Silicone VS. Flood

3
«ÔÅÔ⤹สุดยอดวัสดุปโตรเคมีปองกันน้ำทวม เรียบเรียงโดย แกวใจ คำวิลัยศักดิฤทธิเดช แววนุกูล ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ กฤติการณมหาอุทกภัยในปลายป 2554 ที่ผานมา นับเปนบทเรียนสำคัญมากสำหรับคนไทย ไมวาจะมีสาเหตุจาก ความผิดพลาดในการบริหารจัดการน้ำ ผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การขยายตัวของเมืองทำใหเกิดสิ่งกอสราง ขวางทางน้ำ ปญหามวลชน ฯลฯ แตทำใหคนไทยไดตระหนักถึงภัยธรรมชาติ ไดรูจักการเตรียมตัว ปองกัน การเฝาระวัง การติดตาม ขาวสาร การอพยพ และการชวยเหลือผูประสบภัย เปนตน นอกจากถุงทราย บิ๊กแบ็ก ปมน้ำ รองเทาบูท เครื่องตรวจสอบไฟรั่ว เครื่องกรองน้ำ ถุงยังชีพ และอุปกรณอื่น ๆ อีก มากมายที่ทยอยออกมาในชวงวิกฤติการณแลว การเลือกใชวัสดุที่มีสมบัติเปนกาวที่ยึดเกาะไดดี มีความยืดหยุในการปองกัน การรั่วซึมที่สถาปนิกแนะนำใหใชก็เปนวิธีการปองกันไดอีกทางหนึ่ง โดยสามารถจำแนกวัสดุดังกลาวได 3 กลุมใหญ ๆ คือ 1. อะคริลิก (ACRYLIC) เปนสารที่นอกจากจะสามารถนำมาผลิตเปนสีทาบานแลว ยังนิยมใชเปนกาวอีกดวย เนื่องจากเมื่อแหงแลวสามารถเกิดเปนฟลมที่มีสมบัติดี ทั้งความเหนียวและความยืดหยุน และที่สำคัญไมละลายน้ำ มักมีการนำมา บรรจุหลอดเพื่อใชเปนสารอุดกันรั่วซึมได นอกจากนี้ในตลาดยังมีวางขายในรูปแบบลักษณะเปนกระปุกอีกดวย 2. พอลิยูรีเทน (POLYURETHANE) เปนสารตระกูลไฮโดรคารบอน (H-C) มีการยึดเกาะกันของโมเลกุล ที่เหนียวแนน มีอยูหลายสถานะและรูปแบบ ทำใหเราคุนหูและสับสนไดงาย เชน ยูรีเทนรักษาเนื้อไม 3. ซิลิโคน (SILICONE) แกนสายโซหลัก (main chain) ของยางซิลิโคนไมไดประกอบดวยไฮโดรคารบอน เหมือนยางชนิดอื่นๆ แตจะประกอบดวยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แตเกรดที่ใชกัน มากที่สุดจะเปนพอลิเมอรของ dimethyl siloxane สูตรโครงสรางของยางซิลิโคน (dimethyl siloxane) หนึ่งในวัสดุชื่อคุนหูใชสำหรับปองกันการรั่วซึมของน้ำที่ “ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ” ขอหยิบยกมา กลาวในที่นี้คือ “ซิลิโคน” หรือ “ยางซิลิโคนยาแนว”

description

การใช้ซิลิโคนเพื่อป้องกันน้ำท่วม และการจัดการหลังน้ำลด

Transcript of Silicone VS. Flood

Page 1: Silicone VS. Flood

“ «ÔÅÔ⤹”สุดยอดวัสดุปโตรเคมีปองกันน้ำทวม

เรียบเรียงโดยแกวใจ คำวิลัยศักดิ์

ฤทธิเดช แววนุกูล

ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ

วกิฤติการณมหาอุทกภัยในปลายป 2554 ที่ผานมา นับเปนบทเรียนสำคัญมากสำหรับคนไทย ไมวาจะมีสาเหตุจาก

ความผิดพลาดในการบริหารจัดการน้ำ ผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การขยายตัวของเมืองทำใหเกิดสิ่งกอสราง

ขวางทางน้ำ ปญหามวลชน ฯลฯ แตทำใหคนไทยไดตระหนักถึงภัยธรรมชาติ ไดรูจักการเตรียมตัว ปองกัน การเฝาระวัง การติดตาม

ขาวสาร การอพยพ และการชวยเหลือผูประสบภัย เปนตน

นอกจากถุงทราย บิ๊กแบ็ก ปมน้ำ รองเทาบูท เครื่องตรวจสอบไฟรั่ว เครื่องกรองน้ำ ถุงยังชีพ และอุปกรณอื่น ๆ อีก

มากมายที่ทยอยออกมาในชวงวิกฤติการณแลว การเลือกใชวัสดุที่มีสมบัติเปนกาวที่ยึดเกาะไดดี มีความยืดหยุน ในการปองกัน

การรั่วซึมที่สถาปนิกแนะนำใหใชก็เปนวิธีการปองกันไดอีกทางหนึ่ง โดยสามารถจำแนกวัสดุดังกลาวได 3 กลุมใหญ ๆ คือ

1. อะคริลิก (ACRYLIC) เปนสารที่นอกจากจะสามารถนำมาผลิตเปนสีทาบานแลว ยังนิยมใชเปนกาวอีกดวย

เนื่องจากเมื่อแหงแลวสามารถเกิดเปนฟลมที่มีสมบัติดี ทั้งความเหนียวและความยืดหยุน และที่สำคัญไมละลายน้ำ มักมีการนำมา

บรรจุหลอดเพื่อใชเปนสารอุดกันรั่วซึมได นอกจากนี้ในตลาดยังมีวางขายในรูปแบบลักษณะเปนกระปุกอีกดวย

2. พอลิยูรีเทน (POLYURETHANE) เปนสารตระกูลไฮโดรคารบอน (H-C) มีการยึดเกาะกันของโมเลกุล ที่เหนียวแนน

มีอยูหลายสถานะและรูปแบบ ทำใหเราคุนหูและสับสนไดงาย เชน ยูรีเทนรักษาเนื้อไม

3. ซิลิโคน (SILICONE) แกนสายโซหลัก (main chain) ของยางซิลิโคนไมไดประกอบดวยไฮโดรคารบอน

เหมือนยางชนิดอื่นๆ แตจะประกอบดวยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แตเกรดที่ใชกัน

มากที่สุดจะเปนพอลิเมอรของ dimethyl siloxane

สูตรโครงสรางของยางซิลิโคน (dimethyl siloxane)

หนึ่งในวัสดุชื่อคุนหูใชสำหรับปองกันการรั่วซึมของน้ำที่ “ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ” ขอหยิบยกมา

กลาวในที่นี้คือ “ซิลิโคน” หรือ “ยางซิลิโคนยาแนว”

Page 2: Silicone VS. Flood

ซิลิโคนคืออะไร ?

ซิลิโคน เปนพอลิเมอรที่เกิดจากพวกซิลิกอนและออกซิเจน ที่มีแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลต่ำ สวนใหญจึงไมอยูในรูปของแข็ง

แตจะอยูในรูปของเหลวที่มีความหนืดสูงมาก การทำใหยางซิลิโคนมีสมบัติความยืดหยุนที่ดีและเหมาะกับการใชงาน จำเปนตองทำให

เกิดการคงรูปโดยกระบวนการวัลคาไนเซชันดวยเปอรออกไซด

ยางซิลิโคนเปนยางที่มีความแข็งแรงของพันธะระหวาง Si-O สูงกวา C-C และไมมีพันธะคูอยูในโมเลกุล ยางซิลิโคน

จึงทนตอสภาพอากาศ โอโซน แสงแดด และความรอนไดดีกวายางที่เปนพวกไฮโดรคารบอน ยางชนิดนี้จึงเปนยางชนิดพิเศษ

ที่สามารถใชงานไดในที่อุณหภูมิสูงมากๆ (และต่ำมากๆ) อยางไรก็ตามยางซิลิโคนมีความทนแรงดึง (tensile strength) ความทนทาน

ตอการขัดสี (abrasion resistance) และความทนแรงกระแทก (impact resistance) ต่ำมาก ดังนั้นจึงตองมีการเติมสารเสริมแรง เชน

ซิลิกา (silica) เขาชวย ยางซิลิโคนมีความเปนฉนวนที่ดีมาก มีอัตราการซึมผานของกาซและของเหลวสูง (ประมาณ 100 เทาของยาง

บิวไทล) แตวายางชนิดนี้ไมทนตอกรดและดาง และสารเคมีจำพวกเอสเทอร คีโตน และอีเทอร

การเลือกใชงานซิลิโคน

การเลือกการใชงานตองมีความเขาใจในลักษณะเฉพาะ เชน

- ซิลิโคนที่สภาพการแหงเปนกรด (ACID CURE) ไมเหมาะกับผนังที่มีสภาพเปนดาง เชน

ผนังปูน ผนังหินออน ผนังหินแกรนิต เพราะอาจทำใหสมบัติที่ดีของซิลิโคนผิดเพี้ยนไป

- ซิลิโคนที่มีสภาพการแหงเปนกลาง (NATURE CURE) จะใหผลที่ดีกวา โดยใชในลักษณะ

เปนตัวกลางกั้นระหวางผิววัสดุที่กั้นน้ำไดดี อีกทั้งตองมีระยะหางกันประมาณ 4-6 มิลลิเมตร เปนตน

แตหากเปนพอลิยูรีเทน หรือ อะคริลิก จะใชงานในลักษณะยิงอุดจนเต็มรอยแตกราว และปดทับไดดีกวา อีกทั้งยังทาสีติด

เพื่อเก็บงานใหดูเรียบรอยไดดี ถึงแมจะมีสมบัติหลายประการดอยกวาซิลิโคนก็ตาม หากถาเปนการเก็บซอมรอยแตกราวที่ผิวผนังปูน

ฉาบตาง ๆ จะมีความเหมาะสมในการใชงานมากกวาซิลิโคน โดยถารอยแตกราวมีโอกาสขยับตัวไดสูง แลวตองการความแข็งแรง

ในการยึดแนน ควรใชเปนพอลิยูรีเทนจะมีสมบัติเหมาะสมกวาพวกอะคริลิก เพราะมีความแข็งแรงทางโครงสรางมากกวา

วิธีการปองกันน้ำทวมโดยใชซิลิโคนยาแนว

วิธีกันน้ำทวมเขาบานที่เห็นบอยมาก คือ การใชกำแพงผนังเบาทำจากแผนไฟเบอรซีเมนตบอรด เชน สมารทบอรด

เฌอราบอรด วีวาบอรด และอื่นๆ โดยขึ้นโครงเหล็กพับแลวติดตั้งฝานี้ยึดติดกับโครง โดยวิธีนี้จะมีรอยตอเกิดขึ้นตามแนวตางๆ

ซึ่งจะตองอุดดวยวัสดุยาแนวตาง ๆ ดังที่กลาวมาขางตน พรอมกับการใชผาใบหรือผาพลาสติกเพื่อกันซึมเพิ่มเติม

การใชซิลิโคนยาแนวที่บริเวณขอบรอยตอระหวางแผนวัสดุกับ

ผนังเพื่อกันน้ำรั่วซึม ในกรณีที่เปนแผนบาง เชน แผนสังกะสี

อาจจะไมแข็งแรงพอหรือไมสามารถทาบแผนเขากับผนังไดโดย

ตรง จะตองทำโครงยึดเสียกอนแลวจึงยึดแผนเขากับโครงที่วานี้

จากนั้น อุดรอยตอทุกแนวดวยซิลิโคน ตองระวังน้ำที่อาจจะซึม

ผ านเข ามาในบ านตามบร ิ เ วณรอยแตกร าว ในกำแพง

หรือบริเวณรอยตอ ผนังภายนอกกับตัวอาคาร ซึ่งควรตองอุด

ดวยซิลิโคนหรือพอลิยูรีเทน โดยยิงวัสดุเหลานี้ตามแนวรอยตอ

ตาง ๆ เชน รอยตอระหวาง ผนังอิฐและเสา หรือคาน

กาวซิลิโคนที่มีขายทั่วไปจะบรรจุในหลอด มีความเหนียวยืดหยุน

ตัวไดดี เมื่อแหงแลวจะไมละลายน้ำ แตจะทำหนาที่คลายเปน

ฟลมยืดหยุนกันน้ำได กอนการใชงานจะตองทำความสะอาดผิว

Page 3: Silicone VS. Flood

เสียกอนอยาใหมีฝุนหรือคราบน้ำมันจับอยู เพราะคราบเหลานี้จะทำใหซิลิโคนหรือพอลิยูรีเทนไมเกาะยึดกับผิวคอนกรีตหรือผิวปูน และ

กอนการใชงานควรตองอานขอแนะนำการใชงานที่ติดมาดวย

วิธีการเลาะเอาซิลิโคนออก

หลังจากสถานการณน้ำทวมไดคลี่คลายลง ถึงเวลาที่ตองเลาะเอาซิลิโคนออก ซึ่งการเลาะเอาซิลิโคนออก มีขั้นตอนดังนี้

1. ใชคัตเตอรกรีดตรงกลางของซิลิโคน

2. ใชน้ำมันรอนสัน (ที่ใชเติมไฟแช็ค) หยอดตรงรองที่กรีด ในกรณีที่น้ำมันรอนสันหายาก อาจจะใชน้ำมันสน หรือน้ำมันกาด

แทนได แตควรระวังเรื่องการกัดพื้นไมที่เคลือบแลคเกอร

3. ทิ้งไวประมาณ 5 นาที แลวดูวาซิลิโคนออนตัวแลวหรือยัง ถายังใหหยดน้ำมันรอนสันเพิ่มขึ้นอีก แลวจึงใชเกรียงขูดออก

4. ซิลิโคนที่ยังลอกไมหมดใหใชน้ำมันรอนสันหยดใสผาแลวเช็ดออก

นอกจากการใชคัตเตอรกรีดแลว มีทางเลือกอื่นๆ เชน

- ใช SONAX สเปรยหลอลื่นอเนกประสงค ฉีดทิ้งไวแลวคอยๆ ลอกออกซึ่งการลอกโดยวิธีนี้อาจจะไมสามารถรับรองผลได

100% ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของซิลิโคนที่เลือกใช และระยะเวลาในการยิงซิลิโคน

- ใชน้ำยาขจัดคราบซิลิโคน โดยใชพูกันทาบริเวณที่ตองการ ทิ้งไวประมาณ 15 นาที หรือนานกวานั้นในกรณีที่ขจัดออกยาก

ใชดามแซะซิลิโคนที่พองตัวออก และลางดวยน้ำสะอาด แลวใชผาแหงเช็ด แตน้ำยาชนิดนี้ไมเหมาะกับวัสดุที่มีความพรุนมาก

สำหรับวัสดุที่มีความพรุนซิลิโคนจะสามารถยึดเกาะไดดีกวา ทำใหการเลาะเอาซิลิโคนออกเปนเรื่องยาก เนื่องจากซิลิโคน

เปนสารกึ่งของแข็งสามารถไหลได เมื่อเจอรูพรุนซิลิโคนก็สามารถไหลลงไปตามรูพรุนเหลานั้นเพราะซิลิโคนมีแรงตึง ผิวนอยกวาแรงตึง

ผิวของวัสดุรูพรุน ทำใหซิลิโคนยึดเกาะพื้นผิววัสดุไดดี

สรุป

ซิลิโคนยาแนว เปนวัสดุปโตรเคมีประเภทยางสังเคราะห หรือ พอลิเมอร ที่หาซื้อไดสะดวก เหมาะสำหรับการยาแนวรอย

ตอสิ่งกอสรางตาง ๆ มีสมบัติกันน้ำรั่วซึม ยืดหยุน สามารถนำมาประยุกตใชในการปองกันน้ำทวมไดดี อยางไรก็ตาม ไมควรละเลย

ขอจำกัดตาง ๆ ของซิลิโคนเพื่อที่จะใชซิลิโคนไดอยางเต็มประสิทธิภาพ อยางนอยถาเกิดมีอุทกภัยครั้งหนาพวกเราจะไดเฝา

ระวังไดอยางมั่นใจวา “เอาอยู”

ขอขอบคุณรศ. ดร. ประณัฐ โพธิยะราช ภาควิชาวัสดุศาสตร จุฬาฯ ในการตรวจบทความ

เอกสารอางอิง1. http://www.thaisecondland.com/การเลือกใชวัสดุกอสร/การเลือกใช-“ซิลิโคน”-ยา/

2. http://rubber.sc.mahidol.ac.th/rubbertech/IIR.htm

3. http://www.eit.or.th/q_download/14102111Sandbagging/6tip.pdf