overall details before the mid-term test

29
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (Socio–Cultural Theories) 1. แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3 ขั้นตอนตามทรรศนะของ กองต (Comte’s Three Stages of Social Change) กองต (Comte, 1988 : 9-15) นักสังคมวิทยา ชาวฝรั่งเศสไดเสนอแนวความคิดใน เรื่องวิวัฒนาการ (evolution) ทางสังคม -วัฒนธรรม โดยแบงสังคมออกเปนสองสวนดวยกันคือ สังคมสถิตย (social statics) และสังคมพลวัต (social dynamics) เรื่องแรกเปนแนวคิดวาดวย โครงสรางของสังคมที่เปนระบบแบบองครวม (holism) ประกอบดวยสถาบันหรือสวนตาง ทาง สังคม แตละสวนของสถาบันตางก็ทําหนาที่ของตนเองประสานกับสวนอื่น (parts) ในลักษณะทีตางฝายเอื้อตอกัน สนับสนุนพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (interdependent) เปนเรื่องเกี่ยวกับความ เปนระเบียบหรือความสอดคลองหรือความสอดคลองของเงื่อนไขตาง ที่ทําใหมนุษยอยูในสังคม ไดเปนปกติ เมื่อสวนหนึ่งสวนใดของสังคมเปลี่ยนแปลงก็จะมีผลกระทบถึงสวนอื่น ซึ่งตองปรับ เปลี่ยนตามไปดวย เมื่อปรับตัวไดสังคมก็สามารถดําเนินตอเนื่องมาเรื่อย จวบจนปจจุบัน สวน เรื่องหลังเปนแนวคิดวาดวยการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-วัฒนธรรมเนนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม- วัฒนธรรมในแงของวิวัฒนาการ ซึ่งกองตแบงขั้นตอนวิวัฒนาการออกเปน 3 ขั้นตอนดังนี(Coser, 1977 : 7-8) 1) ขั้นเทววิทยาหรือขั้นนิยาย (the theological or fictitious stage) 2) ขั้นอภิปรัชญาหรือขั้นแหงเหตุผลตามหลักปรัชญา (the metaphysical or abstract stage) 3) ขั้นวิทยาศาสตรหรือปฏิฐานนิยม (the scientific or positive stage) ขั้นตอนทั้งสามเหลานี้สอดคลองกับลําดับของวิวัฒนาการทางปญญาและการจัดระเบียบ ของสังคม ดังแสดงไวในตาราง 1 10

description

 

Transcript of overall details before the mid-term test

Page 1: overall details before the mid-term test

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (Socio–Cultural Theories) 1. แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3 ขั้นตอนตามทรรศนะของกองต (Comte’s Three Stages of Social Change) กองต (Comte, 1988 : 9-15) นักสังคมวิทยา ชาวฝร่ังเศสไดเสนอแนวความคิดในเร่ืองวิวัฒนาการ (evolution) ทางสังคม-วัฒนธรรม โดยแบงสังคมออกเปนสองสวนดวยกันคือ สังคมสถิตย (social statics) และสังคมพลวัต (social dynamics) เร่ืองแรกเปนแนวคิดวาดวยโครงสรางของสังคมที่เปนระบบแบบองครวม (holism) ประกอบดวยสถาบันหรือสวนตาง ๆ ทางสังคม แตละสวนของสถาบันตางก็ทําหนาที่ของตนเองประสานกับสวนอื่น ๆ (parts) ในลักษณะที่ตางฝายเอื้อตอกัน สนับสนุนพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (interdependent) เปนเรื่องเกี่ยวกับความเปนระเบียบหรือความสอดคลองหรือความสอดคลองของเงื่อนไขตาง ๆ ที่ทําใหมนุษยอยูในสังคมไดเปนปกติ เมื่อสวนหนึ่งสวนใดของสังคมเปลี่ยนแปลงก็จะมีผลกระทบถึงสวนอื่น ซึ่งตองปรับเปลี่ยนตามไปดวย เมื่อปรับตัวไดสังคมก็สามารถดําเนินตอเนื่องมาเรื่อย ๆ จวบจนปจจุบัน สวนเร่ืองหลังเปนแนวคิดวาดวยการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-วัฒนธรรมเนนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-วัฒนธรรมในแงของวิวัฒนาการ ซึ่งกองตแบงขั้นตอนวิวัฒนาการออกเปน 3 ข้ันตอนดังนี้ (Coser, 1977 : 7-8)

1) ข้ันเทววิทยาหรือข้ันนิยาย (the theological or fictitious stage) 2) ข้ันอภิปรัชญาหรือข้ันแหงเหตุผลตามหลักปรัชญา (the metaphysical or

abstract stage) 3) ข้ันวิทยาศาสตรหรือปฏิฐานนิยม (the scientific or positive stage)

ข้ันตอนทั้งสามเหลานี้สอดคลองกับลําดับของวิวัฒนาการทางปญญาและการจัดระเบียบของสังคม ดังแสดงไวในตาราง 1

10

Page 2: overall details before the mid-term test

11

ตาราง 1 แนวคิดทฤษฎี 3 ขั้นตอนแหงวิวัฒนาการทางสังคมและภูมิปญญาตามทรรศนะ ของกองต

ลักษณะความเชื่อ ภูมิปญญา สังคมและ วัฒนธรรม

ทิศทางแหงวิวัฒนาการ :

แนวตั้ง (vertical)

ข้ันตอนวิวัฒนาการ ความเชื่อ/องค

ความรู สังคม ผูนํา

วิทยาศาสตร (positivistic stage)

เนนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทันสมัย

อุตสาหกรรม นักวิทยาศาสตร

อภิปรัชญา (metaphysical stage)

เนนเหตุผลตามหลักปรัชญา / ปฏิเสธอํานาจลึกลับเหนือธรรมชาติที่ขาดเหตุผล

สังคมที่อยูในระหวางการเปลี่ยนผานจากสังคมเกษตร

อุตสาหกรรม

ปรัชญาเมธี

เทววิทยา (theological stage)

เนนศาสนาและอํานาจลึกลับเหนือธรรมชาติ

เกษตรกรรม พระหรือศาสนเมธี

กรรมเปนสังคม

ที่มา : ดัดแปลงจากเทอรเนอร และเบอคเลย (Turner and Beeghley, 1981 : 48)

ทฤษฎี 3 ข้ันตอนของกองตที่เสนอไวขางตนแสดงใหเห็นวิวัฒนาการทางความคิดและพัฒนาการทางวัตถุ (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี) สังคมและวัฒนธรรมของมนุษย กองตเชื่อวาการศึกษาเกี่ยวกับความคิดและภูมิปญญามีสวนทําใหเกิดความเขาใจการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมของแตละสังคม แนวคิดทฤษฎีของกองตโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในแนววิวัฒนาการจากสังคมเกษตรไปเปนสังคมอุตสาหกรรมจะเปนกรอบเชิงทฤษฎีชวยใหผูวิจัยสรางกรอบแนวคิดเกี่ยวกับสังคมลาว เมื่อมองภาพรวม (Holism) ซึ่งในขณะนี้มีแนวโนมจะเปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรมเขาสูสังคมอุตสาหกรรมแมยังเปนภาพพรามัวไมชัดเจน แตก็เปนไปตามกระบวนทัศนตามที่กองตเสนอไว

Page 3: overall details before the mid-term test

12

2. แนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงตามทรรศนะของมารกซ : ทฤษฏีความขัดแยง (Conflict Theory) มารกซ (Marx, 1971 : 1-23) เปนนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร นักสังคมวิทยาและนักประวัติศาสตร ไดเสนอทฤษฎีชนชั้นและความขัดแยงระหวางชนชั้น (class and class conflict theory) จุดเริ่มตนแหงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมแนวของวัตถุนิยมวิภาษวิธี (dialectical materialism) เปนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปนไปตามหลักวิภาษวิธี กลาวคือ บทเสนอ (thesis) บทแยง (anti-thesis) และบทสังเคราะห (synthesis) โดยมีเงื่อนไขทางเศรษฐกิจเปนสาเหตุหลัก (economic determinism) หรือเปนตัวแปรอิสระ (independent variables) มารกซเชื่อวาสสารหรือวัตถุกลาวคือ เศรษฐกิจกําหนดหรือลิขิตความเปนไปของสภาวะที่เปนนามธรรมกลาวคือ ระบบความเชื่อ คานิยมและปทัสถานทางสังคมเปนตน (material determines the non-material) เงื่อนไขทางวัตถุกลาวคือ ระบบเศรษฐกิจจะเปนตัวกําหนดหรือลิขิตความเปนไปของสังคม (society is rooted in material condition of life) สังคมตามทรรศนะของมารกซประกอบดวยโครงสรางพื้นฐาน (infrastructure) คือ ระบบเศรษฐกิจและโครงสรางสวนบน (superstructure) คือ โครงสรางหรือสถาบันทางสังคมอื่น ๆ นอกจากระบบเศรษฐกิจ เชน ครอบครัว ศาสนา และการเมืองเปนตน โครงสรางทั้งสองสวนนี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามกฎของวิภาษวิธี (dialectics) ซึ่งเปนการพัฒนาแบบวิวัฒนาการ (evolutionary development) (Kinloch, 1977 : 108) มารกซเสนอวา ประวัติศาสตรของสังคมมนุษยทั้งหลายทั้งปวง แตอดีตจนถึงปจจุบันเปนประวัติหรือความเปนมาของการตอสูระหวางชนชั้น (the history of all hither to existing society is history of class struggles) (Marx, 1989 : 9) ขอความหรือประพจนนี้สะทอนขอเท็จจริงในประวัติศาสตรของมนุษยชาติวา สังคมประกอบดวยชนชั้นและมีความขัดแยงทางสังคม ซึ่งนําไปสูการตอสูระหวางชนชั้นอยางนอย 2 กลุมข้ึนไป ความขัดแยงทางสังคมเชนนั้นเปนจุดเริ่มตนของการเปลี่ยนทางสังคมจากสถานภาพหนึ่งไปยังอีกสถานภาพหนึ่ง ภายใตเงื่อนไขดานเศรษฐกิจ กาละและเทศะ ซึ่งก็เปนไปตามกฎวิภาษวิธี การเปลี่ยนแปลงโดยนัยดังกลาวมีลักษณะเปนพัฒนาการที่มีข้ันตอนตามหลักวิวัฒนาการที่ทําใหเกิดความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในประวัติหรือความเปนมาของสังคมมนุษยมีหลากหลายรูปแบบและประดิษฐข้ึนเพื่อใชเปนกลไกชวยวิถีชีวิตมนุษยพัฒนาอยางตอเนื่อง มารกซไดอธิบายวา ถามีการเปลี่ยนอยูในระบบการผลิตแลวในสวนอื่นของสังคมก็เปลี่ยนแปลงไปดวย เขาไดแบงขั้นตอนของประวัติศาสตร

Page 4: overall details before the mid-term test

13

สังคมมนุษยออกเปน 5 ข้ันตอน ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของความกาวหนาและความเจริญของแบบวิธีการผลิตของสังคมดังนี้ (Kinloch, 1977 : 104-105) 1) สังคมคอมมิวนิสตแบบดั้งเดิม (primitive communism) 2) สังคมทาส (slavery) 3) สังคมศักดินา (feudalism) 4) สังคมทุนนิยม (capitalism) 5) สังคมนิยม (socialism) 6) สังคมที่มารกซคาดวาจะเปนขั้นตอนสุดทายไดแกสังคมคอมมิวนิสต (communism) ณ จุดนี้จึงมีคําถามหลัก 3 ขอคือ : 1) ชนชั้นคือใคร 2) ทําไมจึงมีความขัดแยงระหวางชนชั้นและ 3) ปญหาเกี่ยวกับความขัดแยงไดรับการแกไขอยางไร ตอคําถามแรก มารกซระบุวา เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ กลาวคือ แบบแผนการผลิต เปนเงื่อนไขใหเกิดชนชั้น กลาวคือ ผูเปนเจาของปจจัยในการผลิต (owners of means of production) เปนกลุมหนึ่งซึ่งเรียกวา ชนชั้นกฎมพีหรือนายทุน (bourgeoisie) และอีกกลุมหนึ่งผูซึ่งเปนผูขายแรงงานเพื่อคาตอบแทนในรูปของคาจาง เรียกวา ชนชั้นกรรมาชีพ (proletariat) คน 2 กลุมนี้มี ปฏิสัมพันธตอกันและกันเพื่อผลตอบแทนดานเศรษฐกิจใตระบบเศรษฐกิจในแตละยุค (Marx, 1989 : 14-21) ตอคําถามที่สอง มารกซตอบวาเพราะผู เปนเจาของปจจัยในการผลิตเอารัด เอาเปรียบ (exploitation) ฝายที่ใชแรงงานในรูปของมูลคาสวนเกิน (surplus value) กลาวคือ การขูดรีดแรงงานกรรมกรโดยฝายนายจาง การเอารัดเอาเปรียบในเรื่องแรงงานนี้จะทําใหฝายเสียเปรียบลุกขึ้นตอสูในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งก็เปนไปตามหลักของฝายเสนอและฝายแยง (thesis and anti-thesis) ยิ่งมีการเอารัดเอาเปรียบสูงก็ยิ่งมีความขัดแยงสูงระหวางชนชั้นดังกลาว ซึ่งอาจจะมีความรุนแรงมากหรือนอยจนกลายเปนสงครามระหวางชนชั้นหรือไมนั้นขึ้นอยูกับการตอรองหรือการประณีประนอมของทั้ง 2 ฝาย (Giddens, 1992 : 46-52) ตอคําถามที่สาม มารกซพบวาเทาที่เปนมาในอดีตความขัดแยงระหวางชนชั้นจะยุติไดก็ตอเมื่อทั้งสองฝายหาขอยุติที่ตางฝายก็ไดรับประโยชนรวมกัน ซึ่งเปนจุดสมดุลทางสังคมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางสังคมและวัฒนธรรม (synthesis) แตในกรณีของสังคมทุนนิยมความขัดแยงคอนขางจะรุนแรง เพราะชนชั้นกรรมาชีพถูกเอารัดเอาเปรียบในรูปของมูลคาสวนเกินในอัตราสูง โดยเจาของปจจัยในการผลิต (นายทุน) ในขณะเดียวกันทั้ง 2 ฝายก็มีจุดยืนคนละขั้ว มารกซจึงเสนอแนวทางในการแกหรือขจัดความขัดแยงระหวางชนชั้นดวยการปฏิวัติ โดยชนชั้น

Page 5: overall details before the mid-term test

14

กรรมาชีพ โดยประกาศมาตรการหรือบัญญัติ 10 ประการในการประชุมสันนิบาตคอมมิวนิสตนานาชาติ ณ กรุงลอนดอน เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้ (Marx, 1989 : 30-31 และประจิตร มหาหิง, 2529 : 49-50) 1) เลิกลมกรรมสิทธิ์ในที่ดินและใชคาเชาที่ที่จัดเก็บจากที่ดิน เพื่อสาธารณประโยชน 2) จัดเก็บภาษีรายไดแบบกาวหนา 3) เลิกลมสิทธิแหงการรับมรดก 4) ยึดทรัพยสินของผูอพยพออกนอกประเทศและผูเปนขบถทั้งหลาย 5) จัดใหมีศูนยเครดิตรวมอยูในมือของรัฐ โดยใหมีธนาคารแหงชาติพรอมกับเงินทุน จากรัฐบาลและใหรัฐบาลเปนผูผูกขาดในเรื่องเครดิต 6) จัดใหมีบริการดานการขนสงและการคมนาคม และใหมีศูนยกลางอยูในมือของรัฐ 7) ใหมีการขยายโรงงานและขยายเครื่องมือเครื่องใชในการผลิตที่รัฐเปนเจาของ ใหมีการเพาะปลูกในที่ดินที่ปลอยรกรางไว และใหมีการปรับปรุงคุณภาพของที่ดินภายใตแผนเดียวกัน 8) ใหทุกคนมีพันธะเทากันที่จะตองทํางาน 9) รวมเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเขาดวยกัน และใหลดขอแตกตางระหวางเมืองกับชนบท

10) ใหการศึกษาแบบใหเปลาและใหลมเลิกการใชแรงงานเด็ก การศึกษาตองสอด คลองกับการผลิตชนิดอุตสาหกรรม หลักคอมมิวนิสต 10 ประการนี้ไดกลายเปนปรัชญาและแนวนโยบายของกลุมประเทศสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต เชน สหภาพโซเวียตและจีน รวมทั้งประเทศลาว หลังจากพรรค ประชาชนปฏิวัติลาวไดเขายึดครองประเทศลาว เมื่อป พ .ศ. 2518 จนกระทั่งปจจุบัน หลักคอมมิวนิสตดังกลาวเปนนโยบายสาธารณที่จะชวยใหผูวิจัยศึกษาขอเท็จจริงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวป พ.ศ. 2518 จนถึงป พ.ศ. 2544 3. ทฤษฎีความขัดแยงหลังจากกองตและมารกซ (Later Devepment of Conflict Theory after Comte and Marx) ในการพัฒนาแนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมหลังจากกองตและมารกซ มีนักสังคมศาสตรหลายคนโดยเฉพาะนักสังคมวิทยา เชน เอมิล เดอรไคม (Emile Durkheim / 1858-1917) แมกซ เวเบอร (Max Weber / 1864-1920) พาสันส (Talcott Parsons / 1902-1979) โค เซอ ร (Lewis Coser / 1913- ) เว็ บ เลน (Thorstein Veblen / 1857-1929) ลูกัชส (Geog Lukacs / 1885-1971) ฮอรไคเมอร (Max HorKheimer / 1895-1973) อาโดรโน

Page 6: overall details before the mid-term test

15

(Theodor Adornol / 1903-1969) มิลส (C.Wright Mills / 1916-1962) และดาหเรนดอรฟ (Ralf Dahrendorf / 1916- ) เปนตน ไดอธิบายขยายความแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแยงทั้งที่เห็นดวยและขัดแยง นักสังคมวิทยารุนบุกเบิกทั้ง 2 คน 4 คนแรกเห็นดวยกับทรรศนะของกองตและไดพัฒนาทฤษฎีสังคมวิทยาแนวหรือสํานักหนาที่นิยม สวนอีก 6 คนหลังเห็นดวยกับมารกซและไดพัฒนาทฤษฎีสังคมวิทยาสํานักความขัดแยง แตอยางไรก็ตามผูวิจัยไดนําใชแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแยงทางสังคมและวัฒนธรรมเทานั้น เชน พาสันส โคเซอร และดาหเรนดอรฟ ซึ่งเปนทรรศนะที่เอื้อตองานการวิจัยครั้งนี้ โคเซอร (Coser, 1956 : 34-49) ไดอธิบายวาความขัดแยง (conflict) มีผลทั้งดานบวกและดานลบ ความขัดแยงเปนสวนหนึ่งของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม และไมมีสังคมใดที่จะมีความสุขไดอยางสมบูรณโดยไมมีความขัดแยงเลย ความขัดแยงในสังคมเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดเพราะปจเจกบุคคลตางก็มีทั้งรักและทั้งเกลียดอยูในตัว ดังนั้นความขัดแยงจึงเปนสวนหนึ่งในมนุษย ความขัดแยงเปนทั้งการทําลายและการสรางสรรค เพราะความขัดแยงเปนสวนหนึ่งของการแกไขปญหาเพื่อนําไปสูความเปนเอกภาพได ความขัดแยงเปนการกระตุนที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไดหลายรูปแบบ เชน เกิดกลุมใหม ๆ ข้ึนมา การลดความรุนแรงและความตึงเครียด หรือทําใหโครงสรางของกลุมมีความซับซอนเพิ่มมากขึ้น หรืออาจทําใหเกิดพันธมิตรกับกลุมอ่ืนได ความขัดแยงเปนพลังในการกระตุนใหสังคมเกิดมีการเปลี่ยนแปลง โคเซอร (Coser, 1975 : 207-209) ไดเสนอเพิ่มเติมวา ความขัดแยงไดกอใหเกิดการแบงแยกและความแตกแยกในชีวิตความเปนอยูของสังคมเปนอยางมาก แตในความเปนจริงแลวมันอาจเปนวิธีการที่กอใหเกิดความสมดุลของสังคม อีกอยางหนึ่งการหนาที่ของความขัดแยงก็คือการสรางบรรทัดฐานและกฎเกณฑใหมสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันใหมระหวางความแตกตางของกลุม และแกไขปรับปรุงที่อาจเปนไปไดของการแบงแยกที่พาใหเกิดความไมเสมอภาคในทางอํานาจและสิทธิอํานาจ ถาปราศจากความขัดแยงสังคมก็จะไมมีการเปลี่ยนแปลง สังคมจะขาดพลวัต สําหรับความขัดแยงของสังคมและความสรางสรรคทางสังคม มันไดแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธกันทางสังคมที่มีความมั่นคง และถาปราศจากความสรางสรรครวมกันก็จะไมสามารถทําใหการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีเกิดขึ้นได โคเซอรไดสรุปวา ความขัดแยงในสังคมตาง ๆ ไดกอใหเกิดนวัตกรรมทางสังคมและการผสมผสานกันทางโครงสรางของสังคมอยางเขมงวด โดยสรุปความขัดแยงทางสังคมตามทรรศนะของโคเซอรเปนเหตุและเงื่อนไขใหเกิดนวัตกรรมทางสังคมชวยใหระบบสังคมปรับตัวไดอยางมีประสิทธิภาพ (eufunction)

Page 7: overall details before the mid-term test

16

ดาหเรนดอรฟ (Dahrendorf, 1959 : 98-101) ไดแยงวา ความขัดแยงอาจจะเปนผลของการเปลี่ยนแปลงหรือไมก็ได และอาจจะเปนผลของการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบตาง ๆ ที่แตกตางกัน ความขัดแยงไดกอใหเกิดความมีเสถียรภาพที่ไดมีการดําเนินไปอยางตอเนื่อง ซ่ึงไมมีผูชนะตลอดกาลอยูในระหวางกลุมตาง ๆ ความผูกพันอยางเหนียวแนนในความสัมพันธที่เนื่องดวยความขัดแยง เปนผลของความพายแพของการสรางอํานาจหรือกลุมผูตอตานการปกครอง อาจเปนผลทั้งหมดหรือบางสวนของระบบที่เนนการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการกระจายสิทธิ ทรัพยากร และสิทธิอํานาจใหม นั้นคือกลไกใหเกิดการแกปญหาแนวใหม (resolution) เกี่ยวกับปญหาของสิทธิตาง ๆ และสิทธิอํานาจที่จะกอใหเกิดการจัดประเภทใหมเกี่ยวกับการวางเงื่อนไขตาง ๆ ทางสังคมและวัฒนธรรม ดาหเรนดอรฟ (Dahrendorf, 1964 ) ไดแสดงทรรศนะเกี่ยวกับความสัมพันธโครงสรางของความขัดแยงไว 3 รูปแบบดังนี้ 1) ผลประโยชนแอบแฝงของกลุม 2) ผลประโยชนของกลุมไดถูกเปดเผย 3) ความขัดแยงของกลุมที่เกิดขึ้นตามความเปนจริง ดาหเรนดอรฟ ไดแบงแยกสังคมออกสองรูปแบบที่สามารถมีความเจริญเติบโตไดคือ รูปแบบของสังคมที่ถือเอาความคิดเห็นของคนสวนใหญ หรือความลงรอยกัน และความเสมอภาคของสังคม แตดาหเรนดอรฟก็เห็นดวยกับรูปแบบของมารกซ คือรูปแบบของความขัดแยงและรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งทฤษฎีดังกลาวไดถูกนําใชก็ตอเมื่อมีการสรุปในฐานะของมารกซิสแนวใหม ที่ไดพัฒนามาโดยดาหเรนดอรฟ (Dahrendorf, 1990 : 5-7) ดังนี้

1) ความขัดแยงตาง ๆ เกี่ยวกับผลประโยชนของทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่ง โดยเฉพาะในการดํารงชีวิตของสังคม

2) การกระจายอํานาจที่มีความแตกตางกันในระหวางกลุมและสวน บุคคลในสังคมตาง ๆ

3) การบรรลุตามวัตถุประสงคระเบียบของสังคมในสังคมตาง ๆ โดย ผานกฎเกณฑและการควบคุมตาง ๆ ที่สําคัญโดยบุคคลที่มีอํานาจอยางเดิมที่ไปสูบุคคลที่มีอํานาจนอย และการบังคับใหปฏิบัติตามกฎหมายโดยผานการลงโทษ

4) โครงสรางของสังคมทั้งสองมีแนวโนมเปนระบบมาตรฐานที่มีอิทธิพลอยางแพรหลาย โดยบุคคลที่มีอํานาจมากไปสูบุคคลที่ออนแอกวาโดยการกําหนดที่ถูกตองที่แสดงใหเห็นผลประโยชนของบุคคลที่มีอํานาจมากเหลานั้น

Page 8: overall details before the mid-term test

17

5) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนเหตุที่ทําใหมีความแตกแยกของบุคคลที่มีอํานาจ มากกวาบุคคลที่มีอํานาจนอย ดวยเหตุนี้บุคคลที่มีอํานาจมากโดยทั่วไปจึงนิยมอยากดํารงในฐานะผูครองอํานาจใหนานที่สุดเทาที่จะเปนไปได และไมเห็นดวยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง เพราะอาจลดอํานาจของพวกเขาลง

6) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ไดเกิดขึ้นเพราะผลที่ไดรับโดยการกระทําของบุคคล ผูที่มีอํานาจ ดาหเรนดอรฟ ไดอธิบายวาลักษณะของความไมเทาเทียมกันในทางสิทธิอํานาจของกลุมตาง ๆ ในสังคมไดแบงออกเปนสองกลุม คือ กลุมที่มีอํานาจและไมมีอํานาจ เขาเชื่อวาความ ขัดแยงทางสังคมกําเนิดมาจากโครงสรางของความสัมพันธทางสิทธิอํานาจโดยชอบธรรม กลุมตาง ๆ มีผลประโยชนแอบแฝงที่ขัดแยงกัน เพราะกลุมที่มีอํานาจก็บํารุงรักษาสถานภาพเดิมเอาไวและกลุมที่ไมมีอํานาจก็มีแนวโนมการตอตาน เพราะกลุมที่ดอยกวาก็จะพัฒนามาเปนกลุมที่มีผลประโยชนและจะทําใหความขัดแยงรุนแรงขึ้นในที่สุดก็จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง โดยสรุปอํานาจตามทรรศนะของดาหเรนดอรฟเปนปจจัยที่กําหนดหรือลิขิตความขัดแยงทางสังคมเพิ่มข้ึนอีกเงื่อนไขหนึ่งแทนที่จะเปนเงื่อนไขทางเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว พารสันสเปนนักสังคมวิทยาสํานักหนาที่นิยมชาวอเมริกันอีกคนหนึ่งที่พยายามเสนอแนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามทรรศนะของนักสังคมศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเชนโทนนี (Ferdinand Toennies, 1855-1936) ที่เสนอวาสังคมมีแนวโนมเปลี่ยนจากสังคมแบบชุมชน (Gemeinschaft) ไปเปนสมาคมหรือองคการทางสังคมแบบทุติยภูมิ (Gesellschaft) ; คุล่ีย (Charles Cooley, 1864-1929) ที่เสนอวาสังคมมีแนวโนมจะเปลี่ยนจากกลุมปฐมภูมิ (primary group) ไปเปนกลุมทุติยภูมิ (secondary group) ; เรดฟลด (Robert Redfield) ที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยนสังคมชนบท (the rural) ไปเปนสังคมเมือง (the urban) ; เดอรไคมที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยนจากสังคมบูรณาการแบบจักกลนิยม (mechanic solidarity) ไปเปนบูรณาการแบบอินทรียนิยม (organismic solidarity) ; ริกส (Fred. W.Riggs) ที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยนจากสังคมกสิกรรม (agraria) ไปเปนสังคมอุตสาหกรรม (industria) และเวเบอร (Max Weber, 1864-1920) ที่ เสนอวาสังคมจะเปลี่ยนจากสังคมแบบจารีตประเพณี (traditional society) ไปเปนสังคมแบบทันสมัย (modern society) เปนตน (Pye, 1968 : 33-36) พารสันสเห็นดวยกับทรรศนะของเดอรไคมและเวเบอร พรอมกับเสนอวาสังคมจะเปลี่ยนแปลงจากสังคมที่มีโครงสรางและหนาที่แบบเรียบงาย (simplicity) กลายเปนสังคมที่มีโครงสรางและหนาที่แบบสลับซับซอน (complexity) ซึ่งมีนัยคลายกับทรรศนะของเวเบอรที่เสนอวาสังคมจะเปลี่ยน

Page 9: overall details before the mid-term test

18

สังคมแบบสังคมจารีตประเพณีและสังคมสมัยใหมตามทรรศนะของเวเบอร พารสันสเสนอวาสังคม 1) จะเปลี่ยนจากสังคมที่มีโครงสรางที่อาศัยสถานภาพที่ไดมาโดยกําเนิด (ascription) ไปเปนสังคมที่มีโครงสรางที่อาศัยสถานภาพที่ไดมาดวยความสามารถ (achievement) 2) เปลี่ยนจากสังคมที่สังคมที่มีหนาที่ที่ทําไดหลายอยางแตขาดความชํานาญเฉพาะทาง (diffuseness) ไปเปนสังคมที่มีหนาที่ที่มีความชํานาญเฉพาะทาง (specialization) 3) เปลี่ยนจากสังคมที่อาศัยปทัสถานที่เปนวิถีประชาและกฎศีลธรรม (folkways and mores) มาควบคุมพฤติกรรมไปเปนปทัสถานที่เปนตัวบทกฎหมาย (law) 4) เปลี่ยนจากคานิยมทางสังคมอิงศาสนา (religiously oriented value) ไปเปนคานิยมแบบวิทยาศาสตรหรือมีเหตุผล (scientic or rational value) และ 5) เปลี่ยนจากความสัมพันธทางสังคมแบบปฐมภูมิ (primary relationship) ไปเปนความสัมพันธแบบทุติยภูมิ (secondary relationship) (Parsons, 1951 : 76-88) หากจัดหมวดหมูแยกเปนสังคมกสิกรรมและสังคมอุตสาหกรรมหรือสังคมชนบทและสังคมเมือง หรือสังคมสมัยเกาและสังคมสมัยใหมก็จะมีลักษณะดังปรากฏในแผนภาพ 3

แผนภาพ 3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามทรรศนะของพารสันส สังคม ตัวแปร

สังคมกสิกรรมหรือ สังคมสมัยเกา

สังคมอุตสาหกรรมหรือ สังคมสมัยใหม

สถานภาพ การเกิด (ascription)

ความสามารถ (achievement)

บทบาท ไมชัดเจนขาดความชํานาญเฉพาะดาน (diffurseness)

ความชํานาญเฉพาะดาน (specialization)

ปทัสถาน วิถีประชาและกฎศีลธรรม (folkways / mores)

กฎหมาย (law)

คานิยม อิงศาสนา (religiously oriented)

อิงวิทยาศาสตร (scientifically oriented)

ความสัมพันธทางสังคม

ปฐมภูมิ (primary relationship)

ทุติยภูมิ (secondary relationship)

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก Parsons and Shils, 1951 : 77

แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมดังกลาวขางตนจะชวยใหผูวิจัยกําหนดแนวทางศึกษาของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของสังคมลาว โดยยึดการเปลี่ยนแปลง

Page 10: overall details before the mid-term test

19

ในเรื่องสถานภาพ บทบาท ปทัสถาน คานิยมและความสัมพันธทางสังคม ดังแสดงไวในแผนภาพที่ 2 เปนหลัก ซึ่งจะเชื่อมโยงกับแนวคิดการเปลี่ยนแปลงตามทรรศนะของกลุมมารกซิสต (Marxist approach) และแนวคิดการเปลี่ยนแปลงตามทรรศนะของกลุมทุนนิยม (non-Marxist approach) หรือทฤษฎีความทันสมัยแนวคิดทั้งสองตางก็อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีลักษณะเปนวิวัฒนาการ ซึ่งเปนจุดรวมกันของแนวคิดทฤษฎีทั้งสอง 4. ทฤษฎีความทันสมัย (Modernization) แนวคิดทฤษฎีความทันสมัยเปนแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาทางเศรษฐกิจจากระบบเกษตรกรรมไปเปนอุตสาหกรรม ซึ่งมีประเด็นที่ควรพิจารณาดังตอไปนี้ แบล็ กค (Black, 1966 : 1-34) ได อธิบ ายความหมายของความทั นสมั ยว า ประวัติศาสตรความทันสมัย ได เร่ิมแตการลมสลายของอาณาจักรคอนสแตนตี โนโปล (Constantinople) หรือการคนพบทวีปอเมริกาในป ค.ศ. 1492 แตโดยทั่วไปแลวยุคความทันสมัยไดนับเร่ิมตนประมาณป ค.ศ. 1500 ในยุคที่ผานมา ความทันสมัย (modernity) จะพุงประเด็นไปที่ความกาวหนาในดานเทคโนโลยี การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แบล็กคไดอธิบายเพิ่มอีกวา นอกจากคําวา การทําใหทันสมัย (modernization) ที่ใชบรรยายของกระบวนการพัฒนาแลวยังมีคําศัพทอ่ืนอีกที่ใชอธิบายการเปลี่ยนแปลงพัฒนา เชนคําวา “Europeanization” และ “Westernization“ เปนคําศัพทที่ถูกนํามาใชเพื่ออธิบายปรากฎการณดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งไดอธิบายถึงลักษณะสังคมตาง ๆ ที่พัฒนาแลว แมวาคําศัพท “Europeanization” และ “Westernization“ มีความสําคัญมาก แตก็เปนสวนหนึ่งของกระบวนการของการทําใหทันสมัยเทานั้น คําวา “การทําใหเปนตะวันตก” (Westernization) โดยลอกเลียนเอาอยางอังกฤษและฝร่ังเศสในศตวรรษที่ 17 และ 18 ก็ดี คําวา การทําใหเปนแบบสังคมยุโรป “Europeanization” ก็ดี คําวา การทําใหเปนอุตสาหกรรม (industrialization) ก็ดีลวนเปนคําที่มีความหมายไมกวางพอที่จะอธิบายในความหมายของการทําใหทันสมัยใหครอบคลุมไดเพราะวาการทําใหเปนตะวันตกไดเนนทางเศรษฐกิจเพียงดานเดียว และทําใหไดรับผลอยางรวดเร็วคือการปฏิวัติทางดานเทคโนโลยี คําวาการทําใหทันสมัยเปนคําที่นิยมใชมากกวา ซึ่งสันนิษฐานไดวาเปนผลที่ไดระเบิดขึ้นอยางตอเนื่องของการทําใหทันสมัยที่ไดแพรหลายในปลายศตวรรษที่ 20

Page 11: overall details before the mid-term test

20

แบล็กคไดใหความหมายของการทําใหทันสมัยวา เปนกระบวนการวิวัฒนาการตามกาลเวลาขององคการตาง ๆ ที่ไดมีการปรับตัวไปสูการเปลี่ยนแปลงที่กาวหนาอยางรวดเร็ว ซึ่งไดสะทอนใหเห็นองคความรูของมนุษยไดเพิ่มข้ึนอยางไมเคยมีมากอน การยอมรับในการควบคุมดานสิ่งแวดลอมไปพรอมกับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตรของพวกเขา แนวความคิดเกี่ยวกับการทําใหทันสมัยเหมือนกับการทําใหเปนยุโรปหรือการทําใหเปนตะวันตก คือ การสะสมความรูและวิธีการของการบรรยายดวยเหตุผลเพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค การทําใหทันสมัยมีความผูกพันอยางลึกซึ้งกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีความขัดแยงตาง ๆ ระหวางคานิยมทางประเพณีกับคานิยมความทันสมัย และเกี่ยวของกับชะตากรรมของมนุษยโดยเฉพาะในยุคที่มีพลวัตสูงเนื่องเพราะความเปนสมัยใหม (the dynamics of modernization) เล วี่ (Levy, 1966 : 74-79) กล า วว า ก ารทํ า ให ทั น สมั ย ท างสั งคม ได มี ก า ร เปลี่ยนแปลงของสังคมที่ดําเนินไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชวงระยะที่ยาวนานดังที่ไดปรากฏใหเห็นรูปแบบพื้นฐานของความสัมพันธระหวางการเริ่มตนเปลี่ยนของคนเราในการพัฒนาสังคมมีอยู 4 ประการคือ 1) รูปแบบของความสัมพันธพื้นฐานไดเปลี่ยนจากความผูกพันที่มีอิทธิพลทางประเพณีไปสูพื้นฐานอันอื่น โดยความมีเหตุผลทางดานสิทธิ์ผลประโยชนของการแลกเปลี่ยน 2) ความสัมพันธพื้นฐานเกี่ยวกับความจงรักภักดี โดยเฉพาะบุคคลที่มี บทบาท เชน ญาติ วงศตระกูล ซึ่งไดเร่ิมเปลี่ยนแทนความสัมพันธพื้นฐาน โดยไดประยุกตใชขอกําหนดและหลักการตาง ๆ โดยทั่วไปมากกวา เชน อํานาจและสิทธิและหนาที่ของประชากรนี้คือลักษณะที่เรียกวา การเปลี่ยนจากลักษณะความจงรักภักดีไปสูลักษณะทั่วไป 3) ในทางตรงกันขามความสัมพันธในระบบประเพณีมีแนวโนมไปสูการกระจายหนาที่ในเชิงปฏิบัติระหวางตัวบุคคลที่มีบทบาท การทําใหทันสมัยไดแสดงใหเห็นการเพิ่มข้ึนในความสัมพันธของประชาชนที่ไดกําหนดสิทธิ์และพันธะไวในความสัมพันธระหวางนายจางกับลูกจาง หรือผูประกอบการกับลูกคา 4) การทําใหทันสมัยไดทําใหผลผลิตเพิ่มข้ึนและหลีกเลี่ยงในความสัมพันธอันสนิทสนมที่ขยายไปสูระดับกวางของความสัมพันธ เลวี่ไดกลาวอีกวา ระดับโครงสรางของการทําใหทันสมัยทางสังคม เปน การทําใหเปนวิชาชีพเพิ่มข้ึนและการรวมอํานาจไปสูศูนยกลางเพิ่มมากขึ้น และการพึ่งพาตนเองของหนวยทองถิ่นลดลง เชน ครอบครัวและหมูบาน

Page 12: overall details before the mid-term test

21

แบล็กค (Black, 1966 20-21) ไดอธิบายวาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยาง ลึกซึ้งไดดําเนินไปดวยสติปญญา การเมืองและลักษณะทางเศรษฐกิจของการทําใหทันสมัย และพรอมเดียวกันนี้ก็มีการเคลื่อนยายของประชากรในประเทศที่มีการพัฒนาแลวเพิ่มมากขึ้นคือ 1 ใน 5 ของประชากร ในแตละปไดเคลื่อนยายจากทองถิ่นหนึ่งไปยังอีกทองถิ่นอื่น เพื่อแสวงหาการตอบสนองความเรียกรองตองการในดานการประกอบอาชีพ การทําใหทันสมัยยังไดดําเนินไปพรอมกับการขยายความรูหนังสือของประชาชนจากอัตราสวนของประชาชนในสังคมเดิมมีความรูหนังสือนอย ซึ่งไดทําใหประชาชนสวนมากมีความรูหนังสือเพิ่มข้ึน การทําใหทันสมัยของประเทศที่พัฒนาแลวยังไดสงเสริมในดานการกระจายรายไดใหเทาเทียมกันในประเทศที่พัฒนาแลวยังไดบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงค ในการเก็บภาษี รายไดและการทําประกันภัยสั งคม เพื่ อใหมี แนวโนมลดความแตกตางกันในดานรายไดของสังคม ไอเซนสแตดท (Eisenstadt, 1969) ไดสรุปไววา ทฤษฎีการทําใหทันสมัยเปนทฤษฎีที่อธิบายถึงกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงสภาพจากสังคมประเพณีไปสูสังคมสมัยใหม ซึ่งตามประวัติศาสตรการทําใหทันสมัยเปนกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงไปสูการเลียนแบบอุตสาหกรรมในอัสดงคตประเทศการพัฒนาในยุโรปตะวันตกและอเมริการเหนือ ซึ่งไดเร่ิมตนตั้งแตศตวรรษที่ 17-18 และไดแพรหลายไปสูประเทศในยุโรปอ่ืน ๆ และตอมาในศตวรรษที่ 19-20 ไดแพรกระจายไปสูทวีปอเมริกาใต ทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา ทฤษฎีการทําใหทันสมัยเปนแนวคิดหลักในสาขาสังคมวิทยา การพัฒนาและการดอยพัฒนาของชาติเร่ิมต้ังแตทศวรรษ 1950 เร่ิมแรกทฤษฎีนี้ไดใหความสนใจกับวิถีทางสังคมดั้งเดิมและสังคมกอนสมัยใหม โดยผานกระบวนการการพัฒนาทางเศรษฐกิจแลวเปลี่ยนแปลงโครงสรางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมแลวกลายเปนสังคมสมัยใหม เลอรเนอร (Lerner, 1968) ไดกลาววาการทําใหทันสมัยทางเศรษฐกิจนั้น เปนการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเปนจุดศูนยกลางของกระบวนการทําใหทันสมัย ซึ่งเขาไดสรุปวาการทําใหทันสมัยทางเศรษฐกิจสวนมากเปนวิธีการที่ เปลี่ยนจากการดํารงชีพที่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจไปสูการพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจที่มีความเจริญเติบโต ในความจริงแลวไดเกี่ยวของกับเงื่อนไขตาง ๆ เหลานี้คือ 1) การยกระดับของเทคโนโลยีแหงการผลิตทางเศรษฐกิจใหสูงขึ้น 2) การพัฒนาเกี่ยวกับการครอบคลุมทางเศรษฐกิจเงินตรา 3) การพัฒนาตลาดใหอยูในระดับกวางใหญ

Page 13: overall details before the mid-term test

22

สเมลเซอร (Smelser, 1966) ชี้ใหเห็นวาการทําใหทันสมัยของสังคมจะเกิดขึ้น โดยผานกระบวนการความแตกตางทางสังคม การสรางสิ่งรบกวนทางสังคม แลวทําใหมีการบูรณภาพขึ้นใหม เขาเนนถึงการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ๆ 4 ประการคือ 1) การเปลี่ยนแปลงจากเทคโนโลยีแบบงายไปสูเทคโนโลยีที่มีความซับซอน 2) การเปลี่ยนจากระบบการทําฟารมเพื่อยังชีพไปสูการเกษตรกรรมเพื่อการคา 3) การเปลี่ยนจากประชากรชนบทไปเปนประชากรเมือง 4) การเปลี่ยนจากการใชพลังสัตวและพลังงานมนุษยไปใชพลังที่ไมมีชีวิต โรสทาว (Rostow, 1961 : 360-362) ไดกลาววา ตัวแบบหนึ่งที่มีผลกระทบของการทําใหทันสมัยทางเศรษฐกิจคือ ตัวแบบของขั้นตอนทะยานขึ้นของเขา ซึ่งเขาไดเปรียบเทียบผลสําเร็จของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับเครื่องบินที่กําลังทะยานขึ้นจากลานอิ่งและเขาไดเนนถึงขั้นตอนของการพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ประการคือ

1) การปรับตัวทางประเพณี (the traditional setting) ในทางประเพณีแลวการนําใช เทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการผลิตทางเศรษฐกิจยังถูกจํากัดและการพัฒนาดานการตลาดยังไมเขมเข็ง การดํารงชีวิตแบบพอยังชีพมีอยูเปนภาคสวนใหญของเศรษฐกิจ 2) เงื่อนไขกอนการเจริญเติบโต (the precondition of growth) ความตองการของความเจริญเติบโตในทางจิตวิทยาที่แพรหลาย คือ มวลชนตองการมีระดับความรูหนังสืออานออกเขียนได มีศูนยรวมอํานาจทางบริหารและสิ่งที่สําคัญที่สุดก็คือ ใหมีการพัฒนาโครงสรางสวนลาง เชน การคมนาคม การขนสง การธนาคาร การลงทุน และระบบสินเชื่อ 3) ข้ันทะยานขึ้น (the takeoff) เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมมีความเจริญเติบโตอยางรวดเร็วในภาคสวนเศรษฐกิจขนาดเล็กในทางการเกษตร หรือการทําเหมืองและความเจริญเติบโตของยอดผลิตภัณฑมวลรวมของประชาชาติในระหวาง5-10 เปอรเซ็นต ของความเติบโตทางเศรษฐกิจ 4) พลังขับไปสูความอุดมสมบูรณ (the drive to maturity) ไดมีการประยุกตใชเทคโนโลยีระดับสูง ประสานกับภาคสวนตาง ๆ ของเศรษฐกิจ 5) สังคมข้ันอุดมโภคาเปนสังคมที่เจริญเติบโตเต็มที่ทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (the maturity of industrial economy) คือ ความหลากหลายในการบริโภคทางเศรษฐกิจของมหาชนไดมีการพัฒนาขึ้น ไอเซนสแตดท (Eisenstadt, 1977 : 123-144) ไดวิเคราะหพลวัตของอารยธรรมและการพัฒนาของสังคมยุโรป และไดสรุปวาสังคมยุโรปเปนสังคมที่มีความหลากหลายทางประเพณี

Page 14: overall details before the mid-term test

23

วัฒนธรรม ประเพณีของยุโรปมีรากฐานมาจากยิว-คริสเตียน กรีก-โรมัน และเผาอื่น ๆ อีกเปนอยางมาก ความมีหลากหลายทางวัฒนธรรมประเพณีเหลานี้ไดมีการปรับตัวและตกผลึกกลายเปนอารยธรรมของยุโรป การพัฒนาความทันสมัยในสังคมยุโรปจึงเปนผลมาจากการปรับศูนยกลางทางการเมือง การปรับแนวความคิดทางศาสนาและขอเสนอทางวัฒนธรรม และมีการพัฒนาระบบทุนนิยมควบคูกันไปโดยศาสนาคริสตนิกายโปรเตสแตนทไดมีบทบาทสําคัญในการสรางความสัมพันธที่สอดคลองระหวางระเบียบที่เหนือธรรมชาติและระเบียบทางสังคมวัฒนธรรมของยุโรป จนเปนผลใหเกิดการเปลี่ยนสภาพของอารยธรรมของยุโรปและมีการขยายตัวของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง ไดทําใหระเบียบทางสังคมและวัฒนธรรมเปลี่ยนสภาพ การพัฒนายุโรปสมัยใหมจึงเปนการพยายามสรางวัฒนธรรมที่มีเหตุผล เศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพ สังคมของพลเรือนและรัฐชาติใหเกิดขึ้นอยางเต็มที่ ไอเซนสแตดทยังไดสรุปวา กระบวนการพัฒนาความทันสมัยของยุโรปเปนกระบวนการที่เต็มไปดวยความขัดแยงและการตอสู การพัฒนาไดสรางปญหาขึ้นในสังคมอยางมากมาย ปญหาที่เกิดขึ้นจากการทําใหเปนอุตสาหกรรมและการพัฒนาระบบทุนนิยมไดกลายเปนปญหาที่สําคัญที่จะตองแกไข เนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางสมัยใหม ไดทําใหเกิดสภาวะแปลกแยกและภาวะไรบรรทัดฐานขึ้นในสังคมเปนอยางมาก ไอเซนสแตดท ได เสนอแนะเพิ่ ม เติม อีกวา การศึกษาวิจัย เกี่ยวกับการทําให ทันสมัยในทางสังคมวิทยา ควรเนนการวิเคราะหความสัมพันธระหวางการปรับตัวทางวัฒนธรรมและองคการที่มีโครงสรางทางสังคมที่แตกตางกัน แบบแผนที่พัฒนาขึ้นมาภายในสังคมแตละแหง ส่ิงแวดลอมทางประวัติศาสตรของแตละสังคม และการตอบสนองของสังคมตาง ๆ ตอผลกระทบของการทําใหทันสมัยที่ไดพัฒนาขึ้นมาในสังคม เขาเชื่อวาการศึกษาในประเด็นตาง ๆ จะทําใหแตละสังคมคนพบรูปแบบการพัฒนาความทันสมัยเฉพาะสังคมที่มีความแตกตางกันออกไป ทฤษฎีการทําใหทันสมัยถือวาสังคมทันสมัยหรือสังคมสมัยใหมนั้นไดตางจากสังคมดั้งเดิมอยูมาก ฮันติงตัน (Huntington, 1968) กลาววา การพัฒนาประเทศใหทันสมัยจะตองดําเนินไปทั้งในแงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ความรูสึกนึกคิด และความรูของคนในสังคมนั้นจะขาดดานใดดานหนึ่งไมได เพราะแตละดานยอมมีความสัมพันธสงผลซ่ึงกันและกันเขาอธิบายตอวา กิจกรรมทางเศรษฐกิจจะไมจํากัดเพียงอยางหรือสองอยาง หากแตมีความสลับซับซอนมากขึ้น ระดับของความชํานาญสูงขึ้น สัดสวนของทุนตอแรงงานเพิ่มข้ึน มีการขยายตัวทางการคาและตลาดทั้งภายในและตางประเทศ ซึ่งทําใหสามารถถึงทรัพยากรทั้งคนและสิ่งของจากแหลงตาง ๆ มาใชไดอยางกวางขวางเกิดเปนเครือขายของระบบเศรษฐกิจที่มีความเหนียวแนน การเกษตรลด

Page 15: overall details before the mid-term test

24

ความสําคัญลงเมื่อเทียบกับการคาอุตสาหกรรม และบริการอื่น ๆ ซึ่งแนวความคิดนี้เชื่อวา เปนวิธีการที่ทําใหความเปนอยูทางเศรษฐกิจของประชาชนดีข้ึนความไมเทาเทียมกันทางเศรษฐกิจลดลง นอกจากนี้ยังมีการอิงทฤษฎีการคาเสรีของนักเศรษฐศาสตรนีโอคลาสลิกดวย เพื่อแกปญหาขาดแคลนทุนเพื่อการลงทุน โดยถือวามีความสําคัญเปนอันดับแรกของกระบวนการพัฒนาประเทศ ดังนั้นการสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศและการรับเอาความชวยเหลือจากตางประเทศ จึงเปนกุญแจสําคัญสําหรับการพัฒนาประเทศใหทันสมัย ถึงแมวาการพัฒนาตามแนวทฤษฎีความทันสมัยในแงเศรษฐกิจจะมีลักษณะเปนพลวัตมาก แตก็เปนตัวกําหนดและพลังหลักในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจก็ตาม นักทฤษฎีความทันสมัยหลายคนมองวา การพัฒนาเศรษฐกิจข้ึนอยูกับความทันสมัยในแงอ่ืนดวยคือ ความรูสึกนึกคิดทางสติปญญา ทางการเมือง และรวมทั้งความเจริญเติบโตทางดานความรูและความสามารถของผูนําทางการเมืองในอันที่จะนําทรัพยากรมาใช แบล็กค (Black, 1966 : 90-96) กลาววาในกระบวนการทําใหทันสมัยนั้นทุกสังคมตองประสบปญหาสําคัญ 4 ประการคือ 1) การที่สังคมตองเผชิญกับความคิดและบทบาทใหม ๆ ยอมไดรับการตอตานจากคนอีกแนวคิดหนึ่งหรือคนกลุมหัวเกา 2) การผนึกตัวของความเปนผูนําหัวใหม ทั้งนี้เพราะมีการโอนถายอํานาจจากหัวหนาเกาสูหัวหนาใหมและอาจมีการปฏิวัติตอสูหลายชั่วอายุคน 3) การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมกลาวคือ มีการพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมไปจนถึงสุดที่สังคมเปลี่ยนแปลงจากชีวิตแบบชนบทและเกษตรกรรมสวนใหญเปนชีวิตของเมืองและในภาคอุตสาหกรรม 4) การรวมตัวของสังคม ซึ่งในขั้นที่เศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงนั้นจะทําใหเกิดการปรับตัวโครงสรางองคกรของสังคมในทุกสวนของสังคมอยางถึงขั้นพื้นฐาน สเมลเซอร (Smelser, 1966 : 118-121) กลาววา การทําใหทันสมัยทางการเมืองไมมีความสัมพันธกับการสรางชาตินั้นเปนการเชื่อมความสัมพันธระหวางชนกลุมนอยที่แตกตางกันดานภาษาและเขตการปกครองของเผาตาง ๆ ที่ไดประกอบกันเปนชาติและรวมทั้งระบบการปกครองในสมัยกอนประเทศที่มีการพัฒนานอย (Less-Developed Countries-LDCs) ที่เปนอาณานิคม เชน ประเทศไนจีเรีย (Nigeria) และประเทศมาเลเซีย (Malaysia) ประชาชนมีความแตกตางกันในดานการเมือง และเขตการปกครองที่ไดสืบทอดมาจากความเปนอาณานิคม การสรางชาติ

Page 16: overall details before the mid-term test

25

เปนวิธีการของการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองแบบระบบราชการที่มีโครงสรางที่ทันสมัย การสรางชาติ เปนกระบวนการของระบบสิทธิและสิทธิ อํานาจของเผาชนและหมูบานที่ เปน แนวทางไปสูระบบสิทธิในการออกเสียงแบบทั่วไปของบรรดาพรรคการเมืองและการบริหารแบบระบบราชการของพลเรือน การทําใหทันสมัยทางการเมืองเกี่ยวของกับการมีสวนรวมของประชาชนในอํานาจบริหารเพิ่มมากขึ้น เลวี (Levy, 1993 : 246-247) ไดอธิบายวาการทําใหทันสมัยทางการเมือง (political modernization) เปนวิธีการเปลี่ยนเปนแบบรัฐสภาประชาธิปไตยตะวันตก แตยังเปนการรับรูโดยทั่ว ๆ ไปวา LDCs ไดมีการปกครองแบบเผด็จการ ถึงแมวาเขาจะมีระบบการปกครองแบบรัฐสภาก็ตาม แตดูรูปนอกเหมือนไมมีความสําคัญเลยเกี่ยวกับรูปแบบดังกลาวนี้ แต LDCs ไดพัฒนาพรรคการเมืองบนพื้นฐานมวลชนที่มีความขัดแยงกันกับเผาชนสวนนอยนั้นมันเปนพาหนะการเคลื่อนไหวระดับชาติ (national mobilization) ความนึกคิดและหลักการใหม ๆ ไดผสมผสานรวมกันไดทําใหการทําใหทันสมัยทางการเมืองไดผูกพันกับการมีสวนรวมของประชาชนเพิ่มมากขึ้นในอํานาจการบริหาร ฮันติงตัน (Huntington, 1968 : 34-50) กลาววาการพัฒนาประเทศใหทันสมัยทางการเมืองประกอบดวย การใชอํานาจการปกครองอยางมีเหตุผลเหมาะสม การแยกแยะโครงสรางตางๆ การขยายขอบเขตการมีสวนรวมทางการเมืองใหครอบคลุมคนกลุมตาง ๆ และระดับตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น การรวมกลุมตาง ๆ ของทองถิ่นเขาดวยกันในแกนนอนและการรวมตัวกันของชนชั้นทางเศรษฐกิจและสังคมในแกนตั้งเปนตัวทําใหเกิดความสํานึกทางการเมืองและการมีสวนรวมทางการเมือง โดยเชื่อวาหากมีความสมดุลระหวางการมีสวนรวมนั้นกับการทําใหลักษณะการเปนสถาบันเกิดขึ้นกับความเปนไปทางการเมืองจะทําใหเกิดเสถียรภาพทางการเมือง ทฤษฎีความทันสมัยนี้ชวยเสริมแนวคิดทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามทรรศนะของพาสันสที่เสนอไวขางตนใหชัดเจนยิ่งขึ้นและชวยใหผูวิจัยสามารถอธิบายมิติของการเปลี่ยนแปลงที่กําเนิดขึ้นในหมูบานนายาง เมืองนาทรายทอง กําแพงนครเวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในขณะนี้ไดดียิ่งขึ้น เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดารารัตน เมตตาริกานนทและสมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2529) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณีหมูบานนาปาหนาด” ตําบลเขาแกว อําเภอเซียงคาน จังหวัดเลย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะ

Page 17: overall details before the mid-term test

26

และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม โดยใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณผสมผสานกัน ใชวิธีการสังเกตการและการมีสวนรวมภายในหมูบานอยางใกลชิดเพื่อสังเกตพฤติกรรมของบุคคลภายในหมูบานและใชการสัมภาษณตามแบบสอบถามหัวหนาครัวเรือนจํานวน 177 ครัวเรือน จากการศึกษาพบวาในดานเศรษฐกิจยังมีลักษณะเศรษฐกิจแบบยังชีพยังคงปรากฎอยู ในขณะเดียวกันการผลิตแบบการคาไดเขามามีบทบาทมากข้ึน สวนการเปลี่ยนแปลงดานสังคมและวัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาว พบวา ดานเศรษฐกิจมีการนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาใชในการเกษตร สวนการลงทุนดานตาง ๆ ยังมีนอยมาก แตภาระหนี้สินกลับมีแนวโนมเพิ่มข้ึน ดานสังคมและวัฒนธรรมมีแนวโนมจะใชส่ิงอํานวยความสะดวกสบายตาง ๆ มากขึ้น สุวิทย ธีรศาศวัต และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2529) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณีบานโนนตะแบก” ตําบลตลาดแรง อําเภอบานเขวา จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะและ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม โดยใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสังเกตพฤติกรรมของคนภายในหมูบาน สนทนาและเขารวมบางกิจกรรมกับชาวบานและไดใชวิธีการเชิงปริมาณมาประกอบการวิจัยดวย โดยใชการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือนจํานวน 294 ครัวเรือน การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติอยางงายเพื่อบรรยายและอธิบายของ ขอเท็จจริงตาง ๆ จากการศึกษาพบวา ดานเศรษฐกิจแตเดิมหมูบานมีเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ ระบบแรงงานมีการลงแขก เมื่อมีการนําพืชเศรษฐกิจคือปอและมันสําปะหลังเขามาปลูกทําใหมีการผลิตเพื่อยังชีพและขาย ทําใหที่ดินทําไรเพิ่มข้ึน 30-60 เทา ดานสังคมและวัฒนธรรมคือ ระบบเครือญาติที่มีการพึ่งพาซึ่งกันและกันไดเปลี่ยนเปนการพึ่งพาตนเองใหมากขึ้น แตความสัมพันธในครอบครัวและการยึดมั่นในประเพณีและความเชื่อมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวคือรายจายและหนี้สินเพิ่มสูงขึ้นจากรอยละ 51.0 เปนรอยละ 65.6 ของครัวเรือนทั้งหมด ซึ่งเปนผลจากแหลงอาหารตามธรรมชาติถูกทําลาย รวมทั้งการใชเทคโนโลยีทางการเกษตรและการรับเอาความทันสมัยโดยเครื่องใชไฟฟาในบาน ดุษฎี กาฬออนศรี และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2530) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณีหมูบานชาวเยอเขตอีสานใต” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม โดยใชวิธีวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณผสมผสานกันโดยใชวิธีการสังเกตอยางมีสวนรวมอยางใกลชิด และเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณตาม

Page 18: overall details before the mid-term test

27

แบบสอบถามหัวหนาครัวเรือนจํานวน 188 ครัวเรือน จากการศึกษาพบวาดานเศรษฐกิจไดเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไปกลายเปนระบบเศรษฐกิจแบบการคามากขึ้น มีสถาบันทางการเงินเขามามีบทบาทในหมูบาน ดานอาชีพไดมีการเปล่ียนอาชีพจากทํานาอยางเดียวมาประกอบอาชีพอื่นเพิ่มข้ึนและมีการจางงานไดปรากฎใหเห็นชัดเจน ดานสังคมและวัฒนธรรมคือบทบาทของสถาบันครอบครัว บทบาทของพอแม การแบงมรดก การสรางบานเรือน และความสัมพันธระหวางเครือญาติไดเกิดมีการเปลี่ยนแปลงเพราะหนวยราชการที่เกี่ยวของเขามาทําหนาที่แทน เชน โรงเรียนและหนวยงานอื่นของรัฐ สุวิทย ธีรศาศวัต และคณะ (2530) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจในชุมชนลุมแมนย้ําสงคราม ตั้งแต พ.ศ. 2475 ถึงปจจุบัน” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบหมูบานฐานะยากจน หมูบานฐานะปานกลาง หมูบานฐานะร่ํารวย และชุมชนเมืองในบริเวณลุมแมน้ําสงครามในจังหวัดสกลนคร นครพนม และหนองคาย โดยศึกษาปจจัยและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ โดยใชวิธีเชิงคุณภาพเปนหลักและใชวิธีวิจัยเชิงปริมาณเปนตัวประกอบ โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณและการเสนอขอมูลสวนใหญเปนพรรณนาวิเคราะหและขอมูลที่เปนเชิงปริมาณเสนอเปนรอยละและคาเฉลี่ย จากการสัมภาษณ หัวหนาครัวเรือนจํานวน 170 ครัวเรือน จากการศึกษาพบวาสามในสี่ของหมูบานมีระบบเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ การคาขายแลกเปลี่ยนมีไมมากนักเพราะหมูบานมีทรัพยากรพอเพียงประกอบกับการคมนาคมไมสะดวก การคาขายทําไดเฉพาะฤดูแลง สวนการคาขายทางน้ําสองในสี่หมูบานทําไดเฉพาะหนาน้ํา สินคาสวนมากเปนเครื่องมือเหล็ก สําหรับอีกหนึ่งหมูบานตองพึ่งพาหมูบาน อ่ืน เพราะมีที่นาทํากินนอยจึงผลิตขาวไมพอบริโภค แตมีอาชีพหลักในการจับปลาไปแลกขาว การนําพืชเศรษฐกิจมาปลูกคือปอและมันสําปะหลังทําใหการผลิตเพื่อกินเพื่อใชเปลี่ยนเปนการผลิตเพื่อกินเพื่อใชเพื่อขายเปนหลัก ผลกระทบจากการนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูกไดทําลาย แหลงอาหารสําคัญของหมูบาน ทําใหประชาชนมีรายจายเพิ่มข้ึนในการซื้อสินคานานาชนิด และผลที่ตามมาก็คือหนี้สินเพิ่มมากขึ้น รุทธ กลอมชอุม (2527) ศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่กระตุนใหประชาชนเขารวมในโครงการพัฒนาชุมชนในเขตชนบทยากจน : ศึกษาเฉพาะกรณีหมูบานพัฒนาดีเดน พ.ศ. 2526 ของจังหวัดอุตรดิตถ” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่เปนตัวกระตุนสําคัญ ที่ทําใหประชาชนรวมมือใน โครงการพัฒนาชุมชน และเพื่อหาแนวทางในการกําหนดรูปแบบของการพัฒนาอยางมี ประสิทธิภาพ โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลใชแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางของ 3 หมูบาน คือ หมูบานปาบอน หมูบานนากล่ํา และหมูบานดงงาม หมูบานละ 60 คน โดยใชสถิติในการวิเคราะห

Page 19: overall details before the mid-term test

28

ใชคารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชสูตรคาไคสแควร จากการศึกษาพบวา ประชาชนในชุมชน 3 หมูบาน ไดมีความรู ความเขาใจ และเห็นประโยชนของการลดละ และเลิกสุรา เลิกการพนัน ประชาชนมีสวนรวมในการปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในหมูบาน การรักษาความปลอดภัย การมีน้ําดื่ม น้ําใชภายในหมูบาน การศึกษาและวัฒนธรรม การพัฒนาอาชีพ การรวมกลุมเกษตรกรและสหกรณ เปนตน ประชาชนไดรับการอบรมเกี่ยวกับการเกษตรที่จะทําใหเพิ่มผลผลิต และมีรายไดเพิ่มข้ึน รัฐบาลไดใหการสนับสนุนในดานการจัดหาเครื่องจักรกล ในการพัฒนาใหแกหมูบาน คือ ไฟฟาและชลประทาน เพื่อการเกษตรและการปฏิรูปที่ดินในหมูบาน เพื่อทําใหประชาชนมีเศรษฐกิจที่ดีข้ึน การมีที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอมที่ดีข้ึน ผลงานวิจัยในเรื่องนี้ โดยเฉพาะผลงานวิจัยในสวนที่เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพ การรวมกลุมเกษตรกรและสหกรณเปนประเด็นที่มีสาระสําคัญที่เอื้อตอการศึกษาของผูวิจัย โดยเฉพาะในแงของการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจในระดับชุมชนหมูบาน บัวพันธ พรรคทึงและคณะ (2532) ศึกษาเรื่อง “การพัฒนาชนบท : การเขารวมในกระบวนการพัฒ นาของชาวบ าน ” ใน 7 หมู บ านของตํ าบลหนองนมวั ว และตํ าบล วังมา อําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค คือ บานหนองนมวัว บานหนองกระดูกเนื้อ บานหนองเดิ่น บานวังดินดาด บานกระทุมลาย บานน้ําลืม และบานหนองกระทิง มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเขารวมในกระบวนการพัฒนา ทั้งในสวนที่กลไกของรัฐ และเกิดขึ้นเองโดยชาวบาน และศึกษาปจจัยที่มีผลตอการเขารวมในการพัฒนาชนบทของชาวบาน โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการสัมภาษณชาวบาน หัวหนาครัวเรือน ซึ่งมีจํานวน 329 คน การวิเคราะหขอมูล โดยการใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS ในการประมวลผล และการใชสถิติคาไคสแควร จากการศึกษาพบวาประชาชนใน 7 หมูบาน มีอาชีพทํานาเปนหลัก และปลูกพืชไร ชาวบานสวนใหญมีที่ดินทํากินทั้งเปนของตนเอง และเชาที่ดินของผูอ่ืนเพื่อทําการเพาะปลูก ภายในหมูบานจะมีการจางงานกัน โดยเฉพาะในระยะมีการเพาะปลูก และเก็บเกี่ยวผลผลิต ประชาชนสวนใหญมีหนี้สินเพราะไดมีการกูยืมเงินมาลงทุนในการผลิต ในดานกิจกรรมการพัฒนาหมูบาน ชาวบานไดเขารวมกับองคกรของรัฐและไดรับความชวยเหลือจากหนวยราชการเจาหนาที่ของรัฐ ยกเวนในกิจกรรมพัฒนาสภาพแวดลอมทางกายภาพ เชน ปรับปรุงถนน ทําความสะอาดบริเวณถนนในหมูบาน และซอมแซม หรือขุดสระน้ํา แตชาวบานมีความสัมพันธในการเขารวมโครงการของรัฐเปนสวนมาก ชอบ ดี ส วน โคก และคณ ะ (2529) ศึ กษ า เรื่ อ ง “ป ระวั ติ ศ าสต ร เศ รษ ฐกิ จ ลุมแมน้ําชี ระหวาง พ.ศ. 2475-2526 : ศึกษากรณีสามหมูบาน ในจังหวัดรอยเอ็ด กาฬสินธุ และขอนแกน” ประเทศไทย มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประวัติหมูบาน การคา บทบาทของ

Page 20: overall details before the mid-term test

29

รัฐบาลในการสรางโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจในลุมแมน้ําชี โดยใชวิธีการของประวัติศาสตรบอกเลาเปนหลักผสมกับวิธีเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือนทุกคนในสามหมูบาน จํานวน 164 คน ใชสถิติอยางงาย คือ รอยละ และคาเฉลี่ย จากการศึกษาพบวาทั้งสามหมูบานมีการผลิตแบบยังชีพ มีการใชเงินตรานอยมาก มีความสัมพันธกับเมืองและรัฐนอย การคาขายแลกเปลี่ยนระหวางหมูบานมีนอย สวนใหญเปนการแลกเปลี่ยนของตอของในปที่เกิดฝนแลงหรือน้ําทวม แตจะมีการแลกเปลี่ยนในดานสินคาที่หมูบานผลิตไมได คือ เกลือ เข็มเย็บผา และเครื่องมือเหล็ก หลังจากมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ หมูบานทั้งสามมีการเปลี่ยนแปลงเปนอันมาก ที่เห็นไดชัด คือ ชองวางระหวางคนจน คนรวยมี มากขึ้น ปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังกลาว คือ ความไมสมดุลระหวางการเพิ่มข้ึนของประชากร กับธรรมชาติที่ถูกทําลาย การนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูก คือ ปอ และมันสําปะหลัง ทําใหเกิดมีการผลิตเพื่อขาย และรัฐบาลก็ไดสรางชลประทาน ทําใหการเพาะปลูกไดรับผลดี ทั้งไดสรางถนน ไฟฟาไปสูประชาชน ขณะเดียวกันหมูบานก็ไดซื้อเทคโนโลยีการผลิตทางการเกษตร และสินคาสําเร็จรูปตาง ๆ จากเมืองเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว ทําใหมีหนี้สินอยางไมเคยมีมากอน ชอบ ดีสวนโคกและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษบกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน : ศึกษากรณีบานวังตะเข ตําบลวังตะเข อําเภอหนองบัวระเหอ จังหวัดชัยภูมิ ประเทศไทย” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจของหมูบานไทย-ลาว อีสาน ศึกษาความสัมพันธระหวางการเทคโนโลยีดังกลาวกับภาวะหนี้สิน โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณ การจดบันทึก และการใชเทปบันทึก ใชการสังเกต และใชแบบสอบถามหัวหนาครัวเรือนในหมูบานกลุมตัวอยาง จํานวน 68 ราย ใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS จาการศึกษาพบวากอน พ.ศ. 2503 หมูบานวังตะเข มีระบบการผลิตเพื่อกิน เพื่อใชในครัวเรือนเปนหลัก ดวยการปลูกพืชไรหาของปาและจับสัตวปา การแลกเปลี่ยนคาขายกับหมูบานอื่นและเมืองมีนอยมาก การใชเทคโนโลยียังคงเปนการใชเทคโนโลยีแบบด้ังเดิม เมื่อมีการนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูก คือ ปอ ฝาย ขาวโพด มันสําปะหลัง และถั่วตาง ๆ มีการใชเทคโนโลยีการผลิตที่ประหยัดเวลา แตไดผลงานมาก เชน รถไถใหญ เครื่องสีขาวโพด รถไถเดินตาม และการใชเทคโนโลยีชวยเพิ่มผลผลิต การใชเทคโนโลยีใหมมากทําใหมีหนี้สินมากเพราะตองกูเงินมาลงทุนการผลิต สุวิทย ธีรศาศวัตและคณะ (2528) ศึกษาเรื่อง “ประวัติศาสตรเศรษฐกิจลุมแมน้ําชีตั้งแต พ.ศ. 2475-2528” ประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบเศรษฐกิจระหวางกอนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 (2547-2503) กับสมัยหลังมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

Page 21: overall details before the mid-term test

30

แหงชาติ ฉบับที่ 1 (2504-2528) โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร ในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณผสมผสานกัน ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือน จํานวน 644 คน จาการศึกษาพบวาระบบเศรษฐกิจในชวงกอนปแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 มีลักษณะยังชีพอยูมาก มีการพึ่งพาตลาดในเมืองนอยมาก การพึ่งพาหมูบานอื่น ๆ มีมาก เนื่องจากน้ําทวมอยูเสมอ ตัวแปรที่ทําใหเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ การสรางระบบชลประทาน ไฟฟา และถนน โดยเฉพาะถนนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด ที่ทําใหคนในหมูบานสามารถซื้อขายสินคากับตลาดไดสะดวกกวาเดิม และการนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูก เชน ปอแกว มันสําปะหลัง ในลุมแมน้ําชีในทศวรรษ 2500 และ 2510 ไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจตลอดจนวิถีชีวิตของคนในหมูบานลุมแมน้ําชีอยางกวางขวาง การปลูกฝาย การทอผาฝาย การปลูกหมอน การทอผาไหมไดลดลงมาก เพราะใชที่ปลูกปอ และมันสําปะหลัง แหลงอาหารตามธรรมชาติถูกทําลาย เชน สัตวปา ปลา พืชผักลดนอยลง บัญชร แกวสองและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง“การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย) : ศึกษากรณีบานทุงใหญ อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสระเกษ” วัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการผลิตพืชของ หมูบานทุงใหญ สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีและความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับภาวะหนี้สิน โดยใชวิธีเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารของหมูบาน และเอกสารทางราชการ ใชการสังเกต การสัมภาษณ และใชแบบสอบถามหัวหนาครัวเรือนทุกคน โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS จากการศึกษาพบวาพัฒนาการของเทคโนโลยีการผลิตพืชบานทุงใหญ จากการศึกษาพบวาพัฒนาการของเทคโนโลยีการผลิตพืชบานทุงใหญ มีการเปลี่ยนแปลงจากการใชเทคโนโลยีแบบดั้งเดิม เชน การใชแรงงานคน แรงสัตวและเครื่องทุนแรง เชน มีด จอบ เสียม ขวาน ไถไม มาใชเปนเทคโนโลยีกาวหนา เชน รถไถใหญ และรถไถเล็ก และเทคโนโลยีชวยเพิ่มผลผลิต เชน พันธุพืช ปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ยากําจัดวัชพืช และใชระบบการปลูกพืชหลายรอบตอป การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้น เมื่อมีการนําพืชเศรษฐกิจเขามาปลูกตั้งแตป 2500 เปนตนมา เชน ขาวโพด ปอ มันสําปะหลัง ถั่งลิสง ถั่งเขียว ถั่งเหลือง กระเทียม จากการผลิตเพื่อบริโภค เปลี่ยนมาเปนการผลิตเพื่อขาย การใชเทคโนโลยีการผลิตที่กาวหนา ทําใหชาวบานเกิดมีหนี้สินเพิ่มมากขึ้นมาใช กอบกูล มั่งมีศรีและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง“การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน (ประเทศไทย : ศึกษากรณีบานบอใหม อําเภอกรรบอน จังหวัดขอนแกน” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการของการใชเทคโนโลยีในการผลิตพืชของ

Page 22: overall details before the mid-term test

31

หมูบานไทย-ลาว ในภาคอีสานสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชในหมูบานอีสานและความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สิน โดยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณควบคูกันไป ใชวิธีการสัมภาษณ ใชแบบสอบถามหั วหน าครัว เรือน ใชการสั งเกต ใช โปรแกรมสํ า เร็จ รูป SPSS จากการศึกษา พบวา บานบอใหญ มีระบบการผลิตเปนแบบสังคมเกษตรกรรม การผลิตกอนป พ.ศ. 2500 เปนการผลิตเพื่อยังชีพ เทคโนโลยีที่ใชในการผลิตเปนแบบดั้งเดิม การแลกเปลี่ยนคาขายกับหมูบานอ่ืน และกับเมืองมีนอย เพราะเดิมเปนหมูบานที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ หลังป พ.ศ. 2500 เปนตนมา ไดเขาสูระยะที่มีการเปล่ียนเทคโนโลยีการผลิตที่กาวหนา เชน รถไถขนาดใหญ พันธขาวที่ดี ปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ทําใหการทําการผลิตของชุมชนหมูบานบอใหญ ไดรับผลดี และสามารถชําระหนี้เงินกูของตนเองที่กูมาลงทุนได ไพฑูรย มีกุศลและคณะ (2533) ศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สินในหมูบานอีสาน : ศึกษากรณีบานโลมน ตําบลบัวโคก อําเภอทาตูม จังหวัดสุรินทร” ประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจของหมูบานไทย-เขมร ในภาคอีสาน และศึกษาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืช รวมทั้งความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจกับภาวะหนี้สิน โดยใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ซึ่งใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการสัมภาษณหัวหนาครัวเรือน และใชแบบสอบถาม จากการศึกษาพบวากอนป พ.ศ. 2500 บานโลมน มีระบบการผลิตเพื่อเลี้ยงตนเองในครัวเรือนเปนหลักโดยการทําไร ในชวง 70 ปแรกตั้งหมูบาน และการทํานา เมื่อประมาณ 50 ป มาจนถึงปจจุบันอาชีพรองคือ การปลูกหมอนเลี้ยงไหม ปลูกพืชผักสวนครัว ระดับการใชเทคโนโลยีการผลิตยังเปนแบบดั้งเดิม ภายหลังป พ .ศ. 2500 เปนตนมา ไดมีการนําเทคโนโลยีใหมเขามาเพื่อเพิ่มผลผลิต เชน ขาวพันธใหม และปุยเคมีมาชวยใหผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น การนําใชเทคโนโลยีทีไมมีราคาแพง ทําใหประชาชนลดหนี้สินไดเปนจํานวนมาก สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (2527) ศึกษาเรื่อง “การรวมมือของประชาชนตอโครงการพัฒนาชนบทยากจน” ในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดเชียงราย จังหวัดละ 2 อําเภอ อําเภอละ 3 ตําบล ตําบลละ 2 หมูบานมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระบบและรูปแบบของความรวมมือของประชาชนตอโครงการการพัฒนาชนบทยากจน ปจัยที่มีผลกระทบตอความรวมมือของประชาชนที่มีตอโครงการการพัฒนาชนบทยากจน และความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาชนบทยากจน โดยใชวิธีการวิจัยภาคสนามดวยการเก็บรวบรวมขอมูล ใชแบบสอบถาม ใชการสัมภาษณกลุมตัวอยางที่ไดกําหนดไวทุกครัวเรือน และใชการ

Page 23: overall details before the mid-term test

32

ประมวลผลดวยโปรแกรมทางสังคมศาสตร (SPSS) ใชการทดสอบดวยไคสแควร จากการศึกษาพบวาประชาชนมีความรู ความเขาใจในโครงการที่มีนัยสัมพันธกับความพึงพอใจ 95.3 % ยิ่งนับวาสูงมาก สวนการใชเทคโนโลยีการผลิตในชนบทนั้น ปรากฏวาประชาชนที่นําเทคโนโลยีคอนขางสูงคือ 28.2 % การใชแรงงานนั้นประชาชนสวนมากใหความสนใจในการใชแรงงานกาย เพื่อพัฒนาชุมชนของตนเอง คือ 98.8 % ประชาชนมีความพึงพอใจตอนโยบายของรัฐบาลมีถึง 99.7 % นับวาสูงมาก และพอใจเปนอยางยิ่ง ซึ่งนับวานโยบายของรัฐบาลไดรับผลสําเร็จสูงในสายตาของประชาชน สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (2522) ศึกษาเรื่อง “ความคาดหวังกับความพรอมรับในการสรางงานของชาวชนบท” ในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดขอนแกน (ประเทศไทย) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาฐานะและวิธีการแกปญหาทางเศรษฐกิจของชาวชนบทในปจจุบัน ความคาดหวังและผลประโยชนจากโครงการชวยเหลือของรัฐบาล โดยใชวิธีเชิงปริมาณใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในการสังเกต ใชการสัมภาษณ ใชแบบสอบถามหัวหนาครัวเรือน จํานวน 965 คน โดยใชโปรแกรม SPSS เพื่อประมวลผลขอมูลจากการศึกษาพบวาชาวชนบทสวนมากรอยละ 58.4 ของทั้งสองจังหวัดมีรายไดต่ํากวาปละ 10,000 บาท ในป 2521 เพื่อแกไขปญหาการดํารงชีพ เพื่อใหมีรายไดเพิ่มข้ึนนั้น ชาวชนบททั้งสองจังหวัดไดมีการกูยืมเงินมาลงทุนในดานการเกษตร และไดขายทรัพยสินเพื่อใหพอใชจายในครอบครัว และไดสงสมาชิกในครอบครัวไปทํางานทองถิ่นอื่น เพื่อสงเงินกลับมาใหครอบครัว คือ รอยละ 67.3 ในจังหวัดขอนแกน และรอยละ 39.3 ในจังหวัดเชียงราย ความคาดหวังของชาวชนบททั้งสองจังหวัดที่มีความตองการและจําเปนที่สุด คือ ท่ีดินทํากิน ที่อยูอาศัย แหลงน้ํา เงินลงทุน เครื่องมือประกอบอาชีพ และเครื่องอํานวยความสะดวกในครัวเรือน สวนที่ดินทํากินและเครื่องมือประกอบอาชีพ เปนปจจัยที่สําคัญในการผลิตในดานการเกษตรของชาวชนบท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (2540 : 10 – 13) ผลลัพธอันเนื่องจากโครงการพระราชดําริ จะทําใหวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนบานนายางดานเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงไปในประเด็นดังนี้

1) ดานสาธารณูปโภค ประชาชนในหมูบานไดมีถนนหนทางผานเขาสูหมูบาน เพื่อ อํานวยความสะดวกใหแกการติดตอสัมพันธระหวางหมูบานกับตัวเมือง มีไฟฟาใชสําหรับใหความสะดวกสบายในครัวเรือน มีบอน้ําบาดาลใชในหมูบาน 2) ประชาชนก็จะมีที่ดินเปนที่ทํากินเพิ่มข้ึน อันเนื่องจากการจัดสรรที่ดินของโครงการ 3) ประชาชนมีระบบชลประทาน เพื่อนําน้ําเขาสูพื้นที่การเพาะปลูกและการประมง

Page 24: overall details before the mid-term test

33

4) ประชาชนภายในหมูบานไดรับการฝกอบรมวิชาการดานการเกษตรและไดรับแนวพันธุพืชและพันธุสัตวจากโครงการ 5) ประชาชนมีรายไดเพิ่มข้ึน เพราะมีการผลิตหลากหลายอาชีพ และมี ผลตอการดํารงชีวิตในทางที่ทําใหคุณภาพชีวิตดีข้ึน โครงการพระราชดําริเปนโครงการเดียวในประเทศลาว ที่ไดรับพระราชทานใหการชวยเหลือประชาชนลาว โดยเฉพาะประชาชนบานนายางและบานที่อยูรอบ ๆ โครงการ ที่มุงสงเสริมยกระดับฐานะความเปนอยูของประชาชนใหดีข้ึน และชวยใหประชาชนไดรับการพัฒนาดานวิชาการการเกษตรที่ดีถูกตองตามหลักวิชาการ และสามารถผลิตอาหารการกินตาง ๆ ที่พอเพียงตอการอุปโภคบริโภค อนึ่ง ฝายลาวเองก็ไดสรางถนนและนําเอาไฟฟาเขาสูหมูบานในบริเวณของ โครงการ เพื่ออํานวยใหความสะดวกสบายใหแกประชาชนและโครงการเพื่อดําเนินการดาน กิจกรรมตาง ๆ ส่ิงเหลานี้จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ และสังคมภายในบานนายาง สํานักงานสงเสริมเอกลักษณของชาติ (2531 : 35 – 43) โครงการมูลนิธิทานอาจารยวัน อุตตโม เพื่อพัฒนาการเกษตร การศึกษา อนามัยและสังคม ในพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จังหวัดสกลนคร โครงการนี้เปนโครงการพัฒนาชนบทโดยครบรูปแบบ คือ พัฒนาทั้งทางดานการเกษตร ซึ่งเปนปจจัยสําคัญยิ่งของชาวชนบท รวมทั้งพัฒนาดานการศึกษาอนามัยและสังคม ซึ่งมีวัตถุประสงคมุงสงเสริมใหประชาชนมีการพัฒนาดานการเกษตร การศึกษา อนามัย และสังคมใหมีความเปนอยูที่ดีข้ึน และรวมทั้งสงเสริมสนับสนุนการทํางานระหวางภาคราชการกับประชาชนใหไดผลสมบูรณยิ่งขึ้น นอกจากนั้นมูลนิธิยังมีนโยบายที่จะพัฒนาเพื่อที่จะใหประชาชนไดพัฒนาครอบครัว พัฒนาสังคม พัฒนาหมูบาน พัฒนาอําเภอของพวกเขาใหมีความอยูดีกินดีตามนโยบายของรัฐบาล โครงการในพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวดําเนินการในเขตพื้นที่อําเภอสองดาว จังหวัดสกลนคร ไดกระทําการพัฒนาไปอยางตอเนื่อง คือ ไดสรางฝายน้ํา 7 ฝาย ซึ่งบรรจุน้ําไดประมาณ 6 ลานกวาลูกบาศเมตร และตอทอประปาจากฝายตาง ๆ ไปยังหมูบานทั้ง 37 หมูบาน ซึ่งมีพื้นที่ 222,500 ไร และมีประชากรอาศัยอยูประมาณ 30,000 คน ไดใชน้ําอยางอุดมสมบูรณและอยางสะดวกสบาย ในดานการเกษตรไดสงเสริมใหประชาชนปลูกพืชไร คือ สงเสริมใหปลูกขาวหอมมะลิ ซึ่งเปนขาวที่มีราคาดีที่จะทําใหประชาชนมีรายไดดี นอกจากนั้นก็ สงเสริมใหมีธนาคารขาวโดยมูลนิธิเปนผูสนับสนุนใหกับประชาชนที่อดอยากยากจน และสงเสริมใหประชาชนทําปุยหมักดวยตนเอง นอกจากนั้นยังไดรับการสนับสนุนในเรื่องของโครงการ ศิลปาชีพพิเศษของสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถดวย โดยไดสงเสริมการปลูกหมอน

Page 25: overall details before the mid-term test

34

เลี้ยงไหม สงเสริมการขายผาไหม ผาฝาย สงเสริมการเลี้ยงสัตว การปลูกปารักน้ําและสงเสริมดานหัตถกรรมใหประชาชนไดมีอาชีพเสริม ดานการศึกษาไดมีการพัฒนาดานอุปกรณการเรียนการสอน สรางอาคารเรียนที่ทันสมัยให และสงเสริมเร่ืองการกีฬา และใหทุนสนับสนุนนักเรียนที่จบ ชั้นประถมแลวใหมีโอกาสเรียนในระดับชั้นมัธยมปละประมาณ 111 ทุน ทุนละ 1,000 บาท ในเร่ืองของการอนามัย ไดสงเสริมใหมีการทําสวมที่ถูกสุขลักษณะ มีการปนโองเก็บน้ําฝน รับน้ําฝนไวใชไดอยางถูกสุขอนามัย ในดานสังคมไดใหการสนับสนุนในเรื่องของการกีฬา การแขงขันกีฬาประชาชนใหไดใชเวลาวางใหเกิดประโยชนและจัดฝกอบรมทางดานจริยธรรม ศีลธรรม ใหกับ เยาวชนและสงเสริมในเรื่องของสังคมใหรูจักที่จะมีความรับผิดชอบ รูจักมีการเสียสละ รูจักมีการรักความสามัคคีรวมแรงรวมใจกันพัฒนาความเปนอยู พัฒนาอาชีพในครอบครัวในสังคมและในอําเภอใหมีความเปนอยูที่ดีข้ึน สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ (2530 : 142 – 147) โครงการพัฒนาหมูบานทับลานตามพระราชดําริ อําเภอนาดี ปราจีนบุรี เปนโครงการที่จัดขึ้นตามเปาหมายของแผนพัฒนาโครงการพระราชดําริ มีจุดมุงหมายในการพัฒนาหมูบานทับลาน ก็เพื่อจัดที่ดินทํากินใหแกประชาชน พัฒนาอาชีพโดยเฉพาะดานการเกษตร ใหประชาชนไดมีอาชีพดานการเกษตรที่ถูกตองและถาวร มีที่ดินทํากินที่ถาวร นอกจากนั้นยังฝกอบรมใหประชาชนไดมีความรู มีประสบการณในการประกอบอาชีพและที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง ก็เพื่อใหประชาชนไดมีความรู ความสามัคคี และสามารถจะพัฒนาหมูบานของตนเองได การพัฒนาประการที่ 1 เพื่อพัฒนาจิตใจของประชาชนใหมีความสามัคคีกลมเกลียวกันในหมูประชาชน ประการที่ 2 เพื่อที่จะใหประชาชนไดมีความรู และมีประสบการณในการประกอบอาชีพทางการเกษตรและดานอื่น ๆ ดวย ประการที่ 3 ก็คือจัดที่ดินทํากินใหแกประชาชนตามความเหมาะสม เพื่อใหประชาชนมีที่ดินเปนของตนเองและมีความม่ันคงในการประกอบอาชีพในวันขางหนา ในการพัฒนาหมูบานทับลานนี้ไดมีการดําเนินโครงการ คือ จัดหาแหลงน้ําใหแกชาวบาน โดยการกอสรางอางเก็บน้ําระบบชลประทานขึ้น เพราะเปนปจจัยสําคัญในการประกอบอาชีพการเกษตร รวมทั้งไดจัดสรางฉางขาว โรงสีขาว และไดสงเสริมการเกษตรแผนใหมตามหลักวิชาการ และไดสงเสริมอุตสาหกรรมในครอบครัว พรอมทั้งไดปรับพื้นที่ทํากินและพื้นที่อาศัยใหประชาชน คือ ไดทํารังวัดแบงแปลงที่อยูอาศัยไดจํานวน 163 แปลง และวัดแบงแปลงที่ทํากินจํานวน 326 แปลง กอสรางถนนสายใหมระยะทาง 18 กิโลเมตร ไดฟนฟูกวา 1,750 ไร ไดปลูกปาเพื่อชุมชนเปนเนื้อที่ 74 ไร ในดานการศึกษาก็ไดสรางโรงเรียนรมเกลาขึ้นที่นี่ เพื่อใหเด็กในหมูบานทับลานไดเขาเรียนมีความรูความสามารถทัดเทียมกับเด็กในหมูบานอื่น ๆ

Page 26: overall details before the mid-term test

35

สํานักงานสงเสริมเอกลักษณของชาติ (2526 : 68 – 72) โครงการพัฒนาบริเวณพื้นที่หวยปลาดุก กิ่งอําเภอนาดวง อําเภอปากชม จังหวัดเลย ตามพระราชดําริ แผนหลักของโครงการนี้คือ จัดหาที่อยูอาศัยและที่ทํากินใหแกประชาชนที่ยากจนและขาดแคลนที่ทํากิน ซึ่งมีจํานวนถึง 400 ครอบครัว และไดรวมกับชาวบานในการปลูกสรางสวนปาจํานวน 3,500 ไร นอกจากนั้นยังไดสรางถนนในหมูบาน บุกเบิกที่อยูอาศัยและที่ทํากินใหประชาชน ตลอดจนจัดหาแหลงน้ําขนาดเล็กเพื่อการอุปโภคบริโภคสําหรับประชาชน ในดานการศึกษาไดทําการจัดสรางโรงเรียนใหแกหมูบานและจัดหาครู และอุปกรณการสอน ดานสาธารณสุขไดใหการรักษาพยาบาลในพื้นที่ และกอสรางสถาบันบริการสาธารณสุขชุมชน ตลอดจนฝกอบรมพนักงานสุขภาพชุมชนในหมูบาน สําหรับแผนพัฒนาดานการเกษตรไดกําหนดขอบเขตโครงการสํารวจ จําแนกสมรรถนะดิน อนุรักษดินและน้ํา พรอมทั้งปลูกพืชบํารุงดิน และนอกจากนั้นแลวยังไดเอาใจใสในดานอุตสาหกรรมในครัวเรือน ของประชาชนอีกดวย ไดฝกอบรมสงเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัวเพื่อเพิ่มรายไดใหแกประชาชน และจัดหาตลาดเพื่อจําหนายผลิตภัณฑดังกลาว เพื่อดําเนินตามแนวพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโครงการพัฒนาพื้นที่ในบริเวณหวยปลาดุกนี้ ในปจจุบันพื้นที่บริเวณนี้ไดกลายเปนแหลงอาหารและผลิตภัณฑทางการเกษตรที่มีผลผลิตที่พอเพียงตอการยังชีพ โดยในปลายปพุทธศักราช 2524 สามารถเพิ่มผลผลิตขาวโพดมากกวา 350 ตัน ขาวมากกวา 700 เกวียน และพืชตระกูลถั่วมากกวา 100 ตันไดถูกสงออกสูตลาด และในปจจุบันนี้ก็ไดทดลองปลูกพืช ไมผลเมืองหนาวและไมประดับเมืองหนาวขึ้นดวย เพื่อชวยหาหนทางเพิ่มรายไดพิเศษใหแก ประชาชนในพื้นที่บริเวณหวยปลาดุกนี้ สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ (2537 : 189 – 196) ศูนยการศึกษาพัฒนาภูพานพิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงมีพระราชดําริใหจัดตั้งศูนยศึกษาขึ้นเพื่อชวยเหลือประชาชนในภาคอีสานที่มีสภาพแหงแลง และประชาชนมีฐานะยากจน ศูนยศึกษาดังกลาวนี้ชื่อวา “ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” เพื่อเปนศูนยกลางเผยแพรความรูสูประชาชน นําไปพัฒนาทองถิ่นและตนเองเพื่อยกระดับความเปนอยูใหดีข้ึนตอไป ศูนยศึกษาพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตั้งอยูที่บานนานกเคา ตําบลหวยยาง อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ศูนยศึกษาดังกลาวนี้มีวัตถุประสงค 4 ประการดวยกันคือ

1) เพื่อใหเปนศูนยศึกษาและทดลองงานดานพัฒนาทุกรูปแบบ รวมทั้งถายทอด เทคโนโลยีแผนใหมสําหรับเปนตัวอยางใหประชาชนนําไปใชปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง

2) เพื่อสงเสริมใหมีการบํารุงรักษาและพัฒนาปาไมในเขตปริมณฑลของศูนยดวย ระบบชลประทาน

Page 27: overall details before the mid-term test

36

3) เพื่อสงเสริมใหมีการปลูกพืชเศรษฐกิจและนําผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูป เปนสินคาเกษตรอุตสาหกรรม

4) เพื่อสงเสริมการพัฒนาอาชีพทางการเกษตรตาง ๆ เชน การกสิกรรม การประมง การปศุสัตว เปนตน ทั้งนี้เพื่อใหประชาชนมีอาชีพที่มั่นคงและมีรายไดพอเลี้ยงครอบครัว ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริไดมีการดําเนินงาน ซึ่งประกอบดวยงานตาง ๆ ดังนี้ งานบริหารสวนกลาง ทําหนาที่ประสานงานอํานวยความสะดวกใหกิจกรรม ตาง ๆ ดวยความคลองตัวรวดเร็ว งานชลประทาน ทําหนาที่สรางแหลงกักเก็บน้ําและระบบสงน้ําและแนะนําเกษตรกรใหรูวิธีจัดทําระบบสงน้ํา งานศึกษาและพัฒนาเกษตรกรรม ทําหนาที่ศึกษาและทดลองหาพันธุพืชที่เหมาะสม ทดสอบระบบการทําฟารมในลักษณะไรนาสวนผสมและใชการอบรมวิชาการ งานศึกษาและพัฒนาปาไม ทําหนาที่อนุรักษปาไม อนุรักษพื้นที่ตนน้ําลําธาร ปลูกปาฟนและไมใชสอย งานสาธิตสงเสริมและพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการประมง ทําหนาที่ศึกษาพัฒนาประมงน้ําจืด เผยแพรใหความรูในการเลี้ยงสัตวน้ําและสงเสริมการเลี้ยงปลาในบอ งานศึกษาและพัฒนาดานปศุสัตว ทําหนาที่พัฒนาดานการเลี้ยงสัตว สงเสริมเกษตรกรใหมีความรูในดานการเลี้ยงและปองกันโรคระบาดสัตว และการผลิตอาหารสัตวโดยใชวัตถุเหลือจากการเกษตร งานศึกษาและพัฒนาปรับปรุงบํารุงดิน ทําหนาที่ปรับปรุงดิน อนุรักษดินและน้ํา วิจัยทดสอบถายทอดความรูเพื่อพัฒนาที่ดิน และนําไปใชใหเกิดประโยชน งานสงเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัว ทําหนาที่ฝกอบรมอาชีพอุตสาหกรรมใหเกษตรกรเพื่อใหมีรายไดเสริมจากอาชีพหลักทางการเกษตร งานพัฒนาหมูบานตัวอยาง ทําหนาที่สงเสริมพัฒนาคุณภาพเด็กเยาวชนและสตรี จัดระเบียบหมูบาน พัฒนาหมูบานนานกเคาดวยระบบสหกรณ เพื่อเปนตัวอยางใหหมูบานใกลเคียง งานสาธารณสุข ทําหนาที่สงเสริมใหประชาชนในเขตหมูบานบริวารรูจักรักษาสุขภาพและปองกันโรคที่ดี

Page 28: overall details before the mid-term test

37

งานสงเสริมการเกษตร ทําหนาที่นําความรูที่งานศึกษาและพัฒนาเกษตรกรรมไดดําเนินการศึกษาและทดลองจนมีผลที่นาพอใจแลวไปสงเสริมสาธิตใหเกษตรกรไดเรียนรูและทดลองทําดวยตนเอง งานฝกอบรมและถายทอดเทคโนโลยี ทําหนาที่นําความรูที่กิจกรรมตาง ๆ ไดศึกษาทดลองคนควาไดผลเปนที่นาพอใจแลวมาถายทอดใหแกเกษตรกรในหมูบานบริวารและใกลเคียง เพ็ญพักตร ทองแท และไวทิสย สมุทรกลิน (2531 – 2532) ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการพระราชดําริทุงลิปะสะโง อําเภอหนองจิก จังหวัดปตตานี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงปญหาและอุปสรรคที่ชุมชนในโครงการพระราชดําริทุงลิปะสะโงที่ประสบอยู ผลจากการวิจัยพบวา โครงการพระราชดําริทุงลิปะสะโงเปนโครงการจัดที่ดินทํากินใหกับประชาชนที่ยากจน ปญหาของเกษตรกรทุงลิปะสะโงคือความยากจน และสาเหตุของปญหาดังกลาวไดแก น้ํา ที่ดิน หนี้สิน และเงินทุน เกษตรกรสวนใหญแกไขปญหาความยากจนโดยการยายถิ่นออก เพื่อไปหางานทําทั้งในจังหวัดใกลเคียงและตางประเทศ สวนเกษตรกรที่อยูในหมูบานจําเปนตองหางานทําที่เปนอาชีพเสริม เพื่อเปนการหารายไดเพิ่มเพื่อการดํารงชีพ และไดมีการพัฒนาดานอาชีพของเกษตรกรที่ยึดเปนอาชีพหลัก อันไดแกการทํานา ซึ่งเปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหเกษตรกรมีชีวิตความเปนอยูดีข้ึนกวาเดิม โครงการพัฒนาตามแนวพระราชดําริดังกลาวขางตนจะเปนแนวทางใหผูวิจัยนําไปเปรียบเทียบกับโครงการพระราชดําริที่บานนายาง ทั้งนี้เพื่อหาขอเท็จจริงในกรณีหลังคือหมูบานนายางวาจะมีการเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจและสังคมตางและเหมือนกันในมิติไหนบาง จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังกลาวขางตน ผูวิจัยไดใชแนวคิดทฤษฎีความขัดแยงเพื่อเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ของชุมชนหมูบานนายาง อําเภอนาทรายทอง กําแพงนครเวียงจันทน ตามที่มารกซไดเสนอไวโดยเฉพาะแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมนั้นจะขึ้นอยูกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่เรียกวา แบบวิธีการผลิต ซึ่งประกอบดวยสองสวนคือ พลังการผลิตและความสัมพันธของสังคมในการผลิต ถามีการเปลี่ยนแปลงอยูในแบบวิธีการผลิตแลวสวนอื่น ๆ ของสังคม เชน ครอบครัวและศาสนาเปนตน ก็เปลี่ยนแปลงไปดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะที่มีโครงการศูนยพัฒนาและบริการดานการเกษตรที่ไดใหความชวยเหลือแกประชาชนหมูบานนายาง นอกจากแนวคิดทฤษฎีที่ ได กล าวไปแล ว ผู วิจั ยก็ จะได อาศัยแนวคิดทฤษฏี โครงสรางหนาที่ตามทรรศนะของพารสันสดังไดเสนอไวขางตนและทฤษฎีการทําใหทันสมัยที่เปน

Page 29: overall details before the mid-term test

38

ฐานใหแกการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมตามที่แบล็กค ไอเซนสแตดท สเมลเซอร และโรสทาวไดเสนอไวขางตน กรอบการวิจัย (Research Frame) ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎี (theoretical studies) และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวกับการศึกษาเชิงประจักษ (empirical studies) เพื่อใชเปนฐานในการสรางกรอบการวิจัยดังแสดงไวในแผนภาพ 4 แผนภาพ 4 กรอบการวิจัย

ตัวแปรอิสระ (X) ตัวแปรตาม (Y) 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมแหงชาติ

ระยะที่ 1 เร่ิมป 2524-2528 ระยะที่ 2 เร่ิมป 2529-2533 ระยะที่ 3 เร่ิมป 2534-2538 ระยะที่ 4 เร่ิมป 2539-2543

2. การพัฒนาภายใตโครงการ “ศูนยพัฒนาและบริการดานการเกษตร”

1. การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ 1.1 เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบแผน

การผลิต 1.2 เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนการ

การผลิต การบริโภคและการเงินการธนาคาร 2. การเปลี่ยนแปลงดานสังคมและ

วัฒนธรรม 2.1 เกิดการเปลี่ยนแปลงความ

สัมพันธทางสังคม 2.2 ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนวิถี

ชีวิตที่สอดคลองตามแบบแผนการผลิตสังคมนิยม 2.3 คุณภาพชีวิตของประชาชนไดรับการพัฒนาขึ้น