VIA and Pap smear - @@ Home - KKU Web Hosting 17/Pitsamai_VIA... · 2008. 2. 5. · VIA and Pap...

59
VIA and Pap smear พญ. พิสมัย ยืนยาว สาขามะเร็งนรีเวชวิทยา ภาควิชาสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Transcript of VIA and Pap smear - @@ Home - KKU Web Hosting 17/Pitsamai_VIA... · 2008. 2. 5. · VIA and Pap...

  • VIA and Pap smearพญ. พิสมัย ยืนยาว

    สาขามะเร็งนรเีวชวิทยา ภาควิชาสูติศาสตรและนรเีวชวิทยา

    คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

  • 96,000

    370,000

    Incidence in developed countries

    Incidence in developing countries

    Estimated Number of New Cervical Cancer Cases Worldwide in 2000

    Source : Parkin, 2000

  • LEADING CANCER IN THAILAND 1993

    ORGAN ASR

    Cervix 20.9

    Breast 16.3

    Liver 15.5

    Lung 11.1

    Colon & Rectum 7.5Cancer in Thailand Vol II 1992-1994. IARC Technical Report No. 34, Lyon 1999

  • ปญหามะเร็งปากมดลูกของประเทศไทย

    * สาเหตกุารตายอันดับหนึง่ของมะเร็งในสตรี

    * อุบัติการณ 20.9 ตอประชากรสตรีแสนคน

    * ในระยะ 50 ปทีผ่านมาอุบัติการณไมลดลงเลย

    * รายใหมปละ 6 พันกวาคน ในขณะนี้ 2 หมื่นกวาคน

  • ความสูญเสียจากมะเร็งปากมดลูก

    - คารักษาแพง : 5-6 หมื่นบาท

    - โรคเรื้อรัง และทรมาน : 2-3 ป

    - อัตราตายสูง : 50 %

    - ลูกกําพรา : ขาดแม

  • CARCINOMA OF CERVIX : AGE DISTRIBUTION

    Age Group Number Percent

    15 - 29 361 3.08

    30 - 39 2,089 17.84

    40 - 49 3,176 27.12*

    50 - 59 2,623 22.40

    60 - 69 2,104 17.97

    70+ 1,356 11.58

    Total 11,709 100FIGO : Annual Report on the Results of Treatment of Gynecologic Cancer. Vol. 24, 2000

  • ประโยชนของการคัดกรองมะเร็งปากมดลกู

    การปองกันโดยการคัดกรอง

    คัดกรองผูมปีจจัยเสี่ยง

    วินิจฉัยระยะกอนมะเร็ง วินิจฉัยมะเร็งระยะตน

    ลดอบุัติการของมะเรง็ เพิ่มอตัราอยูรอด

  • PRECANCEROUS LESIONS OF CERVIX

    • ความผิดปกติของปากมดลูกตอไปจะกลายเปนมะเร็ง

    • ความผิดปกติระยะกอนมะเร็งของปากมดลูก• มะเร็งปากมดลูกระยะแรกเริ่ม • มะเร็งปากมดลูกเฉพาะที่ผิว• มะเร็งปากมดลูกที่ยังไมแพรกระจาย

  • ขอกําหนดโครงการคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ

    1. โรคนัน้มีอนัตรายสูงเหมาะที่จะทําการคัดกรอง

    2. มีวิธกีารรักษาที่มีประสิทธิภาพเมื่อคัดกรองไดในระยะแรกเริ่ม

    3. มีวิธกีารคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ

    4. วิธีการคัดกรองราคาไมแพง

    5. มีจํานวนประชากรในการคัดกรองที่เพียงพอเพื่อความคุมคา

    Faihalla et al. Reproductive health : global issues vol. 3.

    The Parthenon Publishing Group Inc. LA 1990.

  • ความผิดปกติระยะกอนมะเร็งปากมดลูกPRECANCEROUS LESION

    Dysplasia : Mild, Moderate, Severe, Carcinoma in situ

    CIN : Cervical Intraepithelial Neoplasia I, II, III

    LSIL, HSIL : Squamous Intraepithelial Lesion :

    Low / High grade

  • วิธีการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

    • PAP smear

    • Colposcopy• Down staging• Cervicography• VIA : VIAM, VILI• HPV DNA Typing• Polar probe

  • Method of Cervical Cancer Screening

    1925 Von Hinselmann Colposcope

    1943 Papanicolaou and Traut PAP smear

    1982 Ottaviano and La Torre VIA

  • “แปบ สเมียร” คือ วิธีการตรวจคัดกรองหา ระยะกอนเปนมะเรง็ ของปากมดลูก

  • Extended tip spatula

  • วิธีการเกบ็ตัวอยางสงตรวจ Pap smear

    หมุน 360 ํ 2-3 รอบ

  • ขั้นตอนในการตรวจจนกระทั่งรายงานผล PAP smear

    1. ผูใหบริการทําการตรวจ : ความถูกตอง, หนา, บาง

    2. ผูชวยเขยีน slide และ fix : fix ทันที

    3. สง slide ไปหองปฏิบัติการ : slide แตก

    4. ยอม slide : น้ํายาหมดอายุ

    5. นักเซลลวิทยาตรวจ slide : ปรึกษาพยาธิแพทย, Q.A.

    6. รายงานผลไปยังผูใหบริการ : ระยะเวลา

    7. ผูรับบริการทราบผล : รับทราบผล 50%

  • ขอจํากัดของ PAP smear ในประเทศกําลังพัฒนา

    1. ไมมีการกระทําอยางแพรหลาย

    2. พนักงานเซลลวิทยา และพยาธิแพทยมีจํานวนจํากัด

    3. ขาดการควบคุมคณุภาพ

    4. ระยะเวลานานจึงทราบผล

    5. บุคลากรทางการแพทยไมเห็นความสําคัญ

  • Pap smear screening is specific : 91%

    But only moderatly sensitive : 20-50%

    PATH : 2001

  • VIA : What, คืออะไร• เปนวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกวิธีหนึ่ง

    • โดยใชการตรวจภายใน และน้ําสมสายชู

    • สามารถกระทําไดโดยบุคลากรที่ไมใชแพทย

    • ทราบผลทันที

    • ใชในสถานที่ซึ่งไมสามารถทํา PAP smear อยางมี

    ประสิทธิภาพ

    • คุณภาพทัดเทียมกับ PAP smear

  • VIA : How, ทําอยางไร

    • VIA สามารถทําไดโดยพยาบาลที่ผานการอบรม

    • เครื่องมือนอกจากการตรวจภายในคอื น้ําสมสายชู อ.ส.ร.

    • ปายปากมดลูกดวยน้ําสมสายชู, 1 นาที อานผล

    • สามารถทําไดในสถานบรกิารทั่วไป : ส.อ. PCU

    • คาใชจายนอยมาก เทากับการตรวจภายใน

  • การแปลผลตรวจ VIA

    มีแผล หรือกอนยื่นออกมา หรือกอนลักษณะ คลายดอกกะหล่ํา

    มะเรง็ (Cancer)

    ผิวเรียบ, สีชมพูสม่ําเสมอ หรือพบการ

    อักเสบ, Polyp,Nabothian cyst, Ectopy

    ผลปกติ (Negative)

    มีสีขาวหนาและนนู หรือผิวเปน

    Acetowhite

    ผลผิดปกติ (Positive)สิ่งตรวจพบผลการตรวจ VIA

  • ความสาํคัญทางคลินกิ และตําแหนงของAcetowhiteที่ไมมีความสาํคัญ

    หางจาก SCJ

    ลักษณะขาวบางๆ

    Acetowhite เปนเสนๆ

    เสนขาวบริเวณขอบของรูปากมดลูก

    จุดขาวๆ จางภายในรูปากมดลูก

  • ความสําคญัทางคลนิกิและตําแหนงของ Acetowhite ที่มีความสําคญัทางคลนิิก

    ลักษณะขาว, หนา ขอบเขตชัดเจน คลาย Leukoplakia อยูใกลกับ SCJ และอาจตอออกมาขางนอก หรือเขาไปขางใน Endocervix หรือทั้งสองอยาง

  • VIA Screening StudyFirst Author (year) Country Number Sens. Spec.

    Denny 2000

    S. Africa 2,944 67% 83%

    Sankaranarayanan1999

    India 1,351 96% 68%

    Sankaramarayanan1998

    India 3,000 90% 92%

    Londhe 1997

    India 372 72% 54%

    Mege vand 1996

    S. Africa 2,426 65% 98%

    * Subject to verification bias

    * Level of provider : nurse, cytotechnician

    * Grade of disease detected : HSIL, CIN II and more

  • คุณภาพของ Diagnostic Test

    • Sensitivity

    • Specivicity

    • Negative predictive value

    • Positive predictive value

  • DISEASE

    A B

    C D

    Sensitivity A / A + C

    Specificity D / B + DPPV A / A + BNPV D / C + D

    + -

    +

    -TEST

  • Test Qualities of VIA in Primary Healthcare Setting

    VIA % Pap smear %

    Number 2,130 2,092

    Sensitivity 77 44

    Specificity 64 91

    PPV 19 33

    NPV 96 94

    University of Zimbabwe / JHPIEGO Corp. Lancet 1999;353:869-73.

  • ขอดีของ VIA

    1. สามารถทําไดโดยบุคลากรทางการแพทย

    2. สามารถทําไดในสถานบริการทุกแหง

    3. ทราบผลทันที, Test and Treat

    4. ความไว (sensitivity) เหมอืนกับ PAP smear

  • ขอดอยของ VIA

    1. ไมควรทําในกลุมอายุไมเกิน 45 ป

    2. การอบรมตองมีมาตรฐาน

    3. ความจําเพาะ (Specificity) ต่ํากวา PAP smear

  • ทําไม VIA อาจจะเปนทางเลือกใหมแทน PAP smear

    - ปลอดภัย, ราคาถูก และทําไดงาย

    - ทําไดโดยบุคลากรที่ไมใชแพทย

    - เครื่องมือ และอุปกรณมีอยูโดยทั่วไป

    - ทราบผลในทันที

    - อาจใชรวมกับการรักษาแบบผูปวยนอกในทันที

    - เหมาะสมสําหรับที่ทีม่ีทรพัยากรจํากัด

  • ขอความที่สําคัญในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

    1. มะเร็งปากมดลูกเกิดขึ้นอยางชากินเวลานาน

    2. การคัดกรองจะวินิจฉัยระยะกอนมะเร็งซึ่งรักษาได

    3. มะเร็งปากมดลูกพบบอยในสตรีอายุมากกวา 35 ป

    4. สตรีอายุระหวาง 30-50 ป ควรไดรบัการคัดกรอง

    5. การคัดกรองทําไดงาย และรวดเร็ว

    6. การคัดกรองไมเจ็บปวด

    7. การรักษาสามารถทําไดโดยไมตองอยูโรงพยาบาล

    PATH : 2000

  • Thank you

    for

    your attention

    VIA and Pap smearวิธีการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ Pap smear การแปลผลตรวจ VIAความสำคัญทางคลินิก และตำแหน่งของAcetowhite�ที่ไม่มีความสำคัญความสำคัญทางคลินิกและตำแหน่งของ Acetowhite �ที่มีความสำคัญทางคลินิกVIA Screening Study