re-typed by...

544
รวมคําสอนธรรมปฏิบัติ ของ หลวงพอพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโรมหาเถร) เลม 1 คณะศิษยจัดพิมพเปนธรรมบรรณาการ เนื่องในงานบําเพ็ญกุศลทักษิณานุสรณ ถวาย พระเดชพระคุณหลวงพอพระราชพรหมยาน วัดจันทาราม (ทาซุง) อุทัยธานี 30 ตุลาคม 2536

Transcript of re-typed by...

  • รวมคําสอนธรรมปฏบิตัิ

    ของ

    หลวงพอพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโรมหาเถร)

    เลม 1

    คณะศิษยจัดพิมพเปนธรรมบรรณาการ เนื่องในงานบําเพ็ญกศุลทักษิณานุสรณ

    ถวาย พระเดชพระคุณหลวงพอพระราชพรหมยาน

    วัดจันทาราม (ทาซุง) อุทัยธานี 30 ตุลาคม 2536

  • สารบัญ

    หนา สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………… I อนุโมทนากถา.................................................................................................................................................... IV คํานํา………………………………………………………………………………………………………….... V 1 คําสอนมหาสติปฏฐานสูตร…………………………………………………………………………………. 33 1.1 กายานุปสสนามหาสติปฏฐาน………………………………………………………………………... 36 - อานาปานบรรพ……………………………………………………………………………………. 36 - อิริยาบถบรรพ……………………………………………………………………………………… 53 - สัมปชัญญบรรพ……………………………………………………………………………………. 57 - ปฏิกูลบรรพ………………………………………………………………………………………… 61 - ธาตุบรรพ…………………………………………………………………………………………… 73 - นวสีวถิกาบรรพ…………………………………………………………………………………….. 80 1.2 เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน…………………………………………………………………………….. 87 - สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา…………………………………………………………... 87 1.3 จิตตานุปสสนสติปฏฐาน………………………………………………………………………………. 94 - จิตมีราคะ จิตไมมีราคะ…………………………………………………………………………….. 95 - จิตมีโทสะ จิตไมมีโทสะ…………………………………………………………………………… 96 - จิตมีโมหะ จิตไมมีโมหะ................................................................................................................... 98 - จิตหดหู จิตฟุงซาน………………………………………………………………………………… 99 - จิตเปนมหรคต จิตไมเปนมหรคต………………………………………………………………….. 99 - จิตเปนสอุตตระ จิตเปนอนุตตระ จิตตั้งมั่น จิตไมตั้งมั่น…………………………………………. 100 - จิตวิมุติ จิตยังไมวิมุติ……………………………………………………………………………….. 100 1.4 ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน……………………………………………………………………………… 102 - นิวรณบรรพ……………………………………………………………………………………….. 104 - ขันธบรรพ…………………………………………………………………………………………. 128 - อายตนบรรพ……………………………………………………………………………………….. 156 - โพชฌงคบรรพ……………………………………………………………………………………... 169

  • I

    - สัจจบรรพ…………………………………………………………………………………………. 187 1.5 สรุปมหาสติปฏฐานสูตร........................................................................................................................... 217

    2 คําสอนอบรมพระกรรมฐานพ.ศ.2517………………………………………………………………………... 232

    2.1 อบรมพระกรรมฐาน 28 มกราคม พ.ศ. 2517……………………………………………………….. 232 2.2 อบรมพระกรรมฐาน 30 มกราคม พ.ศ. 2517...................................................................................... 241 2.3 อบรมพระกรรมฐาน 1 กุมภาพนัธ พ.ศ. 2517....................................................................................... 244 2.4 อบรมพระกรรมฐาน 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2517.................................................................................. 249 2.5 อบรมพระกรรมฐาน 2 เมษายน พ.ศ. 2517........................................................................................ 253 2.6 อบรมพระกรรมฐาน 3 เมษายน พ.ศ. 2517........................................................................................ 258 2.7 อบรมพระกรรมฐาน 13 เมษายน พ.ศ. 2517....................................................................................... 263 2.8 อบรมพระกรรมฐาน 14 เมษายน พ.ศ. 2517....................................................................................... 268 2.9 อบรมพระกรรมฐาน 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2517.................................................................................... 272 2.10 อบรมพระกรรมฐาน 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2517.................................................................................... 279 2.11 อบรมพระกรรมฐาน 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2517.................................................................................. 285 2.12 อบรมพระกรรมฐาน 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2517.................................................................................. 292 2.13 อบรมพระกรรมฐาน 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517.................................................................................. 299 2.14 อบรมพระกรรมฐาน 6 มิถุนายน พ.ศ. 2517....................................................................................... 307 2.15 อบรมพระกรรมฐาน 22 มิถุนายน พ.ศ. 2517.................................................................................. 313 2.16 อบรมพระกรรมฐาน 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2517..................................................................................... 319 2.17 อบรมพระกรรมฐาน 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2517...................................................................................... 326 2.18 อบรมพระกรรมฐาน 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2517................................................................................... 332 2.19 อบรมพระกรรมฐาน 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2517................................................................................... 339 2.20 อบรมพระกรรมฐาน 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 (1)............................................................................ 345 2.21 อบรมพระกรรมฐาน 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 (2)............................................................................ 352 2.22 อบรมพระกรรมฐาน 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2517................................................................................... 358 2.23 อบรมพระกรรมฐาน 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517................................................................................... 364 2.24 อบรมพระกรรมฐาน 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2517................................................................................... 370 2.25 อบรมพระกรรมฐาน 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2517................................................................................... 377 2.26 อบรมพระกรรมฐาน 26 กันยายน พ.ศ. 2517..................................................................................... 381 2.27 อบรมพระกรรมฐาน 1 ตลุาคม พ.ศ. 2517.......................................................................................... 396

  • II 2.28 อบรมพระกรรมฐาน พ.ศ. 2517 (1)..................................................................................................... 390 2.29 อบรมพระกรรมฐาน พ.ศ. 2517 (2)..................................................................................................... 396 2.30 อบรมพระกรรมฐาน พ.ศ. 2517 (3)..................................................................................................... 403 2.31 อบรมพระกรรมฐาน พ.ศ. 2517 (4)..................................................................................................... 409 2.32 อบรมพระกรรมฐาน พ.ศ. 2517 (5)..................................................................................................... 415 2.33 อบรมพระกรรมฐาน พ.ศ. 2517 (6)..................................................................................................... 421 2.34 สนทนาธรรม 13 เมษายน พ.ศ. 2517……………………………………………………………… 424 2.35 สนทนาธรรมวันเกิด 28 มิถนุายน พ.ศ. 2517..................................................................................... 429

    3 ไขขอของใจ...................................................................................................................................................... 451 3.1 ไขขอของใจ 1………………………………………………………………………………………... 451 - การกินเจ…………………………………………………………………………………………... 452 - การฉันเอกา ………………………………………………………………………………………. 458 - การฉันสาํรวม……………………………………………………………………………………. 460 - เครื่องเสพยติด……………………………………………………………………………………. 462 - พระจับสตางค……………………………………………………………………………………. 464 - หมผาสกีรกั………………………………………………………………………………………. 465 - ปกกลดในบาน…………………………………………………………………………………... 465 3.2 ไขขอของใจ 2 - ลิงรองไห……………………………………………………………………… 467 3.3 ไขขอของใจ 3 - ชวยสรางวัด……………………………………………………………………. 474 3.4 ไขขอของใจ 4 - เรื่องของพระใส………………………………………………………………… 481 3.5 ไขขอของใจ 5 - ตาทิพย………………………………………………………………………… 489 3.6 ไขขอของใจ 6 - พระโกงชาวบาน……………………………………………………………….. 496 3.7 ไขขอของใจ 7 - อุปสรรค………………………………………………………………………... 503 3.8 ไขขอของใจ 8 - เรื่องที่ดิน……………………………………………………………………… .. 511 3.9 ไขขอของใจ 9 - ขอของใจของกํานันโกรกพระ………………………………………………… . 519 อาสาสมัครถอดเทป.................................................................................................................................................. 527 ผูสรางหนังสือรวมคําสอน....................................................................................................................................... 529

  • III

    อนุโมทนากถา

    ดร.ปรญิญา นุตาลยั ไดมาปรารภ เรื่องการรวบรวมพระธรรมคําสั่งสอน อบรม พระกรรมฐาน ท่ีพระเดชพระคณุหลวงพอพระราชพรหมยาน (วรีะ ถาวโรมหาเถร) ไดอบรม ศิษยานุศิษย ในวาระตาง ๆ ตลอดมาเขาไวดวยกัน เพื่อใหอนุชนและพุทธบริษัทรุนหลัง ไดม ี โอกาสศึกษาหาความรู โดยจะพมิพเลมแรก เปนธรรมบรรณาการในงานบําเพ็ญกุศล ทักษิณา นุสรณ ครบรอบ 1 ปแหงกาลมรณภาพของหลวงพอ อาตมาได ปรึกษากรรมการสังฆวดัทาซุง แลว คณะสงฆวดัทาซุงทั้งหมดทุกองคเห็นชอบดวยประการทั้งปวง เพราะการนี้ นอกจากจะเปน การบําเพ็ญธรรมทานถวายกุศลแดพระเดชพระศุณหลวงพอ ผูเปนบรุพาจารยของพวกเราแลว ยัง เปนการชวยสืบอายุพระพุทธศาสนา ใหยั่งยืนสถาพรสืบตอไปอีกดวย อาตมาในฐานะประธานคณะสงฆวัดทาซุง ขออนุโมทนาในกุศลผลบุญราศีที่ทาน ดร.ปรญิญา นุตาลัย และลกูหลานหลวงพอทุก ๆ ทาน ไดชวยสงเคราะหจัดทําหนังสือเลมนี้ข้ึน ทัง้ทานผูใหทุน ทานผูชวย ถอดคําพูดเปนตวัอักษร และทานอื่น ๆ ที่ชวยเหลึอในดานตาง ๆ ขอทุกทานจงมีความสุขสมหวัง ตามที่ตั้งใจจง ทกุประการเทอญ พระครูปลัดอนันต พทธญาโณ เจาอาวาสวดัจันทาราม (ทาซุง) 7 ตุลาคม 2536

  • IV

    คํานํา พระกรณุาคุณของหลวงพอ ทานเจาศณุพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโรมหาเถร) ที่ไดพยายามอบรม สั่งสอนศิษยานุศิษย และพุทธบริษัททั้งหลาย ใหมีความรูความเขาใจ ในพระธรรมคําสั่งสอนขององคสมเด็จ พระ บรมศาสดาที่ถูกตองตามพระพุทธประสงค แลวนอมนําไปประพฤติปฏิบัติจนบังเกิดผลสําเร็จ เปนความสุขความ เจรญิในชีวิต และมีศรัทธาปสาทะที่แนนแฟนในพระพุทธศาสนา มีจิตมุงมั่นในพระนิพพานสมบัติในชาติน้ีนั้น หาประมาณมิได สมดงัพระพุทธพจนบทพระบาลีทีว่า สังโฆ อัปปมาโณ พระสงฆทรงพระคณุไมมีประมาณโดยแท นับตั้งแต พ.ศ.2506 เมื่อพระเดชพระคณุหลวงพอพระราชพรหมยาน เริ่มรับลกูศิษยชุดแรก หลังจากที่ได พบพระนพิพานแลว จนถึงกาลมรณภาพขององคทาน เมื่อ 30 ตุลาคม 2535 นั้น พระเดชพระคณุหลวงพอไดม ี อุตสาหะวิรยิะ อบรมสั่งสอนศิษยานุศิษยทั้งหลายเกือบทุกวัน ถาจะนับจํานวนศิษยกป็ระมาณเจ็ดแสนเศษ ถาจะนับ จํานวนแถบบันทึกเสียง เฉพาะที่วดัมีอยูก็ประมาณสี่พันกวามวน ทั้งนี้ไมรวมถึงการแสดงพระธรรมเทศนาในระยะ แรกในทีต่าง ๆ ในฐานะนกัเทศนของสํานังวัดประยรูวงศาราม และวัดบางนมโคขององคทาน (ระหวางพ.ศ. 2488 - 2503) ซึ่งไมมีการบันทึกไว และไมรวมถึงการอบรมพระกรรมฐานในชวงที่ทานอยูที่วดัโพธิภ์าวนาราม วัดปาก คลองมะขามเฒา วัดสะพาน และวัดทาซุงในระยะแรก (พ.ศ. 2503 - 2513) ที่เครื่องบันทึกเสียงยังไมแพรหลาย อายุของแถบบนัทึกเสียงนั้นคอนขางจํากัด และการฟงแตละครั้งผูฟงตองใชเครือ่งทําใหไมสะดวก และใน ท่ีสุดเมื่องกาลเวลาผานไป คําสอนตาง ๆ อาจสูญหายไปได คณะศิษยานุศิษยอันมีทานพระครูปลัดอนนัต พทธญาโณ เจาอาวาสวัดทาซุงเปนประธาน จึงไดปรกึษาหารือกันวา ควรจะถายคําสอนตาง ๆ ในแถบบันทึกเสียง ทั้งหมดลงเปนตวัหนังสือ และจัดพิมพเผยแพรออกไป อันจักเปนประโยชนในการเผยแพรพระธรรมคําสั่งสอน ขององคสมเด็จพระพิชิตมารบรมศาสดาสมัมาสัมพุทธเจา ใหกวางขวางออกไปในหมูพุทธบริษัท อันจักยังศรัทธา ปสาทะของพุทธศาสนิกชนทั้งหลายใหตั้งมั่นแนนแฟน และเพือ่รักษาไวซึ่งธรรมสมบัติอันล้ําคาท่ีพระเดชพระคุณ หลวงพอมอบไวใหแกพวกเรา อันจักเปนการสืบอายุพระพุทธศาสนอีกทางหนึ่ง หนังสือเลมนี้จึงเปนเลมแรก ของ หนังสือชุดรวมคําสอนธรรมปฏิบัตขิองหลวงพอพระราชพรหมยาน คณะผูจัดทําตั้งปณธิานไววา จะรวบรวมคํา

  • V

    สอนทั้งหมด แลวทยอยจัดพิมพออกเปนเลมตอ ๆ ไป อยางนอยปละ 2 เลมจนกวาจะครบบริบรูณ หนังสือชุดนี้จะเปนเครื่องแสดงพระปญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระมหากรณุาคุณ ของพระเดช พระคุณหลวงพอ ทานเจาคุณพระราชพรหมยานไดทางหนึ่ง และคณะศษิยานุศษิยผูจดัทําก็หวังวา หนังสือชุด น้ีจะเปนตัวแทนพระเดชพระคุณหลวงพอ ในการที่จะอบรมสัง่สอนพุทธบรษิัท ใหมีความรูความเขาใจใน พระพุทธศาสนา ถูกตองตรงตามคําสอนขององคสมเด็จพระบรมครูสบืไป หนังสือเลมนีสํ้าเร็จลงไดดวยสามัคคีธรรม ของคณะศิษยานุศิษยทั้งหลาย หลวงพีพ่ระครูสังฆรักษ สุรจิต สุรจิตโต ไดรวบรวมแถบบันทึกเสียงให อาสาสมัครถอดเทปทั้งหลายผูมรีายชื่อทายหนังสือน้ี ชวยกันถายทอด คําสอนออกเปนตัวหนังสือ ศีษยอีกหลาย ๆ ทานบริจาคทรัพยเปนธรรมทานชวยคาพมิพ คุณนภารตัน พิมสาลี พิมพตนฉบับ คุณวันชัย โสภณสกลุรตัน ตรวจแกคําผดิและจัดทํารูปเลม การจัดลําดับคาํสอนเรยีงตามวันที่ยังทําไมไดทั้งหมด เนื่องจากคําสอนในแถบบนัทึกเสียงมีจํานวนมาก และยังถายออกมาเปนตัวหนังสือไมหมด และในการบนัทึกเสียงครั้งแรก ๆ บางครัง้ก็ไมมีวันเดือนปกํากับ ทําใหไมทราบเวลาแนนอน อยางไรก็ตาม ในหนงัสือแตละเลม ผูจัดทําจะพยายามลําดับเรื่องใหเปนหมวดหมูตาม เนื้อเรื่อง หรือตามลําดับวันที่ ตามความเหมาะสมเทาที่จะทําได ความผดิพลาดในการจดัวรรคตอน และตัวสะกด ในหนงัสือเลมนี้คงมอียู คณะผูจัดทําขอนอมรับความผิด พลาด และตองขออภัยตอทานผูอาน และทานผูรูทั้งหลายไว ณ ที่นีด้วย บุญกุศลใด ๆ อันจกัเกดิขึ้นเนื่องจากหนังสือเลมนี้ คณะศิษยานุศิษยขอนอมถวายผลบญุทั้งหมดนี้ บูชาพระคุณอันสูงสุดหาประมาณมิได ของหลวงพอทานเจาคุณพระราชพรหมยาน ขอพระเดชพระคณุหลวงพอจง โมทนาผลบญุนี้ และขอจงโปรดคุมครองรกัษา กาย วาจา ใจ ของศิษยานุศิษยทั้งหมด ใหทรงอยูในความดี ตราบเทาที่เขาสูพระนิพพานเทอญ ปรญิญา นุตาลัย ตุลาคม 2536

  • VI

    ภาพหลวงพอ

    ใหไวเปนทีร่ะลกึแกญาตแิละศิษยานุศิษย ท้ังผูท่ีนับถือท่ัวไป เพือ่ใหมีลาภ มีความสุข ความเจริญ คุมภัยอันตราย จงอาราธนาอธิษฐานโดยไมผิดธรรมตามความปรารถนา

  • ภาพหลวงพอ

    ธรรมะของพระพุทธเจาไมมีอะไรเกนิธรรมดา ทานสอนใหยอมรบันบัถือกฎของธรรมดา วางทุกขเสีย ใหรูวาสิ่งนี้เปนธรรมดา อะไรกต็ามเถอะ ถามันเกิดขึ้นกบัเรา มันเปนธรรมดาของโลกทั้งนั้น ในเมื่อ

    รางกายเรามอียูในโลกเทานี้เอง

  • ภาพหลวงพอ

    หลกัสูตรในพระพุทธศาสนานี้ไมมอีะไร เบื้องสูงลงมา ทานสอนตั้งแตปลายผมลงมาถึงฝาเทา เบ้ืองต่ําขึ้นไป ทานสอนตั้งแตปลายเทาถึงปลายผม มแีคน้ี

  • ภาพหลวงพอ

    ถาเราไปเพงเลง็คนอื่นวาคนนั้นชัว่ คนนีด้ ี แสดงวาเราเลวมาก เราควรจะดูใจของเราตางหาก วาเรามันดีหรอืเรามนัเลว ถาเราดเีสียอยางเดียว ใครเขาจะเลวรอยแปดพันเกาก็เรือ่งของเขา ถาเราดแีลวก็หาคนเลว ไมได เพราะเรารูเรือ่งของคน คนมาจากอบายภูมิก็มี คนมาจากสัตวเดรจัฉานก็มี คนมาจากมนุษยก็มี มาจากเทวดา ก็ม ี มาจากพรหมก็มี มันจะเสมอกันไมได ถาพวกมาจากอบายภูมิสอนยาก

    ปวยการสอน

  • ภาพหลวงพอ

    คนใดกต็ามท่ีประกาศตนเปนอาจารยพระพุทธเจา รูดีเกินพระพุทธเจา ท่ีบอกของพระพุทธเจา ไมด ี ไมทันสมัย เอาอยางโนนดกีวา อยางนี้ดกีวา ผมไมคบดวย พวกจญัไรน่ีไมคบ คบยังไง มันจะไปไหน ไอพวกนี ้ โนน อเวจมีหานรก เพราะทําคนทั้งหลายท่ีมีเจตนาดี ใหมีมิจฉาทิฏฐิ ปฏิบัตผิิด

    ฟงความเห็นผดิ กรรมมนัมาก

  • ภาพหลวงพอ

    ของสงฆท่ีตากแดดตากฝนอยู ถาจะเกดิความเสียหาย ถาพระองคใดหรอืวาหลายองคเดิน หลกีไป ไมเก็บของที่ควรจะเก็บ ปรบัอาบตัิทุกเท่ียวท่ีผาน อาบัติท่ีปรับนีไ่มตองรอพิพากษานะ มันลอเลย ผานไปแบบไมแยแส ไมสนใจ เปนโทษทันที น่ีไมใชวาพระอรหันตเห็นของอะไรก็โยนทิ้ง ๆ ไมใช

    ทาน รกัษากําลังใจของคนอืน่ที่มีศรัทธา ย่ิงกวากําลังใจของทาน เพราะวตัถุทุกอยางจะฬึงมีได ก็ตอง

    อาศัยชาวบาน ชาวบานกวาจะไดมาแตละชิ้นก็เต็มไปดวยความทกุข ฉะน้ัน พระตองรกัษาทรพัยสินของชาวบาน ใหย่ิงกวา ชาวบานรกัษาทรพัย

  • ภาพหลวงพอ

    อภธิรรมท่ีพระสารีบตุรทานเทศนท้ัง 7 ประการ มีนิดเดียว ท่ีเขาสอนกนันี่มีหลายรอยหนา แลวก็ 8 หนายก ผมวามันเลอะเทอะเกินไป แตกไ็มไดตําหนิคนศึกษา เพราะสนใจในธรรมก็เปน

    เรื่องนาโมทนา แตวาทํากันมากเกินไป มนัก็สรางความยาก การบรรลุเขาก็ถึงชา เพราะในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจาตรัสวา ตรุติะ ตรุิตัง สฆีะ สฆีัง เรว็ๆ ไว ๆ ธรรมของ

    พระพุทธเจาไมมีการเนิ่นชา จําไวใหดีนะ อยาประมาทในชวีติ

  • ภาพหลวงพอ

    การบวชเขามาในพระพุทธศาสนา ตองมคีวามหวังอยูอยางเดียวคอืความดับไมมีเชือ้ ถาบวชตามประเพณีเขาเรยีกวาบวชซ้ือนรก พระนีแ่คกินขาวไมพจิารณาใหเปนอาหาเรปฏิกูลสัญญา หลงในรสอาหาร กินเพือ่ความอวนพี กินเพือ่ความผองใสอยางนี้ องคสมเด็จพระพิชติมารบอกวา กินกอน

    เหล็กท่ีเผาจนแดงโชนดกีวา

  • ภาพหลวงพอ

    บุคคลใดเกิดมาเปนมนุษย พบพระพุทธศาสนาแลวมีศรัทธา ความเชื่อปสาทะ ความเลือ่มใส ในพระพุทธศาสนา มีจตินอมไปในกุศล แสดงวาบคุคลน้ันมีบารมีเขาถึงปรมัตถบารมี สามารถจะ

    เขาถึง พระนพิพานไดในชาติปจจบัุน

  • ภาพหลวงพอ

    เนกขัมมบารมจีริง ๆ ก็คอืจติระงับนวิรณ ๕ ถาบวชแลวจิตระงับนวิรณ ๕ไมได ทานไมถือวา เปนอันบวชนะ ยังไมเรียกสมมุติสงฆ ถาระงับนิวรณ ๕ ได ทานเรียกสมมุติสงฆ ถาระงับนวิรณ ๕

    ไมได ทานเรยีกเปรตในเครือ่งหมผาเหลอืง เพราะจติมันจุนจาน

  • ๑๐

    ภาพหลวงพอ

    จิตของเราถาหากนวิรณไมเขามายุงเมื่อไร มันก็เปนฌานเม่ือน้ัน นี่มนัก็ไมมอีะไรยาก ถาเรามีกําลังใจเขมแขง็ จะไมยอมเชื่อไอตวัรายนวิรณนี่ ทีนี้ในเมื่อเราไมคดิถงึเรื่องอืน่ ขณะท่ีพิจารณาก็

    มองด ูแตขันธ 5 อยางเดียว และเวลาภาวนากจ็ับเฉพาะลมหายใจเขาออก กับคําภาวนาวาพุทโธ อันนี้นวิรณมันไมกวน จิตเขาถงึปฐมฌานทันที

  • ๑๑

    ภาพหลวงพอ

    ถาหากวา ทานไมสามารถจะทรงอานาปานุสสตกิรรมฐานไดถึงปฐมฌาน ผลแหงการเจรญิ วิปสสนาญาณของทานทั้งหลาย จะไมมีผลตามตองการ เพราะจิตมกีําลังไมพอที่จะทําลายกเิลสใหเปน

    สมุจเฉทปหานได

  • ๑๒

    ภาพหลวงพอ

    การเจรญิพระกรรมฐานนี้ไมไดหมายความวา ใชเวลานั่งสมาธิเสมอไป ถาเราใชแตเวลาที ่น่ังสมาธิ มีเวลาสงัด จติใจเราจึงจะกาํหนดถึงพระกรรมฐาน อยางนี้ใชไมได เนื้อแทการเจรญิพระกรรมฐาน กองใดกองหนึ่งก็ตาม ตองใชอารมณของเรานี้นกึถึงกรรมฐานเปนปกติตลอดวนั อยางนี้จึงจะไดชื่อ

    วาทานเขาถึง พระกรรมฐาน และพระกรรมฐานเขาถึงทาน

  • ๑๓

    ภาพหลวงพอ

    เวลาที่ปฏิบัตนิะ ไมใชมานัง่เงียบ ๆ นะ กลางวันก็ทํางานกอสรางดวย เรียนหนังสอืดวย นุงนังจปิาถะ ไมใชน่ังเฉพาะไมมีงานมกีาร แบบนี้พระพุทธเจาไมใช แบบที่เขากฏิุเจริญพระกรรมฐาน กินขาว ก็มีคนไปสงขาว ลางชามไมได แบบนี้ไมใชพระ พระพุทธเจาเองทานกล็างบาตรเอง เช็ดบาตรเอง ทําความ สะอาดพื้นที่เอง ทําแบบนั้นก็ดีเกินพระพุทธเจา ก็ไปชนเอาพระเทวทัตเขานะซิ ไมเปนเรือ่ง

    เรื่องของพระนี่ สํารวยไมดี ตองทําไดทุกอยาง

  • ๑๔

    ภาพหลวงพอ

    ถาถามวา ถาคนเขาอยากไปนิพพานเปนตัณหาไหม ก็เห็นจะ 99 เปอรเซ็นตท่ีตอบวา คําวาอยากแปลวาตณัหา ในเมื่ออยากไปนิพพาน กแ็สดงวาเปนตณัหาเหมือนกัน ก็เลยบอกวา นี่แกเทศนแลว แกก็เดินลงนรก ไปเลยนะ แกเทศนแบบนีแ้กเลิกเทศน แลวก็เดินยองไปนรกเลยสบาย ไปเสียคนเดียวกอนดกีวามาชวนชาวบานเขา ไปอกี ถาตองการไปนิพพาน เขาเรียกวา ธรรมฉนัทะ มีความพอใจใน

    ธรรม เปนอาการซึ่งทรงไวซ่ึงความดี พวกเราฟงแลวจําไวดวยนะ ถาใครเขาถาม จะไดตอบถูก

  • ๑๕

    ภาพหลวงพอ

    อารมณพระกรรมฐานกบัอารมณชาวโลกไมเหมือนกัน มันกลับจากหนามือเปนหลังมือ ไอการงานของชาวโลกนี่ ถาขยันมาก มุมานะมาก ผลงานมันสูงแลวกด็ี แตการเจรญิพระกรรมฐาน มุมานะมากถอย หลัง แทนที่จะกาวหนามนักลับลงต่ํา ใชไมได เพราะวาการปฏิบตัิความดีเพื่อการบรรลุในพุทธศาสนา ตองละสวน สดุสองอยางคอื หนึ่ง อัตตกลิมถานุโยค การทรมานตนที่เรียกวาขยันเกินไป สอง กามสุขัลลกิานุโยค เวลาทรง สมาธิ หรอืพิจารณาวิปสสนาญาณ มีตัวอยากประกอบไปดวย อยากจะได

    อยางนัน้ อยากจะถึงอยางนี้ อยากจะ ไดตอนโนน อีตอนนี้มันเจงทั้งสองทาง ท่ีถูกคือจะตองวางใจเฉย ๆ ปลอยอารมณใหมันไปตามสบาย ๆ

  • ๑๖

    ภาพหลวงพอ

    การบําเพญ็บารมีใด ๆ หรอืสรางความดีใด ๆ เราจะตั้งมโนปณิธานความปรารถนาหรอืไมก็ตาม ถาทําความดีมากครัง้เขา ในที่สุดความชัว่ก็สลายตวัไป เราก็เขาถึงพระนพิพานตามเจตนา หรือไมเจตนาเรากจ็ะตอง เขาถึง ในเมื่อความชัว่ถูกตัดเปนสมุจเฉทปหาน แตทวาถาปราศจากอธิษฐานบารมี กวาจะเขาถึงจุดหมายปลายทาง กร็ูสึกวามนัเลี้ยวซาย เลี้ยวขวา หรอืไมคอยจะตรงนกั ฉะนั้น องคสมเด็จพระผูมพีระภาคเจา จึงทรงแนะนาํบรรดา ทานพุทธบรษิัทใหมีอธิษฐานบารมี ในการที่ทานพุทธบริษัทท้ังหลาย ตั้งใจกลาววาจาวา อิมาหัง ภควา อตัตะ ภาวัง ตุมหากัง ปรจิจะชามี แปลเปน

    ใจความวา ขาพระพุทธเจาขอมอบกายถวายชวีิต แดองคสมเด็จพระสมัมาสัมพุทธเจา นีก่็หมายความวา เราจะเอาชวีติของเราเขาแลกกับความดี ท่ีองคสมเดจ็พระชินศรีทรงแนะนําไวอยางนี้ อาศัยเจตนา และความตั้งใจจดัวาเปนอธษิฐานบารมี บรรดาทานพุทธบริษัทท้ังหลายจะเขาถึงความดีดวยความ

    รวดเรว็อยางคาด ไมถึง

  • ๑๗

    ภาพหลวงพอ

    ถาบรรดาทานพุทธศาสนกิชน ทรงความดขีองจติในวันหนึ่ง 3 นาที ก็คดิวา 10 วัน มันก็ 30 นาที 100 วัน มนัก ็ 300 นาที ความดีมันสะสมตวั เมื่อเวลาใกลจะตาย อารมณจิตท่ีเราทาํไดบาง ไมไดบาง ไดดีบาง ไมดีบางในระยะตน มันจะเขาไปรวมตวักนัตอนนัน้ จะกลายเปนม ีสติสัมปชัญญะ

    สมบูรณ เมือ่เวลาจะตาย จติใจจะนอมไปในกุศล ถาตายจากความเปนคน อยางเลวก็เปนเทวดา ถาจิตสามรถควบคมุอารมณใจไดถึงฌาน กจ็ะเปนพรหม

  • ๑๘

    ภาพหลวงพอ

    อริยสจัเขาสอน 2 อยางเทานั้น สําหรับอกีสองอยาง ไมมีใครเขาสอนหรอก อยางนิโรธะแปลวาดับ อันนี้มันตวัผล ไมตองสอน มันถึงเอง มรรคคอืปฏิปทา เขาถึงความดบัทุกข มนัก็ทรงอยูแลว คอื

    ศีล สมาธิ ปญญา นีอ่ริยสจั เขาตดัสองตวั คอื ทุกขกับสมุทัยนี่เทานั้น

  • ๑๙

    ภาพหลวงพอ

    ไอเรือ่งการเขาฌานนี่มนัตองคลอง เหมือนกับเราเขียนหนังสือคลองแคลว จะเขียนเมื่อไร เราก็เขียนได ไมใชเขาบอกวา เอาเขาฌานซิ มานั่งตั้งทาขัดสมาธิมันก็เสรจ็แลว มันไมทัน เวลาเราจะตายจริงไป ต้ังทาไดเมื่อไร มนัตองคลอง การจะทําใหคลองก็มอียูวา ตน ๆ ถาจติมันเขาถึงอารมณสมาธติอนไหนก็ตาม พยายามทรงสมาธินั่นไว และพยายามทรงสมาธิใหเร็วท่ีสุดเทาที่จะเรว็ได ใหม ๆ มันกอ็ึดอดั ไม

    ชาก็เกดิอาการชิน มันชินเสยีจนชาไมเปน

  • ๒๐

    ภาพหลวงพอ

    เวลาจะตายเขาเขาฌานตายกัน คนที่เขาฌานตายมนัไมตายเหมือนชาวบานเขา อาการตาย เหมือนกนั แตความหนกัใจของบุคคลผูทรงฌานไมมี ท้ังนี้เพราะถาจิตทรงฌาน อารมณก็เปนทิพย เม่ืออารมณ เปน ทิพยแลว ก็สามารถจะเห็นในสิ่งท่ีเปนทิพยได เห็นรูปท่ีเปนทิพย ไดยินเสียงท่ีเปนทิพยได ในเมื่อเราเห็นรูปท่ีเปน ทิพยได ได็ยินเสียงที่เปนทิพยได เรากร็ูสภาวะความเปนทิพยของเราได คนที่เขาเขาฌานตาย นี่เขาเลอืกไปตาม อธัยาศัย วาเขาจะไปจากรางกายอนันีแ้ลวเขาจะไปอยูท่ีใหม เขาจะไปอยูท่ีไหนนีรู่กอน คนที่ทรงฌานจริง ๆ สถานที่ท่ีจะพงึอยูไดคอืพรหมโลก ถาหากวา เราจะไมอยาก

    อยูพรหม อยากจะอยูสวรรคชั้นใดชัน้หนึง่ท่ีต่ําลงมา อนันีก้็เลอืกได

  • ๒๑

    ภาพหลวงพอ

    เวลาไหนท่ีเราฝกหัดอริิยาบถ เดินไปขางหนา ถอยมาขางหลัง ไมตองไปยก ๆ ยอง ๆ ทําแบบไอโรคสันนิบาต ไมใชนะ แบบเดินธรรมดา อริยิาบถนี่พระพุทธเจาตองการอยางเดียว อยางเราเดินไป

    บิณฑบาต เดนิไปทําธรุะ ทํากจิการงานทกุอยาง ใหรูอยูวาเวลานี้เราทําอะไร อยาไปฝกอยางคอย ๆ ยกนิดยางหนอย อันนี้ใชไมได ใหถึออารมณปกติ เราเดินธรรมดา นี่เรากาวเทาซาย เรากาวเทาขวา กาวไปขางหนา หรอืถอยมาขางหลัง เหลียวซาย หรอืเหลียวขวา ใชสติเขาควบคุม ท่ีน้ีกอ็ยาลืมนะ เราตองมีโพชฌงคประจําใจ แลวก็มอีานาปานุสสติประจําอยูตลอดเวลา อยาทิ้งนะ แมแตพระพุทธเจายัง

    ไมท้ิง ถาพวกคุณทิ้งอานาปานุสสติ แสดงวา พวกคุณดีกวาพระพุทธเจา ไปอยูกบัเทวทัตนะ

  • ๒๒

    ภาพหลวงพอ

    นักเจรญิมหาสติปฏฐานเขาตองดอูารมณ อารมณตวัใดมันเกิด ตัดตวันั้นทันที ไมไดไปนั่งไลเบี้ย 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ถึง 13 จบเปนอรหันต ถาคิดแบบนีล้งนรกมานับไมถวนแลว เขาตองรวบรวม กําลังมหาสติปฏฐาน ท้ังหมดทุกบรรพเขามาใช ในขณะท่ีอารมณน้ันเกิดทันที ไมใชวา ทําอยางนี้ไดแลว ก็ท้ิงอยางนัน้ไปจบัขั้นตอไป ตอไป พอใจสบายก็ท้ิงอยางนี้ไปจับตวัโนน อยางนี้ลงนรกมานับไมถวน

    เพราะวาไมเขาถึงความเปนจริง ตกอยู ในเขตของความประมาท

  • ๒๓

    ภาพหลวงพอ

    ทานผูใดปฏิบตัิกรรมฐาน ถาไมสามารถจะทําจติปลงใหตกในดานกายคตานุสสตกิรรมฐาน ทําจติเปน เอกคัคตารมณ มีอารมณอยางเดียว เห็นวารางกายของเราก็สกปรก รางกายคนอื่นกส็กปรก เปนของ ไมนารัก ถาไมสามารถผานกรรมฐานบทนี้ไปได ความเปนพระอนาคามีไมปรากฏแกทานแน ๆ

  • ๒๔

    ภาพหลวงพอ

    ผมบอกจดุสําคัญไวใหกไ็ด วาทกุทานท่ีบรรลุมรรผล หรอืแมแตทรงฌานโลกีย เขาใช จิตตานุปสสนามหาสติปฏฐานเปนประจําทกุวัน พวกคุณอยาทิ้งเชียวนะตวันี้ ตวัท่ีบรรลุจริง ๆ อยูตรงนี้ นกัปฏิบัติทุกองคท่ีบรรลกุ็จับนี่เปนเนติ เนตแิปลวาแบบแผน ถือวาเปนตวัอยาง ถือวาเปน ครูใหญ ใชดูอารมณใจ ไมตองไปดูอะไร เพราะวาไอกิเลสมันเกิดท่ีใจ เอาอารมณใจเขามาดู สตคิมุ ธัมมวจิยะ

    พิจารณา

  • ๒๕

    ภาพหลวงพอ

    ถาใครสามารถทรงฌานไดดี เวลาเจรญิวิปสสนาณาณนีม่ันรูสกึวางายบอกไมถูก เม่ือถาฌาน 4 เต็มอารมณแลว เราจะใชวิปสสนาญาณ ก็ถอยหลังมาถึงอุปจารสมาธิ เราจะตองตัดตวัไหนละ ตดัราคะ ความรกั สวยรกังาม เรากย็กอสุภกรรมฐานขึ้นมาเปนเครือ่งเปรียบ ยกกายคตา นุสสตกรรมฐานขึ้นมาเปนเครื่องเปรยีบ เปรียบเทยีบกนัวา ไอสิง่ที่เรารกันะ มนัสะอาด หรือมันสกปรก กาํลังของฌาน 4 นี่เปนกําลังที่กลามาก ปญญามัน เกิดเอง เกดิชัด มคีวาม หลกัแหลมมาก ประเดี๋ยวเดยีวมันเห็นเหตุผลชัด พอตัดไดแลวมันไมโผลนะ รูสภาพยอมรับ สภาพความเปนจริงหมด เห็นคนปบไมตางอะไรกับสวมเดินได จะเอาเครือ่งหุมหอ สีสันวรรณะขนาดไหนก็ตาม มันบังปญญาของทานพวกนี้ไมได

  • ๒๖

    ภาพหลวงพอ

    พระพุทธเจาจงึไดบอกวา คนที่ทรงฌาน 4 ได และกร็ูจกัใชอารมณทรงฌาณ 4 ควบคมุวิปสสนาญาณได ถามีบารมแีกกลาจะเปนพระอรหันตภายใน 7 วัน ถามีบารมีอยางกลางจะเปนพระอรหนัตภายใน 7 เดือน มีบารมอียางออนจะเปนพระอรหันตภายใน 7 ป บารมีเขาแปลวากําลังใจ มีบารมแีกกลาคอืมีกําลังจติเขมขนนั่นเอง ตอสูกับอารมณท่ีเขามาตอตาน แตวาถาบารมมีันเขมบาง ไมเขมบาง เด๋ียวก็จริงบาง เดี๋ยวก็ไมคอยจริงบาง ยอ ๆ หยอน ๆ ตึงบาง หยอนบาง อยางนี้ทานบอกภายใน 7 เดือน ทีน้ีบารมยีอหยอน เปาะแปะ ๆ ตามอธัยาศัย ถึงก็ชาง ไมถึงก็ชาง ตามอารมณ อยางนี้ไมเกนิ 7 ป นี่ผมพูดถึงคนที่ทรงฌาณ 4 ได และกฉ็ลาดในการใชฌาณ 4 ควบวิปสสนาญาณ ถาโงละกด็ักดานอยูนั่น

    แหละ กีช่าตกิไ็มไดเปนอรหันต

  • ๒๗

    ภาพหลวงพอ

    ไอตวัสงบนี่ตองระวังไวใหดีนะ มนัไมใชวาง คําวาสงบนี่ไมใชวาง จติของคนนี่มนัไมวาง คือวามันตองเกาะสวนใดสวนหนึ่งถามันละอกุศลมนักไ็ปเกาะกุศล ไอจิตตวัท่ีเรียกวาสงบก็เพราะวา สงบจากกรรม ท่ีเปนอกุศล คอือารมณท่ีเปนอกุศล อารมณชัว่ สงบความปรารถนาในการเกิด อารมณสงบคือไมคิดวาเราตองการ ความเกดิอกี และจติกม็ีความสงบ เห็นวาสภาพรางกายนีไ้มใชเรา ไมใชของเรา เราไมมีในรางกาย รางกายไมมี ในเรา ไอตวัคิดวาเรา วาของเรานี่สงบไป สงบตัวยึดถือวตัถกุ็ตาม สิ่งมีชีวติก็ตาม วาเปนเรา เปนของเรา น่ีสงบตัวน้ีนะ มีอารมณเปนปกตอิยูเสมอ คิดวาอัตภาพ

    รางกายนี้ไมมีเรา ไมมีของเรา และมันกไ็มมีอะไรเปนเราอกี หาตัวเราในนั้นไมได

  • ๒๘

    ภาพหลวงพอ

    พยายามเพยีรทรงตวัไว ทําใจวาจะไมฝนคําสั่งสอนของพระพุทธเจา แลวก็เพียรทรงไวแตความดี เพียรละค วามชัว่อยูตลอดเวลา กรรมอะไรก็ตาม อารมณใดก็ตาม ท่ีพระพุทธเจากลาววา เปนอารมณของความชัว่ ตองเพียรตอตานมันนะ แลวก็ใชปญญาพิจารณาหาความเปนจริงใหพบ เมื่อพบความเปนจริงแลวก็เพียรถือมนัเขาไว คอืทรงความเปนจริงไวในใจ ยอมรับนับถือ ตามความเปนจริง คดิไว

    เสมอวาไมมีท่ีใดท่ีจะดไีปกวาพระนพิพานนะ

  • ๒๙

    ภาพหลวงพอ

    ความจริงคนเราทกุคนไมตองกลวัตาย กลวัเกดิดกีวา ถาเราไมเกิดเสยีอยางเดียว มนัจะตาย อยางไรใหมันรูไป ถาไมเกิดใหมันตายที ทีน้ีเราเกดิมา เพราะตาเราเห็นรูป เราพอใจในรูป หไูดยินเสียง พอใจ ในเสียง เปนตน ความพอใจไอตวัจริง ๆ ท่ีเปนตัวราย ท่ีเราจะตองตดัคอืใจ ตัดอารมณของใจเสีย อยาใหใจมันโง แนะนาํมันบอกวา นี่ไอแกไปหลงใหลใฝฝนในรูป รูปนี้สวย ทรวดทรงดี ถามมันดูซวิา มีรูปอะไรท่ีมกีารทรงตวั ไมเปลี่ยนแปลงบาง ไมมีการทรุดโทรม ไมมกีารเสือ่มมันมีบางไหม ถามใจ

    มันด ู

  • ๓๐

    ภาพหลวงพอ

    การเปนพระอรหันตไมเห็นยาก คอืตดัความพอใจในโลกทั้งสาม มนษุยโลก เทวโลก พรหมโลก ตัดราคะ ความเห็นวามนุษยโลกสวย เทวโลกสวย พรหมโลกสวย โลกทั้งสามไมมี ความหมายสําหรับเรา เราไม ตองการ สิ่งที่เราตองการคือพระนิพพาน มีความเยอืกเย็นเปนปกติ ไมเห็นอะไรเปนเรา เปนของเรา ทุกสิ่งทุกอยาง ท่ีเรากระทบ ถือวาเปนเรือ่งธรรมดา มีขนตกอยูเปนปกติ คอืวาไมมกีาร

    สะดุงหวาดหวั่นอนัใด

  • ๓๑

    ภาพหลวงพอ

    ถาคนจะถึงอรหันต ทีน้ีอารมณใจมันสบายทุกอยาง คอืวาไมหลงในฌาน ฌานทุกอยาง ท้ังรูปฌาน และอรูปฌานเราพอใจ แตคดิแตเพียงวานี่เปนบันไดกาวขึ้นสูอรยิะเบื้องสูงเทานั้น ไมใชมานั่งหลงวากัน ท้ังวันทั้งคนื นั่งกรรมฐานตลอดวันตลอดคืน นัน่มันยังเปนเด็กเลก็ ๆ อยู ทีน้ีหลงในฌานไมมี ตวัมานะถอืวาเรา ดีกวาเขา เราเสมอเขา เราเลวกวาเขาไมมี และอารมณฟุงซาน สอดสายไปสูอารมณอกุศลไมมี และตวัสดุทาย ก็เห็นวาโลกท้ัง ๓ โลก คอืมนษุยโลก เทวโลก พรหมโลก ไมมีความหมายสําหรับเรา เห็นสภาวะของโลกทุกอยาง น้ีท้ัง ๓ โลก มนัเปนแกนของความทกุข สิง่ที่มีความสุขท่ีสุดคือ พระนพิพาน อนันี้ถาเปนสุกขวิปสสโกทานจะมี ความสบายมาก สบายในอารมณ ยอมรบันับถือกฎของธรรมดา ยอมรับนบัถือคําสั่งสอนของพระพุทธเจาวา พระนิพพานมีจริง และพระนิพพานเปนแดนของความสขุจริงแมทานจะไมเห็น หากวาพระวิชชา ๓ กด็ี อภิญญา ๖ กด็ี ปฏิสัมภิทาญาณก็ดี นี่เขาไปทีน่ิพพพานไดเลย จะสามารถเห็นพระนิพพานไดเทา ๆ กับเห็นของที่มองอยูขางหนา แลวเขากจ็ะรูสภาวะวา ถาเขาทิ้งอัตภาพนีแ้ลว เขาจะไปอยูตรงไหน เพราะพระนิพพานไมไดมีสภาพสูญ

    เขาก็เขาสู จุดของเขาเลยทีพ่ระนพิพาน เขาท่ีอยูได ไปไหวพระพุทธเจาได

  • ๓๒

    คําสอนมหาสติปฏฐานสูตร โดย

    พระเดชพระคณุพระราชพรหมยาน (วรีะ ถาวโรมหาเถร) อุเทศ

    ตอจากนี้ไปก็เปนโอกาสที่เราจะศึกษามหาสติปฏฐานสูตร วนันี้ความจริงเปนวนัเริม่ตน แตก็บังเอิญไปตรงกับวันเสาร วันเสารนี้เราจะเรยีนมหาสติปฏฐานสูตรกันบรรดาพระทุกทานเวลานี ้ ถาไมมีความจาํเปนก็อยาขาด พยายามอยาใหขาด เพราะการที่เราบวชพระ บวชเขามาในพุทธศาสนา ความมุงหมายเรามอียางเดียวคอืความดับไมมีเชื้อ คําวา ความดับไมมีเชื้อก็หมายถงึวา การส้ินกิเลส ถาเราจะสิ้น กเิลสไดก็ตองมีความรูเปนพื้นฐาน อยางที่เขาเคยทํากันประเภทที่เรยีกวา จับแพะชนแกะ การสอนกันกไ็มไดเปนไปตามลําดับ หากวาบรรดาทานพุธบรษัิทมีอัธยาศยัดีหรือวามีการอบรมมา แตอดีตชาติดี มีอารมณแกกลา ก็สามารถจะ บรรลุมรรคผลได ถาหากวาทานทั้งหลายทานใดถามี บารมีออน ก็จะยากออกสักหนอย การเรยีนพระกรรมฐานเฉพาะ วนัเสาร วันอาทิตย เราเรียนมหา สติปฏฐานสูตร แมวาวนันั้นจะตรงกับวันพระแตสําหรับพระถาตรงกับวันกลาง เดือนหรือวันส้ิน เดือน อันนี้ก็ไปรวมกับปาฏิโมกข วันธรรมดาก็จะสอนกรรมฐาน ๔๐ เรื่องเวลาเวนไวแตวนัพธุ ถาหากวาวนั พระถาตรงกับวันใด เชน ตรงกบัวันเสาร อาทิตย ก็ถือวาหยุดไป พักไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง มหาสติปฏฐานสูตรนี ้ พระพุทธเจาทรงสอนตามลําดับ ถีอวาไมตองเลือกอารมณ สอนเฉพาะสุกข วิปสสโก สําหรับมหาสติปฏฐานสูตรนี้เราจะสอนกนัละเอียดไมเหมือนกับที่ออกอากาศ กอนที่จะสอน ถงึสูตรตาง ๆ กจ็ะใหทานเขาใจ ถึงความมุงหมายขององคสมเด็จพระบรมศาสดา สัมมาสัมพุทธเจา ในการที่พระองคทรงสอนมหาสติปฏฐานสูตร ข้ึนมาคูกับกรรมฐาน ๔๐ หรือวา สูตรอยางอืน่ เปนเรื่องของการ ปฏิบัติเพือ่มรรคผล ในตอนตนจะกลาวถึงความมุงหมาย ที่องคสมเด็จพระผูมีพระภาคกลาวไว ตามพระบาลี เอวมเม สุตํ เอกํ สมยํ ภควา กรุูสุ วหิรต ิ สําหรับพระบาลวีาเพยีง

  • ๓๓

    เทานี้นะ เปนอันวาถือใจความตามภาษาไทยวา ขาพเจาผูมีนามวาพระอานนท ไดสดับมาแลวอยาง นี้วา สมยัหนึ่งพระผูมพีระภาคเจา เสดจ็ประทับอยูในหมูชนชาวกรุุ นิคมของหมูชนชาวกรุุ ชือ่วา กัมมาสธัมมะ ในกาลนั้นสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสเตือนภกิษุท้ังหลายวา ดกูอนภิกษุท้ังหลาย ภกิษุท้ังหลายเหลานั้นทูลรับวา พระพุทธเจาขา พระพุทธเจาทรงกลาวเปนพุทธภาษติวา ดูกอน ภกิษุท้ังหลาย ทางนี้เปนทางถูกเปนทางของบุคคลผูเดียว เปนท่ีไปในที่แหงเดียว เพื่อความหมดจด วิเศษของสัตวท้ังหลาย เพือ่ความกาวลวงซ่ึงความโศกและความร่ําไร เพื่อความดับไปแหงทุกข และ โทมนัส โทมนัสแปลวาเสียใจ เพือ่บรรลุญายธรรมหรอืวาธรรมท่ีควรรู ธรรมท่ีถูกคอือริยมรรค เพื่อ กระทาํใหแจงซึ่งพระนพิพาน ทางนีก้็คอืสติปฏฐาน คําวาสติปฏฐานแปลวา ธรรมเปนที่ต้ังแหง สติ สติปฏฐาน ๔ มีอะไรบาง พระพุทธเจาทรงถาม เมือ่ถามแลวพระองคทรงตอบเองวา ดกูอนภกิษุ ท้ัง หลาย ภิกษุในพระธรรมวนิัยนี้ ยอมพิจารณาเห็นกายในกายอยูเนือง ๆ มีความเพียรใหกิเลสเรารอน มีสัมปชัญญะ มีสติ พึงนําอภิชฌาและโทมนัส คําวาอภิชฌาแปลวา ความยินดีหรอืยินราย โทมนัส แปลวา ความเสียใจ ในโลกเสียใหพินาศไป เธอยอมพจิารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนอืง ๆ นี่เปนท่ี ๒ มีความเพียรใหกิเลสเรารอน มีสัมปชัญญะ มีสต ิ พึงนําอภชิฌาและโทมนัส ในโลกเสีย ใหพินาศไป อันดับที่ ๓ เธอยอมพจิารณาเห็นจิตในจติเนือง ๆ อยู มคีวามเพียรใหกิเลสเรารน มสีัมปชัญญะ มีสติ พึงนําอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียใหพินาศไป อันดบัท่ี ๔ เธอยอมเห็นธรรม ในธรรมเนอืง ๆ อยู มีความเพียรใหกิเลสเรารอน มีสัมปชัญญะ มี สติ พึงนําอภชิฌาและโทมนัสใน โลกเสียใหพินาศไป นี่ตามบาลีท่ีพระพุทธเจาทรงตรัสเอามาอธบิายตอสําหรบัมหาสติปฏฐานสูตรที่พระพุทธเจา ทรงรับรอง เราพูดถึงความมั่นใจวา พระพุทธเจาทรงตรัสใหบรรดาผูฟงท้ังหลายมคีวามมั่นใจวา ทาน ผูใดถาปฏิบัติในมหาสติปฏฐานสูตรครบถวน ทานผูน้ันจะเขาถึงความดับทุกข ไมมีความโศก ไมม ีความร่ําไร เสียใจ และโทมนัส และในท่ีสุดทานผูน้ันจะเขาถึงซึ่งพระนิพพาน เปนอันวาที่เราเรยีน การเดินทางเขาไปสูพระนิพพานกัน การที่จะเขา ถึงพระนิพพานในตอนทายของแตละสูตรบอกวา เราตองมีสติสัมปชัญญะ คําวาสติแปลวา นกึไว สัมปชัญญะแปลวา รูตัว ก็ในมหาสติปฐฐานเริ่มตน กายานุปสสนามหาสติปฏฐาน ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเนือง ๆ อนัที ่๒ เวทนานุปสสนามหา สติปฏฐาน ยอมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนือง ๆ ขอที่ ๓ จิตตานุปสสนามหาสติปฏฐาน ยอม พิจารณาเห็นจิตในจิตเนือง ๆ ขอท่ี ๔ ธัมมานุปสสนามหาสติปฏฐาน ยอมพจิารณาเห็นธรรมในธรรม

  • ๓๔

    เนือง ๆ แลวกล็ะความยนิดียินรายในโลกท้ังหมด เราจะเขาที่สุดของความดับทุกขอยางนีแ้ยกหลาย ประเภท รวมเปนหัวขอ การศกึษามหาสติปฏฐานมีความจําเปนอยางยิ่ง การปฏิบตัเิพื่อใหถึงซึ่ง มรรคผลในมหาสตปิฏฐานสูตร เราจะปฏิบติัแยกตัดตอนไปเฉพาะอยางใดอยางหนึ่งไมชอบใจ อยางนี้เราจะเอาอยางโนน ไมชอบใจอยางโนนเราเอาอยางนี้ อยางนีไ้มไดถึงพระนพิพาน ตอง ปฏิบัติใหมีผลเทากันท้ังหมดคือ ตัง้แตบทตนถึงบทสุดทาย ใครไมมีหนังสอืมหาสติปฏฐานเพื่อปฏิบตักิ็บอก ผมจะแจกใหนะการศึกษากต็อง การอยางเดียวใหพระมีความรู ไมใชมานั่งฟงประเภทท่ีวาถึงเวลาก็มา ถึงเวลาก็มา อยางนีจ้ะเขา ทํานองท่ีวาใชไมได ท่ีใหการศกึษาก็เพราะวา สํานักของเราเวลานีก้ําลังเริ่มตนเปนสํานกัขึ้น ถาผม ไมอยู ทานทั้งหลายกจ็ะได เปนผูแนะนาํบุคคลอื่นท่ีเขามาใหเขามีความเลือ่มใส เพราะวาถา ๔ นัยน้ี ไมเขาใจ ก็บอกกับเขาวาไมเขาใจ อะไรที่ไมเขาใจถาขืนอธิบายสงเดช จะลงนรกกันได เม่ือมาศึกษา ก็ต้ังใจศึกษาดวยความแทจริง ศึกษาจําไดแลว กต็องปฏิบัติตามขอบเขตมหาสติปฏฐาน คอืทุกศุกรเรา จะตองปฏิบัตใิหได ไมใชวาเรียนไปแลวกล็ืม คําวาสติสัมปชัญญะในที่น้ี พระพุทธเจาใหมีอยูทุกลมหายใจเขาออก สตติั้งไวในกาย พิจารณาเห็นกายในกายตามปกติ พิจารณาเวทนาในเวทนาเปนปกต ิ พิจารณาเหน็จติในจิตเปนปกติ พิจารณาเห็นธรรมในธรรมเปนปกติ แลวก็ละอภิชฌาและโทมนัส หมายความวาความดีใจ เสียใจ ความพอใจในโลกใหตดัทิ้งไป ถาเราพยายามตดัไดหมดเม่ือใด เรากเ็ปนพระอรหันตเมื่อน้ัน ถาเราตัด ไมไดมาก ตัดไดนอย ก็ชือ่วาพอมีคุณอยู

    ******************

  • ๓๕

    กายานุปสสนามหาสติปฏฐาน อานาปานบรรพ

    ตอจากนี้ไปก็จะพูดวาพระพุทธเจาตรัสอยางไร ตอไปพระองคทรงตรัสวา ดูกอนภกิษ ุท้ังหลาย ภิกษุในพระธรรมวินยันี้ เขาไปสูปาก็ดี เขาไปสูโคนไมก็ดี ไปสูเรอืนวางเปลากด็ี นั่งคูบัลลงัก คือขัดสมาธิตั้งกายใหตรง ดาํรงสติเฉพาะหนายอมมีสติหายใจเขา ยอมมีสติหายใจออก เมือ่หายใจเขา ยาว กร็ูอยูวาหายใจเขายาว เม่ือหายใจออกยาว กร็ูอยูวาหายใจออกยาว เมื่อหายใจเขาสั้น กร็ูชดัอยูวาเรา หายใจเขาสัน้ เม่ือหายใจออกสั้น กร็ูอยูวาเราหายใจออกสั้น ยอมสําเหนียก (ตั้งใจกําหนดไว) วาเราจกั เปนผูกําหนดรูตลอดลมหายใจทั้งปวงเวลาหายใจเขา ตั้งใจกาํหนดไววาเราจักเปนผูรูตลอดกองลม หายใจทั้งปวงเวลาหายใจออก ยอมสาํเหนยีกวาเราจกัระงับกายสังขาร (คือลมอัสาสะ ปสสาสะ) เมื่อ หายใจเขา เราจกัระงับกายสงัขารเมือ่หายใจออก ดูกอนภกิษุท้ังหลาย แมฉนัใดนายชางกลงึหรือลกูมอืของนายชางกลงึผูฉลาด เมื่อ ชักเชือกกลึงยาว กร็ูชดัวาเราชกัเชอืกกลึงยาว เมื่อชกัเชอืกกลึงสั้น กร็ูชดัวาเราชกัเชอืกกลึงสั้น ดกูอน ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุก็ฉันนั้นนั่นแหละ เม่ือหายใจยาวกร็ูชดัวาหายใจยาว เม่ือหายใจสั้นกร็ูชดัวาหายใจ สั้น เมื่อเราหายใจเขาออกยาวสั้นกร็ูอยู เราก็สําเหนียกวาเราจกัเปนผูกําหนด รูตลอดกองลมหายใจ ท้ังปวง ท้ังหายใจเขาหายใจออก ยอมสาํเหนียกวาเราจกัระงับกายสงัขารหายใจเขา ยอมสําเหนยีกวา เราจกัระงับกายสังขารหายใจออก ดังนี้ ภิกษุท้ังหลาย ยอมพิจารณาเห็นกายในกายเปนภายในบาง ยอมพจิารณาเห็น กายในกายเปนภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในและภายนอกบาง ยอมพิจารณาเห็น ธรรมดา คอืความเกิดขึ้นในกายบาง ยอมพจิารณาเห็นธรรมดา คอืความเสือ่มไปในกายบาง ยอม พิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นและความเสือ่มไปในกายบาง ยอมมีสตวิากายมีอยู เขาไปตั้ง อยูเฉพาะหนาเธอนัน้ แตเพียงสักวาเปนท่ีรู แตเพียงสักวาเปนที่อาศัยระลกึ แตเธอยอมไมติดอยูดวย ยอมไมยึดถอือะไร ๆ ในโลกดวย ดูกอนภกิษุท้ังหลาย ภกิษุยอมพจิารณาเห็นกายในกายเนือง ๆ อยู อยางนี้

  • ๓๖

    อันนี้เรียกกายานุปสสนามหาสติปฏฐานในอานาปานบรรพ เรื่องอานาปานสุสติ กรรมฐาน ในกรรมฐาน ๔๐ สําหรับในมหาสติปฏฐานเรียกอานาปานบรรพ พระองคจึงกําหนดลมดวยใจที่ พระพุทธเจา กลาววาใหเราพิจารณารูลมหายใจเขา รูลมหายใจออก หายใจเขายาวหรอืสั้นกร็ู แลว พิจารณา กาํหนดรู ตลอดเวลาหายใจเขาและหายใจออก ความจริงบาลวีาไวยาว แตวาเรือ่งนี้เราก็พดู กันมามาก แลว วนันี้เราก็พดูกนัถึงอานาปานนุสสตกิรรมฐาน หวังวาทุกทานคงจะจําได ยังจําไดก็ขอ อธิบายอกีสักนิด สําหรบัอานาปานุสสตกิรรมฐาน เปนกรรมฐานที่มคีวามสําคญัท่ีสุด เรื่องการทรงฌาน และเปนกรรมฐานท่ีระงับกายสังขาร คําวาการระงับกายสังขารนีก่ค็อื ระงับทุกขเวทนา เวลาเราปวยไข ไมสบาย ความรูสึกมันมวีามันเจ็บ มันปวด มนัเสียด ถาเราสามารถดับมันเสียไดดวยลมหายใจเขาออก ในอานาป�