Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

47
การนําเสนอแนวทางการประกันคุณภาพหลักสูตร การเรียนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา PROPOSED GUIDELINES FOR QUALITY ASSURANCE OF E-LEARNING PROGRAMS IN HIGHER EDUCATION อาจารยภานุวัฒน บุตรเรียง ผศ.ดร. ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ ผศ.ดร. เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร

description

การนำเสนอแนวทางการประกันคุณภาพหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในระดับอุดมศึกษาอาจารย์ภานุวัฒน์ บุตรเรียงผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติผศ.ดร.เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร

Transcript of Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

Page 1: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

การนําเสนอแนวทางการประกนัคุณภาพหลกัสูตรการเรียนอิเลก็ทรอนกิสในระดับอดุมศึกษา

PROPOSED GUIDELINES FOR QUALITY ASSURANCE OF E-LEARNING PROGRAMS

IN HIGHER EDUCATION

อาจารยภานุวัฒน บตุรเรียง

ผศ.ดร. ปราวีณยา สวุรรณณัฐโชติผศ.ดร. เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร

Page 2: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

• แนวทางการประกันคุณภาพการหลักสูตร

การเรียนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

• เกณฑการรับรองวิทยฐานะหลักสูตร

การเรียนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

Content :

Page 3: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ประกันคุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส

(e-Learning Quality Assurance : eQA)

เปนระบบที่สรางและสนบัสนุนใหเกิดการดําเนนิงาน

หลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Learning) อยางมีคุณภาพ

ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วดั และเกณฑที่กําหนด เพื่อใหมั่นใจได

วา หลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส จะไดการยอมรับจากสังคม

และเกิดการปรับปรงุคุณภาพอยางตอเนื่อง

Page 4: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ความสําคัญของการประกันคุณภาพ

•บทบัญญัติของ พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ• เปนเครื่องมือกํากับคุณภาพ

•หลักประกันวาหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกสมีคุณภาพและมาตรฐาน

• เปนเครื่องมือสนบัสนุนใหการดําเนินงานมีคณุภาพ

(รักษา/เพิ่ม) และเกดิการปรับปรุงคุณภาพอยางตอเนื่อง

Page 5: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ประเภทการประกันคุณภาพ

ภายนอก ภายใน

การรับรองวิทยฐานะ

(Accreditation)

Page 6: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

การรับรองวิทยฐานะ

การเรียนอิเลก็ทรอนกิส (eQA)

หลักสูตร

สถานศึกษา

Page 7: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

องคประกอบ eQA

สถาบัน/องคกร/หนวยงาน

มาตรฐาน

ตัวชี้วัด

เกณฑ

กระบวนการ/ขั้นตอน

คณะกรรมการ

นกัประเมินผล?

?

Page 8: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

หนวยงาน eACA

ภมูภิาคอาเซียน พบวา มีปญหาในการรับรองวิทยฐานะระหวางหลักสูตร

(Cross Accreditation) สําหรับการเรียนอิเล็กทรอนิกส

และผูศึกษาไดใหขอเสนอแนะปญหา คือ ใหตั้งหนวยงานและคณะกรรมการ

ที่มชีื่อวา e-learning ASEAN Commission for Accreditation : eACA

ขึ้นเพื่อเปนคณะทํางาน โดยมีหนาที่ในการใหการรับรองวิทยฐานะกับ

โปรแกรมหรอืหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกสระหวางประเทศในภูมิภาค

อาเซียน ซึ่งจะนําไปสูการยอมรับในประเทศใกลเคียง เมื่อมีการโอนยาย

นักศึกษาขามหลักสูตร หรือขามประเทศ ”

(ศรีศักดิ์ จามรมาน , 2546)

Page 9: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

แนวทางการประกันคุณภาพหลักสูตร

การเรยีนอิเล็กทรอนิกส

กระทรวงศึกษาธกิาร

คณะกรรมการ/กระบวนการพิจารณา/ตรวจสอบ

สมศ. สกอ.องคกรรับรองวิทยฐานะหลักสูตร

มาตรฐาน / เกณฑ / ตัวชี้วัดมาตรฐาน / เกณฑ / ตัวชี้วัด

หลักสูตรใหม หลักสูตรที่เคยไดรับการรับรอง

Page 10: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

เอกสารที่เกี่ยวของกับกระบวนการประกันคณุภาพหลักสตูร

1.คณะกรรมการการศึกษาอุดมศึกษา (Higher Education Quality Committee) ประเทศเปโตรเลีย ทวีปแอฟริกาใต

2.คณะกรรมการการรบัรองวิทยฐานะการศึกษาทางไกลและการอบรม สภาการรับรองวิทยฐานะอุดมศึกษา ประเทศสหรัฐอเมริกา

(Accrediting Commission of the Distance Education and Training Member of Council for Higher Education Accreditation (CHEA) (2009)

3.คณะกรรมการการรับรองวิทยฐานะสถานศึกษา สหพนัธรฐัอาหรับเอมิเรทต (Commission for Academic Accreditation United Arab Emirates , 2004)

Page 11: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

เอกสารที่เกี่ยวของกับกระบวนการประกันคณุภาพหลักสตูร

4. คณะกรรมการการรับรองวิทยฐานะสถานศึกษา สหพันธรัฐอาหรับเอมิเรทต (Commission for Academic Accreditation United Arab Emirates , 2004)

5.สภาการการรับรองวิทยฐานะและการประเมินระดับชาติ ประเทศอินเดีย (National Assessment and Accreditation Council INDIA , 2010)

6. การประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษาทวีปแอฟริกา (Higher education quality assurance in Sub-Saharan Africa ,2007)

Page 12: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

นําเสนอกระบวนการ

รับรองวิทยฐานะหลักสูตร

(eQA Programs Process)

Page 13: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

กระบวนรับรองวิทยฐานะหลักสูตร

ประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้

2.ขัน้กระบวนการพิจารณา

1.ขั้นกอนการรับรองวิทยฐานะ

3.ขั้นผลลัพธการรับรองวิทยฐานะ

Page 14: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

1.1 ลงทะเบียน

1.2 การตรวจสอบคุณสมบัติ

1.ขัน้กอนการรับรองวิทยฐานะ

1.3 รับรองการสมัครอยางเปนทางการ

Page 15: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education
Page 16: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

2.1 จดัอันดบัหลักสูตรที่มีสิทธิเ์ขาสูการรับรองวิทยฐานะ

2.3 กําหนดสถานภาพหลักสูตรมีสิทธิ์เขาสูกระบวนการ

2.2 กําหนดการแผนการประเมินวิทยฐานะ

2.ขัน้กระบวนการพจิารณาการรับรองวิทยฐานะ

รับรองสถานภาพ

อยูในระหวางการพิจารณา

ปฏิเสธ

2.4 สงผลกลับตอคณะกรรมการพิจารณา

Page 17: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education
Page 18: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

3.2 สรุปผล

3.3 ประกาศผล

3.ขั้นผลการรับรองวิทยฐานะ

3.1 คณะกรรมการ/ หนวยงาน เห็นชอบ

รับรองแลว

ปฏเิสธ

ใหการรับรอง 5 ป ประกาศผล

บนเว็บไซต

หยุด

Page 19: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education
Page 20: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

เกณฑการรับรองวิทยฐานะหลกัสูตร

การเรียนอิเลก็ทรอนกิส

ในระดับอดุมศึกษา

(สําหรับหลักสูตรใหม)

Page 21: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

เอกสารที่คัดสรรจากตางประเทศ จํานวน 9 สถาบัน

1. สถาบันอินโนยูนิเลิรนนิ่ง (InnoUnilearning) ประเทศสหรัฐอเมริกา

2. สถาบันอินโนอีเลิรนนิ่ง (InnoElearning)

ประเทศสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป

3. มหาวิทยาลัยปกกิ่ง ประเทศจีน การพัฒนาระบบการรับรองวิทยฐานะใน

กระบวนการสอนออนไลน (Development an Accreditation

System for On-line Teaching Processes)

4. การรับรองวิทยฐานะการเรียนทางไกลในทวีปยุโรป (DLAE : Distance

Learning Accreditation in Europe)

Page 22: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

5. สภาอุดมศึกษาดานคุณภาพการศึกษา ในทวีปแอฟริกาใต (Council

on Higher Education Higher Education Quality Committee: HEQC)

6. สมาคมมหาวิทยาลัยและโรงเรียนในมลรัฐทางเหนือ ประเทศสหรัฐเมรกิา

(A Commission of the North Central Association of Colleges and School: NCA)

7. คณะกรรมาธิการสมาคมวทิยาลัยและโรงเรียนทางใต ประเทศ

สหรัฐอเมริกา (Commission on Colleges of Southern Association of Colleges

and School : VCCS)

8. ความรวมมือดานการสื่อสารเพื่อการศึกษาฝงตะวันตก สหรัฐอเมริกา

(Western Cooperative for Educational Telecomunication)

เอกสารที่คัดสรรจากตางประเทศ จํานวน 9 สถาบัน

Page 23: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

เอกสารที่คัดสรรจากทั่วโลก จํานวน 9 สถาบัน

9. แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑการขอเปดและดําเนินการหลักสูตร

ระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548

ราชกิจจานุเบกษา เลม 122 ตอนพิเศษ 120ง

Page 24: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ศ.ดร.ชยัยงค พรหมวงศประธานฝายเทคโนโลยี

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ผูทรงคุณวุฒิ

ผศ.สุพรรณี สมบุญธรรมที่ปรึกษาโครงการ

มหาวิทยาลัยไซเบอรไทย

คุณวราภรณ สหีนาทผูอํานวยการสํานักมาตรฐาน

และประเมินผลอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษา

Page 25: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

การเก็บรวบรวมขอมูลจากการสํารวจความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานการเรียน

อิเล็กทรอนิกสดวยแบบสอบถาม

Data Collectionการเก็บรวบรวมขอมูล

แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ครั้งที่ 1แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ครั้งที่ 2

Page 26: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

เครื่องมือ

แบบสอบถามสําหรับผูเชี่ยวชาญ : จํานวน 2 ฉบับ

แบบสอบถามครั้งที่ 1

แบบสอบถามครั้งที่ 2

Page 27: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

จํานวน 7 ทาน

ผูเชี่ยวชาญดานการเรียนอิเล็กทรอนิกส

Page 28: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ประกอบดวย 3 ดานหลัก

106 เกณฑ/ตัวบงชี้

Page 29: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

องคประกอบเกณฑ/ตัวบงชี้

รวม

ดานปจจัยนําเขา (Input)

1. ดานพันธกิจ (Mission)

2. ดานความพรอมในการดําเนินการหลักสตูร (Course Preparation)

3. ดานการคัดเลือกและรับผูเรียน (Admission and Selection)

4. ดานการบริการ (Service)

5. ดานการสนับสนุน (Support)

6. ดานการจัดคณาจารยและบุคลากร (Staffing & Faculty)

8

11

7

13

6

6

ดานกระบวนการ (Process)

7. ดานหลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)

8. ดานการปฏิสมัพันธและการสื่อสาร (Communication Interactivity)

9. ดานการวัดและประเมินผล (Assessment and Evaluation)

10. ดานการประกันคุณภาพ (Quality Assurance)

23

5

16

2

ดานผลลัพธและผลผลติ (Output &Outcomes)

11. ขอมูลการติดตามผูเรียน (Monitoring of student information) 9

รวมทั้งสิ้น 106

Page 30: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ดานการนําเขา (Input)1) ดานพันธกิจ 2) ดานความพรอมในการดําเนินการหลักสูตร3) ดานการคัดเลือกและรับผูเรียน4) ดานการบริการ5) ดานการสนับสนุน6) ดานการจัดคณาจารยและบุคลากร

ดานกระบวนการ (Process)7) ดานหลักสูตรและการสอน8) ดานการปฏิสัมพันธและการสื่อสาร9) ดานการวัดและประเมินผล10) ดานการประกันคุณภาพ

ดานผลผลิต (Output&Outcomes)11) ดานการติดตามผลของผูเรียน

Page 31: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ประกอบดวย 6 ดาน

1) ดานพันธกิจ 2) ดานความพรอมในการดําเนินการหลักสูตร3) ดานการคัดเลือกและรบัผูเรียน4) ดานการบริการ5) ดานการสนบัสนุน6) ดานการจัดคณาจารยและบคุลากร

1. ปจจัยนําเขา (Input)

Page 32: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ปจจัยนําเขา: 1. ดานพันธกิจ

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

1.1) พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษามีความชัดเจน มีเอกสารบันทึกอยางเปน

ลายลักษณอักษร

1.2) พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษามีความสอดคลองกับนักศึกษา

1.3) พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษามีความสอดคลองกับการวางแผนและขีด

ความสามารถเพื่อการเติมเต็มใหกับพันธกิจ

1.4) วัตถุประสงคของหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกสมีความชัดเจน

1.5) วัตถุประสงคของหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกสสอดคลองกับการใช

เทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยมีกระบวนการตรวจสอบและการพิจารณาอยางแนนอน

1.6) เปาหมายของสถาบันอุดมศึกษามีความชัดเจน เปนไปเพื่อผลการเรียนรูของ

นักศึกษาในหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส

Page 33: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ปจจัยนําเขา: 2. ดานความพรอมในการดําเนินการ

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

2.1) การพิจารณาการขอเปดเพื่อดําเนินหลักสูตรในระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส

ตองพิจารณา ดังตอไปนี้

(2.1.1) คณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร คณาจารยประจํา และคณาจารยพิเศษ

(2.1.2) ระบบบริหารจัดการรายวิชา ( Learning Management System-LMS)

(2.1.3) การผลิตชุดการสอนอิเล็กทรอนิกส (Courseware)

(2.1.4) การประเมินการเรียนการสอน

(2.1.5) การจัดสื่อและอุปกรณการศึกษา

(2.1.6) การจัดหองสมุดธรรมดาและหองสมุดอิเล็กทรอนิกส (Library&E-library)

(2.1.7) ระบบโครงสรางพื้นฐาน ที่จําเปน (Infrastructure)

(2.1.8) บุคลากรที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่ดานเทคนิค ผูดูแลระบบ ผูชวยสอน

Page 34: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ปจจัยนําเขา: 3. ดานการคัดเลือกและรับผูเรียน

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

3.1) สถาบันอุดมศึกษารับนักศึกษาที่มีคุณสมบัติภายใตเกณฑตามขอกําหนด

ของหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส โดยนักศึกษามีความสามารถ ความรูพื้นฐานดาน

เทคนิคและเทคโนโลยี มีทักษะการเรียนรู อยางพอเพียง

3.2) สถาบันอุดมศึกษามีการตรวจสอบทักษะของผูเขาเรียนดังนี้

(3.2.1) ทักษะการเรียนรูของนักศึกษาสอดคลองกับเทคโนโลยีบน

เว็บไซต เปนไปตามที่กําหนดไวในหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส

(3.2.2) การวิเคราะหระดับความชํานาญของนกัศึกษามีการวัดระดับ

ทักษะความชํานาญและชองวางทางทักษะของนักศึกษาในการเรียนดวยระบบบริหาร

จัดการรายวิชา (Learning Management System)

(3.2.3) ผลการเรียนชวงกอนเขาเรียน ตรงตามที่คุณสมบัติกําหนด

Page 35: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ปจจัยนําเขา: 4. ดานการบริการ

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

4.1) มีการจัดบริการเกี่ยวกับงบประมาณสําหรับทรัพยากรตาง ๆ เพื่อใชใน

สถาบันอุดมศึกษา

4.2) มีการจัดบริการใหคําปรึกษาเพื่อสรางแรงจูงใจใหนักศึกษา เพื่อชวยเหลือให

นักศึกษาสามารถกาวขามผานพนอุปสรรคไปไดและมกีารใหคําแนะนําแกนกัศึกษาให

สามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีไดเต็มประสิทธิภาพ

4.3) มีการเปดบริการใหกับนักศึกษาเพื่อเปดโอกาสใหสามารถแสดงออกภายใน

สถาบันอุดมศึกษาดวยกิจกรรมตาง ๆ

4.4) จัดการบริการที่มีการสงเสริมคุณคาตอองคกรทั้งภายในและภายนอก

4.5) มีการวิเคราะหขีดความสามารถในการตอบสนองในการใหบริการดานตาง ๆ

ตามความจําเปนและความตองการของผูใชบริการ

Page 36: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ปจจัยนําเขา: 5. ดานการสนับสนุน

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

5.1) สถาบันอุดมศึกษาใหคุณคาในการสนับสนุนตอการเรียนการสอนอยางแทจริง

5.2) สถาบันอุดมศึกษาสนับสนุนการสรางสภาพแวดลอม (Environment) ที่เอื้อตอ

การเรียนรู มีทรัพยากรการเรียนรู (Learning Resource) มีแหลงการเรียนรู เพื่อการสอนอยาง

มีประสิทธิภาพ และเปนการเติมเต็มการปฏิบัติงานในรายวิชา หรือในหลักสูตรการเรียน

อิเล็กทรอนิกส

5.3) สถาบันอุดมศึกษาใหการสนับสนุนในดานเทคนิคสําหรับระบบจัดสอนทาง

อิเล็กทรอนิกส (LMS) โดยมีระบบลงทะเบียน (Registration System) เพื่อใหนักศึกษา

สามารถจัดการขอมูลภายในระบบไดดวยตนเอง

Page 37: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ปจจัยนําเขา: 6. ดานการจัดคณาจารยและบุคลากร

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

6.1) สถาบันอดุมศึกษาแตงตั้งคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร คณาจารยประจํา

คณาจารยพิเศษและคณาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและอาจแตงตั้งบุคลากรภายในและ

ภายนอกตามเหมาะสม เพื่อใหการเรียนอิเล็กทรอนิกสดําเนินการไปอยางมีประสิทธิภาพ

6.2) สถาบันอุดมศึกษามีจํานวนบุคลากรเพียงพอตอหลักสูตรการเรียน

อิเล็กทรอนิกส

6.3) คณาจารย ผูสอนในหลักสูตรมีประสบการณการสอนในระดับอุดมศึกษา

มากกวา 2 ปขึ้นไป

6.4) สถาบันอุดมศึกษาใหการรับรองในการอบรมของคณาจารย เกี่ยวกับการใชงาน

ระบบบริหารจัดการรายวิชา (Learning Management System) และการอบรมคณาจารยที่สอน

โดยใชความรูเทคโนโลยีเฉพาะดาน

Page 38: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ประกอบดวย 4 ดาน

7) ดานหลักสูตรและการสอน

8) ดานการปฏิสัมพันธและการสื่อสาร9) ดานการวัดและประเมินผล

10) ดานการประกันคณุภาพ

2. กระบวนการ (Process)

Page 39: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

กระบวนการ: 7. ดานหลักสูตรและการสอน

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

7.1) การออกแบบและการผลิตหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส กําหนดให

หลักสูตรมีลักษณะ ดังนี้

(7.1.1) สอดคลองกับวัตถุประสงคทางการศึกษา ประสบการณความรู

ทักษะ อยางมีประสิทธิภาพ

(7.1.2) ตอบสนองตอความตองการของนักศึกษา

7.2) โครงสรางหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกสมีสอดคลองหรือเทียบเคียงกันกับ

เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา

7.3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู

(7.3.2) มีการใชคําถามเพื่อพัฒนาความรู ทักษะ การสืบสอบ และมีแบบ

ฝกสติปญญา เพื่อการประยุกตใชในหลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส

Page 40: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

กระบวนการ: 8. ดานการปฏิสัมพันธและการสื่อสาร

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

8.3) การสรางปฏิสัมพันธกับนักศึกษาภายในหลักสูตร ควรมีการจัดกิจกรรมในการ

เรียนแบบประสานเวลา หรือแบบไมประสานเวลาระหวางผูสอนและนกัศึกษาอยางเพียงพอ

โดยมีสิ่งอํานวยความสะดวกพรอมสําหรับบริการ

8.4) สถาบันอุดมศึกษาจัดระบบการสื่อสารเพื่อสรางปฏิสัมพันธเพื่อเปดกวางอยาง

อิสระในการแสดงความคิดเห็นหรือการติชมของนักศึกษา

Page 41: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

กระบวนการ: 9. ดานการวัดและประเมนิผล

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

9.1) สถาบันมีการรับรอง (Certification) หลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกสที่เชื่อถือ

ไดอยางมีประสิทธิภาพดวยการประเมินผลที่มีความสอดคลองกับพันธกิจ

9.3) การวัดผลมีหลักฐานแสดงการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจน ดังนี้

(9.3.1) ผลรวมของการจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งหมด

(9.3.2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในแตละรายวิชา

(9.3.3) ระบบการรับรองความปลอดภัยของเอกสารที่ทําการวัดผล

เรียบรอยแลว

Page 42: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

กระบวนการ: 10. ดานการประกันคุณภาพ

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

10.1) สถาบันอดุมศึกษาตองจัดระบบประกันคุณภาพหลักสูตรและรายวิชาเปน

ระยะๆ อยางตอเนื่อง มีรายงานผลตอ สภาอุดมศึกษา ตอสาธารณะ และตอคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา เพื่อนําผลการประเมินมาใชปรับปรุงคุณภาพรายวิชาและหลักสูตรการเรียน

อิเล็กทรอนิกสใหทันสมัยอยูเสมอ

10.2) สถาบันอดุมศึกษาตองกําหนดและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายในที่ครอบคลุมปจจัยคุณภาพทั้งดานคุณภาพทั้งดานปจจัยการนําเขา กระบวนการ

ผลลัพธและผลผลิต และตัวบงชี้คุณภาพ ตลอดจนการสรางฐานขอมลู เพื่อการประกัน

คุณภาพการศึกษาที่เหมาะสมกับระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกสและการรองรับการประเมิน

คุณภาพภายนอก

Page 43: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ประกอบดวย 1 ดาน 9 เกณฑ/ตัวชี้วัด

11) ดานการติดตามผลของผูเรียน

3. ผลลัพธและผลผลิต (Output & Outcomes)

Page 44: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ผลลัพธและผลผลิต: 11. ดานการติดตามผลของผูเรียน

ตัวอยาง เกณฑการรับรองวทิยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรยีนอิเล็กทรอนิกสในระดับอุดมศึกษา

กําหนดใหผูที่มีหนาที่ที่เกี่ยวของตองมีขอมูลบันทึกในระบบ ดังนี้

11.1) ปริมาณการออนไลนและเขาถึงบทเรียน (Access and On-line tracking)

11.2) ปริมาณขอมูลตอหนวยเวลาในใชงานผานระบบบริหารจัดการรายวิชา-LMS

11.3) การเฝาติดตามความกาวหนาของนักศึกษา (Learning Progress)

11.4) การทํางานและสงงานที่ไดรับมอบหมาย (Assignment)

11.5) การปรึกษาหารือ เพื่อการปรับปรุง แกไข (Remedial action)

11.6) ขอมูลจัดอนัดับชั้น (Qualifying class) ของนักศึกษา

11.7) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา

11.8) การใหขอมูลปอนกลับจากนักศึกษาถึงอาจารย (Feedback to faculty)

11.9) การใหขอมูลปอนกลับจากอาจารยถึงนักศึกษา (Feedback to student)

Page 45: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

ภานุวัฒน บุตรเรียง,ปราวีณยา สุวรรณณฐัโชติ และ เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร. (2551). การพัฒนาเกณฑการรับรอง วิทยฐานะสําหรับหลักสูตรการเรียนอิเลก็ทรอนกิสใน ระดบัอุดมศึกษา.วารสารอิเลก็ทรอนกิสทางการศึกษา . ฉบับที่ 4 ลําดบัที่ 1, 310-324.

http://www.edu.chula.ac.th/OJED

Page 46: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

Q&APROPOSED GUIDELINES FOR QUALITY ASSURANCE OF E-LEARNING PROGRAMS IN HIGHER EDUCATION

Page 47: Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher education

Thank Youนายภานุวัฒน บุตรเรียง

[email protected] Butriang