Newsletter - · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ...

14
Newsletter ฉบับที่ 2 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

Transcript of Newsletter - · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ...

Page 1: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Newsletter ฉบับที่ 2 ตุลาคม - ธันวาคม 2559

Page 2: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

เมื่อ JOIN WITH US ฉบับนี้ออกสูสายตาทานผูอาน เปนชวงที่ประชาชนชาวไทยกำลังอยูในภาวะโศกเศราที่ พระมหากษัตริยในดวงใจ

ของปวงชน “พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9” ไดเสด็จสูสวรรคาลัย เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559

บริษัท เฮลทแคร เอกซเปรท กรุป (ประเทศไทย) จำกัด สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนที่พระองคมีตอพสกนิกรของพระองค

ขาพระพุทธเจา คณะที่ปรึกษาและพนักงานขอกราบสงเสด็จสูสวรรคาลัย และขอตั้งปณิธานที่จะเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทในอันที่

จะปฏิบัติภารกิจเก้ือกูลประโยชนใหแกสถานบริการสุขภาพของไทย เพ่ือใหสามารถใหบริการสุขภาพแกปวงชนชาวไทยดวยความปลอดภัย

และมีมาตรฐานระดับสากล

ที่ปรึกษาบรรณาธิการ : นายแพทยสมพร คำผง

บรรณาธิการ : อ.เกศกุลวัณย ธีระวรวงศ

กองบรรณาธิการ : อ.แจมจันทร คลายวงษ, อ.สุรัสวดี สุพรรณพงศ, ภก.พงษพันธุ ตาทิพย

ภก.พัฒนศักดิ์ ถนัดคา, ภก. นภัทรสินธุ สินธูรณ, อ.ศิรันย มโนลีหกุล

อ.นิรชิต เรืองแสงวัฒนา, คุณศศรส แกวเขียว

ปวงขาพระพุทธเจา สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน

นายแพทยสมพร คำผง คณะที่ปรึกษา และพนักงานบริษัท เฮลทแคร เอกซเปรท กรุป (ประเทศไทย) จำกัด

ประพันธโดย นางเกศกุลวัณย ธีระวรวงศ

กราบพระบาทองคภูมินทรปนเนรศ พระปกเกศทวยไทยใหสุขสันต

พระบารมีมากลนเกินรำพัน ราษฎรตื้นตันดวยเดชะพระบารมี

มาวันนี้พระจากและลาลับ ตะวันดับขาดแสงสองวิถี

น้ำตาราษฎรทวมทนลนปฐพี นอมชีวีสงองคพระภูมิพล

Page 3: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Join with Communication Safety โดย อ.เกศกุลวัณย์ ธีระวรวงศ์

สืบเนื่องมาจากฉบับที่แล้ว เราได้พูดกันถึงเรื่องของ

วิสัยทัศน์พันธกิจและค่านิยมขององค์กรไปแล้วว่ามี

ความส�าคัญอย่างไรครั้งน้ีเราจะมาคุยกันถึงผู้น�าองค์กร

กับการส่ือสาร โดยจะอิงกับมาตรฐาน JCI ในบทของ

Governance,Leadership,andDirection(GLD)นะ

คะ

หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

ฉบับที่5แล้วจะเห็นว่ามาตรฐานต้องการให้ผู้น�าองค์กร

ใช้การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทันเวลาและทั่วถึงสิ่งที่

ผู ้น�าองค์กรต้องสื่อสารได้แก่ วิสัยทัศน์พันธกิจแผน

กลยุทธ์ แผนงาน นโยบาย และข้อมูลส�าคัญอ่ืนๆที่

เก่ียวข้องและต้องการสื่อสารไปยังพนักงานทุกคนไม่ว่า

จะเป็นพนักงานที่เป็นวิชาชาชีพ เช่นแพทย์พยาบาล

เภสัชกรฯลฯหรือพนักงานอ่ืนที่มีความจ�าเป็นต้องรับ

ทราบข้อมูลที่ตนเองเกี่ยวข้องในการให้บริการรวมไปถึง

การสื่อสารกับองค์กรภายนอกด้วย

ผู ้น�าองค์กรต้องปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการ

สื่อสารต้องสร้างวัฒนธรรมการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

ให ้ เกิ ดขึ้ น และให ้การสนับสนุนการสื่ อสารที่ มี

ประสิทธิภาพระหว่างหน่วยงานต่อหน่วยงาน ระหว่าง

วิชาชีพต่อวิชาชีพ รูปแบบของการสื่อสารอาจจะเป็นรูป

แบบที่เป็นทางการ เช่น ในการประชุมคณะกรรมการ

ต่างๆการประชุมพนักงานฯลฯรวมถึงการสื่อสารที่อยู่

ในรูปแบบของการให้ข้อมูลผ่านจดหมายข่าว โปสเตอร์

เป็นต้น โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันใน

การที่จะพัฒนานโยบายต ่างๆให ้บรรลุ เป ้าหมาย

ของวิสัยทัศน์พันธกิจและแผนกลยุทธ์ขององค์กรเป็น

ส�าคัญ

ผู้นำ�องค์กรกับการสื่อสาร

สิ่งที่มาตรฐาน JCI คาดหวังที่จะเห็นคือ องค์กรมี

กระบวนการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพทันเวลาและท่ัว

ถึงหากสามารถพิสูจน์ให้เห็นได้ เร่ืองน้ีก็ไม่ใช่เรื่องยาก

ส�าหรับผู้น�าองค์กรแล้วล่ะค่ะ

ฉบับหน้าเราจะมาติดตามกันต่อในเรื่องที่เกี่ยวข้อง

กับผู้น�าองค์กรเป็นเรื่องที่ส�าคัญมากนั่นคือ“วัฒนธรรม

ความปลอดภัยผู้ป่วย”(PatientSafetyCulture)ซึ่ง

เป็นบทบาทหน้าท่ีของผู้น�าองค์กรต้องขับเคลื่อนให้เกิด

ขึ้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยค่ะ

แล้วพบกันใหม่นะคะ

เมื่อ JOIN WITH US ฉบับนี้ออกสูสายตาทานผูอาน เปนชวงที่ประชาชนชาวไทยกำลังอยูในภาวะโศกเศราที่ พระมหากษัตริยในดวงใจ

ของปวงชน “พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9” ไดเสด็จสูสวรรคาลัย เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559

บริษัท เฮลทแคร เอกซเปรท กรุป (ประเทศไทย) จำกัด สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนที่พระองคมีตอพสกนิกรของพระองค

ขาพระพุทธเจา คณะที่ปรึกษาและพนักงานขอกราบสงเสด็จสูสวรรคาลัย และขอตั้งปณิธานที่จะเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทในอันที่

จะปฏิบัติภารกิจเก้ือกูลประโยชนใหแกสถานบริการสุขภาพของไทย เพ่ือใหสามารถใหบริการสุขภาพแกปวงชนชาวไทยดวยความปลอดภัย

และมีมาตรฐานระดับสากล

ที่ปรึกษาบรรณาธิการ : นายแพทยสมพร คำผง

บรรณาธิการ : อ.เกศกุลวัณย ธีระวรวงศ

กองบรรณาธิการ : อ.แจมจันทร คลายวงษ, อ.สุรัสวดี สุพรรณพงศ, ภก.พงษพันธุ ตาทิพย

ภก.พัฒนศักดิ์ ถนัดคา, ภก. นภัทรสินธุ สินธูรณ, อ.ศิรันย มโนลีหกุล

อ.นิรชิต เรืองแสงวัฒนา, คุณศศรส แกวเขียว

ปวงขาพระพุทธเจา สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน

นายแพทยสมพร คำผง คณะที่ปรึกษา และพนักงานบริษัท เฮลทแคร เอกซเปรท กรุป (ประเทศไทย) จำกัด

ประพันธโดย นางเกศกุลวัณย ธีระวรวงศ

กราบพระบาทองคภูมินทรปนเนรศ พระปกเกศทวยไทยใหสุขสันต

พระบารมีมากลนเกินรำพัน ราษฎรตื้นตันดวยเดชะพระบารมี

มาวันนี้พระจากและลาลับ ตะวันดับขาดแสงสองวิถี

น้ำตาราษฎรทวมทนลนปฐพี นอมชีวีสงองคพระภูมิพล

Page 4: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Join with Staff Safety โดย อ.แจ่มจันทร์ คล้ายวงษ์

ความส�คัญของการปฐมนำิเทศพนำักงานำ Outsource

หลายๆโรงพยาบาลมีการบริหารจัดการภายในบางระบบด้วยการว่าจ้างบริษัทOutsourceมาช่วยท�างานเพื่อ

แบ่งเบาภาระงานของพนักงานโรงพยาบาล เช่น งานแม่บ้าน งานรักษาความปลอดภัย งานซ่อมบ�ารุง งานบริหาร

จัดการเคร่ืองมือแพทย์หรือแม้กระทั่งงานหน่วยจ่ายกลางและยังมีโรงพยาบาลอีกหลายแห่งที่มีการจ้างบริษัทOut-

sourceเข้ามาด�าเนินการในส่วนคลินิกเช่นงานบริการทันตกรรมงานบริการไตเทียมซึ่งในมาตรฐานJCIเน้นว่าโรง

พยาบาลท่ีมีรูปแบบการบริหารจัดการดังกล่าวนี้ต้องให้ความส�าคัญในการด�าเนินการในบริหารจัดการบุคคลการฝึก

อบรมการจัดท�าแฟ้มประวัติเอกสารพนักงานให้มีกระบวนการและรูปแบบตามข้อก�าหนดเช่นเดียวกันกับพนักงาน

ของโรงพยาบาลเอง

ในครั้งนี้จะขอเน้นไปที่การปฐมนิเทศตามมาตรฐานSQE.7ME.2ที่ก�าหนดว่าพนักงานContractWorkers

(Outsources)ต้องผ่านการปฐมนิเทศทั้งในระดับโรงพยาบาล ระดับหน่วยงานและตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่

ก�าหนดไว้ในJobDescriptionดังนั้นจึงต้องมีการให้ค�าแนะน�าให้ความรู้กับพนักงานใหม่ในส่วนงานOutsourceที่

ต้องมีหัวข้ออบรมตามมาตรฐานภาคบังคับของ JCI ได้แก่ การป้องกันและระงับอัคคีภัยความหมายของCode

ฉุกเฉินต่างๆและแนวทางปฏิบัติ การป้องกันและระงับการป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่การล้างมือการสวมใส่เครื่อง

ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPE)ให้เหมาะสมกับการท�างานประเภทของขยะการคัดแยกขยะและการจัดการขยะ

ประเภทต่างๆแนวทางปฏิบัติในกรณีที่สัมผัสกับสารเคมีอันตรายต่างๆสิทธิผู้ป่วยและครอบครัววัฒนธรรมความ

ปลอดภัยรวมถึงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ หัวข้อการปฐมนิเทศต่างๆเหล่านี้จะต้องมีแสดงไว้อย่างชัดเจนในแฟ้ม

ประวัติพนักงานOutsourceแต่ละคนและเมื่อพนักงานได้ผ่านการปฐมนิเทศในส่วนของโรงพยาบาลแล้วก็ต้องมี

การด�าเนินการปฐมนิเทศในส่วนของงานของหน่วยงานน้ันๆและหน้าที่ความรับผิดชอบตามJobDescriptionโดย

หัวหน้างานของบริษัทOutsourcesที่ส�าคัญต้องมีการก�ากับดูแลจากผู้ควบคุมสัญญาจ้าง (OversightContract)ที่

ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนของโรงพยาบาลในการควบคุมก�ากับงานของบริษัทOutsources ให้เป็นไปตาม

หนังสือสัญญาที่ว่าไว้โดยมีการลงนามไว้ด้วยคู่กัน

แนวทางการปฏิบัติดังกล่าวน้ีมีไว้เพ่ือให้โรงพยาบาลได้มีการจัดการปฐมนิเทศที่เพียงพอให้กับพนักงานOut-

sourcesให้มีความรู้ความเข้าใจแนวทางปฏิบัติงานตามมาตรฐานนโยบายและข้อก�าหนดต่างๆได้เช่นเดียวกันกับ

พนักงานของโรงพยาบาลที่จะสามารถน�าความรู้ที่ได้สู่การปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดผลการท�างานที่มีความปลอดภัยแก่ผู้

ป่วยและผู้รับบริการนั่นเอง

Ou t s o u rc e

Page 5: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

มาตรฐานำ JCI กับการพัฒนำาคุณภาพ : ตัวชี้วัดนำั้นำ…ส�คัญไฉนำ

Join with Patient Safety โดย อ.สุรัสวดี สุพรรณพงศ์

ตามที่เราทราบกันดีแล้วว่า ในกระบวนการพัฒนา

คุณภาพโรงพยาบาลนั้น ไม่ว่าจะใช้กรอบแนวคิดใดหรือ

ใช้มาตรฐานใดๆมาเป็นเครื่องมือในกระบวนการพัฒนา

คุณภาพนั้นสิ่งที่ส�าคัญอย่างยิ่งคือเมื่อเราวางแผนจัดท�า

กระบวนการต่างๆน�าลงสู่การปฏิบัติที่หน้างานคงหนีไม่

พ้นในเรื่องของการติดตามประเมินผลว่ากระบวนการ

ต่างๆที่เราท�านั้นมีผลลัพธ์ที่ดีหรือมีโอกาสพัฒนาอย่างไร

ซึ่งคือวงล้อPDCAตามที่เราคุ้นเคยกันดีโดยเฉพาะความ

ปลอดภัยของผู้ป่วย ดังนั้น“Indicator for Patient

Safety” จึงเป็นตัวช้ีวัดคุณภาพที่ส�าคัญของทุกโรง

พยาบาลที่ต้องวางระบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดดังกล่าว

มาตรฐานสากลJCIได้ให้ความส�าคัญกับเรื่องนี้จึงได้

ก�าหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของผู้บริหารในการคัดเลือกจัดอัน

ดับความส�าคัญในการเลือกตัวช้ีวัดระดับองค์กร (GLD.5)

และก�าหนดให้ผู้บริหารนั้นมีการติดตามประเมินผลอย่าง

ต่อเน่ือง มีการตอบสนอง สนับสนุน (GLD.1.2) และ

สื่อสารตัวชี้วัด(GLD.3.2)ลงไปให้ถึงระดับคณะกรรมการ

ระดับหน่วยงาน (GLD.11) เพื่อให้มีการเก็บรวบรวม

ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล

(QPS.6)ซึ่งควรเป็นชุดข้อมูลเดียวกันทั้งโรงพยาบาลเพื่อ

ให้ศูนย์คุณภาพประสานงานกับทุกฝ่าย (QPS.2) ลด

ความคลาดเคลื่อนซ�้าซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลพร้อมน�า

ไปวิเคราะห์และน�าไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อ

เนื่อง(QPS.4)เชื่อมโยงไปถึงระบบในการประเมินผลการ

ปฏิบัติงานบุคลากรด้วย (GLD.11.1) เพื่อน�าไปสู ่การ

พัฒนาศักยภาพของบุคลากรส่งผลให้เกิดการดูแลผ้ปู่วย

ตามมาตรฐานวิชาชีพรวมทั้งควรมีระบบในการน�าข้อมูล

ตัวชี้วัดนั้นมาเปรียบเทียบความส�าเร็จทั้งภายในและ

ภายนอกองค์กร(Benchmarking)ด้วย

ดัง น้ันการเก็บข ้อมูลที่มีคุณภาพจะสามารถน�า

ไปใช ้ เป ็นเครื่องมือพัฒนาระบบงานบริการได ้นั้น

ต้องเป็นข้อมูลตัวชี้วัดที่ทีมมีส่วนร่วมในการคัดเลือกตาม

บริบทของหน่วยงาน และต้องมีการก�าหนดนิยามตัวชี้

วัดพร้อมวางแผนการจัดเก็บให้เป็นไปตามข้อก�าหนดที่

ชัดเจน ซึ่งมาตรฐานสากล JCI ได้ก�าหนดออกมาเป็น

Templateเพื่อให้สามารถสื่อสารในเรื่องของการเก็บรวม

รวมข้อมูลที่ตรงกันลดความคลาดเลื่อนในการเก็บข้อมูล

สรุปได้ว ่าข้อมูลตัวชี้วัดความปลอดภัยของผู ้ป ่วย

(Patientsafety indicators)สามารถสะท้อนให้เห็นถึง

ความส�าเร็จตั้งแต่ระดับบุคคลจนถึงภาพรวมขององค์กร

ได้หากมีการวางระบบในการจัดเก็บข้อมูลที่ชัดเจนและ

เชือ่ถอืได้เพราะการพฒันาคณุภาพอยูร่อบตวัเราQuality

Every Moment

Page 6: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Join with Infectious Safety โดย อ.ปราณี อุรัมภรณ์

เรื่องที่ก�าลังเป็นเร่ืองร้อนระอุในระดับสากลและเป็นแนวโน้มที่ส�าคัญหัวข้อหนึ่งที่มีการเปล่ียนแปลงในมาตรฐาน

สากลJCIฉบบัที่6ทีก่�าลงัจะประกาศใช้ในเดอืนกรกฎาคม2560คงหนีไม่พ้นเร่ืองทีเ่ก่ียวข้องกับมาตรฐานPrevention

andControlofInfection(PCI)เหตุที่มีการเปลี่ยนแปลงนี้เนื่องจากพบรายงานการติดเชื้อดื้อยา(MDROs)จากการ

ท�าหตัถการด้วยการส่องDuodenoscopesท�าให้CDCต้องก�าหนดแนวทางในการเพาะเชือ้กล้องDuodenoscopes

ใหม่เมื่อวันที่3เมษายน2559ดังนี้

1.ต�าแหน่งที่ต้องเพาะเชื้อคือ

1.1ช่องต่างๆ(Instrumentchannel)ได้แก่SuctionchannelและBiopsychannel

1.2ส่วนปลายของกล้อง(Distalend)เช่นElevator

2.ความถี่ในการเพาะเชื้อให้ส่งเพาะเชื้อทุก30วันหรือ60รอบของการใช้

3. วิธีการเก็บตัวอย่างเพื่อเพาะเชื้อให้ใช้เทคนิคFlush–Brush–Flushmethod

รายละเอียดเพิม่เติมสามารถเข้าไปหาอ่านได้ในInterimProtocolforHealthcareFacilitiesRegarding

SurveillanceforBacterialContaminationofDuodenoscopesafterReprocessing

แนำวทางการเพาะเชื้อกล้อง Duodenoscopes

Page 7: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

รู้หรือไม่ว่าการใช้ยาปฏิชีวนำะก็มี Time Out

Join with Medication Safety โดย อ.เภสัชกร นภัทรสินธุ์ สินธูรณ์ (Pharm.D)

Antibiotic Time Out!!

ช่วง48-72ชั่วโมงว่ายังคงมีความจ�าเป็นหรือไม่ โดย

อาศัยค�าถามต่อไปนี้ช่วยทบทวนความจ�าเป็นหรือความ

เหมาะสม

• ผู้ป่วยรายนั้นๆมีการติดเชื้อที่ตอบสนองต่อการ

รักษาด้วยยาปฏิชีวนะที่ก�าลังให้อยู่จริงหรือไม่

• กรณีท่ีผู้ป่วยรายนั้นๆมีความจ�าเป็นต้องได้รับยา

ปฏิชีวนะจริง (ยืนยันจากผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ)

ชนิดของยาที่ผู ้ป ่วยได้รับอยู ่ ขนาดยาที่ให้ และวิถี

ทางการบริหารยานั้นถูกต้องเหมาะสมหรือไม่

• มียาปฏิชีวนะอื่นๆที่สามารถใช้รักษาได้หรือไม่

หรือสามารถปรับเปล่ียนชนิดยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุม

เฉพาะเจาะจงต่อเชื้อที่พบได้หรือไม่(De-escalation)

• ผู ้ป่วยต้องได้รับยาปฏิชีวนะไปนานเท่าไรมีผล

การศึกษาทางคลินิกที่ยืนยันถึงผลดีของการ imple-

เป็นที่ทราบกันดีในทางปฏิบัติครับ กรณีที่แพทย์

สงสัยว่าผู้ป่วยอาจมีภาวะติดเชื้อในร่างกายการให้ยา

ปฏิชีวนะ (Antibiotics)ที่ครอบคลุมเชื้อที่สงสัยว่าจะ

ก่อโรคหรือEmpiricTherapyนั้นเป็นสิ่งที่ยอมรับและ

ส่งผลดีต่อผู้ป่วยในระหว่างที่รอผลการตรวจวินิจฉัยทาง

ห้องปฏิบัติการ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยของแพทย์ แต่

อย่างไรก็ตามการละเลยหรือไม่ได้กลับมาทบทวนชนิด

ของยาปฏิชีวนะที่ให้แบบEmpiricแก่ผู้ป่วยไปนั้นหลัง

จากท่ีได้ผลตรวจยืนยันจากทางห้องปฏิบัติการถึงชนิด

ของเชื้อก่อโรคเช่นผลCultureหรือผลSensitivity

ของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะอาจจะกลายเป็นส่งผลเสียต่อ

ตัวผู้ป่วยได้ครับ

การท�าAntibiotic timeout เป็นกระบวนการที่

ส�าคัญอกีหนึง่กระบวนการของAntibioticStewardship

Programของศนูย์ควบคมุและป้องกันโรคตดิต่อประเทศ

สหรัฐอเมริกา (CDC;CenterofDiseasescontrol

andPrevention,USdepartmentofHealthand

HumanService)ที่มีส่วนช่วยเน้นย�้าให้แพทย์ได้กลับ

มาทบทวนหรือประเมินการใช้ยาปฏิชีวนะที่ให้ผู้ป่วยใน

Page 8: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

ment กระบวนการ Antibiotic time out มาใช้

ประเมินร่วมกับการประเมินผู้ป่วยตามปกติของแพทย์

ประจ�าบ้านของสถาบันMcGillUniversityHealth

Centre (MUHC) โดยมีผู้ป่วยในการศึกษาท้ังสิ้น679

รายและใช้ระยะเวลาศึกษาทั้งสิ้น18 เดือน (มกราคม

2012ถึงเดือนมิถุนายน2013) โดยในการศึกษาได้

ก�าหนดให้แพทย์ประจ�าบ้านจะต้องเข้ามาประเมินการ

ใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยสัปดาห์ละ 2ครั้ง โดยอาศัย

ค�าถามท่ีระบุไว้ข้างต้นเป็นเครื่องมือช่วยในการประเมิน

ความเหมาะสมของการใช้ยาปฏิชีวนะและจากผลการ

ศึกษาซึ่งได้ตีพิมพ์ ในวารสารAnnalsof Internal

Medicine2014ของสถาบันAmericanCollegeof

Physicianพบว่าสามารถช่วยลดอุบัติการณ์ของเชื้อ

แบคทีเรียดื้อยารวมถึงลดอาการไม่พึงประสงค์จากการ

ได้รับยาปฏิชีวนะลดอุบัติการณ์ของการระบาดของเชื้อ

ClostidiumDifficileและช่วยลดค่ารักษาพยาบาลจาก

การใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยอีกด้วย

Join with Infection Safety

พอจะได้ท�าความรู้จักหรือเห็นภาพของกระบวนการ

และข้อดีของการน�าเอาAntibiotic timeoutมาปรับ

ใช้กับการทบทวนการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะกับผู้ป่วยมั้ยครับ

หรือโรงพยาบาลไหนที่ได้น�าเอากระบวนการน้ีไปปรับใช้

กับผู ้ป่วยแล้ว ผมต้องขอชื่นชมในความตระหนักถึง

ปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุสมผลและความ

ตั้งใจของบุคลากรทางการแพทย์ที่พยายามลดปัญหาดัง

กล่าวไปพร้อมๆกับบุคลากรสาธารณสุขทั่วโลกเลยนะ

ครับแล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าครับ

Reference:

(1) CDC. Core Elements Of Hospital Antibiotic

Stewardship Programs. Atlanta, GA; US depart-

ment of Health and Human Service, CDC; 2014.

Available at http://www.cdc.gov/getsmart/health-

care/implementation/core-elements.html

(2) Todd C. Lee, Charles Frenette, Dev Jayaraman,

Laurence Green, Louise Pilote. Antibiotic Self-stew-

ardship: Trainee-Led Structured Antibiotic Time-

outs to Improve Antimicrobial Use. Ann Intern Med.

2014;161 (10_Supplement):S53-S58

Page 9: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Join with Environment Safety โดย อ.นิรชิต เรืองแสงวัฒนา

ท่านทราบหรือไม่ว่าวัตถุหรือส่ิงของที่อยู่รอบๆตัวเราใน

สถานพยาบาลนั้น มีอะไรบ้างที่ถูกเรียกว่าวัตถุอันตราย

(HazardousMaterials)ในJOINWITHUSฉบับที่แล้วเรา

ได้ท�าความรู้จักกับHazardousAreaไปแล้วในฉบับนี้เราจะ

มาพูดถึงHazardousMaterialsหรือที่หลายคนเรียกว่า

Hazmatกันบ้างนะครับ

ในมาตรฐาน JCI Accreditation Standards for

Hospitals (5thEdition)หัวข้อFMS.5 ได้มีการแบ่งกลุ่ม

ประเภทของวัตถุและขยะที่มีความเป็นอันตราย(Hazardous

MaterialsandWaste)ตามองค์การอนามัยโลก (World

HealthOrganization)ไว้ดังนี้

• Infectiouswaste-ขยะติดเช้ือเช่นเลือดหนอง

ปัสสาวะสารคัดหล่ังรวมไปถึงวัสดุท่ีมีการสัมผัสกับ

ผู้ป่วยได้แก่ผ้าซับเลือดถุงใส่ปัสสาวะถุงเลือดถุงมือ

• Pathologicalandanatomicalwaste–ขยะพยาธิ

วิทยาเช่นชิ้นเนื้อและชิ้นส่วนของร่างกาย

• Hazardouspharmaceuticalwaste–ขยะท่ีเกดิจาก

ยาเช่นยาที่หมดอายุหรือไม่ได้ใช้ยาที่ปนเปื้อนวัคซีน

• Hazardouschemicalwaste–ขยะสารเคมีอันตราย

เช่นตัวท�าละลายที่ใช้ในห้องLabสีย้อมน�้ายาท�าความ

สะอาดสารฆ่าเชื้อสารปรอทสารเคมีที่เป็นพิษ

• Wastewithahighcontentofheavymetals–

ขยะที่มีส่วนผสมของโลหะหนักเช่นแบตเตอรี่ถ่าน

ไฟฉายเทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิร่างกายเคร่ืองวัด

ความดันโลหิตหลอดไฟ

Hazardous Materials • Pressurizedcontainers–ภาชนะบรรจุที่มีแรงดัน

เช่นถังแก๊สทางการแพทย์แรงดันสูงถังดับเพลิง

• Sharps–ของมีคมเช่นเข็มมีดผ่าตัดเศษแก้วที่แตก

ปลายสายIVset,Ampวัคซีน

• Highlyinfectiouswaste–ขยะติดเชื้อสูงเช่น

เศษซากสัตว์

• Genotoxic/Cytotoxicwaste–ขยะเคมีบ�าบัดเช่น

ยาที่ถูกใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง

• Radioactivewaste–ขยะสารรังสีเช่นของเสียทั้ง

ของแข็งของเหลวและก๊าซที่ประกอบหรือปนเปื้อน

ด้วยสารกัมมันตรังสีที่ไม่ใช้แล้ว

ข้อมูลจากWHOพบว่า ในทุกๆปีทั่วโลกจะมีการใช้เข็ม

ฉีดยาประมาณหนึ่งหมื่นหกพันล้านคร้ังซึ่งไม่ใช่ทุกครั้งท่ีมี

การทิ้งเข็มฉีดยาอย่างปลอดภัยการกระท�านี้น�าไปสู่ความ

เสี่ยงท�าให้บาดเจ็บและติดเชื้อได้ ในปี2010มีผู้ติดเชื้อHIV

สายพันธุ์ใหม่ 33,800 รายติดเชื้อHepatitisCจ�านวน

315,000รายและติดเชื้อHepatitisBจ�านวน1,700,000

รายจากการโดนเข็มท่ีถูกใช้แล้วต�าข้อมูลทางสถิติระบุอีกว่า

คนหนึ่งคนหากได้รับบาดเจ็บจากเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยติดเช้ือ

เพียง1ครั้งมีโอกาสจะติดเชื้อHBVสูงถึง30%ติดเชื้อHBC

1.8%และHIVสายพันธุ์ใหม่0.3%

อันตรายที่เกิดจากHazmatนั้นมีต้ังแต่ระคายเคืองเล็ก

น้อยไปจนถึงแก่ความตายได้หากเราไม่มีการบริหารจัดการ

และการปฏิบัติอย่างถูกวิธี เพราะฉะนั้นเราจึงควรให้ความ

ส�าคัญในการหยิบจับสัมผัสการจัดเก็บการใช้การขนย้าย

รวมถึงการท้ิงและการท�าลายวัตถุและขยะที่มีความเป็น

อนัตรายเพือ่ความปลอดภยัแก่ผูป่้วยผูม้ารบับรกิารเจ้าหน้าที่

บุคลากรในโรงพยาบาลและทุกคนที่เข้ามาในสถานพยาบาล

ของเรา

Page 10: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Join with Our Activity

» 7 กรกฎาคม 2559โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ์สภากาชาดไทยThe Nurse’s Role in Medication Safety

» 8 กรกฎาคม 2559โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ์สภากาชาดไทยReducing the risk of Patient harm resulting from Falls

11-12 กรกฎาคม 2559 »มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชมาตรฐานสากลบทบาท & กระบวนการสำาคัญ สำาหรับหัวหน้าพยาบาล :International Standard For Head Nurse

» 4 สิงหาคม 2559โรงพยาบาลกลางการประชุมวิชาการเครือขา่ยโรงพยาบาลคุณภาพสำานักการแพทย ์ครัง้ที ่10

Page 11: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Join with Our Activity

8-10 สิงหาคม 2559 »มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชการจัดการศูนยบ์ริการปฐมภูมิตามแนวทางมาตรฐานสากล อยา่งมืออาชีพ :International standard for Primary Care

» 22 สิงหาคม 2559 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ์สภากาชาดไทยPatient Safety Solutions: Rapid Response Team and Change in Patient’s Conditions

» 16 กันยายน 2559 บริษัท ซิมม ์จำากัดชพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างบริษัท เฮลธแ์คร์ เอ็กซเปิร์ท กรุ๊ป (ไทยแลนด)์ โดย นพ.สมพร คำาผง ประธานกรรมการบริหาร กับ บริษัท ซิมม ์จำากัด โดย คุณภราดา นิตยวรรธนะ กรรมการผูจ้ัดการ

19-21 กันยายน 2559 »มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชการบริหารจัดการและบันทึกเวชระเบียนตามแนวทางมาตรฐานสากล อยา่งมืออาชีพ :International standard for MedicalRecord Management and Documentation

Page 12: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

» 22 กันยายน 2559 ศูนย์การศึกษาและพัฒนามาตรฐานบริการสุขภาพนานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิตพิธีมอบใบประกาศนียบัตรหลักสูตร Mini MBA : มาตรฐานการบริการสุขภาพนานาชาติ กับการบริหารจัดการโรงพยาบาล รุ่นที ่3

6-7 ตุลาคม 2559 »โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ์สภากาชาดไทยHow to improving your Patient’ s Care

10 ตุลาคม 2559โรงพยาบาลตำารวจ การประชุมวิชาการประจำาปี 2559เนื่องในโอกาสวันคลา้ยวันสถาปนาสำานักงานตำารวจแห่งชาติ ครัง้ที ่27

10-11 ตุลาคม 2559 »โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ์สภากาชาดไทยHandovers of Patient Care: Improving communication during transition of care

Join with Our Activity

»

Page 13: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

10-12 ตุลาคม 2559 »มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชการจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในสถานพยาบาล ตามแนวทางมาตรฐานสากลอยา่งมืออาชีพ : International standard for Facility Management and Safety (FMS)

» 13 ตุลาคม 2559โรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ Update JCI Standards 5th and 6th Edition

» 15 พฤศจิกายน 2559 บริษัท แอซเซ็ท แมเนจเมน้ท ์ซิสเต็มส ์(ประเทศไทย) จำากัด การบริหารจัดการเทคโนโลยีทางการแพทยอ์ยา่งมืออาชีพตามแนวทางมาตรฐานสากล JCI in Training Program : Focus on Professional Guideline for Medical Technology Management Standards, JCI 5th Editionand 6th Edition

Join with Our Activity

Page 14: Newsletter -  · PDF fileGovernance, Leadership, and Direction (GLD) นะ คะ หากได้อ่านมาตรฐานGLD.3.2 ในมาตรฐาน JCI

Join with Our Activity

นายแพทยส์มพร คำาผง อ.เกศกุลวัณย ์ ธีระวรวงศ์

อ.แจ่มจันทร์ คลา้ยวงษ์

อ.สุรัสวดี สุพรรณพงศ์

ภก.พงษพ์ันธุ ์ตาทิพย์

ภก.พัฒนศักดิ ์ถนัดคา้

ภก.นภัทรสินธุ ์สินธูรณ์

อ.ศิรันย ์ มโนลีหกุล

อ.นิรชิต เรืองแสงวัฒนา

อ.ปราณี อุรัมภรณ์

ภญ.ผุสดี บัวทอง