อที่ก าหนด

โครงสร้างชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมนั้น”

(Sapir, 1921)

Page 6: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา: วัฒนธรรม ในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจะต้องพยายามไม่น าเอา

มุมมองทางวัฒนธรรมของตนเข้ามาเกี่ยวข้อง

ผู้ เรียนภาษาต้องน าตนเองเข้าไปอยู่ ในวัฒนธรรมของภาษาเป้าหมาย

ยิ่งเราทราบสภาพวัฒนธรรมของสังคมนั้น ๆ มากเท่าใด เราก็ยิ่งส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น

Page 7: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา: สังคม

“การใช้ภาษาให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์เป็นการสร้างประโยคที่แสดงความสามารถของผู้พูด แต่การใช้ภาษาให้เหมาะสมกับสังคมเป็นการ

สร้างการยอมรับของผู้คนในสังคมเจ้าของภาษา”

(Gumperz, 1964)

Page 8: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา: สังคม สิ่งท่ีความจ าเป็นต่อการสื่อสาร ได้แก่ บริบท คู่สนทนา หัวข้อ

วัตถุประสงค์ และรูปแบบของการสื่อสาร

การเรียนรู้การใช้ภาษาทางสังคมเป็นส่ิงท่ีจ าเป็นน้อยมาก

เพศและอายุของคู่สนทนาในสถานการณ์การสื่อสารก็เป็นอีกปัจจัยท่ีส่งผลต่อเนื้อหาทางภาษา

Page 9: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา: จิตวิทยา

“การสอนภาษาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเพ่ือประโยชน์ในการสื่อสารควรเป็นการสอนตามสภาพจริง”

(วัชรพล วิบูลยศริน, 2556)

Page 10: Week 3 of TTFL

แนวคิดทางภาษา: จิตวิทยา

Individual differences

Motive

Practice

Knowledge Feedback

Teaching method

Directed experience

Page 11: Week 3 of TTFL

ระเบียบวิธีสอนภาษาต่างประเทศ วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล

วิธีสอนแบบตรง

วิธีสอนแบบฟัง-พูด

วิธีสอนแบบเงียบ

วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง

วิธีสอนแบบชักชวน

วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์

วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความรู้ความเข้าใจ

วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร

Page 12: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้ เรียนมีความสามารถในการอ่านและเห็นคุณค่าของบทประพันธ์ภาษาต่างประเทศ

Page 13: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

ความเชื่อ

การเรียนรู้ไวยากรณ์ภาษาเป้าหมายจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจไวยากรณ์ของภาษาตนเองมากข้ึน

Page 14: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

แนวคิดพ้ืนฐาน

ภาษามีกฎเกณฑ์ มีระบบ มีระเบียบ

การเรียนภาษา = การเรียนรู้ระบบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของภาษา

ถ้าผู้เรียนเรียนรู้กฎไวยากรณ์และความหมายของค าศัพท์ต่าง ๆ แล้ว ก็จะเข้าใจข้อความต่าง ๆ ในภาษาเป้าหมาย และใช้ภาษาได้

Page 15: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

ลักษณะส าคัญ

เน้นทักษะการอ่านและการเขียน

ใช้วิธีการท่องจ ากฎเกณฑ์และค าศัพท์ ตลอดจนค าแปล

ผู้สอนเป็นผู้ด าเนินการเรียนการสอน ควบคุมชั้นและให้ความรู้

ผู้เรียนท าตามค าบอกของผู้สอน

เน้นการเรียนรู้ระบบภาษามากกว่าการใช้ภาษาแบบเจ้าของภาษา

Page 16: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

ขั้นตอนการสอน 1. สอนค าศัพท์ (บอกค าแปลเป็นภาษาของผู้เรียน และให้ตัวอย่างประโยคที่มีค าศัพท์นั้น)

2. สอนโครงสร้าง

3. สอนอ่าน

4. ประเมินผล (ให้ผู้เรียนท าการบ้าน แบบฝึกหัด ท่องจ าค าศัพท์)

Page 17: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

กลวิธีการสอน 1. การแปลบทประพันธ์

2. การตอบค าถามเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน

3. การหาค าตรงกันข้ามและค าที่มีความหมายเหมือนกัน

4. การเติมค าในช่องว่าง

5. การท่องจ า

6. การประยุกต์ใช้กฎโดยสรุป

7. การฝึกแต่งประโยค

8. การเขียนเรียงความ

Page 18: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

ข้อดี 1. สอนกับเด็กกลุ่มใหญ่ได้

2. เหมาะกับผู้ใหญ่ หรือเด็กเก่ง

3. เข้าใจความหมายของค าศัพท์และเนื้อเรื่องได้เร็ว

4. ประเมินผลได้ง่าย

Page 19: Week 3 of TTFL

1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล (The Grammar-Translation Method)

ข้อเสีย 1. ไม่เน้นทักษะการพูดและการออกเสียง

2. ไม่สอดคล้องกับภาษาท่ีใช้ในชีวิต

3. เด็กท่ีไม่เก่งจะเกิดความเบื่อหน่าย

4. มีโอกาสใช้ภาษาน้อย

5. ต้องมีความรู้ 2 ภาษาเป็นอย่างดี

Page 20: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ภาษาเพ่ือสื่อสารได้ในสถานการณ์จริง

Page 21: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

ความเชื่อ

การเรียนรู้ความหมายต่าง ๆ เรียนด้วยวิธีเชื่อมโยงโดยตรงกับภาษาที่เรียน โดยไม่ผ่านกระบวนการแปลเป็นภาษาเป็นผู้เรียน

Page 22: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

แนวคิดพ้ืนฐาน

ภาษาคือ ภาษาพูด การเรียนภาษาคือ การให้ผู้เรียนได้สื่อสารด้วยภาษาที่เรียนนั้น และเพ่ือให้ประสบความส าเร็จยิ่งขึ้น ควรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่จะคิดเป็นภาษาท่ีเรียนด้วย

Page 23: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

ลักษณะส าคัญ บทใหญ่ประกอบด้วยกิจกรรมการสนทนา

ผู้เรียนใช้ภาษาในสถานการณ์จริง

ไม่มีการใช้ภาษาของผู้เรียน

ไม่เน้นการสอนกฎไวยากรณ์

ให้เรียนรู้จากตัวอย่างและสรุปเป็นกฎด้วยตนเอง

Page 24: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

ขั้นตอนการสอน ให้ผู้เรียนฟังหรืออ่านข้อความในบทเรียน

อธิบายค าศัพท์และส านวนที่ยาก

ฝึกการออกเสียงค าให้ถูกต้อง

ถามค าถามเก่ียวกับเนื้อเรื่องที่อ่านหรือฟัง

ดึงกฎไวยากรณ์จากเรื่องมาฝึกเพ่ิมเติม

ให้ผู้เรียนท าแบบฝึกหัด

Page 25: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

กลวิธีการสอน 1. การอ่านออกเสียง

2. การฝึกหัดตั้งค าถามและตอบ

3. การแก้ไขข้อผิดด้วยตนเอง

4. การฝึกสนทนา

5. การฝึกเติมค าในช่องว่าง

6. การเขียนตามค าบอก

7. การวาดแผนภาพ

8. การเขียนข้อความสั้น ๆ 1 ย่อหน้า

Page 26: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

ข้อดี 1. ถ้าฝึกนาน ๆ ผู้เรียนจะใช้ภาษาเพ่ือสื่อความหมายได้

2. ได้เรียนรู้ภาษาแบบเดียวกับการเรียนรู้ภาษาของตนเอง

3. ได้ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยตนเอง ไม่เบื่อหน่าย

Page 27: Week 3 of TTFL

2.วิธีสอนแบบตรง (The Direct Method)

ข้อเสีย 1. ผู้สอนต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาของผู้เรียน

2. การอธิบายนามธรรมอาจเสียเวลา และผู้เรียนเข้าใจผิด

3. ผู้เรียนอาจสรุปกฎไวยากรณ์ผิดพลาด

4. หากมีผู้เรียนในชั้นเรียนจ านวนมาก อาจดูแลได้ไม่ท่ัวถึง

Page 28: Week 3 of TTFL

3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด (The Audio-lingual Method)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ภาษาโดยใช้ภาษาต่างประเทศที่เรียน โดยฝึกภาษาซ้ า ๆ จนเกิดเป็นนิสัย

Page 29: Week 3 of TTFL

3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด (The Audio-lingual Method)

แนวคิดพ้ืนฐาน

ภาษาคือ ภาษาพูด การสอนภาษาจึงควรเริ่มจากการฟัง-พูด อันเป็นพ้ืนฐานไปสู่การอ่านและการเขียน

Page 30: Week 3 of TTFL

3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด (The Audio-lingual Method)

ลักษณะส าคัญ ผู้สอนต้องแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษาท่ีเรียน

ผู้เรียนเลียนแบบและปฏิบัติตามผู้สอน

เน้นภาษาท่ีใช้พูดในชีวิตประจ าวัน

เรียนรู้กฎจากตัวอย่าง ไม่เน้นข้อมูลทางวัฒนธรรม

ฝึกออกเสียงแต่เริ่มแรก และฝึกฟังในห้องปฏิบัติการทางภาษา

Page 31: Week 3 of TTFL

3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด (The Audio-lingual Method)

ขั้นตอนการสอน ให้ผู้เรียนฟังบทสนทนาใหม่ท่ีน ามาให้อ่านให้ฟัง หรือฟังจากเทป

ผู้เรียนพูดตามทีละบรรทัด หลาย ๆ รอบ

น าประโยคท่ีเป็นปัญหามาฝึกเป็นพิเศษ

ฝึกโต้ตอบบทสนทนากันทั้งห้อง เป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และทีละคน

ฝึกโต้ตอบบทสนทนาโดยดัดแปลงให้กับเหตุการณ์ของผู้เรียน

Page 32: Week 3 of TTFL

3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด (The Audio-lingual Method)

กลวิธีการสอน 1. การท่องจ าบทสนทนา 8. การฝึกแทนค าในช่องว่าง

2. การฝึกแบบเพ่ิมส่วนของประโยค 9. การฝึกเปลี่ยนรูปประโยค

3. การฝึกพูดซ้ า 10. การฝึกถามตอบ

4. การฝึกแบบลูกโซ่

5. การใช้คู่เทียบเสียง

6. การเติมบทสนทนา

7. การเล่นเกมไวยากรณ์

Page 33: Week 3 of TTFL

3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด (The Audio-lingual Method)

ข้อดี ฝึกการพัฒนาทักษะ 4 ด้าน ตลอดจนองค์ประกอบของภาษา

เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน เน้นปฏิบัติ

ใช้ภาษาตามสภาพจริง

ไม่เน้นสติปัญญาหรือเหตุผลมาก เหมาะกับเด็กเล็ก

เอาใจใส่ผู้เรียนทีละคนได้มากขึ้น

Page 34: Week 3 of TTFL

3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด (The Audio-lingual Method)

ข้อเสีย การเลียนแบบไม่ท าให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายได้

การฝึกซ้ า ๆ ท าให้เบื่อหน่าย โดยเฉพาะเด็กเก่ง และผู้ใหญ่

การแบ่งเนื้อหาเป็นส่วนย่อยอาจท าให้ผู้เรียนน าไปบูรณาการไม่ได้

เน้นหลักการวางเงื่อนไข เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน ผู้เรียนไม่อาจปรับใช้ได้ ขาดแรงจูงใจ

ผู้สอนต้องมีความกระตือรือร้นและมีประสิทธิภาพสูง รู้จักเตรียมสื่อ

Page 35: Week 3 of TTFL

4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ (The Cognitive Code Learning)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้เรียนได้รู้ระบบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของภาษาที่เรียนก่อนน าไปประยุกต์ใช้

Page 36: Week 3 of TTFL

4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ (The Cognitive Code Learning)

แนวคิดพ้ืนฐาน ภาษาเป็นระบบตามกฎเกณฑ์ ความเข้าใจและการแสดงออกทาง

ภาษาข้ึนอยู่กับความเข้าใจกฎเกณฑ์

เมื่อผู้เรียนเข้าใจรูปแบบของภาษาและความหมายแล้วก็จะสามารถใช้ภาษาได้

Page 37: Week 3 of TTFL

4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ (The Cognitive Code Learning)

ลักษณะส าคัญ สิ่งที่น ามาให้ผู้เรียนเรียนจะต้องมีความหมาย

ควรจัดล าดับความยากง่ายเพ่ือช่วยให้การพัฒนาทักษะทางภาษา

เน้นให้เรียนรู้และเข้าใจระบบภาษาให้มากที่สุด

เน้นให้ผู้เรียนเข้าใจภาษาก่อนการแสดงออกทางภาษา

มุ่งกระบวนการสร้างความเข้าใจภาษาที่เรียนและเน้นทักษะ 4 ด้าน

Page 38: Week 3 of TTFL

4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ (The Cognitive Code Learning)

ขั้นตอนการสอน ให้ผู้เรียนอ่านข้อความหรือบทสนทนา

ให้ผู้เรียนท าแบบฝึก โครงสร้าง

ให้ผู้เรียนฝึกสนทนาโต้ตอบ

จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษาเพ่ิมเติม

Page 39: Week 3 of TTFL

4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ (The Cognitive Code Learning)

กลวิธีการสอน 1. การเขียนรูปประโยคใหม่

2. การเรียบเรียงประโยคและข้อความที่ยังไม่ได้เขียนให้เชื่อมโยงถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

3. การเขียนอธิบายเหตุการณ์จากภาพ

4. การเตรียมบทสนทนามาพูดหน้าชั้น

5. การเติมค าในช่องว่างในประโยค

6. การให้ขยายความหรือตีความหัวข้อข่าว

Page 40: Week 3 of TTFL

4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ (The Cognitive Code Learning)

ข้อดี มุ่งให้ผู้เรียนได้ใช้สติปัญญาและความคิดสร้างสรรค์

เป็นการฝึกหัดสิ่งที่มีความหมาย

เป็นการพัฒนาทักษะ 4 ด้านพร้อมกัน

Page 41: Week 3 of TTFL

4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ (The Cognitive Code Learning)

ข้อเสีย ผู้สอนต้องเตรียมการและสร้างแวดล้อมที่ดี

จะใช้ได้ผลดีกับเด็กเก่งมากกว่าเด็กอ่อน

Page 42: Week 3 of TTFL

5.วิธีสอนแบบเงียบ (The Silent Method)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ความสามารถที่จะใช้ภาษาด้วยตนเอง

Page 43: Week 3 of TTFL

5.วิธีสอนแบบเงียบ (The Silent Method)

แนวคิดพ้ืนฐาน

การเรียนรู้ภาษาเกิดจากความคิดหรือพลังสมองของผู้ เรียนเอง ผู้เรียนจะค้นพบกฎเกณฑ์ทางภาษาจากการทดลองพูด ผู้สอนจึงควรมีบทบาทการพูดน้อยที่สุด

Page 44: Week 3 of TTFL

5.วิธีสอนแบบเงียบ (The Silent Method)

ลักษณะส าคัญ ผู้สอนช่วยเท่าที่จ าเป็น

ผู้เรียนพยายามน าสิ่งที่รู้มาใช้ประโยชน์และจดจ่อกับบทเรียนตลอด

ควรเรียนเสียงเป็นอันดับแรก เพราะเป็นพ้ืนฐานส าคัญของภาษา

สร้างสถานการณ์ท่ีจะดึงความสนใจของผู้เรียนไปยังโครงสร้างภาษา

ใช้ข้อผิดพลาดของผู้เรียนเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าตอนใดไม่ถูกต้อง

Page 45: Week 3 of TTFL

5.วิธีสอนแบบเงียบ (The Silent Method)

ขั้นตอนการสอน สอนการออกเสียง สระ และพยัญชนะต่าง ๆ โดยใช้แผนภูมิ เสียง

สอนการออกเสียงค าต่าง ๆ

สอนรูปประโยคต่าง ๆ โดยน าค ามารวมกัน

ฝึกอ่านประโยคต่าง ๆ ที่ผู้เรียนสร้างข้ึน

ฝึกเขียนประโยคที่เรียนมาแล้ว

Page 46: Week 3 of TTFL

5.วิธีสอนแบบเงียบ (The Silent Method)

กลวิธีการสอน (และอปุกรณ)์ 1. แผนภูมิเสียง-สี/แผนภูมิค า/แผนภูมิฟิเดล (Fidel)

2. การนิ่งของผู้สอน

3. การช่วยกันแก้ไขข้อผิดพลาด

4. แท่งสี

5. ลักษณะท่าทีของการแก้ไขข้อผิดพลาดด้วยตนเอง

6. ผลสะท้อนกลับทางโครงสร้าง

Page 47: Week 3 of TTFL

5.วิธีสอนแบบเงียบ (The Silent Method)

ข้อดี ได้คิดและใช้ภาษาอย่างเต็มที่ ผู้สอนเป็นเพียงผู้ช่วยเหลือ

ร่วมกิจกรรมอยู่ตลอดเวลา

ผู้สอนมีเวลาและโอกาสสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน

Page 48: Week 3 of TTFL

5.วิธีสอนแบบเงียบ (The Silent Method)

ข้อเสีย การสอนนามธรรมอาจเป็นสิ่งที่เข้าใจได้ยาก

ผู้เรียนรู้สึกอึดอัด เพราะไม่ทราบว่าอะไรถูกอะไรผิด

ไม่เหมาะกับผู้เรียนกลุ่มใหญ่

ผู้สอนต้องช านาญการสอนอย่างมีประสิทธิภาพมาก

Page 49: Week 3 of TTFL

6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response Method)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ที่สนุกสนานในการเรียนเพ่ือการสื่อสารเป็นภาษาต่างประเทศ

Page 50: Week 3 of TTFL

6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response Method)

แนวคิดพ้ืนฐาน

การสื่อความหมายของภาษาต่างประเทศอาจท าได้โดยการปฏิบัติหรือใช้กิริยาอาการประกอบ ผู้เรียนจะจ าได้ดีถ้าได้ปฏิบัติหรือแสดงการโต้ตอบด้วย

Page 51: Week 3 of TTFL

6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response Method)

ลักษณะส าคัญ ผู้เรียนไม่ต้องพูด แต่เป็นผู้ฟังและท าตามผู้สอน

ผู้สอนก ากับพฤติกรรมของผู้เรียนทั้งหมด

ผู้เรียนเลียนแบบการกระท าตามค าสั่งของผู้สอน

เมื่อผู้เรียนพร้อมท่ีจะพูดก็จะเป็นผู้ออกค าสั่งเอง

Page 52: Week 3 of TTFL

6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response Method)

ขั้นตอนการสอน ผู้สอนพูดค าสั่งเป็นภาษาต่างประเทศ แล้วปฏิบัติตามค าสั่งนั้นให้ดู

เป็นตัวอย่าง

เมื่อพร้อม ผู้สอนจะเริ่มค าสั่งใหม่ให้ผู้แทนผู้เรียนปฏิบัติตามพร้อมกันและฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง

ออกค าสั่งให้ผู้แทนผู้เรียนปฏิบัติตามค าสั่งโดยผู้สอนไม่ท าให้ดูเป็นตัวอย่าง

เขียนค าสั่งต่าง ๆ บนกระดานด า ผู้สอนปฏิบัติตามค าสั่งนั้นด้วย

Page 53: Week 3 of TTFL

6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response Method)

กลวิธีการสอน 1. การใช้ค าสั่งเพ่ือก ากับพฤติกรรม

2. การสลับบทบาทของผู้สอนและผู้เรียน

3. การปฏิบัติตามค าสั่งที่ต่อเนื่องกันเป็นล าดับ

Page 54: Week 3 of TTFL

6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response Method)

ข้อดี ได้ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง

ไม่เครียด ไม่มีการบังคับให้ผู้เรียนพูดเมื่อยังไม่พร้อม

ได้เรียนรู้ภาษาท่ีใช้ในชีวิตประจ าวัน ใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสารได้

เหมาะสมส าหรับผู้เรียนในชั้นเริ่มเรียน

Page 55: Week 3 of TTFL

6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง (The Total Physical Response Method)

ข้อเสีย ไม่สามารถสอนสิ่งที่เป็นนามธรรมได้

สอนโครงสร้างซับซ้อนไม่ได้ผลดีเท่าไร

Page 56: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้เรียนเรียนภาษาท่ีใช้สื่อสารในชีวิตประจ าวัน

Page 57: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

แนวคิดพ้ืนฐาน

สมองของมนุษย์เปี่ยมด้วยพลัง แต่ถูกน ามาใช้เพียงเล็กน้อย ผู้สอนจึงควรโน้มน้าวให้ผู้เรียนได้ใช้พลังสมองของตนอย่างเต็มที่ โดยขจัดความกลัวและข้อห้ามต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการเรียนภาษา

Page 58: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

ลักษณะส าคัญ ผู้สอนเป็นเจ้าหน้าที่ในห้องเรียน

การเรียนการสอนต้องไม่ท าให้ผู้เรียนวิตกกังวล

ห้องเรียนต้องมีความสะดวกสบาย บรรยากาศผ่อนคลาย แฝงการเรียนรู้ไวยากรณ์รอบห้องเรียน ให้ผู้เรียนเรียนโดยไม่ตั้งใจ

แนะน าผู้เรียนทั้งหมดให้รู้จักกัน ใช้บทสนทนาเป็นสื่อการเรียน

Page 59: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

ขั้นตอนการสอน น าเข้าสู่บทเรียนโดยการทักทายและชักชวนให้ผู้เรียนเลือกชื่อใหม่

เป็นภาษาต่างประเทศ แล้วทักทายกันตามบทสนทนาสั้น ๆ

อ่านบทสนทนาที่ต้องการให้ผู้เรียนฟัง และอธิบายสิ่งที่ผู้เรียนไม่เข้าใจ

อ่านบทสนทนาให้ผู้เรียนฟังอีกครั้ง ผู้สอนอ่านน า ผู้เรียนอ่านตาม

Page 60: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

ขั้นตอนการสอน (ต่อ) อ่านบทสนทนาให้ผู้เรียนฟังอีกครั้งหนึ่ง โดยเปิดเพลงประกอบด้วย

จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกเสริมเนื้อหาจากบทสนทนาโดยการร้องเพลง เล่นเกม แสดงบทบาทสมมติ

Page 61: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

กลวิธีการสอน 1. การจัดห้องเรียน

2. การเรียนจากสภาพแวดล้อม

3. การชักชวนให้อยากเรียน

4. การสร้างมโนภาพ

5. การเลือกลักษณะประจ าตัวใหม่

6. การแสดงบทบาทสมมติ

7. การใช้เพลงประกอบ

8. การใช้กิจกรรมต่าง ๆ

Page 62: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

ข้อดี เกิดความรู้สึกผ่อนคลายทั้งร่างกายและอารมณ์ สภาพแวดล้อมที่น่า

เรียน

ไม่กลัวหรือกังวลว่าจะท าอะไรผิด

ได้เรียนภาษาที่ใช้จริงและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาด้วย

Page 63: Week 3 of TTFL

7.วิธีสอนแบบชักชวน (Suggestopedia)

ข้อเสีย เหมาะสมกับผู้เรียนกลุ่มเล็กมากกว่า

ผู้สอนต้องมีความอดทน เชื่อในวิธีการสอนแบบชักชวน

ผู้เรียนอาจมีความรู้ไวยากรณ์ไม่ดีพอได้

Page 64: Week 3 of TTFL

8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ ์(Community Language Learning)

วัตถุประสงค ์ เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ภาษาที่เรียนติดต่อสื่อสารได้และเรียนรู้เกี่ยวกับการ

เรียนรู้ของตนเอง

Page 65: Week 3 of TTFL

8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ ์(Community Language Learning)

แนวคิดพ้ืนฐาน

ยึดผู้เรียนเป็นหลัก เน้นการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนและระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ท าให้ผู้เรียนรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม

Page 66: Week 3 of TTFL

8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ ์(Community Language Learning)

ลักษณะส าคัญ

ผู้สอนเป็นผู้ให้ค าปรึกษา เข้าใจความรู้สึกของผู้เรียน และสนับสนุนให้ผู้เรียนเอาชนะภาษาใหม่ท่ีเรียนให้ได้

ผู้เรียนเป็นอิสระ และจะรู้สึกอิสระเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ

Page 67: Week 3 of TTFL

8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ ์(Community Language Learning)

ขั้นตอนการสอน ให้ผู้เรียนนั่งเป็นวงกลม โดยมีไมโครโฟนและเครื่องบันทึกเสียงอยู่

ตรงกลาง ผู้เรียนแนะน าตัวแล้วเริ่มสนทนากัน

ผู้เรียนฟังเทปท่ีบันทึกไว้ และศึกษาบทสนทนาทีละประโยค

แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อยช่วยกันสร้างประโยคใหม่จากค าศัพท์ในบทสนทนาตอนต้น

ให้ผู้เรียนพูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์ที่ได้รับ

Page 68: Week 3 of TTFL

8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ ์(Community Language Learning)

กลวิธีการสอน 1. การอัดเทปการสนทนาของผู้เรียน

2. การถอดบทสนทนาเป็นภาษาเขียน

3. การไตร่ตรองถึงประสบการณ์

4. การไตร่ตรองด้วยการฟัง

5. คอมพิวเตอร์มนุษย์

6. งานกลุ่มเล็ก

Page 69: Week 3 of TTFL

8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ ์(Community Language Learning)

ข้อดี มีแรงจูงใจในการเรียน เพราะริเริ่มการเรียนด้วยตนเอง

ใช้ความคิดสร้างสรรค์ของตนอย่างเต็มที่

มีปฏิสัมพันธ์และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

Page 70: Week 3 of TTFL

8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ ์(Community Language Learning)

ข้อเสีย ไม่ได้ผลกับผู้เรียนกลุ่มใหญ่

ผู้เรียนต้องมีความสามารถระดับเดียวกัน

Page 71: Week 3 of TTFL

9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach)

วัตถุประสงค ์

เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ภาษาเพ่ือสื่อความหมายได้เหมาะสมกับสภาพสังคม การจัดการเรียนการสอน

Page 72: Week 3 of TTFL

9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach)

แนวคิดพ้ืนฐาน ภาษาคือ เครื่องมือในการสื่อสาร และเป้าหมายของการสอนภาษา

คือ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสื่อสาร

Page 73: Week 3 of TTFL

9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach)

ลักษณะส าคัญ ต้องให้ผู้เรียนรู้ว่าก าลังท าอะไร เพ่ืออะไร

ต้องสอนในลักษณะบูรณาการ ไม่แยกส่วน

ได้ท ากิจกรรมการใช้ภาษาเหมือนในชีวิตประจ าวัน

ฝึกใช้ภาษามาก ๆ โดยผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เท่าท่ีเป็นไปได้

ให้ความส าคัญกับการใช้ภาษามากกว่าวิธีการใช้ภาษา

Page 74: Week 3 of TTFL

9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach)

ขั้นตอนการสอน 1. ให้ข้อมูลทางภาษาแก่ผู้เรียน

2. ฝึกใช้ภาษาท่ีเพ่ิงเรียนรู้ โดยมีผู้สอนเป็นผู้น าการฝึก

3. ใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยผู้สอนเป็นผู้แนะแนว

Page 75: Week 3 of TTFL

9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach)

กลวิธีการสอน (และสือ่) การใช้สื่อของจริง

การเรียงประโยคที่จัดวางอย่างสับสน

เกมทางภาษา

ภาพชุดเรื่องราว

บทบาทสมมต ิ

Page 76: Week 3 of TTFL

9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach)

ข้อดี สอดคล้องกับเป้าหมายของการเรียนภาษา

เน้นกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ

เรียนรู้การท างานร่วมกับผู้อื่นเป็นคู่

Page 77: Week 3 of TTFL

9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach)

ข้อเสีย ผู้สอนต้องมีความพร้อมในด้านต่าง ๆ สูง เช่น ความรู้ การจัด

กิจกรรม การสร้างสถานการณ์

เน้นทักษะการฟัง-พูด มากกว่าการอ่านและการเขียน

Page 78: Week 3 of TTFL

กิจกรรมท้ายบทเรียน แบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน

เลือกวิธีสอน (ไม่ซ้ า) กลุ่มละ 1 วิธี

เลือกเนื้อหาภาษาไทย (ไม่ซ้ า) 1 เรื่องท่ีสอดคล้องกับวิธีสอนที่เลือก

ระดมสมองกันในกลุ่มว่าจะสอนเนื้อหาที่เลือกตามวิธีสอนข้างต้นอย่างไร

อธิบายรายละเอียดทีละขั้นตอนให้เข้าใจ

ส่งรายชื่อสมาชิกในกลุ่ม วิธีสอน และเนื้อหาก่อนการน าเสนอ

Page 79: Week 3 of TTFL