Toxic Contamination ChaoPraya

3
1 มลพิษทีการสะสมของโลหะหนักในตะกอนดินและเนื อเยื่อสัตวนาบริเวณปากแมนาเจาพระยา ขอมูลในป .. 2541-2544ที่รวบรวมโดยกรมควบคุมมลพิษในรายงานเรื่อง สถานการณโลหะหนักใน ตะกอนดินและเนื้อเยื่อสัตวน้ําบริเวณชายฝงทะเลของประเทศไทย ทําใหเราสามารถสรุปถึงสถานการณการปนเปอน ของโลหะหนักในบริเวณปากแมน้ําเจาพระยาไดดังนีปรอท จากการศึกษาปริมาณโลหะหนักในบริเวณพื้นที่อุตสาหกรรมในป 2539-2540 พบวาปริมาณสารปรอท ในตะกอนดินมีคาเกินมาตรฐานที่อาจจะเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตไดแก บริเวณปากแมน้ําเจาพระยา มีคา 2.8 ไมโครกรัมตอกรัมน้ําหนักแหง ในป .. 2542 พบสารปรอทปนเปอนในตะกอนดิน / พื้นที่ที่มีคาสูงสุด คือ 0.339 ไมโครกรัมตอกรัม (น้ําหนักแหง) พบปรอทปนเปอนในเนื้อเยื้อปลากระบอกและปลาทูในป .. 2541 ปริมาณ 0.063 , 0.014 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ พบสารปรอทปนเปอนในเนื้อเยื้อกุงแชบวย และกุงตะกาด <0.003 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) เทากัน สวนกุงหลังขาวพบ 0.02 มิลลิกรัม/กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) .. 2541 พบปรอทปนเปอนในเนื้อเยื่อหอยแมลงภูและหอยแครง 0.02 และ 0.027 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ ตะกั่ว ในป .. 2544 พบสารตะกั่วปนเปอนในตะกอนดินในพื้นที่ที่มีคาสูงสุด คือบริเวณปากแมน้ํา เจาพระยา 33.0 ไมโครกรัมตอกรัม(น้ําหนักแหง) สารตะกั่วที่ปนเปอนในเนื้อเยื้อปลากระบอกและปลาทูป .. 2541 มีปริมาณ <0.026 , <0.035 มิลลิกรัม/กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) จากขอมูลป .. 2541 และ 2542 พบสารตะกั่วปนเปอนในเนื้อเยื้อกุงแชบวย และกุงตะกาด <0.003 มิลลิกรัม / กิโลกรัม(น้ําหนักเปยก) เทากัน สวนกุงหลังขาวพบ 0.025 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนัก เปยก) .. 2541 พบสารตะกั่วปนเปอนในเนื้อเยื่อหอยแมลงภูและหอยแครง < 0.018 และ <0.023 มิลลิกรัม/กิโลกรัม(น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ แคดเมียม .. 2542 พบแคดเมียมปนเปอนในตะกอนดิน บริเวณดานทิศตะวันออกของปากแมน้ํา เจาพระยาสูงที่สุดคือ 0.122 ไมโครกรัมตอกรัม(น้ําหนักแหง) และในป .. 2544 พบแคดเมียม ปนเปอนในตะกอนดินบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา 0.2 ไมโครกรัมตอกรัม (น้ําหนักแหง) .. 2541 พบแคดเมียมปนเปอนในเนื้อเยื้อปลากระบอกและปลาทู <0.0079 และ <0.01 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก)

description

Consolidated list of studies of toxic Contamination in the Chao Praya River between BC 2541-2544

Transcript of Toxic Contamination ChaoPraya

Page 1: Toxic Contamination ChaoPraya

1

ตะกอนดินของโลหะ

ป•

ต•

แ•

มลพิษที่ การสะสมของโลหะหนักในตะกอนดินและเนื้อเยื่อสัตวนํ้าบรเิวณปากแมนํ้าเจาพระยา

อมูลในป พ.ศ. 2541-2544ที่รวบรวมโดยกรมควบคุมมลพิษในรายงานเรื่อง “สถานการณโลหะหนักในและเนื้อเยื่อสัตวน้ําบริเวณชายฝงทะเลของประเทศไทย ทําใหเราสามารถสรุปถึงสถานการณการปนเปอนหนักในบริเวณปากแมน้ําเจาพระยาไดดังนี้ รอท จากการศึกษาปริมาณโลหะหนักในบริเวณพืน้ที่อุตสาหกรรมในป 2539-2540 พบวาปริมาณสารปรอทในตะกอนดินมีคาเกินมาตรฐานที่อาจจะเปนพิษตอส่ิงมีชีวิตไดแก บริเวณปากแมน้ําเจาพระยา มีคา 2.8 ไมโครกรัมตอกรัมน้ําหนักแหง

ในป พ.ศ. 2542 พบสารปรอทปนเปอนในตะกอนดิน / พืน้ที่ที่มีคาสูงสุด คือ 0.339 ไมโครกรัมตอกรมั (น้ําหนักแหง)

พบปรอทปนเปอนในเนื้อเยือ้ปลากระบอกและปลาทูในป พ.ศ. 2541 ปริมาณ 0.063 , 0.014 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ

พบสารปรอทปนเปอนในเนือ้เยื้อกุงแชบวย และกุงตะกาด <0.003 มิลลิกรัม / กโิลกรัม (น้ําหนักเปยก) เทากนั สวนกุงหลังขาวพบ 0.02 มิลลิกรมั/กิโลกรัม (น้าํหนักเปยก)

ป พ.ศ. 2541 พบปรอทปนเปอนในเนื้อเยือ่หอยแมลงภูและหอยแครง 0.02 และ 0.027 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ

ะกั่ว ในป พ.ศ. 2544 พบสารตะกั่วปนเปอนในตะกอนดินในพืน้ที่ที่มีคาสูงสุด คือบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา 33.0 ไมโครกรัมตอกรัม(น้ําหนักแหง)

สารตะกั่วที่ปนเปอนในเนื้อเยือ้ปลากระบอกและปลาทูป พ.ศ. 2541 มีปรมิาณ <0.026 , <0.035 มิลลิกรัม/กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก)

จากขอมูลป พ.ศ. 2541 และ 2542 พบสารตะกั่วปนเปอนในเนื้อเยื้อกุงแชบวย และกุงตะกาด <0.003 มิลลิกรัม / กิโลกรัม(น้ําหนักเปยก) เทากัน สวนกุงหลังขาวพบ 0.025 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนกัเปยก)

ป พ.ศ. 2541 พบสารตะกั่วปนเปอนในเนือ้เยื่อหอยแมลงภูและหอยแครง < 0.018 และ <0.023 มิลลิกรัม/กิโลกรัม(น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ

คดเมียม ป พ.ศ. 2542 พบแคดเมียมปนเปอนในตะกอนดิน บริเวณดานทิศตะวันออกของปากแมน้ําเจาพระยาสูงที่สุดคือ 0.122 ไมโครกรัมตอกรัม(น้ําหนักแหง) และในป พ.ศ. 2544 พบแคดเมียมปนเปอนในตะกอนดินบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา 0.2 ไมโครกรัมตอกรัม (น้ําหนักแหง)

ป พ.ศ. 2541 พบแคดเมียมปนเปอนในเนือ้เยื้อปลากระบอกและปลาทู <0.0079 และ <0.01 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก)

Page 2: Toxic Contamination ChaoPraya

2

• ป พ.ศ. 2541 พบแคดเมียมปนเปอนในเนือ้เยื่อกุงหลังขาว <0.007 มิลลิกรัม / กิโลกรมั (น้ําหนักเปยก) สวนป 2542 พบสารหนูปนเปอนในกุงแชบวย และ กุงตะกาด 0.078 และ 0.087 มิลลิกรัม / กิโลกรัม(น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ

• จากการสํารวจป พ.ศ. 2541 พบแคดเมียมปนเปอนในเนือ้เยื่อหอยแมลงภูและหอยแครงเทากับ 0.158 และ 0.513 มิลลิกรัม / กิโลกรมั(น้ําหนักเปยก)

สารหนู • ในป พ.ศ. 2544 พบสารหนูปนเปอนในตะกอนดินบริเวณปากแมน้ําเจาพระยาสูงที่สุดคือ 12.0

ไมโครกรัมตอกิโลกรัม (น้ําหนักแหง) • ป 2541 พบสารหนูปนเปอนในเนื้อเยื้อปลากระบอกและปลาทู 0.026 และ 0.035 มิลลิกรัม / กิโลกรัม

(น้ําหนักเปยก) • ป พ.ศ. 2541 พบสารหนูปนเปอนในเนื้อเยือ่กุงหลังขาว <0.025 มิลลิกรัม / กิโลกรมั (น้ําหนักเปยก)

และในป 2542 พบสารหนปูนเปอนในกุงแชบวย และ กุงตะกาด <0.003 และ 0.048 มิลลิกรมั / กิโลกรัม(น้ําหนักเปยก) ตามลําดับ

• ปริมาณการปนเปอนสารหนใูนเนื้อเยื่อหอยแมลงภูและหอยแครงป พ.ศ. 2541 เทากับ 0.163 และ 0.046 มิลลิกรมั / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก)

ตารางท่ี 1 เกณฑมาตราฐานคุณภาพตะกอนดินสําหรับแหลงท่ีอยูอาศัยของสัตวทะเล (ไมโครกรัม/กิโลกรัม น้ําหนักแหง)

Guideline อารเซนิค(As)

แคดเมียม (Cd)

โครเมียม (Cr) ทองแดง (Cu)

ตะกั่ว (Pb)

ปรอท (Hg)

สังกะสี (Zn)

Florida DEP1 SQG-TEL 7.24 0.68 52.3 18.7 30.2 0.13 124 Florida DEP2 SQG-TEL 41.6 4.21 160 108 112 0.7 271 Hong Kong 3 Draft SQG-higher 8 1.5 80 65 75 0.5 200 Hong Kong 4 Draft SQG-higher 42 4 160 110 110 1 270 Australia and New Zealand Draft ISQG-lower 1

20 1.5 80 65 50 0.15 200

Australia and New Zealand Draft ISQG-lower 2

70 9.6 370 270 220 1 410

หมายเหตุ 1 = คาความเขมขนที่ไมมีความเปนพิษตอส่ิงมีชีวิต 2 = คาความเขมขนที่อาจมีความเปนพิษตอส่ิงมีชีวิต 3 = คาความเขมขนที่สามารถทําการขุดลอกตะกอนดินได 4 = คาความเขมขนที่สามารถทําการขุดลอกตะกอนดินได โดยตองผานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม SQG = Sediment Quality Guideline ISQG = Interim Sediment Quality Guideline TEL = Threshold Effect Level PEL = Probable Effect Level

ที่มา: สถานการณโลหะหนักในตะกอนดินและเน้ือเยื่อสัตวนํ้าบริเวณชายฝงทะเลของประเทศไทย. กรมควบคุมมลพิษ,2546.

Page 3: Toxic Contamination ChaoPraya

3

ตารางท่ี 2 คามาตรฐานของโลหะหนักท่ีตกคางในเนื้อเย่ือสัตวน้ํา ระดับของโลหะหนักท่ีอนุญาตใหมีไดในเนื้อเย่ือสัตวน้ํา (มิลลิกรัม / กิโลกรัม (น้ําหนักเปยก) ประเภท

สารหนู โครเมียม แคดเมียม ทองแดง ปรอท ตะกั่ว สังกะสี อาหาร 2 2 - 20 0.5 1 100 ปลา - - 0.05 - - 0.2 - กุง (รวมทั้งกั้ง/ปู) - - 2.0 - - 0.5 - หอยและหมึก - - 2.0 - - 1 -

ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข, 2529 สํานักงานคณะกรรมการแหงชาติวาดวยมาตรฐานอาหารระหวางประเทศ

สรุป • การที่มีการปนเปอนของโลหะในตะกอนดินหลายชนิดและในปริมาณสูงบริเวณปากแมน้ําสายหลัก

รวมถึงแมน้ําเจาพระยา ทําใหโลหะหนักหลายชนิดสามารถเกิดการสะสมและถายทอดสูสิ่งมีชีวิตไดจากการสัมผัสและการบริโภคโดยตรง

• การศึกษาการปนเปอนสารโลหะหนักในเนือ้เยื่อสัตวน้ําสรุปวา โลหะหนกัทุกชนิดมีระดับการปนเปอนไมเกินคามาตรฐานและยังอยูในระดับที่ปลอดภัยตอการบริโภค

• ทั้งแคดเมียมและตะกั่วมีความเปนพิษสูงตอพืช สัตวและมนุษย ไตนั้นเปนอวัยวะเปาหมายของการแสดงความเปนพิษของแคดเมียม สิ่งมีชีวิตในน้ําบางชนิดมีความไวสูงตอแคดเมียมดวยผลกระทบที่เปนอันตรายที่มีรายงานในปลาและสัตวไมมีกระดูกสันหลังที่ระดับความเขมขนตํ่าเทากับ 5 ไมโครกรัมตอลิตร

• ตะกั่วเปนสารพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําทุกชนิด เชนเดียวกับแคดเมียม มีรายงานวา ตะกั่วในระดับความเขมขนที่ตํ่ามากสามารถมีผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา รวมถึงการลดการเจริญเติบโต การเจริญพันธุและการตาย