Logistics Scorecard

93
คูมือวินิจฉัยความสามารถ ดานโลจิสติกสของผูประกอบการธุรกิจ โครงการภายใตกรอบความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน SME Projects © ลิขสิทธิ์สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 2550

Transcript of Logistics Scorecard

Page 1: Logistics Scorecard

คูมือวินิจฉัยความสามารถ

ดานโลจิสติกสของผูประกอบการธุรกิจ

โครงการภายใตกรอบความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน SME Projects © ลิขสิทธิ์สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

2550

Page 2: Logistics Scorecard

2

คํานํา ปจจุบันกระแสโลกาภิวัตนเปนปจจัยขับเคลื่อนใหการแขงขันในการดําเนินธุรกิจเพ่ิมสูงขึ้นเปนอยางมาก ผูซื้อสามารถสืบคนขอมูลเพ่ือคัดเลือกสินคาและผูขายไดอยางมากมาย ในทางกลับกันผูขายสามารถนําเสนอสินคาและบริการไปยังลูกคากลุมเปาหมายไดอยางทั่วถึงรวดเร็ว การแขงขันในยุคปจจุบันกลยุทธดานราคาหรือคุณภาพสินคาเปนเพียงกลยุทธพ้ืนฐานปกติที่องคกรทุกองคกรใช องคกรที่จะสามารถชวงชิงตลาดหรือสามารถครองใจลูกคาไดจะตองมีการวิเคราะหความตองการของลูกคาและสามารถสนองตอบตอความตองการของลูกคาไดอยางเหมาะสม ซึ่งในการวิเคราะหความตองการของลูกคาเพ่ือสนองตอบอยางมีประสิทธิภาพนั้นแนวความคิดดาน โลจิสติกสเขามามีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะแนวความคิดดานโลจิสติกสจะครอบคลุมกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจของลูกคาไวอยางครบถวน เชนการตอบสนองอยางทันทีทันใด (Quick Response) การจัดสงที่ตรงเวลา การลดตนทุนดําเนินการทําใหราคาสินคาต่ําลง การบริหารจัดการการขนสง เปนคน คูมือการประเมินศักยภาพดานโลจิสติกสนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือใหผูประกอบการในประเทศไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งผูประกอบการที่เปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) สามารถใชประเมินศักยภาพขององคกรตนเองดานโลจิสติกส และสามารถใชเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาองคกรใหสามารถแขงขันไดทั้งในประเทศและในระดับสากล

สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 2550

Page 3: Logistics Scorecard

3

สารบัญ หนา คํานํา 2 1. ความเปนมาของโครงการ 4 2. ความเขาใจเบื้องตนสําหรับการประเมินศักยภาพทางดานโลจิสติกส 5

2.1 การประเมนิและการใหระดับคะแนน 5 3. การวิเคราะหผลการประเมินศักยภาพดานโลจิสติกส 6 3.1 ผูประเมินทางเอกสาร 6 3.2 ผูประเมินทางอินเตอรเน็ต 6 4. คําอธิบายรายละเอียดแบบประเมินความสามารถดานโลจิสติกสรายตัวชี้วัด 11

4.1 คําอธิบายสําหรับอุตสาหกรรมการผลิต 11 4.2 คําอธิบายสําหรับอุตสาหกรรมการบริการ 38 4.3 คําอธิบายสําหรับอุตสาหกรรมการบริการดานโลจิสติกส 64

ภาคผนวก ก Logistics Scorecard 89 Logistics Scorecard สําหรับอุตสาหกรรมการผลิต 90 Logistics Scorecard สําหรับอุตสาหกรรมการบริการ 91 Logistics Scorecard สําหรับอุตสาหกรรมการบริการดานโลจิสติกส 92

ภาคผนวก ข รายนามคณะทํางาน 93

Page 4: Logistics Scorecard

4

1. ความเปนมาของโครงการ

กระแสโลกาภิวัตนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงหลายดานทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และวิถีการดําเนินชีวิต

ขาวสาร วิทยาการ และเทคโนโลยี เกิดการแลกเปลี่ยน ถายทอด และรับรูถึงกันไดอยางรวดเร็ว ในดานของการติดตอและดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจก็เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางใหญหลวง ผูซื้อสามารถสืบคนและเปรียบเทียบสินคาและผูขายเพ่ือคนหาสินคาและบริการที่เหมาะสมกับองคกรของตนเองไดตามความพอใจ เทคโนโลยีการแลกเปล่ียนขอมูลระหวางองคกร เชน EDI (Electronic Data Interchange) มีบทบาทเขามาชวยในการบูรณาการการวางแผนและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ทําใหองคกรที่อยูในโซอุปทานเดียวกันไดรับผลประโยชนทั้งในดานการลดตนทุน การเพิ่มความพึงพอใจของลูกคา และอ่ืนๆ มากขึ้น การเปล่ียนแปลงเหลานี้เปนตัวขับเคล่ือนใหองคกรธุรกิจตองมีการปรับปรุงและพัฒนาตัวเองอยูตลอดเวลาเพื่อความอยูรอดขององคกร ในการพัฒนาปรับปรุงองคกรนั้นจําเปนอยางยิ่งที่องคกรตองสามารถวิเคราะหและประเมินศักยภาพดานการแขงขันของตนเองเมื่อเปรียบเทียบกับองคกรธุรกิจประเภทเดียวกันและเมื่อเทียบกับมาตรฐานในระดับสากล ซึ่งเกณฑชี้วัดศักยภาพทางการแขงขันที่ครอบคลุมในทุกดานของกิจกรรมที่เดนชัดในปจจุบันคือเกณฑดัชนีชี้วัดทางดานโลจิสติกสนั่นเอง

โครงการประเมินและสงเสริมการพัฒนาศักยภาพดานโลจิสติกสสําหรับอุตสาหกรรมในประเทศไทย โดยสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดดําเนินการขึ้นเพ่ือสรางดัชนีชี้วัดที่สามารถใชสําหรับการประเมินศักยภาพดานโลจิสติกสสําหรับองคกรธุรกิจในประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ทั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือใหองคกรธุรกิจในประเทศสามารถวิเคราะหและพัฒนาความสามารถทางการแขงขันสูระดับสากล โดยในการพัฒนาแบบประเมินศักยภาพดานโลจิสติกสนี้ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยไดศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศอยางกวางขวาง นอกจากนี้ยังไดจัดสัมมนาผูประกอบการและผูเชี่ยวชาญดานโลจิสติกสเพ่ือชวยวิเคราะหและปรับปรุงแบบประเมินจนกระทั่งไดแบบประเมินศักยภาพดานโลจิสติกสที่สมบูรณ

Page 5: Logistics Scorecard

5

2. ความเขาใจเบื้องตนสําหรับ การประเมินศักยภาพทางดานโลจิสติกส

เกณฑและดัชนีในการประเมินศักยภาพทางดานโลจิสติกสขององคกรนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือใหองคกรตางๆ

สามารถประเมินศักยภาพทางดานโลจิสติกสขององคกรตนเองได เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากล และเมื่อเปรียบเทียบกับศักยภาพขององคกรลักษณะเดียวกันในประเทศไทย ทั้งนี้เพ่ือใหองคกรที่ไดประเมินตนเองมองเห็นจุดออนและจุดแข็งขององคกร และสามารถนําขอมูลที่ไดไปใชสําหรับการพัฒนาองคกร ใหมีศักยภาพสูงขั้น และมีความสามารถดานการแขงขัน ทั้งนี้ ขอมูลในการประเมินองคกรของทานจะถูกเก็บเปนความลับ ผลการวิเคราะหศักยภาพดานโลจิสติกสขององคกรทานจะถูกนําเสนอใหทาน (ผูทําการประเมิน) ทราบเทานั้น

2.1 การประเมินและการใหระดับคะแนน เพ่ือใหการประเมินศักยภาพทางดานโลจิสติกสขององคกรทานถูกตองแมนยําและสามารถวิเคราะหแปล

ผลไดอยางสมบูรณ ขอใหทานทําความเขาใจวิธีการประเมินตนเองดังนี้ 1. ขอใหทานเลือก Logistics Scorecard ที่จะใชประเมินใหตรงกับลักษณะองคกรของทาน ซึ่ง Logistics

Scorecard แบงออกเปน 3 ประเภทตามลักษณะของธุรกิจ คือ - กลุมอุตสาหกรรมการผลิต - กลุมอุตสาหกรรมการบรกิาร - กลุมอุตสาหกรรมการบริการดานโลจิสติกส

ในกรณีที่องคกรของทานมีลักษณะการดําเนินธุรกิจที่ครอบคลุมมากกวา 1 ดาน ขอใหทานเลือกกลุมที่ตรงกับกับธุรกิจหลักขององคกรทานมากที่สุดเพียงกลุมเดียว

2. ผูทําการประเมินควรเปนผูที่ดูแลกิจกรรมโลจิสติกส หรือผูปริหารระดับสูง ที่ทราบรายละอียดของกิจกรรม โลจิสติกสขององคกรทั้งหมด ทั้งนี้เพราะรายละเอียดของตัวชี้วัดบางตัว ตองการความแมนยําและเที่ยงตรงในการประเมินสูง เชน อัตราการสงมอบที่ทันเวลา ความถูกตองในการเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา

3. ขอใหทานกรุณากรอกขอมูลในรายละเอียดเบื้องตนขององคกรใหถูกตองครบถวน เพ่ือประโยชนในดานการวิเคราะห และแปลผล

4. ดัชนีที่ใชวัดศักยภาพทางดานโลจิสติกส แบงออกเปน 5 ดานใหญๆ คือ - ดานการกําหนดกลยุทธองคกร - ดานการวางแผนและความสามารถในการปฏิบัติงาน - ดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลดานโลจิสติกส - ดานระบบบริหารขอมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ - ดานความรวมมือกันระหวางองคกร

ในการวัดศักยภาพแตละดาน จะมีตัวชี้วัดแยกเปนขอยอยลงไปเปนรายละเอียด และในแตละตัวชี้วัด จะแบงระดับการใหคะแนนออกเปน 5 ระดับ คือ ระดับที่ 1 ถึง ระดับที่ 5 เรียงจากระดับศักยภาพต่ําที่สุด ไประดับศักยภาพสูงที่สุด ตามลําดับ

Page 6: Logistics Scorecard

6

5. การใหระดับคะแนน

ก. กรณีท่ีเปนไปตามตัวบงชี้ชัดเจน ใหใสคะแนนตามระดับที่องคกรทานเปนตามนั้น เชน ตัวชี้วัดที่ 1.1 กําหนดระดับการใหคะแนนดังนี้

ถาองคกรของทานผูบริหารระดับสูงไมไดกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส และไมมีหนวยงานหรือคณะทํางานที่รับผิดชอบงานดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร คะแนนท่ีองคกรของทานจะได คือ 1

ถาองคกรของทานผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส แตยังไมมีหนวยงาน หรือคณะทํางานที่รับผิดชอบงานดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร คะแนนท่ีองคกรของทานจะได คือ 2

ข. กรณีท่ีเปนไปตามตัวบงชี้เพียงบางสวนใหใสคะแนนตามสวนของระดับที่องคกรทานเปนตามนั้น เชน

ตัวชี้วัดที่ 5.1 กาํหนดระดับการใหคะแนนดังนี้ ระดับ1 ระดับ2

• องคกรไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน

• องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน

• องคกรมีแผนที่จะดําเนินการเพื่อสรางความรวมมือระหวางกัน

ถาองคกรทานเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปน พันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน แตยังไมมีแผนที่จะดําเนินการเพ่ือสรางความรวมมือระหวางกัน

คะแนนที่องคกรของทานจะได คือ 1.5 (เปนไปตามระดับ 1 แลว แตเปนไปตามระดับ 2 เพียง ขอ เดียว จาก 2 ขอ จึงไดเพ่ิมจากระดับ 1 เพียง 0.5 คะแนน)

ในกรณีที่ทานไมเขาใจตัวชี้วัดขอใด ขอใหทานศึกษาไดจาก คําอธิบายรายตัวชี้วัด ซึ่งจะมีรายละเอียด

คําอธิบายพรอมการยกตัวอยางประกอบ

ระดับ1 ระดับ2 • ผูบริหารระดับสูงไมไดกําหนดนโยบายหรือกล

ยุทธดานโลจิสติกส • ไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบงาน

ดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร

• ผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

• ไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบงานดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร

Page 7: Logistics Scorecard

7

3. การวิเคราะหผลการประเมินศักยภาพดานโลจิสติกส

หลังจากที่ทานไดทําประเมินศักยภาพดานโลจิสติกสแลว ในขั้นตอนของการประเมินจะวัดคะแนนออกเปน

5 ดาน ตามจํานวนของดัชนีทั้ง 5 ดานโดยการพิจารณาศักยภาพในแตละดาน แยกออกจากกัน เพ่ือใหทานทราบศักยภาพดานการแขงขันและสามารถมุงเนนการพัฒนาศักยภาพในแตละดานไดอยางชัดเจน เหตุผลที่ไมมีการประเมินคะแนนในภาพรวม เพราะดัชนีในแตละดานมีความสําคัญตอการแขงขันเปนเอกเทศกัน การนําคะแนนรวมของดัชนีทั้ง 5 ดาน มาพิจารณาจะทําใหปญหาหรือขอดอยขององคกรถูกซอนเรนและไมถูกนํามาพิจารณาปรับปรุงได ซึ่งจะเกิดผลเสียตอองคกร ดังจะยกตัวอยางเชน องคกรมีคะแนนในดัชนีดานที่1 2 3 และ 5 สูงมาก ขณะที่ดัชนีดานที่ 4 ไดคะแนนต่ํามาก คะแนนรวมขององคกรจะออกมาคอนขางสูง ทําใหผูบริหารอาจเขาใจผิดวาองคกรมีศักยภาพทางการแขงขันสูง ในขณะที่โดยความเปนจริงดัชนีดานที่ 4 คือดัชนีชี้วัดดานระบบบริหารขอมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศต่ํามาก ซึ่งสงผลตอความสามารถทางการแขงขันในอนาคตตามกระแส โลกาภิวัตน ในที่สุดองคกรก็ไมสามารถแขงขันอยูในตลาดได

การประเมินศักยภาพดานโลจิสติกสขององคกรนั้น จะแบงเปน 2 ลักษณะ คือ สําหรับผูที่ประเมินทางเอกสาร (Hard Copy) และสําหรับผูประเมินจากทางอินเตอรเน็ต (www.ftilogistics.org) 3.1 ผูประเมินทางเอกสาร

ถาทานประเมินทางเอกสารทานจะทราบเพียงวาองคกรของทานมีความสามารถดานโลจิสติกสอยูที่ระดับใดเมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานเทานั้น โดยคะแนนของแตละดัชนีหาไดจากการหาคาฉล่ียของตัวชี้วัดแตละขอ เชน ในดัชนีดานที่ 1 การกําหนดกลยุทธองคกร มีตัวชี้วัด 5 ขอ และในแตละขอ ทานประเมินองคกรตนเองไดดังนี้ 1. องคกรเห็นถึงความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส และมีการวางแผนกลยุทธดานโลจิสติกส ไดคะแนน 4 2. มีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลัก และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน ไดคะแนน 4 3. มีการทําขอตกลงกับลูกคา และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน ไดคะแนน 4 4. มีระบบในการประเมิน และพัฒนาความพึงพอใจของลูกคา ไดคะแนน 5 5. มีระบบในการพัฒนาและประเมินพนักงาน ไดคะแนน 5

ดังนั้นในดัชนีดานที่ 1 องคกรของทานจะไดระดับคะแนนเฉลี่ย = ( )5

55444 ++++

= 4.4 คะแนน 3.2 ผูประเมินทางอินเตอรเน็ต

หลังจากที่ทานทําการประเมินศักยภาพในแตละดานแลวเสร็จ โปรแกรมจะคํานวณความสามารถในแตละตัวชี้วัดขององคกรทานออกมาโดยจะมีการเปรียบเทียบศักยภาพขององคกรทานในลักษณะตางๆ เพ่ือใหทานสามารถวิเคราะหศักยภาพดานโลจิสติกสเพ่ือการแขงขันขององคกรไดละเอียดมากขึ้น ดังนี้

• เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวชี้วัดขององคกรทานกับศักยภาพโดยรวมขององคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน หมายถึงทานตองการเปรียบเทียบองคกรของทานกับองคกรอื่นๆ ที่มีลักษณะธุรกิจแบบเดียวกับองคกรของทาน เชน ถาองคกรของทานเปนอุตสาหกรรมการผลิต องคกรของทานก็

Page 8: Logistics Scorecard

8

จะเปรียบเทียบกับทุกองคกรที่อยูในอุตสาหกรรมการผลิต ถาองคกรของทานเปนอุตสาหกรรมการบริการ องคกรของทานก็จะเปรียบเทียบกับทุกองคกรที่อยูในอุตสาหกรรมการบริการ เปนตน

• เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวชี้วัดขององคกรทานกับศักยภาพโดยรวมขององคกรที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน หมายถึงทานตองการเปรียบเทียบองคกรของทานกับองคกรอื่นๆ ท่ีประกอบธุรกิจประเภทเดียวกับองคกรของทาน เชน ถาองคกรของทานเปนธุรกิจการผลิตอาหาร องคกรของทานก็จะเปรียบเทียบกับทุกองคกรที่อยูในกลุมธุรกิจผลิต อาหาร เปนตน

• เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวชี้วัดขององคกรทานกับศักยภาพโดยรวมขององคกรที่มีขนาดองคกรในกลุมเดียวกัน หมายถึงทานตองการเปรียบเทียบองคกรของทานกับองคกรอื่นๆ ที่มีขนาดองคกรในกลุมเดียวกัน เชน ถาองคกรของทานเปนอุตสาหกรรมขนาดยอม องคกรของทานก็จะเปรียบเทียบกับทุกองคกรที่อยูในอุตสาหกรรมขนาดยอม เปนตน

การเลือกเพื่อใหโปรแกรมแสดงผลการวิเคราะห ใหทานเลือก (click) x ลงใน หนาตัวเลือกที่ตองการวิเคราะห ซึ่งมีรายละเอียดแสดงดังนี้

เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวชี้วัดขององคกรทานกับศักยภาพโดยรวมขององคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน

เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวชี้วัดขององคกรทานกับศักยภาพโดยรวมขององคกรที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน

เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวชี้วัดขององคกรทานกับศักยภาพโดยรวมขององคกรที่มีขนาดองคกรในกลุมเดียวกัน

ทั้งนี้การเปรียบเทียบจะแสดงผลในรูปแบบของ Radar Chart เพ่ือใหสามารถพิจารณาไดโดยงาย ดังตัวอยางตอไปนี้ กรณีทานเลือก

⌧ เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวชี้วัดขององคกรทานกับศักยภาพโดยรวมขององคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน

หากวา องคกรของทานเปนอุตสาหกรรมการผลิต และคะแนนประเมินขององคกรทาน และขององคกรที่เปนอุตสาหกรรมการผลิตทั้งหมด (ที่สะสมอยูในฐานขอมูล) เปนดังนี้

คะแนน ตัวชี้วัด องคกรทาน องคกรท่ีเปนอุตสาหกรรมการผลิต

ท้ังหมด (คะแนนเฉลี่ย) 1.1 3 3.2 1.2 4.5 4.1 1.3 2 4 1.4 3.1 4.5 1.5 3.5 4.7

Page 9: Logistics Scorecard

9

ผลที่วิเคราะหออกมาจะแสดงในรูปแบบดังนี้

เปรียบเทียบศักยภาพรายตัวช้ีวัดในกลุมอุตสาหกรรมการผลิต

0

1

2

3

4

5

1.1

1.2

1.31.4

1.5

องคกรทาน

องคกรที่เปนอุตสาหกรรมการผลิตทั้งหมด

จากรูปที่เห็น ทานจะสามารถพิจารณาไดวาศักยภาพขององคกรของทาน และขององคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกับองคกรของทานเมื่อเทียบกับมาตรฐานแลวเปนอยางไร อยางไรก็ตามไมควรที่จะพิจารณาเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกับองคกรของทานโดยไมไดพิจารณาคะแนนเต็มของปจจัยตามมาตรฐาน เนื่องจากภาพโดยรวมขององคกรเหลานั้นอาจจะมีศักยภาพอยูในระดับต่ําควรแกไข ถาทานพิจารณาเทียบกับกลุมเพียงอยางเดียวก็อาจทําใหวิเคราะหผลผิดพลาดได

นอกจากการแสดงผลการวิเคราะหเปนรูปภาพแลว โปรแกรมยังสามารถวิเคราะหศักยภาพ รายดัชนี 5 ดาน ขององคกรของทานเมื่อเทียบกับภาพรวมขององคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน โดยโปรแกรมจะใชหลักสถิติในการทดสอบสมมุติฐานวาศักยภาพดานตางๆ ขององคกรของทานเมื่อเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกันมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญหรือไม ซึ่งในที่นี้จะใช การทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสําคัญ 5% ในที่นี้ ผลที่แสดงใหทานทราบอาจจะเปนดังตัวอยางเชน จากการประมวลผลศักยภาพเมื่อเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกันกับองคกรของทาน จํานวน 1000 องคกร เปนดังนี้ ดัชนีดานที่ 1 องคกรของทานไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน ดัชนีดานที่ 2 องคกรของทานไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน

Page 10: Logistics Scorecard

10

ดัชนีดานที่ 3 องคกรของทานมีศักยภาพต่ํากวาอยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน ดัชนีดานที่ 4 องคกรของทานมีศักยภาพต่ํากวาอยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน ดัชนีดานที่ 5 องคกรของทานมีศักยภาพต่ํากวาอยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับองคกรที่ประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกัน อยางไรก็ตามในการวิเคราะหสวนทายนี้ เปนการเปรียบเทียบเฉพาะองคกรที่เขามาประเมินตนเองที่อยูในฐานขอมูลเทานั้น ในการแขงขันระดับสากลทานควรพิจารณาเทียบกับเกณฑมาตรฐาน (ในที่นี้แตละตัวชี้วัดมีคะแนนเต็ม 5) จะไดรับประโยชนมากกวา

Page 11: Logistics Scorecard

11

4. คําอธิบายรายละเอียดแบบประเมิน ความสามารถดานโลจิสติกสรายตัวชี้วัด

4.1 คําอธิบายสําหรับอุตสาหกรรมการผลิต

ดัชนีดานท่ี 1 การกําหนดกลยุทธองคกร

ตัวชี้วัดท่ี 1.1 องคกรเห็นถึงความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส และมีการวางแผนกลยุทธดาน โลจิสติกส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรใหความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส และมีการจัดตั้งคณะทํางานหรือหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยเฉพาะ หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเห็นถึงความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส โดยผูบริหารใหการสนับสนุน และจัดตั้งคณะทํางานหรือหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยเฉพาะขึ้นมา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 1.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 ผูบริหารระดับสูงไมไดกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร ระดับ 2 ผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร ระดับ 3 ผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรมีหนวยงาน หรือ คณะทํางาน รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกส (ซ่ึงเปนบุคลากรจากหลายฝายมารวมตัวกัน หรือประชุมกันเปนครั้งคราว)

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการตั้งดัชนีชี้วัด (Key Performance Index) ทางดานโลจิสติกสข้ึนมา องคกรมีการประเมินผลกิจกรรมดานโลจิสติกสภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการทบทวนและพัฒนาแผนกลยุทธดานโลจิสติกส อยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม กิจกรรมดานโลจิสติกส

โดยคําวา “กิจกรรม” หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่อยูในขอบขายกระบวนการทางดานโลจิสติกส ซึ่ง ประกอบดวย

Page 12: Logistics Scorecard

12

- งานบริการลูกคา - การวางแผนเกี่ยวกับตําแหนงที่ต้ังของอาคารโรงงาน คลังสินคา - การพยากรณและการวางแผนอุปสงค - การจัดซื้อจัดหา - การจัดการสินคาคงคลัง - การจัดการวัตถุดิบ - การเคลื่อนยายวัตถุดิบ - การบรรจุหีบหอ - การดําเนินการกับคําส่ังซื้อของลูกคา - การขนของ และการจัดสง - โลจิสติกสยอนกลับ (อาทิเชน การจัดการสินคาคืน) - การจัดการกับชองทางจัดจําหนาย - การกระจายสินคา - คลังสินคาและการเก็บสินคาเขาคลัง - กิจกรรมการแปรรูปเพ่ือนํากลับมาใชใหม คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 1.2 มีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลัก1.1 และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลัก และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เพ่ือใหองคกรและผูสงมอบหลักไดรับประโยชนรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลักอยางเปนลายลักษณอักษร และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลเพ่ือพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสโดยตั้งอยูบนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนรวมกันทั้ง 2 ฝาย (win-win solution)

Page 13: Logistics Scorecard

13

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลง กับผูสงมอบหลักอยางเปนทางการ ระดับ 2 องคกรมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลงกับผูสงมอบหลัก ในรูปแบบตางๆ เชน ใบส่ังซ้ือ (PO) ,ขอกําหนด,

e-mail หรือการสื่อสารอื่นๆ ที่เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลที่สําคัญระหวางองคกรกับผูสงมอบหลัก นอกเหนือจากที่ระบุไวในสัญญา/ขอตกลง เชน ประสิทธิภาพของผูสงมอบดานตางๆ เปนตน

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการระบุขอตกลงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและผูสงมอบหลัก

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีแผนในการพัฒนาผูสงมอบหลักอยางเปนทางการ

คําอธิบายเพิ่มเติม “มีการระบุขอตกลงที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานที่เอ้ือประโยชนกับทั้งองคกรและผูสงมอบหลัก” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4) ตัวอยางเชน “องคกรที่ทําการผลิตมีขอตกลงใหผูสงมอบวัตถุดิบใดๆ เปนผูบริหารสินคาคงคลังในสวนของวัตถุดิบนั้นๆให” ซึ่งประโยชนที่องคกรไดรับก็คือ ไมตองรับภาระคาใชจายในการบริหารสินคาคงคลังของตน สวนประโยชนที่ผูสงมอบไดรับก็คือ สามารถวางแผนการผลิต หรือการจัดสงวัตถุดิบใหไดอยางแมนยํามากขึ้น

คํานิยาม 1.1 ผูสงมอบหลัก : ผูจัดสงวัตถุดิบ ชิ้นสวน หรือรับจางชวงใหกับองคกร ดวยปริมาณ หรือ มูลคาที่สูงตาม

ขอกําหนดขององคกรนั้นๆ ตัวชี้วัดท่ี 1.3 มีการทําขอตกลงกับลูกคาหลกั และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการทําขอตกลงกับลูกคาหลัก และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เพ่ือใหองคกร และลูกคาหลักไดรับประโยชนรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการทําขอตกลงกับลูกคาหลัก อยางเปนลายลักษณอักษร ในการแลกเปลี่ยนขอมูลเพ่ือพัฒนากิจกรรมโลจิสติกสโดยตั้งอยูบนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนรวมกนัทั้ง 2 ฝาย (win-win solution)

Page 14: Logistics Scorecard

14

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลง กับลูกคาหลักอยางเปนทางการ ระดับ 2 องคกรมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลงกับลูกคาหลักในรูปแบบตางๆ เชน ใบส่ังซ้ือ (PO) ,ขอกําหนด,e-mail

หรือการสื่อสารอื่นๆ ที่เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลที่สําคัญระหวางองคกรกับลูกคาหลัก นอกเหนือจากที่ระบุไวในสัญญา/ขอตกลง ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีการระบุขอตกลงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและลูกคาหลัก ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีแผนในการพัฒนาประสิทธิภาพขององคกรรวมกับลูกคาหลักอยางเปนทางการ คําอธิบายเพิ่มเติม “มีการระบุขอตกลงที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและลูกคา” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4) ตัวอยางเชน “องคกรที่ทําการผลิตสินคาใดๆ ทําขอตกลงกับลูกคา ซึ่งเปนศูนยกระจายสินคา วาจะเปนผูบริหารสินคาคงคลังในสวนของสินคานั้นๆให” ซึ่งประโยชนที่องคกรไดรับก็คือสามารถวางแผนการผลิต หรือการจัดสงสินคาใหลูกคาไดอยางแมนยํามากขึ้น สวนประโยชนที่ลูกคาไดรับก็คือไมตองรับภาระคาใชจายในการบริหารสินคาคงคลังของตน

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 1.4 มีระบบในการประเมิน และพัฒนาความพึงพอใจของลูกคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการดําเนินการเกี่ยวกับขอรองเรียนของลูกคา มีระบบและวิธีการประเมิน รวมทั้งมีการรวมมือกันภายในองคกร และรวมมือกับลูกคาในการพัฒนาระดับความพึงพอใจของลูกคา หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีระบบในการดําเนินการเกี่ยวกับขอรองเรียนของลูกคา มีระบบและวิธีการประเมิน และพัฒนาความพึงพอใจของลูกคา รวมท้ังมีการรวมมือกับลูกคาในการพัฒนาระดับความพึงพอใจของลูกคา

Page 15: Logistics Scorecard

15

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา

การแกไขขอรองเรียนของลูกคา เปนการแกไขปญหาแบบเฉพาะหนา หรือเปนครั้งคราวเทานั้น ระดับ 2 องคกรมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา

มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยแผนก/ฝายขายเปนผูรับผิดชอบเทานั้น ไมมีการบันทึกขอรองเรียนของลูกคาที่เกิดข้ึน

ระดับ 3 องคกรมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยแผนก/ฝายขายเปนผูรับผิดชอบเทานั้น มีระบบในการจัดการ และจัดเก็บขอรองเรียนของลูกคาที่เกิดข้ึน

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เฉพาะภายในองคกร มีการนําผลสํารวจความพึงพอใจของลูกคามาวิเคราะหเพื่อพัฒนาวิธีการทํางาน ผลิตภัณฑ หรือบริการที่ดีข้ึน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของท้ังภายในองคกร ผูสงมอบ และลูกคา มีมาตรการในการปองกันปญหาตางๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ซ่ึงสงผลตอความพึงพอใจของลูกคา (มาตรการกําหนดจากการวิเคราะหความพึงพอใจของลูกคา)

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 1.5 มีระบบในการพัฒนาและประเมินพนักงาน วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการพัฒนาและประเมินผลงานของพนักงานในดานโลจิสติกส รวมทั้งมีการนําหลักการ การจัดการองคความรู เขามาประยุกตใชในองคกร เพ่ือพัฒนาความสามารถของพนักงานในดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีระบบในการพัฒนาและประเมินผลงานของพนักงาน รวมทั้งมีการนําหลักการ การจัดการองคความรู เขามาประยุกตใชในองคกร

Page 16: Logistics Scorecard

16

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรไมมีการฝกอบรมพนักงานในดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรไมมีการฝกอบรมพนักงานในดานโลจิสติกส ระดับ 3 องคกรมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรมีโครงการฝกอบรมเพื่อยกระดับความสามารถของพนักงานใหเปนไปตามถอยแถลงขององคกร ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบการวัดผลการทํางาน และประเมินการทํางานของพนักงานใหเปนไปตามถอยแถลงขององคกร ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีระบบในการจัดการองคความรู เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ และการเรียนรูระหวางทีม และพนักงานแตละระดับขององคกร

คําอธิบายเพิ่มเติม

ถอยแถลง (Commitment Statement) ตัวอยางเชน “องคกรมุงมั่นสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา ดวยการสงมอบสินคาที่ตรงเวลา” เปนตน

“มีระบบในการจัดการองคความรู เพ่ือใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ และการเรียนรูระหวางทีม และพนักงานแตละระดับขององคกร” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4)

การจัดการองคความรู (Knowledge Management) หมายถึง ความสามารถในการจัดการความรู ประกอบดวย การสรางความรู การประมวล การแลกเปลี่ยนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรูและการสรางนวัตกรรมใหมใหเกิดขึ้นในหนวยงาน คํานิยาม -

ดัชนีดานท่ี 2 การวางแผนและความสามารถในการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดท่ี 2.1 การกําหนดแผนงานดานโลจิสติกส มีการพิจารณาการใชทรัพยากรอยางเหมาะสม วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา เมื่อมีการกําหนดกลยุทธดานโลจิสติกส แลวหนวยงานหรือผูรับผิดชอบงานดาน โลจิสติกส นํามาวางแผนการทํางานของตนอยางเหมาะสม ภายใตทรัพยากรที่มีอยู และมีความรวมมือกันในหนวยงานที่เกี่ยวของภายในองคกรเพื่อมุงสูเปาหมายองคกรรวมกัน และกําหนดแผนไวเปนลายลักษณอักษร ตลอดจนกาวไปสูความรวมมือกับลูกคาและผูสงมอบในการแกปญหาเฉพาะหนา และพัฒนาไปสูการวางแผนแกปญหาหรือการพัฒนาในระยะยาวรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด โดยมุงพิจารณาจาก

Page 17: Logistics Scorecard

17

• การมีแผนงานเปนลายลักษณอักษร • การกระจายแผนงานไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ • ความรวมมือกันกับผูสงมอบและลูกคา

ความหมาย องคกรมีการกําหนดแผนงานดานโลจิสติกสใหสอดคลองกับกลยุทธดานโลจิสติกส และคํานึงถึงทรัพยากรที่มีอยูในองคกรและหวงโซอุปทาน ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีแผนงานดานโลจิสติกสเปนลายลักษณอักษร ระดับ 2 แตละสวนงานดานโลจิสติกสมีแผนงานดานโลจิสติกส อยางเปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการนําแผนกลยุทธดานโลจิสติกสระดับองคกร มากระจายและวางแผนรวมกันในหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อเปนแผนงานของหนวยงานตางๆ

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการใชประโยชนจากทรัพยากรที่มีอยูรวมกันระหวางองคกร ลูกคา และผูสงมอบ เปนครั้งคราว หรือความรวมมือที่เปนการแกปญหาที่เกิดข้ึนเฉพาะหนา

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีแผนกลยุทธในการใชประโยชนจากทรัพยากรที่มีอยูรวมกันระหวางองคกร ลูกคา และผูสงมอบ โดยมีการวางแผนรวมกันพัฒนาอยางเปนระบบ หรือเปนโครงการตอเนื่องระยะยาว เชน มีการออกแบบหรือพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อใหเหมาะสมกับการขนถายวัสดุ/สินคา (Design for Logistics) เปนตน

คําอธิบายเพิ่มเติม การแกปญหาเฉพาะหนา เชน ในการขนสงเมื่อมีรถบรรทุกขาดก็ขอความรวมมือจากผูสงมอบหรือลูกคา การแกปญหาหรือการพัฒนาในระยะยาวรวมกัน เชน มีออกแบบหรือพัฒนาผลิตภัณฑเพ่ือใหเหมาะสมกับการขนถายวัสดุ/สินคา (Design for Logistics) การรวมมือกันในการจัดการการซื้อขายที่เหมาะสมรวมกัน (Category Management)

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 2.2 ความสามารถในการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมทางการตลาด วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรตระหนักถึงความสําคัญของการพยากรณแนวโนมของตลาดสินคา และการพยากรณความตองการของลูกคา จากขอมูลในอดีตตลอดจนใชวิธีการทางสถิติมาชวยในการพยากรณ และนําผลของการพยากรณ มาใชประโยชนอ่ืนๆ เชน การวางแผนการตลาด การวางแผนการขาย การวางแผนการทํางานที่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคต ตลอดจนความรวมมือในองคกรเพ่ือใหการพยากรณมีความแมนยําขึ้น และกาวไปสูความรวมมือดานขอมูลกับลูกคาดวย หรือไม และอยูในระดับใด

Page 18: Logistics Scorecard

18

ความหมาย องคกรมีความเขาใจในแนวโนมของตลาดสินคา และใชวิธีการทางสถิติในการพยากรณความตองการของลูกคา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการพยากรณการขายและความตองการของลูกคา ระดับ 2 องคกรมีการพยากรณความตองการของลูกคา (ในผลิตภัณฑหลัก) โดยอาศัยประสบการณของฝายขาย

ความตองการของลูกคาที่พยากรณไวกําหนดเปนลายลกัษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีการพยากรณความตองการของลูกคา (ในผลิตภัณฑหลัก) โดยอาศัยขอมูลในอดีต และวิธีการทาง

สถิติ ความตองการของลูกคาที่พยากรณไวกําหนดเปนลายลกัษณอักษร องคกรนําผลจากการพยากรณไปใชประโยชนดานตางๆ เชน การวางแผนการตลาด การวางแผนยอดขาย

ระดับ 4 องคกรมีการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมทางการตลาด (ในผลิตภัณฑหลัก) โดยอาศัยวิธีการทางสถิติ ความตองการของลูกคาที่พยากรณไวกําหนดเปนลายลกัษณอักษร องคกรนําผลจากการพยากรณไปใชประโยชนดานตางๆ เชน การวางแผนการตลาด การวางแผนยอดขาย

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีความรวมมือกับลูกคา ในการพยากรณแนวโนมทางของตลาดรวมกัน

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 2.3 ความสามารถในการวางแผน และการปรับแผนการทํางานดานโลจิสติกสขององคกร วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรมีการวางแผนการทํางานดานโลจิสติกส จากการพยากรณแนวโนมการตลาดและยอดขาย เชน วางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบ แผนการสงมอบสินคา และการจัดการดานสินคาคงคลัง โดยอาศัยขอมูลที่มีความถูกตองแมนยํา และมีความเชื่อมโยงขอมูลในแตละสวนงานท่ีเกี่ยวของบนฐานขอมูลเดียวกันและมีความรวมมือภายในองคกร (ซึ่งบางแหงมีการประชุมรวมกันแตมีตัวเลขที่แตกตางกันในแผนกตางๆ เนื่องจากไมไดใชฐานขอมูลรวมกัน) ตลอดจนการถายทอดขอมูลกับผูสงมอบเพ่ือนํามาวางแผนการผลิตในองคกรได หรือไม และอยูในระดับใด โดยพิจารณาจาก

• แผนการขาย แผนการจัดซื้อวัตถุดิบ การใชประโยชนจากขอมูล

Page 19: Logistics Scorecard

19

• ความเชื่อมโยงและแมนยําของขอมูล • ความรวดเร็วในการประสานงาน

ความหมาย แผนงาน และการดําเนินกิจกรรมดานโลจิสติกสตางๆ ขององคกรมีความสอดคลองกัน เชน มีการวางแผนการขาย การสั่งซื้อวัตถุดิบ และการจัดสงสินคารวมกัน รวมถึงมีการพิจารณาจํานวนสินคาคงคลังที่มีอยู และมีการประสานงานเพื่อการตอบสนองลูกคาอยางรวดเร็ว (Quick Response)2.1 ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการวางแผนการขาย การสั่งซ้ือวัตถุดิบ หรือการจัดสงสินคา ระดับ 2 องคกรมีการวางแผนการขายและ แผนการสั่งซ้ือวัตถุดิบ และ แผนการจัดสงสินคา

องคกรมีการจัดเก็บขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดานโลจิสติกส เชน การขาย การจัดการสินคาคงคลัง การจัดสง และการสั่งซ้ือท่ีเปนอิสระกัน ไมมีการใชฐานขอมูลรวมกัน

ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ มีความรวมมือกันระหวางหนวยงานตางๆ ภายในองคกรในการวางแผนตางๆ เชน แผนการขาย แผนการส่ังซ้ือวัตถุดิบ และวางแผนการจัดสงสินคารวมกัน โดยพิจารณาวัตถุดิบ และสินคาคงคลงัทีมี่อยู เพื่อการตอบสนองลูกคาอยางรวดเร็ว

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการจัดเก็บขอมูลตางๆที่เกี่ยวของกบักิจกรรมดานโลจิสติกส เชน การขาย การจัดการสินคาคงคลงั การจัดสง การสั่งซ้ือ และอื่นๆ โดยใชฐานขอมูลรวมกัน ณ เวลาเดียวกัน เพ่ือวางแผนตางๆ เชน แผนการผลิต วางแผนการจัดสง และแผนการสงมอบของผูสงมอบ

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการจัดเก็บขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดานโลจิสติกส เชน การขาย การจัดการสินคาคงคลัง การจัดสง การสั่งซ้ือ และอื่นๆ โดยใชฐานขอมูลรวมกัน ครบถวนทุกฝาย / ทุกแผนกที่เกี่ยวของ มีการพัฒนาไปสูการติดตอส่ือสารขอมูลกับภายนอกในดานตางๆ เชน แผนการขายของลูกคา สถานภาพของผูสงมอบ เปนตน

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 2.1 ความสามารถในการตอบสนองอยางรวดเร็ว (Quick Response) คือ ผลิตอยางเพื่อใหสามารถตอบสนองความ

ตองการไดอยางรวดเร็ว ต้ังแตตนน้ําถึงปลายน้ํา เชน การจัดหาวัตถุดิบไดอยางรวดเร็ว โดยอาศัยหลักการทางดานโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพ การจัดสงไดอยางรวดเร็ว ตองรูขอมูลไดอยางรวดเร็ว โดยใชระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพชวยในการบริหารจัดการ เปนตน

Page 20: Logistics Scorecard

20

ตัวชี้วัดท่ี 2.4 มีระบบในการติดตามสถานะของ สินคา วัสดุคงคลัง และกิจกรรมดานโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบการติดตาม ตรวจสอบ สถานะ และจํานวน ของสินคาคงคลัง และการจัดซื้อจัดหา และการแลกเปลี่ยนขอมูลกับผูสงมอบเพ่ือประกอบการตัดสินใจ หรือไม และอยูในระดับใด โดยมุงพิจารณาจาก

• การมีระบบการติดตามตรวจสอบสถานะของสินคาและวัสดุคงคลัง • การมีแผนการจัดซื้อ • การแลกเปลี่ยนขอมูลกับผูสงมอบ

ความหมาย องคกรมีระบบในการจัดการ และ ติดตามและตรวจสอบสถานะของสินคา และวัสดุคงคลัง รวมท้ังสามารถติดตามกิจกรรมการจัดซื้อหรือจัดหาในองคกรและผูสงมอบไดถูกตองแมนยํา

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการติดตามหรือตรวจสอบสถานะ และจํานวน ของสินคา และวัสดุคงคลังแตละประเภท ระดับ 2 องคกรมีการติดตามหรือตรวจสอบสถานะ จํานวนของสินคาคงคลัง และวัสดุคงคลัง

องคกรมีการวางแผนการจัดหาวัสดุ วัตถุดิบคงคลังใหเปนไปตามความตองการของลูกคา ระดับ 3 องคกรมีระบบในการจัดการ และติดตามสถานะ และจํานวนของสินคา วัสดุคงคลัง

สามารถติดตาม และตรวจสอบสถานะของกิจกรรมดานการจัดซ้ือวัตถุดิบและการจัดสงสินคาได เม่ือตองการทราบ

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีระบบการติดตาม/ตรวจสอบสถานะของการจัดซ้ือหรือจัดหาในองคกรไดแบบทันทีทันใด (Real Time)

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีระบบการติดตาม/ตรวจสอบ และการสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลกับลูกคา และผูสงมอบในดานตางๆ เชน ระดับสินคาคงคลัง และการจัดซ้ือจัดหารวมกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจ

คําอธิบายเพิ่มเติม การมีระบบ หมายถึง การมีขั้นตอนการทํางาน มีการบันทึกขอมูลตลอดจนการแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 2.5 การมีข้ันตอนการทํางาน และกระบวนการทํางานท่ีเปนมาตรฐานและชัดเจน

เปนลายลักษณอักษร วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรมีระบบและมาตรฐานในการทํางาน และมีการแนวโนมการพัฒนาอยางตอเนื่องเพ่ือเปนการประกันกระบวนการทํางานตางๆ ดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด

Page 21: Logistics Scorecard

21

ความหมาย องคกรมีการกําหนดและนํามาตรฐานสําหรับวิธีการทํางานในองคกร รวมท้ังกิจกรรมที่มีการติดตอกับผูสงมอบและลูกคาขององคกร และมีการพัฒนาการทํางานภายในองคกรอยางตอเนื่อง ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 กิจกรรมตางๆ ไมมีการกําหนดวิธีการทํางานที่เปนมาตรฐานไว ระดับ 2 กิจกรรมที่สําคัญตางๆ มีการกําหนดวิธีการทํางานที่เปนมาตรฐานไว

การปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดยังไมครบถวนและตอเน่ือง ระดับ 3 กิจกรรมที่สําคัญตางๆ มีการกําหนดวิธีการทํางานที่เปนมาตรฐานไว

มีการปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดอยางครบถวนและตอเน่ือง ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3

มีการกําหนดมาตรฐานวิธีการทํางานและขั้นตอนการทํางานที่มีการติดตอกับผูสงมอบและลูกคา มีการนํามาตรฐานนั้น ๆ มาปฏิบัติอยางถูกตอง ครบถวน และตอเน่ือง

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 มีการพัฒนาการวิธีการทํางานหรือข้ันตอนการทํางานอยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 2.6 การพัฒนาหนวยงานรับผิดชอบดานโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการกําหนดหนวยงานหรือผูรับผิดชอบงานที่เกี่ยวของกับดานโลจิสติกส มีการกําหนดอํานาจ หนาที่ และมีจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมกับปริมาณงานและแผนงาน ตลอดจนมีการกําหนดความสามารถ (Competency ) ของบุคลากรในตําแหนงตางๆ และมีการพัฒนาตามผลการประเมินความสามารถ และการเตรียมความพรอมของบุคลากรทดแทนของตําแหนงตางๆ (เนื่องจากบุคลากรเปนทรัพยากรที่สําคัญในการขับเคล่ือนองคกร) หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย องคกรมีการวางแผนกําลังพลและพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกส

Page 22: Logistics Scorecard

22

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.6 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดผูรับผิดชอบดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการประกาศขอบเขต อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบของตําแหนงงานตางๆ ทีเ่กี่ยวของกับ

กิจกรรมดานโลจิสติกส องคกรมีการวิเคราะหหาจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมในแตละตําแหนงงาน

ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ มีการมอบหมายตําแหนงงานดานโลจิสติกสอยางครบถวน ถูกตอง และเหมาะสมกับความสามารถของบุคลากรตามแผนงานที่ไดวางเอาไว

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการวิเคราะหและประเมินความสามารถ(Competency ) 2.2 ของบุคลากรดานโลจิสติกสในตําแหนงตางๆ องคกรมีแผนในการพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกสตามผลการประเมินความสามารถของบุคลากร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีแผนกําลังพลทดแทนขององคกร องคกรมีแผนการพัฒนาบุคลากรดานนี้ใหพรอมอยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม “มีแผนกําลังพลทดแทนขององคกร ” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 5) แผนกําลังพลทดแทน เปนแผนที่ผูบริหารระดับสูงวางแผนเพื่อเปนการวางกลยุทธเชิงบุคลากรเพื่อการพัฒนาบุคลากรที่จะนํามาทดแทนบุคลากรในตําแหนงเดิมที่อาจเสียไปเนื่องจากสาเหตุใดก็ตาม หรือการขยายงานใหมๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสําหรับองคกรนั้นๆ

คํานิยาม 2.2 ความสามารถ (Competency) คือ ความรู (Knowledge) ความสามารถ หรือทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ

(Attributes) ของบุคคลที่มีความสัมพันธโดยตรงกับงานที่ปฏิบัติเพ่ือใหไดผลงานที่มีประสิทธิภาพ บา ก็เรียกวา สมรรถนะ ขีดสมรรถนะ เปนตน

Page 23: Logistics Scorecard

23

ดัชนีดานท่ี 3 ประสิทธิภาพและประสิทธิผลดานโลจิสติกส

ตัวชี้วัดท่ี 3.1 การพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีแผนในการพัฒนากิจกรรมทางดานโลจิสติกสในทุกกิจกรรมใหสามารถเชื่อมโยงถึงกันไดอยางมีระบบหรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรควรปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสตางๆ ภายในองคกรใหสามารถเชื่อมโยงถึงกัน และสามารถประสานกับลูกคา และผูสงมอบไดอยางมีประสิทธิภาพ การพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส เชน ลดเวลาในการเตรียมการผลิต การลดขนาดของจํานวนการสั่งซื้อหรือส่ังผลิต การพัฒนาบรรจุภัณฑ การพัฒนาคลังสินคา การพัฒนาวิธีการหยิบที่ลดระยะเวลาลงได และหยิบไดอยางถูกตองแมนยํา เปนตน ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการวางแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสในบางกจิกรรมเทานั้น โดยมีการกําหนดเปาหมายไว

เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสในทุกกิจกรรม โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลาย

ลักษณอักษร ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสไดตามเปาหมายที่ตั้งไวในบางกิจกรรม องคกรมีแผนการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสใหมีการเชื่อมโยงถึงกันภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสไดตามเปาหมายที่ตั้งไวในทุกกิจกรรม องคกรมีการวางแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสอยางตอเน่ือง องคกรมีการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสของท้ัง องคกร ผูสงมอบและลูกคา ใหสามารถสอดประสานถึงกันได

คําอธิบายเพิ่มเติม กิจกรรมดานโลจิสติกส

โดยคําวา “กิจกรรม” หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่อยูในขอบขายกระบวนการทางดานโลจิสติกส ซึ่ง ประกอบดวย

- งานบริการลูกคา - การวางแผนเกี่ยวกับตําแหนงที่ต้ังของอาคารโรงงาน คลังสินคา - การพยากรณและการวางแผนอุปสงค - การจัดซื้อจัดหา

Page 24: Logistics Scorecard

24

- การจัดการสินคาคงคลัง - การจัดการวัตถุดิบ - การเคลื่อนยายวัตถุดิบ - การบรรจุหีบหอ - การดําเนินการกับคําส่ังซื้อของลูกคา - การขนของ และการจัดสง - โลจิสติกสยอนกลับ (อาทิเชน การจัดการสินคาคืน) - การจัดการกับชองทางจัดจําหนาย - การกระจายสินคา - คลังสินคาและการเก็บสินคาเขาคลัง - กิจกรรมการแปรรูปเพ่ือนํากลับมาใชใหม

ทั้งนี้ขึ้นอยูกับองคกรแตละองคกรมีกิจกรรมเหลานี้ดําเนินการอยูหรือไม ซึ่งในทุกิจจกรมที่มีอยูในองคกรตองมีแผนในการพัฒนาอยางเปนลายลักษณอักษร และมีเปาหมายที่ชัดเจน

“องคกรมีแผนการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสใหมีการเชื่อมโยงถึงกันภายในองคกร” (ตัวชี้วัดในระดับท่ี 4) ยกตัวอยางเชน ลําดับในการนําของออกจากโกดังสอดคลองกับแผนในการขนสง การจดัของในรถบรรทุก สอดคลองกับลําดับในการสงสินคา เปนตน “การพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสของทั้งองคกร ผูสงมอบ และลูกคา ใหสามารถสอดประสานถึงกันได ” (ตัวชี้วัดในระดับท่ี 5) หมายถึง การพัฒนาใหกิจกรรมทางดานโลจิสติกสขององคกร เชื่อมโยงกับลูกคาและผูสงมอบไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน องคกรพัฒนาผูสงมอบใหจัดสงวัตถุดิบไดตรงตามเวลาที่กําหนด ทําใหองคกรสามารถจัดเตรียมพ้ืนที่ในการจัดเก็บไวลวงหนาไดทําใหลดระยะเวลาในการนําวัตถุดิบเขาเก็บ รวมถึงลดตนทุนลงได หรือรวมกับผูสงมอบในการออกแบบพัฒนาหีบหอหรือบรรจุภัณฑใหสามารถปองวัตถุดิบไมใหเกิดความเสียหายไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหองคกรสามารถตัดขั้นตอนในการตรวจรับวัตถุดิบจากผูสงมอบได เปนตน

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.2 อัตราการหมนุเวียนสินคาคงคลัง (Inventory Turnover)3.1 และชวงระยะเวลารอบ

หมุนเวียนวัฏจักรเงินสด (Cash to Cash Cycle Time)3.2

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการวัดอัตราการหมุนเวียนของสินคาคงคลังและชวงระยะเวลารอบ

หมุนเวียนวัฏจักรเงินสด และมีระบบในการบริหารจัดการสินคาคงคลังใหสอดคลองกับกระแสเงินสดขององคกรไดหรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรวัดอัตราการหมุนเวียนของสินคาคงคลัง และชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด อยาง

ตอเนื่องสม่ําเสมอ โดยอัตราการหมุนเวียนของสินคาคงคลังมีการเก็บขอมูลแยกกันระหวางผูสงมอบแตละราย และ

Page 25: Logistics Scorecard

25

ชิ้นสวนประกอบแตละประเภท และมีการบริหารสินคาคงคลังที่สามารถเชื่อมโยงกับการจัดการกระแสเงินสดขององคกรได ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมทราบอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลงั และชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด ระดับ 2 องคกรทราบอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลังของวัตถุดิบและผลิตภัณฑบางกลุม หรือ ทราบเฉพาะชวง

ระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด ระดับ 3 องคกรทราบอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลังของวัตถุดิบและผลิตภัณฑบางประเภท

องคกรทราบชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด ระดับ 4 องคกรทราบอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลังของวัตถุดิบและผลิตภัณฑทุกประเภท

องคกรทราบชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด องคกรมีแผนงานเพื่อเพิ่มอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง หรือ ลดชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสดโดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร องคกรมีแนวทางในการบริหารสินคาคงคลงัใหสอดคลองกับงบกระแสเงินสดขององคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการเพิ่มอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง และ ลดชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสดไดตามเปาหมายที่ตั้งไว องคกรมีการวางแผนงานในการเพิ่มอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง และ ลดชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสดอยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง หมายถึง จํานวนรอบในการเปลี่ยนสินคาคงคลังใหกลายเปนยอดขายขององคกร

สูตรในการคํานวณ คือ สูตรคํานวณแบบที่ 1 เหมาะสมกับการคํานวณที่แยกสินคาเปนรายการ (Stock Keeping Unit – SKU) หรือมีเพียงรายการเดียว เพราะวาถาองคกรมีสินคาหลายรายการแลวการใชจํานวนชิ้นที่ขายไดเทียบกับจํานวนชิ้นเฉล่ียที่มีอยูในคลังมาใชคํานวณ จะทําใหการแปลความหมายเบี่ยงเบนไปจากความเปนจริง เชน การขายน้ําผลไมแบบกลอง 1 กลอง ยอมสรางรายไดใหกับกิจการไมเทากับการขายน้ําผลไมแบบขวดได 1 ขวด

อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง = จํานวนหนวยของสินคาที่ขายไดระหวางป

จํานวนหนวยของสินคาคงคลังเฉลี่ยที่มีอยูในระหวางป

ยอดขายรวมในระหวางป มูลคาของสินคาคงคลังเฉลี่ยที่มีอยูในระหวางป หรือ =

ตนทุนสินคาขายในระหวางป มูลคาของสินคาคงคลังเฉลี่ยที่มีอยูในระหวางป หรือ =

Page 26: Logistics Scorecard

26

สูตรคํานวณแบบที่ 2 เหมาะสมกับองคกรที่มีการซื้อสินคามาแลวขายไป เนื่องจากสามารถหาขอมูลมาใชในการคํานวณไดงาย และเห็นภาพชัดเจนวาสินคาคงคลังเฉล่ียสามารถถูกนําไปหมุนเวียนทําใหเกิดยอดขายไดกี่รอบในแตละป

สูตรคํานวณแบบที่ 3 ตองอาศัยขอมูลทางบัญชีในเรื่องตนทุนสินคาขาย แตผลลัพธจากการคํานวณดวยวิธีนี้เปนคําตอบที่แสดงใหเห็นถึงภาพการหมุนเวียนของสินคาคงคลังไดชัดเจนที่สุด เพราะวาไดแยกสวนที่เปนกําไรออกไปจากยอดรวมแลวแตในขณะที่วิธีคํานวณแบบที่ 2 ยังคงมีสวนที่เปนกําไรแฝงอยูในยอดขายรวม

ซึ่งองคกรสามารถเลือกวิธีในการคํานวณที่เหมาะสมกับองคกรหรือขอมูลที่มีอยูได แตทั้งนี้ประเด็นหลัก

ในการชี้วัดคือจะตองมีการแบงสินคาหรือวัตถุดิบเปนกลุมหรือหนวยยอย และคํานวณหาอัตราหมุนเวียนสินคาคงคลังของแตละกลุม

คํานิยาม 3.1 อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง (Inventory Turnover) คือ การวัดประสิทธิภาพการจัดการสินคาคงเหลือของ

กิจการ หากดัชนีมีคาต่ํา แสดงวากิจการมีสินคาคงเหลือซึ่งประกอบดวยวัตถุดิบ สินคาระหวางผลิตและสินคาสําเร็จรูปเปนจํานวนมาก ซึ่งสินคาเหลานี้ยังไมสามารถหมุนเวียนสรางเปนยอดขายใหแกกิจการได ถือเปนการวัดประสิทธิภาพการขายของกิจการไดรูปแบบหนึ่ง

3.2 ชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด (Cash to Cash Cycle Time) คือ ตัวชี้วัดวงจรเงินสดซึ่งใชบงบอกวาบริษัทมีการจัดการการหมุนเวียนของเงินสดไดดีเพียงใด โดยนับจากเวลาที่มีการชําระเงินใหกับผูสงมอบจนกระทั่งลูกคาชําระเงินคาสินคาใหบริษัท ตัวชี้วัดในสวนนี้รวมถึงจํานวนของสินคาคงคลังที่มีอยูทั้งหมดดวยซึ่งสามารถทําใหตนทุนสูงขึ้น หรือทําใหการตอบสนองตอคําส่ังซื้อลดลงได

ตัวชี้วัดท่ี 3.3 ชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหลูกคา (Customer Lead Time)3.3 และประสิทธิภาพใน

การจัดสงสินคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีแนวทางในการกําหนดชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหกับลูกคาไดอยางเปนระบบ และสามารถนําขอมูลชวงเวลานําของลูกคาแตละรายไปบริหารจัดการรวมกับแผนการจัดสงไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรจะตองทราบชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหลูกคาแตละราย และมีแนวทางในการกําหนดระยะเวลานําของลูกคาที่ชัดเจน (แบงตามประเภทของลูกคาหรือชนิดของผลิตภัณฑ) ซึ่งมีการนํามาใชในการบริหารจัดการและเชื่อมโยงกับแผนการจัดสงเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดสงสินคา (การบรรทุกของพาหนะแตละคัน เสนทางที่ใชว่ิง และความสามารถในการใชยานพาหนะ)

Page 27: Logistics Scorecard

27

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมสามารถกําหนดชวงเวลานาํมาตรฐาน (Standard Lead Time) ใหกับลูกคาแตละราย หรือผลิตภัณฑ

แตละกลุมได ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดชวงเวลานํามาตรฐานของลูกคา หรือผลิตภัณฑแตละประเภท ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

องคกรนําขอมูลเกี่ยวกับชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหกับลูกคาแตละรายมาใชในการวางแผนการจัดสงสินคา (ประกอบดวย 1. การบรรทุกสินคาในพาหนะแตละคัน 2. เสนทางที่ใชวิ่ง และ 3. ลําดับในการสงสินคา)

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีแผนงานเพื่อลดชวงเวลานํามาตรฐานของลูกคาหรือผลิตภัณฑแตละประเภท และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสง โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการลดชวงเวลานํามาตรฐานในการสงมอบสินคาใหลูกคา และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสงไดตามเปาหมายที่ตั้งไว องคกรมีการวางแผนงานในการลดชวงเวลานํามาตรฐาน หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสงอยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม ชวงเวลานํามาตรฐาน (Standard Lead Time) หมายถึง การกําหนดหรือสัญญากับลูกคาขององคกรวาจะสงมอบสินคาใหไดเมื่อใดหลังจากที่ลูกคาไดทําการสั่งซื้อแลว “ประสิทธิภาพในการจัดสง” ประกอบดวย ความสามารถในการใชยานพาหนะ (Fleet Utilization) ความสามารถในการบรรทุกสินคาของรถบรรทุกแตละคัน (Load Efficiency) และประสิทธิภาพของเสนทางการจัดสงสินคา ซึ่งองคกรจะตองนําขอมูลชวงเวลานําของลูกคาแตละรายมาใชในการวางแผนเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดสงสินคา เชน การวางแผนการสงสินคาแบบวนรอบ (Milk Run) กลาวคือ รถจะบรรทุกสินคาสําหรับลูกคาหลายรายในการจัดสง 1 ครั้ง โดยออกแบบเสนทางการวิ่งใหส้ันที่สุด หรือใชระยะเวลาสั้นที่สุด เปนตน

คํานิยาม 3.3 ชวงเวลานําในการสั่งซื้อของลูกคา (Customer Lead Time) คือ ชวงเวลาตั้งแตลูกคาไดส่ังสินคาจนกระทั่ง

ลูกคาไดรับสินคา

ตัวชี้วัดท่ี 3.4 ประสิทธิภาพ และคุณภาพในการจัดสงสินคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีประสิทธิภาพ และคุณภาพในการสงมอบ (โดยวัดจาก อัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) และความถูกตองในการเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา (Order fulfillment accuracy) ตามลําดับ) และมีความพยายามในการเพิ่มประสิทธิภาพ และคุณภาพในการสงมอบรวมกับลูกคา และผูสงมอบอยางเปนระบบหรือไม และอยูในระดับใด

Page 28: Logistics Scorecard

28

ความหมาย องคกรจะตองทราบประสิทธิภาพ และคุณภาพในการจัดสงสินคา รวมทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนา

ประสิทธิภาพในดานนี้อยางตอเนื่อง โดยมีการนําลูกคาและผูสงมอบเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงระบบ โลจิสติกสขององคกรเพื่อใหมีประสิทธิภาพในการสงมอบสินคาที่ดีขึ้น ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคณุสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 ▪ องคกรไมมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือ

ของลูกคา (Order fulfillment accuracy) ระดับ 2 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา แตทั้งสองตัว

มีประสิทธิภาพต่ํากวา 95% ระดับ 3 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา และ

▪ อัตราการสงมอบที่ทันเวลา หรือความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา ตัวใดตัวหนึ่ง มีประสิทธิภาพสูงกวา 95% ▪ มีการเก็บขอมูลสาเหตุหลักของการสงมอบที่ลาชาหรือผิดพลาด

ระดับ 4 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา และ ▪ อัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา มีประสิทธิภาพสูงกวา 95% ▪ องคกรมีแผนงานเพื่อเพิ่มอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร ▪ องคกรมีมาตรการปองกันการสงมอบที่ลาชาหรือผิดพลาดอยางเปนลายลกัษณอักษร

ระดับ 5 ▪ องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ ▪ องคกรประสบความสําเร็จในการเพิ่มอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา ไดตามเปาหมายที่ตั้งไว ▪ องคกรไดนําผูสงมอบกับลูกคาใหเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงและรักษาไวซ่ึงประสิทธิภาพในการสงมอบสินคา และการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา

คําอธิบายเพิ่มเติม อัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) หมายถึง การสงมอบที่ตรงตอเวลาตามที่ไดสัญญาไวกับลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซื้อของลูกคา (Order fulfillment accuracy) หมายถึง การสงมอบที่ถูกตองตามปริมาณที่ไดสัญญาไวกับลูกคา ไมมีของเสีย รวมทั้งประเภทและคุณสมบัติของผลิตภัณฑตรงตามความตองการของลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ

อัตราการสงมอบที่ทันเวลา = จํานวนคําส่ังซื้อที่สงทันเวลา จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

ความถูกตองในการเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา = จํานวนคําส่ังซื้อที่ถูกสงอยางถูกตองตามปริมาณ และประเภทของผลิตภัณฑ

จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

Page 29: Logistics Scorecard

29

ตัวชี้วัดทั้งสองตัวสามารถวัดรวมกันไดโดยใชตัวชี้วัดที่เรียกวา อัตราการสงมอบอยางสมบูรณแบบ (On time in full delivery) หมายถึง การสงมอบที่ตรงเวลา ในปริมาณที่ถูกตอง ไมมีของเสีย รวมท้ังประเภทและคุณสมบัติของผลิตภัณฑตรงตามความตองการของลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.5 สินคาคงคลังและตนทุนคาเสียโอกาส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการบริหารจัดการสินคาคงคลัง และมีแผนพัฒนาเพื่อลดความเบี่ยงเบน

ของสินคาคงคลังที่เก็บไวจริงกับระดับสินคาคงคลังที่กําหนดไว หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรตองมีการบริหารจัดการสินคาคงคลังอยางเปนระบบ มีการแบงกลุมของผลิตภัณฑ และวัตถุดิบเพ่ือ

การบริหารจัดการ ควบคุมระดับสินคาคงคลังที่เหมาะสม และมีแผนพัฒนาที่ชัดเจนเพ่ือลดความเบี่ยงเบนของสินคาคงคลังที่เก็บไวจริงกับที่กําหนดไว และสามารถประเมินตนทุนการเสียโอกาสในการขายสินคาอันเนื่องมาจากการขาดแคลนวัตถุดิบในกระบวนการผลิตได

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดระดับสินคาคงคลังเปาหมาย (Target Stock Level)

องคกรไมมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมไดขายสินคา เฉพาะในสวนขององคกรเทานั้น ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดระดับสินคาคงคลงัเปาหมาย (Target Stock Level)

องคกรไมมีการแบงกลุมของสินคาคงคลังเพื่อการบริหารจัดการ เชน Category Management หรือ การจัดลําดับความสําคัญในการบริหารจัดการสินคาคงคลัง (ABC Analysis) เปนตน องคกรมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมไดขายสินคา เฉพาะในสวนขององคกรเทานั้น

ระดับ 3 องคกรมีการแบงกลุมของสินคาคงคลงัเพื่อการบริหารจัดการ องคกรมีการกําหนดระดับสินคาคงคลงัเปาหมาย (Target Stock Level) ตามกลุมของสินคาคงคลังที่แบงไว องคกรมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมไดขายสินคาเฉพาะในสวนขององคกรเทานั้น

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีแผนพัฒนาเพื่อลดความเบี่ยงเบนระหวางระดับสินคาคงคลังเปาหมาย กับระดับสินคาคงคลงัที่มีการเก็บไวจริง (Actual Stock Level) โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลกัษณอักษร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการลดความเบี่ยงเบนระหวางระดับสินคาคงคลังเปาหมาย กับระดับสินคาคงคลังที่มีการเก็บไวจริง องคกรมีการวางแผนงานในการลดความเบี่ยงเบนระหวางระดับสินคาคงคลังเปาหมายกับระดับสินคาคงคลังที่มีการเก็บไวจริงอยางตอเน่ือง องคกรมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึน จากการที่ไมไดขายสินคาของทั้งองคกร ลูกคา และผูสงมอบ

อัตราการสงมอบอยางสมบูรณแบบ = จํานวนคําส่ังซื้อที่ถูกสงทันเวลาอยางถูกตองตามปริมาณ และประเภทของผลิตภัณฑ

จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

Page 30: Logistics Scorecard

30

คําอธิบายเพิ่มเติม “การประมาณคาเสียโอกาส” องคกรจะตองประมาณคาโดยคํานึงถึงความตองการของตลาดที่มีตอสินคาขององคกร ซึ่งถาองคกรไมมีสินคาไวรองรับความตองการนั้นถือวาองคกรเสียโอกาสในการขาย รวมถึงในกรณีที่ลูกคาส่ังซื้อสินคากับองคกรแตองคกรไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได ทําใหลูกคาเปล่ียนไปส่ังซื้อสินคากับผูผลิตรายอื่น

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.6 กิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยท่ีองคกรมีสวนรวม วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบหรือนโยบายที่สนับสนุนการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอม โดยยังคงไวซึ่งประสิทธิภาพทางดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเขาใจถึงความสําคัญของการรักษาสิ่งแวดลอม และสรางสภาพการทํางานที่ปลอดภัย โดยการลดขั้นตอน หรือปรับเปล่ียนกระบวนการที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.6 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม

องคกรไมมีนโยบายดานความปลอดภัย ระดับ 2 องคกรมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม และความปลอดภัย

กิจกรรมดานสิ่งแวดลอม เปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพราะขอบังคับดานกฎหมายเทานั้น กิจกรรมดานความปลอดภัย เปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพราะขอบังคับดานกฎหมายเทานั้น

ระดับ 3 องคกรมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม และความปลอดภัย องคกรมีการประเมิน วิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ที่เกิดจากกระบวนการดําเนินกิจกรรมโลจิสติกสขององคกร องคกรมีการประเมิน วิเคราะหผลกระทบดานความปลอดภัย ที่เกิดจากกระบวนการดําเนินกิจกรรมโลจิสติกสขององคกร

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีแผนในการปรับเปลี่ยนระบบโลจิสติกสขององคกรเพื่อลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของ โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร มีแผนในการปรับเปลี่ยนระบบโลจิสติกสขององคกรเพื่อลดผลกระทบที่มาจากปจจัยดานความปลอดภัยในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของ โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนาไดตามเปาหมายที่วางเอาไวของแผนงานดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย มีการนําผูสงมอบและลูกคาเขามามีสวนรวมในการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยอยางจริงจังและตอเน่ือง

Page 31: Logistics Scorecard

31

คําอธิบายเพิ่มเติม แผนในการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมขององคกรจะตองคํานึงถึงกิจกรรมหรือประสิทธิภาพดานโลจิสติกสรวมดวย เชน การออกแบบหีบหอหรือบรรจุภัณฑโดยใชวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชใหมได รวมทั้งออกแบบใหสามารถรองรับกับกิจกรรมโลจิสติกสขากลับ (Reverse Logistics) ไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือการไมใชวัตถุดิบหรือชิ้นสวนประกอบที่เปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม เลือกใชผูสงมอบที่ผลิตโดยใชเทคโนโลยีสะอาด (Green Purchasing) เปนตน

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.7 ตนทุนท่ีเกี่ยวของกับโลจิสติกส (ตนทุนการจัดสง ตนทุนการเก็บสินคาคงคลัง ตนทุนการ

บริหารคําสั่งซื้อ3.4 เปนตน)

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการบริหารจัดการตนทุนทางดานโลจิสติกสขององคกร และมีความ

พยายามในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมกับลูกคา และผูสงมอบอยางเปนระบบ หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรจะตองทราบตนทุนในการผลิตและตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ ซึ่งจะตองสามารถระบุตนทุนที่

เกี่ยวของกับงานดานโลจิสติกสได ทั้งขององคกร ผูสงมอบ และลูกคา และทราบตนทุนโลจิสติกสตลอดหวงโซ อุปทาน รวมถึงมีการนํามาใชเปนแนวทางในการลดตนทุนเพ่ือผลประโยชนโดยรวมของสมาชิกในหวงโซอุปทานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.7 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสบางตัวที่สําคัญ ระดับ 3 องคกรทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสครบทุกตัว

องคกรมีการนําขอมูลดานตนทุนมาวิเคราะหเพื่อนําไปใชในกระบวนการบริหารจัดการ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรมีแผนงานเพื่อลดตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร องคกรมีการนําหลกัการบริหารตนทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC)3.5 มาใชวิเคราะหกิจกรรมดาน โลจิสติกส เพื่อปรับปรุงระบบใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมไดตามเปาหมายที่ตั้งไว องคกรมีการพัฒนากลยุทธในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมกับผูสงมอบและลูกคาขององคกร เชน มีการใชชองทางในการกระจายสินคารวมกัน ซ่ึงจะทําใหองคกรสมาชิกไดรับผลประโยชนรวมกัน (Win-Win Scenario)

Page 32: Logistics Scorecard

32

คําอธิบายเพิ่มเติม ตนทุนทางดานโลจิสติกส ประกอบดวย ตนทุนที่เกิดจากกิจกรรมหลักที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส ซึ่งไดกลาวถึงในขอท่ี 3.1 เชน ตนทุนการจัดสง ตนทุนการเก็บสินคาคงคลัง ตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ ตนทุนการจัดซื้อจัดหา ตนทุนการบรรจุหีบหอ ตนทุนคลังสินคา เปนตน

คํานิยาม 3.4 ตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ คือ ตนทุนที่ใชไปในการบริหารคําส่ังซื้อ เชน การปอนคําส่ังซื้อ (Order Entry) การ

ประมวลผลคําส่ังซื้อของลูกคา (Order Processing) การเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา (Order Fulfillment) เปนตน

3.5 ตนทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) คือ วิธีการจัดทําบัญชีตนทุนที่ใชวิธีการจัดสรรตนทุนแตละสวนใหกับกิจกรรมที่เกี่ยวของ (เชน กิจกรรมทางดานโลจิสติกส) ซึ่งชวยใหสามารถมองเห็นภาพของกิจกรรมที่กอใหเกิดตนทุนไดเปนอยางดี

ดัชนีดานท่ี 4 ระบบการบริหารขอมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวชี้วัดท่ี 4.1 การกําหนดรหัสมาตรฐานสําหรับสินคา และกระบวนการ

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการกําหนด รหัสที่เปนมาตรฐานใหกับสินคา หรือกระบวนการตางๆ ภายใน

องคกร รวมท้ังมีการประยุกตใชงานรหัสมาตรฐานดังกลาวเขากับเทคโนโลยีสารสนเทศทางดาน ซัพพลายเชนและโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรมีการกําหนดรหัสที่เปนมาตรฐานสําหรับระบุใหกับสินคา และกระบวนการตางๆ เชน รหัสสินคา

รหัสลูกคา รหัสผูสงมอบ รหัสคลังสินคา รหัสใบสั่งซื้อ รหัสใบสั่งผลิต เพ่ือ • การสื่อสารขอมูลในองคกร เปนไปดวยความงาย กระชับ สะดวก รวดเร็ว และเปนอนัหนึ่งอันเดียวกัน • สามารถพัฒนาไปสูการจัดการระบบบริหารขอมูลสารสนเทศในองคกร ทั้งการบันทึกขอมูล การประมวลผล

ขอมูล และการแสดงผลขอมูลได • สามารถนําไปประยุกตใชกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส อ่ืนๆ เชน ระบบ

ERP4.1 ระบบ CRM4.2ระบบ TMS4.3 ระบบ Barcode4.4 ระบบ EDI4.5 ระบบ XML/EDI4.6 ฯลฯ ตอไปได

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคา และกระบวนการ ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคาบางรายการ หรือกระบวนการบางสวน ระดับ 3 องคกรมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคาทุกรายการ และกระบวนการ ท้ังระบบ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรมีการประยุกตใชรหัสมาตรฐานที่กําหนด เขากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกส ตางๆ (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM ระบบ TMS ระบบ Barcode ฯลฯ) ภายในองคกร

Page 33: Logistics Scorecard

33

ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

องคกรขยายขอบเขตการประยุกตใชรหัสมาตรฐานที่กําหนดเขากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดาน ซัพพลายเชนและโลจิสติกส ตางๆ ไปถึงระดับหวงโซอุปทาน (ระหวางองคกร) เชน ใชระบบ EDI หรือ XML/EDI ทําการจัดซ้ือ การโอนเงิน ระหวางองคกร เปนตน

คําอธิบายเพิ่มเติม รหัสมาตรฐาน หมายถึง รหัสใดๆ ที่ต้ังขึ้นมาเพ่ือใชส่ือสารกันภายในองคกร

เปนรหัสเดียวกันทั้งองคกรไมวาจะเปนฝายผลิต ฝายคลังสินคา ฝายบัญชี และฝายอื่นๆ เชน การนําเลขที่ใบส่ังซื้อ (Purchase Order) มาเปนรหัสมาตรฐาน หากนํามาเปนรหัสวัตถุดิบแลวใชเรียกกันทั่วทั้งองคกรไมวาแผนกใดๆ ถือวาเปนรหัสมาตรฐาน บารโคด (Barcode) ที่ลูกคากําหนดใหติดบนสินคา แตภายในองคกรไมไดใชบารโคดนั้น ส่ือสารภายในองคกรถือวาไมเปนรหัสมาตรฐานขององคกร

คํานิยาม 4.1 ระบบ ERP: Enterprise Resource Planning ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงปฏิบัติการที่รวบรวมสารสนเทศ

มาจากหลายหนาที่งานของบริษัท เชน ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบัญชี เขาดวยกัน ระบบสามารถใชจัดการสินคาคงคลัง สรางคําส่ังซื้อ วางแผนตารางการผลิต จัดตารางจัดสงสินคาสําเร็จรูป และสารสนเทศอื่นๆ ทั่วทั้งองคกรได ปจจุบันระบบ ERP พัฒนาอยูในรูปแบบซอฟทแวรสําเร็จรูป ที่เปนที่รูจักกันดี ไดแก ระบบ SAP, Oracle , Intuitive, ECONs

4.2 ระบบ TMS: Transport Management System ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงปฏิบัติการซึ่งเชื่อมโยงกับระบบรับคําส่ังซื้อ และจะทําการกําหนดตัวผูขนสง และสรางตารางเวลาการรับสินคาและจัดสง การเตรียมความพรอมสําหรับบรรจุหีบหอ และจัดสง ระบบ TMS จะติดตามการจัดสง การชําระคาเดินทาง และประสิทธิภาพของผูสง ซึ่งไมวาคุณจะสงทางรถบรรทุก เครื่องบิน หรือเรือก็ตาม ระบบ TMS จะสรางเอกสารที่ประกบติดไปกับสินคาจนถึงปลายทาง

4.3 ระบบ CRM: Customer Relationship Management ระบบบริหารงานลูกคาสัมพันธ บริหารการทํางานของพนักงานขาย วิเคราะหขอมูลลูกคาและวิเคราะหการขาย วิเคราะหส่ือที่ใช วิเคราะหคูแขง ซึ่งชวยใหประสิทธิภาพการขายเพิ่มขึ้น และเพ่ิมคุณภาพการใหบริการใหสามารถครองใจลูกคามากขึ้น อีกทั้งสามารถนําไปขยายตลาดสําหรับลูกคาใหมได

4.4 ระบบ Barcode คือ สัญลักษณรหัสแทงที่ใชแทนขอมูลตัวเลข มีลักษณะเปนแถบมีความหนาบางแตกตางกันขึ้นอยูกับตัวเลขที่กํากับอยูขางลาง การอานขอมูลจะอาศัยหลักการสะทอนแสง เพ่ืออานขอมูลเขาเก็บในคอมพิวเตอรโดยตรงไมตองผานการกดปุมท่ีแปนพิมพ การนําเขาขอมูลจากรหัสแถบของสินคาเปนวิธีที่ สะดวกรวดเร็ว และความนาเชื่อถือไดของขอมูลมีสูง

4.5 ระบบ EDI : Electronics Data Interchange ระบบการแลกเปลี่ยนธุรกรรมทางธุรกิจ เชน การสั่งซื้อ ใบกํากับภาษี การโอนเงิน ระหวางบริษัทคูคาในรูปแบบ มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องหนึ่ง ซึ่งตองใชรหัสที่เปนมาตรฐาน

4.6 ระบบ XML/EDI ระบบที่วิวัฒนาการมาจาก EDI อํานวยความสะดวกดานการคา และการบริการ โดยเฉพาะการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส มีจุดแข็งในเรื่องการใชงานงาย และประหยัดเวลากวา EDI

Page 34: Logistics Scorecard

34

ตัวชี้วัดท่ี 4.2 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการจัดการขอมูลทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการนําคอมพิวเตอร และโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการจัดการขอมูล

ทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกสหรือไม และนํามาประยุกตใชเพ่ือชวยสนับสนุนการตัดสินใจภายในองคกร และระหวางคูคา (ผูสงมอบ หรือ ลูกคา) ในหวงโซอุปทาน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการนําคอมพิวเตอร (ฮารดแวร) และโปรแกรมคอมพิวเตอร (ซอฟทแวร) มาชวยในการจัดการขอมูลทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกสมาใชในองคกร ซึ่งโปรแกรมดังกลาวอาจพัฒนาขึ้นเองภายในองคกร หรือซื้อโปรแกรมสําเร็จรูปจากตัวแทนจําหนายตางๆ มาติดตั้ง เพ่ือชวยในการเก็บขอมูล การประมวลผลขอมูล หรือการแสดงผลขอมูล ในกระบวนการตางๆ เชน การทํารายการสินคาคงคลัง การวางแผนการผลิต การทําบัญชี เพ่ือ • ใหเกิดความสะดวกและความรวดเร็ว ในการทํางานมากขึ้น และ • สามารถเชื่อมโยงสารสนเทศเหลานั้นใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ใหสามารถชวยสนับสนุนการตัดสินใจภายใน

องคกร และระหวางคูคา (ผูสงมอบ หรือ ลูกคา) ในหวงโซอุปทานได ตัวอยางของโปรแกรมทางดานการจัดการซัพพลายเชนและโลจิสติกส เชน โปรแกรมที่มีลักษณะการจัดการขอมูลแบบระบบ ERP ระบบ CRM หรือ ระบบ TMS เปนตน ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 4.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส บางกิจกรรมเทานั้น ระดับ 3 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ทุกกิจกรรม แตยังไมมีการ

เชื่อมโยงขอมูลถึงกัน ระดับ 4 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ทุกกิจกรรม

องคกรมีการประยุกตใชโปรแกรมทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกสเพื่อการจัดการขอมูล (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM หรือ ระบบ TMS หรือระบบลักษณะดังกลาวที่พัฒนาข้ึนเอง) และมีการเชื่อมโยงขอมูลถึงกัน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรเชื่อมโยงขอมูลจากโปรแกรมดังกลาว เขากับโปรแกรมทางฝงผูสงมอบ และลูกคา องคกรใชโปรแกรมดังกลาวเปนเคร่ืองมือในการวางแผนการใชทรัพยากรในหวงโซอุปทานใหเกิดประโยชนสูงสุด

คําอธิบายเพิ่มเติม สําหรับองคกรใดท่ีใชคอมพิวเตอรตัวเดียวในการจัดการกับขอมูลตางๆ ที่เกิดจากกิจกรรมโลจิสติกส ใหมองที่การเชื่อมโยงของขอมูล หากมีการเชื่อมโยงของขอมูลตางๆ ของกิจกรรมดานโลจิสติกสภายในคอมพิวเตอรเครื่องเดียวกัน ก็ถือวามีการเชื่อมโยงขอมูลกัน

Page 35: Logistics Scorecard

35

คํานิยาม ระบบ ERP ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ TMS ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ CRM ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4.3 การพัฒนาบุคคลกรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดาน

ซัพพลายเชนและโลจิสติกส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการสงเสริม และการพัฒนาบุคลากรในองคกร ใหไดรับความรูในดานการบริหาร

จัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรมีการพัฒนาบุคลากร ใหมีความรู ความเขาใจ ในเรื่องการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศตางๆ ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส เชน ซอฟทแวรดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM ระบบ TMS เปนตน) ระบบตรวจติดตามอัตโนมัติ (เชนระบบ บารโคด ระบบ GPS เปนตน) ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (EDI,XML/EDI) เพ่ือใหบุคลากรในองคกรสามารถนําความรู มาประยุกตใชกับกระบวนการ หรือกิจกรรมตางๆ ใหเปนประโยชนตอการตัดสินใจในการทํางานได

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 4.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาบุคคลากรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาบุคคลากรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส องคกรมีบุคคลกรทางดานนี้อยางเพยีงพอ

ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ องคกรมีแผนสงเสริมการฝกอบรมดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีการปฏิบัติตามแผนบางสวน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีการปฏิบัติตามแผนทั้งหมด องคกรมีการประเมินผลงานของบุคคลกรผูรับผิดชอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกส อยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม “องคกรมีบุคคลกรทางดานนี้อยางเพียงพอ” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 2) คําวา “อยางเพียงพอ” ในที่นี้หมายถึงองคกรมีบุคลากรผูรับผิดชอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชน ตามจํานวนที่เหมาะสมที่กําหนดไวในตัวชี้วัดที่ 2.6

Page 36: Logistics Scorecard

36

คํานิยาม ระบบ ERP ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ TMS ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ CRM ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ EDI ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ Barcode ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1

ดัชนีดานท่ี 5 การรวมมือกันระหวางองคกร

ตัวชี้วัดท่ี 5.1 การเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจท่ีเปนพันธมิตร5.1 กัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน5.2

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีความรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 5.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน ระดับ 2 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีแผนที่จะดําเนินการเพื่อสรางความรวมมือระหวางกัน

ระดับ 3 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีโครงการที่รวมมือกันแตยังไมมีขอตกลงที่เปนทางการ

ระดับ 4 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีโครงการที่รวมมือกันและมีขอตกลงที่เปนทางการ

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรมีกระบวนการในการพัฒนาโครงการที่รวมมือกันตามขอตกลงใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม

Page 37: Logistics Scorecard

37

5.1 พันธมิตร : องคกรธุรกิจ ที่อยูคนละหวงโซอุปทาน แตมีความสัมพันธสวนบุคคล (connection) ที่ดีตอกัน ซึ่งอาจรวมมือกันในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสได เชน องคกรหนึ่ง อยูที่ กรุงเทพ อีกองคกรหนึ่งอยูที่ เชียงใหม อาจมีการตกลงใชพาหนะบรรทุกสินคารวมกันในการไปกลับทําใหไมตองมีการวิ่งรถเปลา เปนตน

5.2 ธุรกิจประเภทเดียวกัน : องคกร ที่ผลิต หรือบริการ สินคาประเภทเดียวกัน ซึ่งสามารถรวมมือกัน บนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนทั้ง 2 ฝาย เชน รวมกันในการสั่งซื้อวัตถุดิบจากตางประเทศซึ่งทําใหมีปริมาณการสั่งซื้อสูงทําใหสามารถตอรองกับผูคาวัตถุดบิได เปนตน

ตัวชี้วัดท่ี 5.2 การเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และหนวยงาน

วิจัยหรือพัฒนา5.3

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีความรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และหนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และหนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 5.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา ระดับ 2 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีแผนที่จะดําเนินการเพื่อสรางความรวมมือระหวางกัน ระดับ 3 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีโครงการที่รวมมือกันแตยังไมมีขอตกลงที่เปนทางการ ระดับ 4 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีโครงการที่รวมมือกันและมีขอตกลงที่เปนทางการ ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

องคกรมีกระบวนการในการพัฒนาโครงการที่รวมมือกันตามขอตกลงใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

คําอธิบายเพิ่มเติม -

คํานิยาม 5.3 หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา : หนวยงาน / สถาบัน / มหาวิทยาลัย ที่มีการดําเนินการวิจัยและพัฒนา ซึ่งองคกร

สามารถใหเงินทุนในการสนับสนุนใหวิจัยหรือพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส เพ่ือผลประโยชนขององคกร หรือเปนการทําวิจัยรวมกัน เพ่ือยกระดับองคความรูทางดานโลจิสติกส

Page 38: Logistics Scorecard

38

4.2 คําอธิบายสําหรับอุตสาหกรรมการบริการ

ดัชนีดานท่ี 1 การกําหนดกลยุทธองคกร ตัวชี้วัดท่ี 1.1 องคกรเห็นถึงความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส และมีการวางแผนกลยุทธดาน

โลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรใหความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส และมีการจัดตั้งคณะทํางานหรือหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยเฉพาะ หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเห็นถึงความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส โดยผูบริหารใหการสนับสนุน และจัดตั้งคณะทํางานหรือหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยเฉพาะขึ้นมา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 1.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 ผูบริหารระดับสูงไมไดกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร ระดับ 2 ผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร ระดับ 3 ผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรมีหนวยงาน หรือ คณะทํางาน รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกส (ซ่ึงเปนบุคลากรจากหลายฝายมารวมตัวกัน หรือประชุมกันเปนครั้งคราว)

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการตั้งดัชนีชี้วัด (Key Performance Index) ทางดานโลจิสติกสข้ึนมา องคกรมีการประเมินผลกิจกรรมดานโลจิสติกสภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการทบทวนและพัฒนาแผนกลยุทธดานโลจิสติกส อยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม กิจกรรมดานโลจิสติกส

โดยคําวา “กิจกรรม” หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่อยูในขอบขายกระบวนการทางดานโลจิสติกส ซึ่ง ประกอบดวย

- งานบริการลูกคา - การวางแผนเกี่ยวกับตําแหนงที่ต้ังของอาคารโรงงาน คลังสินคา - การพยากรณและการวางแผนอุปสงค - การจัดซื้อจัดหา - การจัดการสินคาคงคลัง

Page 39: Logistics Scorecard

39

- การจัดการวัตถุดิบ - การเคลื่อนยายวัตถุดิบ - การบรรจุหีบหอ - การดําเนินการกับคําส่ังซื้อของลูกคา - การขนของ และการจัดสง - โลจิสติกสยอนกลับ (อาทิเชน การจัดการสินคาคืน) - การจัดการกับชองทางจัดจําหนาย - การกระจายสินคา - คลังสินคาและการเก็บสินคาเขาคลัง - กิจกรรมการแปรรูปเพ่ือนํากลับมาใชใหม คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 1.2 มีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลัก1.1 และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลัก และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เพ่ือใหองคกรและผูสงมอบหลักไดรับประโยชนรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลักอยางเปนลายลักษณอักษร และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลเพ่ือพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสโดยตั้งอยูบนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนรวมกันทั้ง 2 ฝาย (win-win solution) ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลง กับผูสงมอบหลักอยางเปนทางการ ระดับ 2 องคกรมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลงกับผูสงมอบหลัก ในรูปแบบตางๆ เชน ใบส่ังซ้ือ (PO) ,ขอกําหนด,

e-mail หรือการสื่อสารอื่นๆ ที่เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลที่สําคัญระหวางองคกรกับผูสงมอบหลัก นอกเหนือจากที่ระบุไวในสัญญา/ขอตกลง เชน ประสิทธิภาพของผูสงมอบดานตางๆ เปนตน

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการระบุขอตกลงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและผูสงมอบหลัก

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีแผนในการพัฒนาผูสงมอบหลักอยางเปนทางการ

Page 40: Logistics Scorecard

40

คําอธิบายเพิ่มเติม “มีการระบุขอตกลงที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานที่เอ้ือประโยชนกับทั้งองคกรและผูสงมอบหลัก” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4) ตัวอยางเชน “องคกรที่ทําการผลิตมีขอตกลงใหผูสงมอบวัตถุดิบใดๆ เปนผูบริหารสินคาคงคลังในสวนของวัตถุดิบนั้นๆให” ซึ่งประโยชนที่องคกรไดรับก็คือ ไมตองรับภาระคาใชจายในการบริหารสินคาคงคลังของตน สวนประโยชนที่ผูสงมอบไดรับก็คือ สามารถวางแผนการผลิต หรือการจัดสงวัตถุดิบใหไดอยางแมนยํามากขึ้น

คํานิยาม 1.1 ผูสงมอบหลัก : ผูจัดสงวัตถุดิบ ชิ้นสวน หรือรับจางชวงใหกับองคกร ดวยปริมาณ หรือ มูลคาที่สูงตาม

ขอกําหนดขององคกรนั้นๆ

ตัวชี้วัดท่ี 1.3 มีการทําขอตกลงกับลูกคาหลกั และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการทําขอตกลงกับลูกคาหลัก และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เพ่ือให

องคกร และลูกคาหลักไดรับประโยชนรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรมีการทําขอตกลงกับลูกคาหลัก อยางเปนลายลักษณอักษร ในการแลกเปลี่ยนขอมูลเพ่ือพัฒนา

กิจกรรมดานโลจิสติกสโดยตั้งอยูบนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนรวมกันทั้ง 2 ฝาย (win-win solution)

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลง กับลูกคาหลักอยางเปนทางการ ระดับ 2 องคกรมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลงกับลูกคาหลักในรูปแบบตางๆ เชน ใบส่ังซ้ือ (PO) ,ขอกําหนด,e-mail

หรือการสื่อสารอื่นๆ ที่เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลที่สําคัญระหวางองคกรกับลูกคาหลัก นอกเหนือจากที่ระบุไวในสัญญา/ขอตกลง ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีการระบุขอตกลงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและลูกคาหลัก ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีแผนในการพัฒนาประสิทธิภาพขององคกรรวมกับลูกคาหลักอยางเปนทางการ

คําอธิบายเพิ่มเติม “มีการระบุขอตกลงที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและลูกคา” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4) ตัวอยางเชน “องคกรที่ทําการผลิตสินคาใดๆ ทําขอตกลงกับลูกคา ซึ่งเปนศูนยกระจายสินคา วาจะเปนผูบริหารสินคาคงคลังในสวนของสินคานั้นๆให” ซึ่งประโยชนที่องคกรไดรับก็คือสามารถวางแผนการผลิต หรือการจัดสงสินคาใหลูกคาไดอยางแมนยํามากขึ้น สวนประโยชนที่ลูกคาไดรับก็คือไมตองรับภาระคาใชจายในการบริหารสินคาคงคลังของตน

Page 41: Logistics Scorecard

41

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 1.4 มีระบบในการประเมิน และพัฒนาความพึงพอใจของลูกคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการดําเนินการเกี่ยวกับขอรองเรียนของลูกคา มีระบบและวิธีการประเมิน รวมทั้งมีการรวมมือกันภายในองคกร และรวมมือกับลูกคาในการพัฒนาระดับความพึงพอใจของลูกคา หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีระบบในการดําเนินการเกี่ยวกับขอรองเรียนของลูกคา มีระบบและวิธีการประเมิน และพัฒนาความพึงพอใจของลูกคา รวมท้ังมีการรวมมือกับลูกคาในการพัฒนาระดับความพึงพอใจของลูกคา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา

การแกไขขอรองเรียนของลูกคา เปนการแกไขปญหาแบบเฉพาะหนา หรือเปนครั้งคราวเทานั้น ระดับ 2 องคกรมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา

มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยแผนก/ฝายขายเปนผูรับผิดชอบเทานั้น ไมมีการบันทึกขอรองเรียนของลูกคาที่เกิดข้ึน

ระดับ 3 องคกรมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยแผนก/ฝายขายเปนผูรับผิดชอบเทานั้น มีระบบในการจัดการ และจัดเก็บขอรองเรียนของลูกคาที่เกิดข้ึน

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เฉพาะภายในองคกร มีการนําผลสํารวจความพึงพอใจของลูกคามาวิเคราะหเพื่อพัฒนาวิธีการทํางาน ผลิตภัณฑ หรือบริการที่ดีข้ึน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของท้ังภายในองคกร ผูสงมอบ และลูกคา มีมาตรการในการปองกันปญหาตางๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ซ่ึงสงผลตอความพึงพอใจของลูกคา (มาตรการกําหนดจากการวิเคราะหความพึงพอใจของลูกคา)

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม -

Page 42: Logistics Scorecard

42

ตัวชี้วัดท่ี 1.5 มีระบบในการพัฒนาและประเมินพนักงาน วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการพัฒนาและประเมินผลงานของพนักงานในดานโลจิสติกส รวมทั้งมีการนําหลักการ การจัดการองคความรู เขามาประยุกตใชในองคกร เพ่ือพัฒนาความสามารถของพนักงานในดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีระบบในการพัฒนาและประเมินผลงานของพนักงาน รวมทั้งมีการนําหลักการ การจัดการองคความรู เขามาประยุกตใชในองคกร ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรไมมีการฝกอบรมพนักงานในดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรไมมีการฝกอบรมพนักงานในดานโลจิสติกส ระดับ 3 องคกรมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรมีโครงการฝกอบรมเพื่อยกระดับความสามารถของพนักงานใหเปนไปตามถอยแถลงขององคกร ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบการวัดผลการทํางาน และประเมินการทํางานของพนักงานใหเปนไปตามถอยแถลงขององคกร ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีระบบในการจัดการองคความรู เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ และการเรียนรูระหวางทีม และพนักงานแตละระดับขององคกร

คําอธิบายเพิ่มเติม

ถอยแถลง (Commitment Statement) ตัวอยางเชน “องคกรมุงมั่นสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา ดวยการสงมอบสินคาที่ตรงเวลา” เปนตน

“มีระบบในการจัดการองคความรู เพ่ือใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ และการเรียนรูระหวางทีม และพนักงานแตละระดับขององคกร” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4)

การจัดการองคความรู (Knowledge Management) หมายถึง ความสามารถในการจัดการความรู ประกอบดวย การสรางความรู การประมวล การแลกเปลี่ยนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรูและการสรางนวัตกรรมใหมใหเกิดขึ้นในหนวยงาน คํานิยาม -

Page 43: Logistics Scorecard

43

ดัชนีดานท่ี 2 การวางแผนและความสามารถในการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดท่ี 2.1 การกําหนดแผนงานดานโลจิสติกส มีการพิจารณาการใชทรัพยากรอยางเหมาะสม วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา เมื่อมีการกําหนดกลยุทธดานโลจิสติกส แลวหนวยงานหรือผูรับผิดชอบงานดาน โลจิสติกส นํามาวางแผนการทํางานของตนอยางเหมาะสม ภายใตทรัพยากรที่มีอยู และมีความรวมมือกันในหนวยงานที่เกี่ยวของภายในองคกรเพื่อมุงสูเปาหมายองคกรรวมกัน และกําหนดแผนไวเปนลายลักษณอักษร ตลอดจนกาวไปสูความรวมมือกับลูกคาและผูสงมอบ หรือไม และอยูในระดับใด โดยมุงพิจารณาจาก

• การมีแผนงานเปนลายลักษณอักษร • การกระจายแผนงานไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ • ความรวมมือกันกับผูสงมอบและลูกคา

ความหมาย องคกรมีการกาํหนดแผนงานดานโลจิสติกสใหสอดคลองกับกลยุทธดานโลจิสติกส และคํานึงถึงทรัพยากรที่มีอยูในองคกรและหวงโซอุปทาน ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการวางแผนงานดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการวางแผนงานดานโลจิสติกส แตยังไมครบทุกดานของกิจกรรมที่เกี่ยวของ ระดับ 3 องคกรมีการวางแผนงานดานโลจิสติกส ครบทุกดานของกิจกรรมที่เกี่ยวของ

แผนงานดานโลจิสติกสของแตละหนวยงานยังไมไดถูกนํามาพิจารณารวมกัน เพื่อใหแผนงานของแตละหนวยงาน สอดคลองกัน เชน การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และการบรรลุเปาหมายขององคกร

ระดับ 4 องคกรมีการวางแผนงานดานโลจิสติกส ครบทุกดานของกิจกรรมที่เกี่ยวของ แผนงานดานโลจิสติกสของแตละหนวยงานไดมีการพิจารณารวมกันภายในองคกร เพื่อใหแผนงานของแตละหนวยงาน สอดคลองกัน เชน การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ และการบรรลุเปาหมายขององคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีระบบในการนําผูสงมอบ และลูกคา มามีสวนรวมในการใชทรัพยากรรวมกัน

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม -

Page 44: Logistics Scorecard

44

ตัวชี้วัดท่ี 2.2 ความสามารถในการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมทางการตลาด วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรตระหนักถึงความสําคัญของการพยากรณแนวโนมของตลาดสินคา และการพยากรณความตองการของลูกคา จากขอมูลในอดีตตลอดจนใชวิธีการทางสถิติมาชวยในการพยากรณ และนําผลของการพยากรณ มาใชประโยชนอ่ืนๆ เชน การวางแผนการตลาด การวางแผนการขาย การวางแผนการทํางานที่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคต หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย องคกรมีความเขาใจในแนวโนมของตลาดสินคา และใชวิธีการทางสถิติในการพยากรณความตองการของลูกคา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรมีการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมของตลาด โดยอาศัยประสบการณ ระดับ 2 องคกรมีการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมของตลาด โดยอาศัยขอมูลในอดีต วิธีการทางสถิติ

รวมกับประสบการณ ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการรวมมือและนําขอมูลของลูกคา มาพิจารณารวมดวย ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบในการนําผลการพยากรณ ไปใชประโยชนดานตางๆ เชน การวางแผนการตลาด การวางแผนยอดขาย ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีระบบในการประเมินและทบทวนการพยากรณ เพื่อใชในการปรับเปลี่ยนแผนงานตางๆ ที่เกี่ยวของ

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม -

ตัวชี้วัดท่ี 2.3 ความสามารถในการวางแผน และการปรับแผนการทํางานดานโลจิสติกสขององคกร

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรมีการวางแผนการทํางานดานโลจิสติกส โดยอาศัยขอมูลที่มีความถูกตองแมนยําและมีความเชื่อมโยงขอมูลในแตละแผนกที่เกี่ยวของบนฐานขอมูลเดียวกัน และมีความรวมมือกันภายในองคกร (ซึ่งบางแหงมีการประชุมรวมกันแตมีตัวเลขที่แตกตางกันในแผนกตางๆ เนื่องจากไมไดใชฐานขอมูลรวมกัน) ตลอดจนมีการนําขอมูลของลูกคาและผูสงมอบมาพิจารณารวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด โดยพิจารณาจาก

• ความรวมมือกันในแผนกตางๆ • ความเชื่อมโยงและแมนยําของขอมูล • ความรวดเร็วในการประสานงาน

Page 45: Logistics Scorecard

45

ความหมาย แผนงาน และการดําเนินกิจกรรมดานโลจิสติกสตางๆ ขององคกร มีความสอดคลองกัน เชน มีการวางแผนการขาย การสั่งซื้อวัตถุดิบ และการจัดสงสินคารวมกันรวมถึงการพิจารณาจํานวนสินคาคงคลังที่มีอยู และมีการประสานงานเพื่อการตอบสนองลูกคาอยางรวดเร็ว (Quick Response)2.1 ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 การวางแผนของแตละแผนกเปนอิสระ ไมข้ึนตอกัน (ไมมีการพิจารณารวมกัน) ระดับ 2 การวางแผนของแตละแผนก มีการพิจารณารวมกัน ในบางแผนก ระดับ 3 การวางแผนของแตละแผนกมีการพิจารณารวมกันครบทุกแผนก ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีการใชฐานขอมูลรวมกัน ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีการนําขอมูลของลูกคา และผูสงมอบมาพิจารณารวมดวย คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 2.3 ความสามารถในการตอบสนองอยางรวดเร็ว (Quick Response) คือ ผลิตอยางเพื่อใหสามารถตอบสนองความ

ตองการไดอยางรวดเร็ว ต้ังแตตนน้ําถึงปลายน้ํา เชน การจัดหาวัตถุดิบไดอยางรวดเร็ว โดยอาศัยหลักการทางดานโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพ การจัดสงไดอยางรวดเร็ว ตองรูขอมูลไดอยางรวดเร็ว โดยใชระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพชวยในการบริหารจัดการ เปนตน

ตัวชี้วัดท่ี 2.4 มีระบบในการติดตามสถานะของ สินคา วัสดุคงคลัง และกิจกรรมดานโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรมีระบบการติดตาม ตรวจสอบ สถานะ และจํานวน ของสินคาคงคลัง และวัสดุ-คงคลังหลัก และมีความรวดเร็วและถูกตองของการใชงานและสามารถตรวจสอบขอมูลไดทันทีทันใด หรือไม และอยูในระดับใด โดยพิจารณาจาก

• การมีระบบการติดตามตรวจสอบสถานะของสินคาและวัสดุคงคลัง • การมีแผนการจัดซื้อ • การแลกเปลี่ยนขอมูลกับผูสงมอบ

ความหมาย องคกรมีระบบในการจัดการและติดตามสถานะของสินคา วัสดุคงคลัง รวมท้ังสามารถติดตามกิจกรรมการจัดซื้อหรือจัดหาไดถูกตองแมนยํา

Page 46: Logistics Scorecard

46

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการติดตามหรือตรวจสอบ สถานะ จํานวน ของสินคา และวัสดุคงคลงัหลัก ระดับ 2 องคกรมีการติดตามหรือตรวจสอบ สถานะ จํานวน ของสินคา และวัสดุคงคลังหลักบางรายการ ระดับ 3 องคกรมีการติดตามหรือตรวจสอบ สถานะ จํานวน ของสินคา และวัสดุคงคลังหลักทุกรายการ

สามารถติดตามกิจกรรมดานโลจิสติกสภายในองคกรได เชน การจัดซ้ือจัดหา ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบในการติดตาม หรือตรวจสอบสถานะ ของวัสดุคงคลัง สินคา หรือกิจกรรมดานโลจิสติกส ที่มีความรวดเร็วตอการใชงาน และมีความถูกตอง แมนยํา

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีระบบในการติดตาม หรือตรวจสอบสถานะ ของวัสดุคงคลัง สินคา หรือกิจกรรมดานโลจิสติกส เปนแบบอัตโนมัติ สามารถตรวจสอบขอมูลทันทีทันใด

คําอธิบายเพิ่มเติม การมีระบบ หมายถึง การมีขั้นตอนการทํางาน มีการบันทึกขอมูลตลอดจนการแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 2.5 การมีข้ันตอนการทํางาน และกระบวนการทํางานท่ีเปนมาตรฐานและชัดเจน

เปนลายลักษณอักษร

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกร มีระบบและมาตรฐานในการทํางาน และมีการแนวโนมการพัฒนาอยางตอเนื่องเพ่ือเปนการประกันกระบวนการทํางานตางๆ ดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรมีการกําหนดและนํามาตรฐานสําหรับวิธีการทํางานในองคกร รวมท้ังกิจกรรมที่มีการติดตอกับผูสงมอบและลูกคาขององคกร และมีการพัฒนาการทํางานภายในองคกรอยางตอเนื่อง

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรยังไมมีมาตรฐานการดําเนินงานที่เปนลายลักษณอักษรครบทุกกิจกรรม ระดับ 2 กิจกรรมทั้งหมดมีมาตรฐานเปนลายลักษณอักษร

การปฏิบัติงานยังไมเปนไปตามมาตรฐานอยางครบถวน ระดับ 3 กิจกรรมทั้งหมดมีมาตรฐานชัดเจน

การปฏิบัติงานเปนไปตามมาตรฐานอยางครบถวน ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบในการพัฒนาการทํางานภายในองคกร และดําเนินการอยางตอเน่ือง ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีความรวมมือกับลูกคา หรือผูสงมอบและมีระบบในการพัฒนาการดําเนินงานรวมกัน

Page 47: Logistics Scorecard

47

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 2.6 การพัฒนาหนวยงานรับผิดชอบดานโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการกําหนดหนวยงานหรือผูรับผิดชอบงานที่เกี่ยวของกับดานโลจิสติกส มีการกําหนดอํานาจ หนาที่ และมีจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมกับปริมาณงานและแผนงาน ตลอดจนมีการกําหนดความสามารถ (Competency ) ของบุคลากรในตําแหนงตางๆ และมีการพัฒนาตามผลการประเมินความสามารถ (เนื่องจากบุคลากรเปนทรัพยากรที่สําคัญในการขับเคล่ือนองคกร) หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย องคกรมีการวางแผนกําลังพลและพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกส ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.6 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดผูรับผิดชอบดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการประกาศขอบเขต อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบของตําแหนงงานตางๆ ทีเ่กี่ยวของกับ

กิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการวิเคราะหหาจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมในแตละตําแหนงงาน และมีจํานวนบุคลากรเพียงพอ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีการวิเคราะหและประเมินความสามารถ(Competency ) 2.2 ของบุคลากรดานโลจิสติกสในตําแหนงตางๆ ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีแผนในการพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกสตามผลการประเมินความสามารถของบุคลากร คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 2.4 ความสามารถ (Competency) คือ ความรู (Knowledge) ความสามารถ หรือทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ

(Attributes) ของบุคคลที่มีความสัมพันธโดยตรงกับงานที่ปฏิบัติเพ่ือใหไดผลงานที่มีประสิทธิภาพ บางก็เรียกวา สมรรถนะ ขีดสมรรถนะ เปนตน

Page 48: Logistics Scorecard

48

ดัชนีดานท่ี 3 ประสิทธิภาพและประสิทธิผลดานโลจิสติกส ตัวชี้วัดท่ี 3.1 การพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีแผนในการพัฒนากิจกรรมทางดานโลจิสติกสในทุกกิจกรรมใหสามารถเชื่อมโยงถึงกันไดอยางมีระบบหรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรควรปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสตางๆ ภายในองคกรใหสามารถเชื่อมโยงถึงกัน และสามารถประสานกับลูกคา และผูสงมอบไดอยางมีประสิทธิภาพ การพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส เชน ลดเวลาในการเตรียมการผลิต การลดขนาดของจํานวนการสั่งซื้อหรือส่ังผลิต การพัฒนาบรรจุภัณฑ การพัฒนาคลังสินคา การพัฒนาวิธีการหยิบที่ลดระยะเวลาลงได และหยิบไดอยางถูกตองแมนยํา เปนตน

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการวางแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสในบางกจิกรรมเทานั้น โดยมีการกําหนดเปาหมายไว

เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสในทุกกิจกรรม โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลาย

ลักษณอักษร ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสไดตามเปาหมายที่ตั้งไวในบางกิจกรรม องคกรมีแผนการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสใหมีการเชื่อมโยงถึงกันภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสไดตามเปาหมายที่ตั้งไวในทุกกิจกรรม องคกรมีการวางแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสอยางตอเน่ือง องคกรมีการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสของท้ังองคกร ผูสงมอบ และลูกคา ใหสามารถสอดประสานถึงกันได

คําอธิบายเพิ่มเติม กิจกรรมดานโลจิสติกส

โดยคําวา “กิจกรรม” หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่อยูในขอบขายกระบวนการทางดานโลจิสติกส ซึ่ง ประกอบดวย

- งานบริการลูกคา - การวางแผนเกี่ยวกับตําแหนงที่ต้ังของอาคารโรงงาน คลังสินคา - การพยากรณและการวางแผนอุปสงค - การจัดซื้อจัดหา - การจัดการสินคาคงคลัง

Page 49: Logistics Scorecard

49

- การจัดการวัตถุดิบ - การเคลื่อนยายวัตถุดิบ - การบรรจุหีบหอ - การดําเนินการกับคําส่ังซื้อของลูกคา - การขนของ และการจัดสง - โลจิสติกสยอนกลับ (อาทิเชน การจัดการสินคาคืน) - การจัดการกับชองทางจัดจําหนาย - การกระจายสินคา - คลังสินคาและการเก็บสินคาเขาคลัง - กิจกรรมการแปรรูปเพ่ือนํากลับมาใชใหม

ท้ังนี้ขึ้นอยูกับองคกรแตละองคกรมีกิจกรรมเหลานี้ดําเนินการอยูหรือไม ซึ่งในทุกกิจจกรมที่มีอยูในองคกรตองมีแผนในการพัฒนาอยางเปนลายลักษณอักษร และมีเปาหมายที่ชัดเจน

“องคกรมีแผนการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสใหมีการเชื่อมโยงถึงกันภายในองคกร” (ตัวชี้วัดในระดับท่ี 4) ยกตัวอยางเชน ลําดับในการนําของออกจากโกดังสอดคลองกับแผนในการขนสง การจัดของในรถบรรทุก สอดคลองกับลําดับในการสงสินคา เปนตน “การพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสของทั้งองคกรเอง ของผูสงมอบ และลูกคา ใหสามารถสอดประสานถึงกนัได ” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 5) หมายถึง การพัฒนาใหกิจกรรมทางดานโลจิสติกสขององคกร เชื่อมโยงกับลูกคาและผูสงมอบไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ธุรกิจขายสินคาและมีบริการจัดสงถึงที่ องคกรจะตองสามารถหยิบสินคาที่ถูกตองและจัดเรียงใสรถบรรทุกใหถูกตองตามลําดับกอนหลังที่จะนําไปสง รวมทั้งตองนัดเวลาสงมอบที่แนนอนกับลูกคา เปนตน

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.2 อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง (Inventory Turnover)3.1 และชวงระยะเวลารอบ

หมุนเวียนวัฏจักรเงินสด (Cash to Cash Cycle Time)3.2 วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการวัดอัตราการหมุนเวียนของสินคาคงคลังและชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด และมีระบบในการบริหารจัดการสินคาคงคลังใหสอดคลองกับกระแสเงินสดขององคกรไดหรือไม และอยูในระดับใด

Page 50: Logistics Scorecard

50

ความหมาย องคกรวัดอัตราการหมุนเวียนของสินคาคงคลัง และชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด อยาง

ตอเนื่องสม่ําเสมอ โดยอัตราการหมุนเวียนของสินคาคงคลังมีการเก็บขอมูลแยกกันระหวางผูสงมอบแตละราย และชิ้นสวนประกอบแตละประเภท และมีการบริหารสินคาคงคลังที่สามารถเชื่อมโยงกับการจัดการกระแสเงินสดขององคกรได

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมทราบอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลงั และชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด ระดับ 2 องคกรทราบอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลังหลักทั้งหมด

องคกรกําหนดชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสดของลูกคาแตละราย ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีระบบในการจัดการระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสดของลูกคาแตละราย ใหเปนไปตามที่ที่องคกรกําหนด

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง และชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด มีความสอดคลองกัน (เพื่อไมใหองคกรขาดกระแสเงินสด)

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรมีระบบในการวัดอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลงัไดอยางแมนยําอยางทันทีทันใด (Quick Response) ในเวลาที่ตองการใชขอมูล

คําอธิบายเพิ่มเติม อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง หมายถึง จํานวนรอบในการเปลี่ยนสินคาคงคลังใหกลายเปนยอดขายขององคกร

สูตรในการคํานวณ คือ

อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง = จํานวนหนวยของสินคาที่ขายไดระหวางป

จํานวนหนวยของสินคาคงคลังเฉลี่ยที่มีอยูในระหวางป

ยอดขายรวมในระหวางป มูลคาของสินคาคงคลังเฉลี่ยที่มีอยูในระหวางป หรือ =

ตนทุนสินคาขายในระหวางป มูลคาของสินคาคงคลังเฉลี่ยที่มีอยูในระหวางป หรือ =

Page 51: Logistics Scorecard

51

สูตรคํานวณแบบที่ 1 เหมาะสมกับการคํานวณที่แยกสินคาเปนรายการ (Stock Keeping Unit – SKU) หรือมีเพียงรายการเดียว เพราะวาถาองคกรมีสินคาหลายรายการแลวการใชจํานวนชิ้นที่ขายไดเทียบกับจํานวนชิ้นเฉล่ียที่มีอยูในคลังมาใชคํานวณ จะทําใหการแปลความหมายเบี่ยงเบนไปจากความเปนจริง เชน การขายยาพาราเซตามอลแบบกลอง 1 กลอง ยอมสรางรายไดใหกับกิจการไมเทากับการขายยาพาราเซตามอลแบบ 1 แผง เปนตน

สูตรคํานวณแบบที่ 2 เหมาะสมกับองคกรที่มีการซื้อสินคามาแลวขายไป เนื่องจากสามารถหาขอมูลมาใชในการคํานวณไดงาย และเห็นภาพชัดเจนวาสินคาคงคลังเฉล่ียสามารถถูกนําไปหมุนเวียนทําใหเกิดยอดขายไดกี่รอบในแตละป

สูตรคํานวณแบบที่ 3 ตองอาศัยขอมูลทางบัญชีในเร่ืองตนทุนสินคาขาย แตผลลัพธจากการคํานวณดวยวิธีนี้เปนคําตอบที่แสดงใหเห็นถึงภาพการหมุนเวียนของสินคาคงคลังไดชัดเจนที่สุด เพราะวาไดแยกสวนที่เปนกําไรออกไปจากยอดรวมแลวแตในขณะที่วิธีคํานวณแบบที่ 2 ยังคงมีสวนที่เปนกําไรแฝงอยูในยอดขายรวม

ซึ่งองคกรสามารถเลือกวิธีในการคํานวณที่เหมาะสมกับองคกรหรือขอมูลที่มีอยูได แตทั้งนี้ประเด็นหลัก

ในการชี้วัดคือจะตองมีการแบงสินคาหรือวัตถุดิบเปนกลุมหรือหนวยยอย และคํานวณหาอัตราหมุนเวียนสินคาคงคลังของแตละกลุม

คํานิยาม 3.6 อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลัง (Inventory Turnover) คือ การวัดประสิทธิภาพการจัดการสินคาคงเหลือของ

กิจการ หากดัชนีมีคาต่ํา แสดงวากิจการมีสินคาคงเหลือซึ่งประกอบดวยวัตถุดิบ สินคาระหวางผลิตและสินคาสําเร็จรูปเปนจํานวนมาก ซึ่งสินคาเหลานี้ยังไมสามารถหมุนเวียนสรางเปนยอดขายใหแกกิจการได ถือเปนการวัดประสิทธิภาพการขายของกิจการไดรูปแบบหนึ่ง

3.7 ชวงระยะเวลารอบหมุนเวียนวัฏจักรเงินสด (Cash to Cash Cycle Time) คือ ตัวชี้วัดวงจรเงินสดซึ่งใชบงบอกวาบริษัทมีการจัดการการหมุนเวียนของเงินสดไดดีเพียงใด โดยนับจากเวลาที่มีการชําระเงินใหกับผูสงมอบจนกระทั่งลูกคาชําระเงินคาสินคาใหบริษัท ตัวชี้วัดในสวนนี้รวมถึงจํานวนของสินคาคงคลังที่มีอยูทั้งหมดดวยซึ่งสามารถทําใหตนทุนสูงขึ้น หรือทําใหการตอบสนองตอคําส่ังซื้อลดลงได

ตัวชี้วัดท่ี 3.3 ชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหลูกคา (Customer Lead Time)3.3 และประสิทธิภาพใน

การจัดสงสินคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีแนวทางในการกําหนดชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหกับลูกคาไดอยางเปนระบบ และสามารถนําขอมูลชวงเวลานําของลูกคาแตละรายไปบริหารจัดการรวมกับแผนการจัดสงไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือไม และอยูในระดับใด

Page 52: Logistics Scorecard

52

ความหมาย องคกรจะตองทราบชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหลูกคาแตละราย และมีแนวทางในการกําหนด

ระยะเวลานําของลูกคาที่ชัดเจน (แบงตามประเภทของลูกคาหรือชนิดของผลิตภัณฑ) ซึ่งมีการนํามาใชในการบริหารจัดการและเชื่อมโยงกับแผนการจัดสงเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดสงสินคา (การบรรทุกของพาหนะแตละคัน เสนทางที่ใชว่ิง และความสามารถในการใชยานพาหนะ)

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมสามารถกําหนดชวงเวลานาํมาตรฐาน (Standard Lead Time) ใหกับลูกคาแตละราย หรือผลิตภัณฑ

แตละกลุมได ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดชวงเวลานํามาตรฐานของลูกคา หรือผลิตภัณฑแตละประเภท ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

องคกรนําขอมูลเกี่ยวกับชวงเวลานําในการสงมอบสินคาใหกับลูกคาแตละรายมาใชในการวางแผนการจัดสงสินคา (ประกอบดวย 1. การบรรทุกสินคาในพาหนะแตละคัน 2. เสนทางที่ใชวิ่ง และ 3. ลําดับในการสงสินคา)

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีแผนงานเพื่อลดชวงเวลานํามาตรฐานของลูกคาหรือผลิตภัณฑแตละประเภท และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสง โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการลดชวงเวลานํามาตรฐานในการสงมอบสินคาใหลูกคา และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสงไดตามเปาหมายที่ตั้งไว องคกรมีการวางแผนงานในการลดชวงเวลานํามาตรฐาน หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสงอยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม ชวงเวลานํามาตรฐาน (Standard Lead Time) หมายถึง การกําหนดหรือสัญญากับลูกคาขององคกรวาจะสงมอบสินคาหรือบริการใหไดเมื่อใดหลังจากที่ลูกคาไดทําการสั่งซื้อแลว “ประสิทธิภาพในการจัดสง” ประกอบดวย ความสามารถในการใชยานพาหนะ (Fleet Utilization) ความสามารถในการบรรทุกสินคาของรถบรรทุกแตละคัน (Load Efficiency) และประสิทธิภาพของเสนทางการจัดสงสินคาหรือบริการ ซึ่งองคกรจะตองนําขอมูลชวงเวลานําของลูกคาแตละรายมาใชในการวางแผนเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดสงสินคา เชน การวางแผนการสงสินคาแบบวนรอบ (Milk Run) กลาวคือ รถจะบรรทุกสินคาหรือบริการ สําหรับลูกคาหลายรายในการจัดสง 1 ครั้ง โดยออกแบบเสนทางการวิ่งใหส้ันที่สุด หรือใชระยะเวลาสั้นที่สุด เปนตน

คํานิยาม 3.8 ชวงเวลานําในการสั่งซื้อของลูกคา (Customer Lead Time) คือ ชวงเวลาตั้งแตลูกคาไดส่ังสินคาจนกระทั่ง

ลูกคาไดรับสินคา

Page 53: Logistics Scorecard

53

ตัวชี้วัดท่ี 3.4 ประสิทธิภาพ และคุณภาพในการจัดสงสินคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีประสิทธิภาพ และคุณภาพในการสงมอบ (โดยวัดจาก อัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) และความถูกตองในการเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา (Order fulfillment accuracy) ตามลําดับ) และมีความพยายามในการเพิ่มประสิทธิภาพ และคุณภาพในการสงมอบรวมกับลูกคา และผูสงมอบอยางเปนระบบหรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรจะตองทราบประสิทธิภาพ และคุณภาพในการจัดสงสินคา รวมทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพในดานนี้อยางตอเนื่อง โดยมีการนําลูกคาและผูสงมอบเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงระบบ โลจิสติกสขององคกรเพื่อใหมีประสิทธิภาพในการสงมอบสินคาที่ดขีึ้น ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 ▪ องคกรไมมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือ

ของลูกคา (Order fulfillment accuracy) ระดับ 2 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา แตทั้งสองตัว

มีประสิทธิภาพต่ํากวา 95% ระดับ 3 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา และ

▪ อัตราการสงมอบที่ทันเวลา หรือความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา ตัวใดตัวหนึ่ง มีประสิทธิภาพสูงกวา 95% ▪ มีการเก็บขอมูลสาเหตุหลักของการสงมอบที่ลาชาหรือผิดพลาด

ระดับ 4 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา และ ▪ อัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา มีประสิทธิภาพสูงกวา 95% ▪ องคกรมีแผนงานเพื่อเพิ่มอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร ▪ องคกรมีมาตรการปองกันการสงมอบที่ลาชาหรือผิดพลาดอยางเปนลายลกัษณอักษร

ระดับ 5 ▪ องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ ▪ องคกรประสบความสําเร็จในการเพิ่มอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา ไดตามเปาหมายที่ตั้งไว ▪ องคกรไดนําผูสงมอบกับลูกคาใหเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงและรักษาไวซ่ึงประสิทธิภาพในการสงมอบสินคา และการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา

คําอธิบายเพิ่มเติม อัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) หมายถึง การสงมอบที่ตรงตอเวลาตามที่ไดสัญญาไวกับลูกคา

Page 54: Logistics Scorecard

54

สูตรในการคํานวณ คือ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซื้อของลูกคา (Order fulfillment accuracy) หมายถึง การสงมอบที่ถูกตองตามปริมาณที่ไดสัญญาไวกับลูกคา ไมมีของเสีย รวมทั้งประเภทและคุณสมบัติของผลิตภัณฑตรงตามความตองการของลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ ตัวชี้วัดทั้งสองตัวสามารถวัดรวมกันไดโดยใชตัวชี้วัดที่เรียกวา อัตราการสงมอบอยางสมบูรณแบบ (On time in full delivery) หมายถึง การสงมอบที่ตรงเวลา ในปริมาณที่ถูกตอง ไมมีของเสีย รวมท้ังประเภทและคุณสมบัติของผลิตภัณฑตรงตามความตองการของลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ ในกรณีขององคกรที่ใหบริการลูกคาโดยสัญญาไวกับลูกคาวาจะจัดสงสินคาหรือบริการใหภายในระยะเวลาที่กําหนด เชน การจัดสงพิซซาภายในระยะเวลา 30 นาที เปนตน ถาการจัดสงใชเวลาเกินกวาที่ไดสัญญาไวกับลูกคาใหถือวาการสงมอบไมทันเวลา

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.5 สินคาคงคลังและตนทุนคาเสียโอกาส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการบริหารจัดการสินคาคงคลัง และมีแผนพัฒนาเพื่อลดความเบี่ยงเบนของสินคาคงคลังที่เก็บไวจริงกับระดับสินคาคงคลังที่กําหนดไว หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย

องคกรตองมีการบริหารจัดการสินคาคงคลังอยางเปนระบบ มีการแบงกลุมของผลิตภัณฑ และวัตถุดิบเพ่ือการบริหารจัดการ ควบคุมระดับสินคาคงคลังที่เหมาะสม และมีแผนพัฒนาที่ชัดเจนเพ่ือลดความเบี่ยงเบนของสินคาคงคลังที่เก็บไวจริงกับที่กําหนดไว และสามารถประเมินตนทุนการเสียโอกาสในการขายสินคาอันเนื่องมาจากการขาดแคลนวัตถุดิบในกระบวนการผลิตได

อัตราการสงมอบที่ทันเวลา = จํานวนคําส่ังซื้อที่สงทันเวลา จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

ความถูกตองในการเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา = จํานวนคําส่ังซื้อที่ถูกสงอยางถูกตองตามปริมาณ และประเภทของผลิตภัณฑ

จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

อัตราการสงมอบอยางสมบูรณแบบ = จํานวนคําส่ังซื้อที่ถูกสงทันเวลาอยางถูกตองตามปริมาณ และประเภทของผลิตภัณฑ

จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

Page 55: Logistics Scorecard

55

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดระดับสินคาคงคลังเปาหมาย (Target Stock Level)

องคกรไมมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมไดขายสินคา เฉพาะในสวนขององคกรเทานั้น ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดระดับสินคาคงคลงัเปาหมาย (Target Stock Level)

องคกรไมมีการแบงกลุมของสินคาคงคลังเพื่อการบริหารจัดการ เชน Category Management หรือ การจัดลําดับความสําคัญในการบริหารจัดการสินคาคงคลัง (ABC Analysis) เปนตน องคกรมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมไดขายสินคา เฉพาะในสวนขององคกรเทานั้น

ระดับ 3 องคกรมีการแบงกลุมของสินคาคงคลงัเพื่อการบริหารจัดการ องคกรมีการกําหนดระดับสินคาคงคลงัเปาหมาย (Target Stock Level) ตามกลุมของสินคาคงคลังที่แบงไว องคกรมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมไดขายสินคา เฉพาะในสวนขององคกรเทานั้น

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีแผนพัฒนาเพื่อลดความเบี่ยงเบนระหวางระดับสินคาคงคลังเปาหมาย กับระดับสินคาคงคลงัที่มีการเก็บไวจริง (Actual Stock Level) โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลกัษณอักษร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการลดความเบี่ยงเบนระหวางระดับสินคาคงคลังเปาหมาย กับระดับสินคาคงคลังที่มีการเก็บไวจริง องคกรมีการวางแผนงานในการลดความเบี่ยงเบนระหวางระดับสินคาคงคลังเปาหมายกับระดับสินคาคงคลังที่มีการเก็บไวจริงอยางตอเน่ือง องคกรมีการประมาณคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึน จากการที่ไมไดขายสินคา ของทั้งองคกร ลูกคา และผูสงมอบ

คําอธิบายเพิ่มเติม “การประมาณคาเสียโอกาส” องคกรจะตองประมาณคาโดยคํานึงถึงความตองการของตลาดที่มีตอสินคาหรือบริการขององคกร ซึ่งถาองคกรไมมีสินคาหรือบริการไวรองรับความตองการนั้นถือวาองคกรเสียโอกาสในการขาย รวมถึงในกรณีที่ลูกคาส่ังซื้อสินคาหรือบริการกับองคกรแตองคกรไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได ทําใหลูกคาเปล่ียนไปส่ังซื้อสินคาหรือบริการกับผูผลิตรายอื่น

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.6 กิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยท่ีองคกรมีสวนรวม วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบหรือนโยบายที่สนับสนุนการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอม โดยยังคงไวซึ่งประสิทธิภาพทางดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเขาใจถึงความสําคัญของการรักษาสิ่งแวดลอม และสรางสภาพการทํางานที่ปลอดภัย โดยการลดขั้นตอน หรือปรับเปล่ียนกระบวนการที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย

Page 56: Logistics Scorecard

56

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.6 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม

องคกรไมมีนโยบายดานความปลอดภัย ระดับ 2 องคกรมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม และความปลอดภัย

กิจกรรมดานสิ่งแวดลอม เปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพราะขอบังคับดานกฎหมายเทานั้น กิจกรรมดานความปลอดภัย เปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพราะขอบังคับดานกฎหมายเทานั้น

ระดับ 3 องคกรมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม และความปลอดภัย องคกรมีการประเมิน วิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ที่เกิดจากกระบวนการดําเนินกิจกรรมโลจิสติกสขององคกร องคกรมีการประเมิน วิเคราะหผลกระทบดานความปลอดภัย ที่เกิดจากกระบวนการดําเนินกิจกรรมโลจิสติกสขององคกร

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีแผนในการปรับเปลี่ยนระบบโลจิสติกสขององคกรเพื่อลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของ โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร มีแผนในการปรับเปลี่ยนระบบโลจิสติกสขององคกรเพื่อลดผลกระทบที่มาจากปจจัยดานความปลอดภัยในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของ โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนาไดตามเปาหมายที่วางเอาไวของแผนงานดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย มีการนําผูสงมอบและลูกคาเขามามีสวนรวมในการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยอยางจริงจังและตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม แผนในการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมขององคกรจะตองคํานึงถึงกิจกรรมหรือประสิทธิภาพดานโลจิสติกสรวมดวย เชน การออกแบบหีบหอหรือบรรจุภัณฑโดยใชวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชใหมได รวมทั้งออกแบบใหสามารถรองรับกับกิจกรรมโลจิสติกสขากลับ (Reverse Logistics) ไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือการไมใชวัตถุดิบหรือชิ้นสวนประกอบที่เปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม เลือกใชผูสงมอบที่ผลิตโดยใชเทคโนโลยีสะอาด (Green Purchasing) เปนตน

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.7 ตนทุนท่ีเกี่ยวของกับโลจิสติกส (ตนทุนการจัดสง ตนทุนการเก็บสินคาคงคลัง ตนทุนการ

บริหารคําสั่งซื้อ3.4) วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการบริหารจัดการตนทุนทางดานโลจิสติกสขององคกร และมีความพยายามในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมกับลูกคา และผูสงมอบอยางเปนระบบ หรือไม และอยูในระดับใด

Page 57: Logistics Scorecard

57

ความหมาย องคกรจะตองทราบตนทุนในการผลิตและตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ ซึ่งจะตองสามารถระบุตนทุนที่

เกี่ยวของกับงานดานโลจิสติกสได ทั้งขององคกร ผูสงมอบ และลูกคา และทราบตนทุนโลจิสติกสตลอดหวงโซ - อุปทาน รวมถึงมีการนํามาใชเปนแนวทางในการลดตนทุนเพ่ือผลประโยชนโดยรวมของสมาชิกในหวงโซอุปทานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.7 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสบางตัวที่สําคัญ ระดับ 3 องคกรทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสครบทุกตัว

องคกรมีการนําขอมูลดานตนทุนมาวิเคราะหเพื่อนําไปใชในกระบวนการบริหารจัดการ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีแผนงานเพื่อลดตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร องคกรมีการนําหลกัการบริหารตนทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC)3.5 มาใชวิเคราะหกิจกรรมดานโลจิสติกส เพื่อปรับปรุงระบบใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมไดตามเปาหมายที่ตั้งไว องคกรมีการพัฒนากลยุทธในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมกับผูสงมอบและลูกคาขององคกร เชน มีการใชชองทางในการกระจายสินคารวมกัน ซ่ึงจะทําใหองคกรสมาชิกไดรับผลประโยชนรวมกัน (Win-Win Scenario)

คําอธิบายเพิ่มเติม ตนทุนทางดานโลจิสติกส ประกอบดวย ตนทุนที่เกิดจากกิจกรรมหลักที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส ซึ่งไดกลาวถึงในขอท่ี 3.1 เชน ตนทุนการจัดสง ตนทุนการเก็บสินคาคงคลัง ตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ ตนทุนการจัดซื้อจัดหา ตนทุนการบรรจุหีบหอ ตนทุนคลังสินคา เปนตน

คํานิยาม 3.9 ตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ คือ ตนทุนที่ใชไปในการบริหารคําส่ังซื้อ เชน การปอนคําส่ังซื้อ (Order Entry) การ

ประมวลผลคําส่ังซื้อของลูกคา (Order Processing) การเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา (Order Fulfillment) เปนตน

3.10 ตนทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) คือ วิธีการจัดทําบัญชีตนทุนที่ใชวิธีการจัดสรรตนทุนแตละสวนใหกับกิจกรรมที่เกี่ยวของ (เชน กิจกรรมทางดานโลจิสติกส) ซึ่งชวยใหสามารถมองเห็นภาพของกิจกรรมที่กอใหเกิดตนทุนไดเปนอยางดี

Page 58: Logistics Scorecard

58

ดัชนีดานท่ี 4 ระบบการบริหารขอมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวชี้วัดท่ี 4.1 การกําหนดรหัสมาตรฐานสําหรับสินคา และกระบวนการ วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการกําหนด รหัสที่เปนมาตรฐานใหกับสินคา หรือกระบวนการตางๆ ภายในองคกร รวมท้ังมีการประยุกตใชงานรหัสมาตรฐานดังกลาวเขากับเทคโนโลยีสารสนเทศทางดาน ซัพพลายเชนและโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการกําหนดรหัสที่เปนมาตรฐานสําหรับระบุใหกับสินคา และกระบวนการตางๆ เชน รหัสสินคา รหัสลูกคา รหัสผูสงมอบ รหัสคลังสินคา รหัสใบสั่งซื้อ รหัสใบสั่งผลิต เพ่ือ • การสื่อสารขอมูลในองคกร เปนไปดวยความงาย กระชับ สะดวก รวดเร็ว และเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน • สามารถพัฒนาไปสูการจัดการระบบบริหารขอมูลสารสนเทศในองคกร ทั้งการบันทึกขอมูล การประมวลผล

ขอมูล และการแสดงผลขอมูลได • สามารถนําไปประยุกตใชกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส อ่ืนๆ เชน ระบบ

ERP4.1 ระบบ CRM4.2ระบบ TMS4.3 ระบบ Barcode4.4 ระบบ EDI4.5 ระบบ XML/EDI4.6 ฯลฯ ตอไปได ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคา และกระบวนการ ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคาบางรายการ หรือกระบวนการบางสวน ระดับ 3 องคกรมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคาทุกรายการ และกระบวนการ ท้ังระบบ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรมีการประยุกตใชรหัสมาตรฐานที่กําหนด เขากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกส ตางๆ (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM ระบบ TMS ระบบ Barcode ฯลฯ) ภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรขยายขอบเขตการประยุกตใชรหัสมาตรฐานที่กําหนดเขากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส ตางๆ ไปถึงระดับหวงโซอุปทาน (ระหวางองคกร) เชน ใชระบบ EDI หรือ XML/EDI ทําการจัดซ้ือ การโอนเงิน ระหวางองคกร เปนตน

คําอธิบายเพิ่มเติม รหัสมาตรฐาน หมายถึง รหัสใดๆ ที่ต้ังขึ้นมาเพ่ือใชส่ือสารกันภายในองคกร

เปนรหัสเดียวกันทั้งองคกรไมวาจะเปนฝายผลิต ฝายคลังสินคา ฝายบัญชี และฝายอื่นๆ เชน การนําเลขที่ใบส่ังซื้อ (Purchase Order) มาเปนรหัสมาตรฐาน หากนํามาเปนรหัสวัตถุดิบแลวใชเรียกกันทั่วทั้งองคกรไมวาแผนกใดๆ ถือวาเปนรหัสมาตรฐาน บารโคด (Barcode) ที่ลูกคากําหนดใหติดบนสินคา แตภายในองคกรไมไดใชบารโคดนั้น ส่ือสารภายในองคกรถือวาไมเปนรหัสมาตรฐานขององคกร

Page 59: Logistics Scorecard

59

คํานิยาม 4.7 ระบบ ERP: Enterprise Resource Planning ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงปฏิบัติการที่รวบรวมสารสนเทศ

มาจากหลายหนาที่งานของบริษัท เชน ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบัญชี เขาดวยกัน ระบบสามารถใชจัดการสินคาคงคลัง สรางคําส่ังซื้อ วางแผนตารางการผลิต จัดตารางจัดสงสินคาสําเร็จรูป และสารสนเทศอื่นๆ ทั่วทั้งองคกรได ปจจุบันระบบ ERP พัฒนาอยูในรูปแบบซอฟทแวรสําเร็จรูป ที่เปนที่รูจักกันดี ไดแก ระบบ SAP, Oracle , Intuitive, ECONs

4.8 ระบบ TMS: Transport Management System ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงปฏิบัติการซึ่งเชื่อมโยงกับระบบรับคําส่ังซื้อ และจะทําการกําหนดตัวผูขนสง และสรางตารางเวลาการรับสินคาและจัดสง การเตรียมความพรอมสําหรับบรรจุหีบหอ และจัดสง ระบบ TMS จะติดตามการจัดสง การชําระคาเดินทาง และประสิทธิภาพของผูสง ซึ่งไมวาคุณจะสงทางรถบรรทุก เครื่องบิน หรือเรือก็ตาม ระบบ TMS จะสรางเอกสารที่ประกบติดไปกับสินคาจนถึงปลายทาง

4.9 ระบบ CRM: Customer Relationship Management ระบบบริหารงานลูกคาสัมพันธ บริหารการทํางานของพนักงานขาย วิเคราะหขอมูลลูกคาและวิเคราะหการขาย วิเคราะหส่ือที่ใช วิเคราะหคูแขง ซึ่งชวยใหประสิทธิภาพการขายเพิ่มขึ้น และเพ่ิมคุณภาพการใหบริการใหสามารถครองใจลูกคามากขึ้น อีกทั้งสามารถนําไปขยายตลาดสําหรับลูกคาใหมได

4.10 ระบบ Barcode คือ สัญลักษณรหัสแทงที่ใชแทนขอมูลตัวเลข มีลักษณะเปนแถบมีความหนาบางแตกตางกันขึ้นอยูกับตัวเลขที่กํากับอยูขางลาง การอานขอมูลจะอาศัยหลักการสะทอนแสง เพ่ืออานขอมูลเขาเก็บในคอมพิวเตอรโดยตรงไมตองผานการกดปุมท่ีแปนพิมพ การนําเขาขอมูลจากรหัสแถบของสินคาเปนวิธีที่ สะดวกรวดเร็ว และความนาเชื่อถือไดของขอมูลมีสูง

4.11 ระบบ EDI : Electronics Data Interchange ระบบการแลกเปลี่ยนธุรกรรมทางธุรกิจ เชน การสั่งซื้อ ใบกํากับภาษี การโอนเงิน ระหวางบริษัทคูคาในรูปแบบ มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องหนึ่ง ซึ่งตองใชรหัสที่เปนมาตรฐาน

4.12 ระบบ XML/EDI ระบบที่วิวัฒนาการมาจาก EDI อํานวยความสะดวกดานการคา และการบริการ โดยเฉพาะการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส มีจุดแข็งในเรื่องการใชงานงาย และประหยัดเวลากวา EDI

ตัวชี้วัดท่ี 4.2 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการจัดการขอมูลทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการนําคอมพิวเตอร และโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการจัดการขอมูลทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกสหรือไม และนํามาประยุกตใชเพ่ือชวยสนับสนุนการตัดสินใจภายในองคกร และระหวางคูคา (ผูสงมอบ หรือ ลูกคา) ในหวงโซอุปทาน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการนําคอมพิวเตอร (ฮารดแวร) และโปรแกรมคอมพิวเตอร (ซอฟทแวร) มาชวยในการจัดการขอมูลทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกสมาใชในองคกร ซึ่งโปรแกรมดังกลาวอาจพัฒนาขึ้นเองภายในองคกร หรือซื้อโปรแกรมสําเร็จรูปจากตัวแทนจําหนายตางๆ มาติดตั้ง เพ่ือชวยในการเก็บขอมูล การประมวลผลขอมูล หรือการแสดงผลขอมูล ในกระบวนการตางๆ เชน การทํารายการสินคาคงคลงั การวางแผนการผลิต การทําบัญชี เพ่ือ

Page 60: Logistics Scorecard

60

• ใหเกิดความสะดวกและความรวดเร็ว ในการทํางานมากขึ้น และ • สามารถเชื่อมโยงสารสนเทศเหลานั้นใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ใหสามารถชวยสนับสนุนการตัดสินใจภายใน

องคกร และระหวางคูคา (ผูสงมอบ หรือ ลูกคา) ในหวงโซอุปทานได ตัวอยางของโปรแกรมทางดานการจัดการซัพพลายเชนและโลจิสติกส เชน โปรแกรมที่มีลักษณะการจัดการขอมูลแบบระบบ ERP ระบบ CRM หรือ ระบบ TMS เปนตน ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 4.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส บางกิจกรรมเทานั้น ระดับ 3 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ทุกกิจกรรม แตยังไมมีการ

เชื่อมโยงขอมูลถึงกัน ระดับ 4 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ทุกกิจกรรม

องคกรมีการประยุกตใชโปรแกรมทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกสเพื่อการจัดการขอมูล (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM หรือ ระบบ TMS หรือระบบลักษณะดังกลาวที่พัฒนาข้ึนเอง) และมีการเชื่อมโยงขอมูลถึงกัน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรเชื่อมโยงขอมูลจากโปรแกรมดังกลาว เขากับโปรแกรมทางฝงผูสงมอบ และลูกคา องคกรใชโปรแกรมดังกลาวเปนเคร่ืองมือในการวางแผนการใชทรัพยากรในหวงโซอุปทานใหเกิดประโยชนสูงสุด

คําอธิบายเพิ่มเติม สําหรับองคกรใดท่ีใชคอมพิวเตอรตัวเดียวในการจัดการกับขอมูลตางๆ ที่เกิดจากกิจกรรมโลจิสติกส ใหมองที่การเชื่อมโยงของขอมูล หากมีการเชื่อมโยงของขอมูลตางๆ ของกิจกรรมดานโลจิสติกสภายในคอมพิวเตอรเครื่องเดียวกัน ก็ถือวามีการเชื่อมโยงขอมูลกัน

คํานิยาม ระบบ ERP ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ TMS ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ CRM ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4.3 การพัฒนาบุคคลกรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดาน

ซัพพลายเชนและโลจิสติกส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการสงเสริม และการพัฒนาบุคลากรในองคกร ใหไดรับความรูในดานการบริหาร

จัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด

Page 61: Logistics Scorecard

61

ความหมาย องคกรมีการพัฒนาบุคลากร ใหมีความรู ความเขาใจ ในเรื่องการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศตางๆ ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส เชน ซอฟทแวรดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM ระบบ TMS เปนตน) ระบบตรวจติดตามอัตโนมัติ (เชนระบบ บารโคด ระบบ GPS เปนตน) ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (EDI,XML/EDI) เพ่ือใหบุคลากรในองคกรสามารถนําความรู มาประยุกตใชกับกระบวนการ หรือกิจกรรมตางๆ ใหเปนประโยชนตอการตัดสินใจในการทํางานได ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 4.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาบุคคลากรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาบุคคลากรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส องคกรมีบุคคลกรทางดานนี้อยางเพยีงพอ

ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ องคกรมีแผนสงเสริมการฝกอบรมดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีการปฏิบัติตามแผนบางสวน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีการปฏิบัติตามแผนทั้งหมด องคกรมีการประเมินผลงานของบุคคลกรผูรับผิดชอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกส อยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม “องคกรมีบุคคลกรทางดานนี้อยางเพียงพอ” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 2) คําวา “อยางเพียงพอ” ในที่นี้หมายถึงองคกรมีบุคลากรผูรับผิดชอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชน ตามจํานวนที่เหมาะสมที่กําหนดไวในตัวชี้วัดที่ 2.6

คํานิยาม ระบบ ERP ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ TMS ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ CRM ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ EDI ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ Barcode ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1

Page 62: Logistics Scorecard

62

ดัชนีดานท่ี 5 การรวมมือกันระหวางองคกร ตัวชี้วัดท่ี 5.1 การเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจท่ีเปนพันธมิตร5.1

กัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน5.2 วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีความรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 5.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน ระดับ 2 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีแผนที่จะดําเนินการเพื่อสรางความรวมมือระหวางกัน

ระดับ 3 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีโครงการที่รวมมือกันแตยังไมมีขอตกลงที่เปนทางการ

ระดับ 4 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีโครงการที่รวมมือกันและมีขอตกลงที่เปนทางการ

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรมีกระบวนการในการพัฒนาโครงการที่รวมมือกันตามขอตกลงใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 5.3 พันธมิตร : องคกรธุรกิจ ที่อยูคนละหวงโซอุปทาน แตมีความสัมพันธสวนบุคคล (connection) ที่ดีตอกัน ซึ่ง

อาจรวมมือกันในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสได เชน องคกรหนึ่ง อยูที่ กรุงเทพ อีกองคกรหนึ่งอยูที่ เชียงใหม อาจมีการตกลงใชพาหนะบรรทุกสินคารวมกันในการไปกลับทําใหไมตองมีการวิ่งรถเปลา เปนตน

5.4 ธุรกิจประเภทเดียวกัน : องคกร ที่ผลิต หรือบริการ สินคาประเภทเดียวกัน ซึ่งสามารถรวมมือกัน บนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนทั้ง 2 ฝาย เชน รวมกันในการสั่งซื้อวัตถุดิบจากตางประเทศซึ่งทําใหมีปริมาณการสั่งซื้อสูงทําใหสามารถตอรองกับผูคาวัตถุดบิได เปนตน

Page 63: Logistics Scorecard

63

ตัวชี้วัดท่ี 5.2 การเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และหนวยงาน วิจัยหรือพัฒนา5.3

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีความรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และหนวยงานวิจัยหรือพัฒนา โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และหนวยงานวิจัยหรือพัฒนาโดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 5.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา ระดับ 2 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีแผนที่จะดําเนินการเพื่อสรางความรวมมือระหวางกัน ระดับ 3 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีโครงการที่รวมมือกันแตยังไมมีขอตกลงที่เปนทางการ ระดับ 4 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีโครงการที่รวมมือกันและมีขอตกลงที่เปนทางการ ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

องคกรมีกระบวนการในการพัฒนาโครงการที่รวมมือกันตามขอตกลงใหสําเร็จตามวัตถุประสงค คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 5.4 หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา : หนวยงาน / สถาบัน / มหาวิทยาลัย ที่มีการดําเนินการวิจัยและพัฒนา ซึ่งองคกร

สามารถใหเงินทุนในการสนับสนุนใหวิจัยหรือพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส เพ่ือผลประโยชนขององคกร หรือเปนการทําวิจัยรวมกัน เพ่ือยกระดับองคความรูทางดานโลจิสติกส

Page 64: Logistics Scorecard

64

4.3 คําอธิบายสําหรับอุตสาหกรรมการบริการดานโลจิสติกส

ดัชนีดานท่ี 1 การกําหนดกลยุทธองคกร

ตัวชี้วัดท่ี 1.1 องคกรเห็นถึงความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส และมีการวางแผนกลยุทธดาน โลจิสติกส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรใหความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส และมีการจัดตั้งคณะทํางานหรือหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยเฉพาะ หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเห็นถึงความสําคัญของกลยุทธดานโลจิสติกส โดยผูบริหารใหการสนับสนุน และจัดตั้งคณะทํางานหรือหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยเฉพาะขึ้นมา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 1.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 ผูบริหารระดับสูงไมไดกําหนดนโยบายหรือ กลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร ระดับ 2 ผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรไมมีหนวยงาน หรือ คณะทํางานที่รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกสโดยรวมขององคกร ระดับ 3 ผูบริหารระดับสูงมีการกําหนดนโยบายหรือกลยุทธดานโลจิสติกส

องคกรมีหนวยงาน หรือ คณะทํางาน รับผิดชอบกิจกรรมดานโลจิสติกส (ซ่ึงเปนบุคลากรจากหลายฝายมารวมตัวกัน หรือประชุมกันเปนครั้งคราว)

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการตั้งดัชนีชี้วัด (Key Performance Index) ทางดานโลจิสติกสข้ึนมา องคกรมีการประเมินผลกิจกรรมดานโลจิสติกสภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการทบทวนและพัฒนาแผนกลยุทธดานโลจิสติกส อยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม กิจกรรมดานโลจิสติกส

โดยคําวา “กิจกรรม” หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่อยูในขอบขายกระบวนการทางดานโลจิสติกส ซึ่ง ประกอบดวย

- งานบริการลูกคา - การวางแผนเกี่ยวกับตําแหนงที่ต้ังของอาคารโรงงาน คลังสินคา - การพยากรณและการวางแผนอุปสงค - การจัดซื้อจัดหา - การจัดการสินคาคงคลัง

Page 65: Logistics Scorecard

65

- การจัดการวัตถุดิบ - การเคลื่อนยายวัตถุดิบ - การบรรจุหีบหอ - การดําเนินการกับคําส่ังซื้อของลูกคา - การขนของ และการจัดสง - โลจิสติกสยอนกลับ (อาทิเชน การจัดการสินคาคืน) - การจัดการกับชองทางจัดจําหนาย - การกระจายสินคา - คลังสินคาและการเก็บสินคาเขาคลัง - กิจกรรมการแปรรูปเพ่ือนํากลับมาใชใหม คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 1.2 มีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลัก1.1 และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลัก และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เพ่ือใหองคกรและผูสงมอบหลักไดรับประโยชนรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการทําขอตกลงกับผูสงมอบหลักอยางเปนลายลักษณอักษร และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลเพ่ือพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสโดยตั้งอยูบนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนรวมกันทั้ง 2 ฝาย (win-win solution) ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลง กับผูสงมอบหลักอยางเปนทางการ ระดับ 2 องคกรมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลงกับผูสงมอบหลัก ในรูปแบบตางๆ เชน ใบส่ังซ้ือ (PO) ,ขอกําหนด,

e-mail หรือการสื่อสารอื่นๆ ที่เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลที่สําคัญระหวางองคกรกับผูสงมอบหลัก นอกเหนือจากที่ระบุไวในสัญญา/ขอตกลง เชน ประสิทธิภาพของผูสงมอบดานตางๆ เปนตน

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการระบุขอตกลงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและผูสงมอบหลัก

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีแผนในการพัฒนาผูสงมอบหลักอยางเปนทางการ

Page 66: Logistics Scorecard

66

คําอธิบายเพิ่มเติม “มีการระบุขอตกลงที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานที่เอ้ือประโยชนกับทั้งองคกรและผูสงมอบหลัก” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4) ตัวอยางเชน “องคกรที่ทําการผลิตมีขอตกลงใหผูสงมอบวัตถุดิบใดๆ เปนผูบริหารสินคาคงคลังในสวนของวัตถุดิบนั้นๆให” ซึ่งประโยชนที่องคกรไดรับก็คือ ไมตองรับภาระคาใชจายในการบริหารสินคาคงคลังของตน สวนประโยชนที่ผูสงมอบไดรับก็คือ สามารถวางแผนการผลิต หรือการจัดสงวัตถุดิบใหไดอยางแมนยํามากขึ้น

คํานิยาม 1.1 ผูสงมอบหลัก : ผูจัดสงวัตถุดิบ ชิ้นสวน หรือรับจางชวงใหกับองคกร ดวยปริมาณ หรือ มูลคาที่สูงตาม

ขอกําหนดขององคกรนั้นๆ

ตัวชี้วัดท่ี 1.3 มีการทําขอตกลงกับลูกคาหลกั และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการทําขอตกลงกับลูกคาหลัก และมีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เพ่ือใหองคกร และลูกคาหลักไดรับประโยชนรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการทําขอตกลงกับลูกคาหลัก อยางเปนลายลักษณอักษร ในการแลกเปลี่ยนขอมูลเพ่ือพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสโดยตั้งอยูบนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนรวมกันทั้ง 2 ฝาย (win-win solution)

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลง กับลูกคาหลักอยางเปนทางการ ระดับ 2 องคกรมีการทําสัญญา หรือ ขอตกลงกับลูกคาหลักในรูปแบบตางๆ เชน ใบส่ังซ้ือ (PO) ,ขอกําหนด,e-mail

หรือการสื่อสารอื่นๆ ที่เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการแลกเปลี่ยนขอมูลที่สําคัญระหวางองคกรกับลูกคาหลัก นอกเหนือจากที่ระบุไวในสัญญา/ขอตกลง ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีการระบุขอตกลงที่ตั้งอยูบนพื้นฐานที่เอื้อประโยชนกับทั้งองคกรและลูกคาหลัก ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีแผนในการพัฒนาประสิทธิภาพขององคกรรวมกับลูกคาหลักอยางเปนทางการ

คําอธิบายเพิ่มเติม “มีการระบุขอตกลงที่ต้ังอยูบนพ้ืนฐานที่เอ้ือประโยชนกับทั้งองคกรและลูกคา” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4) ตัวอยางเชน “องคกรที่ทําการผลิตสินคาใดๆ ทําขอตกลงกับลูกคา ซึ่งเปนศูนยกระจายสินคา วาจะเปนผูบริหารสินคาคงคลังในสวนของสินคานั้นๆให” ซึ่งประโยชนที่องคกรไดรับก็คือสามารถวางแผนการผลิต หรือการจัดสงสินคาใหลูกคาไดอยางแมนยํามากขึ้น สวนประโยชนที่ลูกคาไดรับก็คือไมตองรับภาระคาใชจายในการบริหารสินคาคงคลังของตน

Page 67: Logistics Scorecard

67

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 1.4 มีระบบในการประเมิน และพัฒนาความพึงพอใจของลูกคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการดําเนินการเกี่ยวกับขอรองเรียนของลูกคา มีระบบและวิธีการประเมิน รวมท้ังมีการรวมมือกันภายในองคกร และรวมมือกับลูกคาในการพัฒนาระดับความพึงพอใจของลูกคา หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีระบบในการดําเนินการเกี่ยวกบัขอรองเรียนของลูกคา มีระบบและวิธีการประเมิน และพัฒนาความพึงพอใจของลูกคา รวมท้ังมีการรวมมือกับลูกคาในการพัฒนาระดับความพึงพอใจของลูกคา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา

การแกไขขอรองเรียนของลูกคา เปนการแกไขปญหาแบบเฉพาะหนา หรือเปนครั้งคราวเทานั้น ระดับ 2 องคกรมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา

มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยแผนก/ฝายขายเปนผูรับผิดชอบเทานั้น ไมมีการบันทึกขอรองเรียนของลูกคาที่เกิดข้ึน

ระดับ 3 องคกรมีการสํารวจความพึงพอใจของลูกคา มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยแผนก/ฝายขายเปนผูรับผิดชอบเทานั้น มีระบบในการจัดการ และจัดเก็บขอรองเรียนของลูกคาที่เกิดข้ึน

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เฉพาะภายในองคกร มีการนําผลสํารวจความพึงพอใจของลูกคามาวิเคราะหเพื่อพัฒนาวิธีการทํางาน ผลิตภัณฑ หรือบริการที่ดีข้ึน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการแกไขขอรองเรียนของลูกคา โดยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของท้ังภายในองคกร ผูสงมอบ และลูกคา มีมาตรการในการปองกันปญหาตางๆ ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ซ่ึงสงผลตอความพึงพอใจของลูกคา (มาตรการกําหนดจากการวิเคราะหความพึงพอใจของลูกคา)

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม -

Page 68: Logistics Scorecard

68

ตัวชี้วัดท่ี 1.5 มีระบบในการพัฒนาและประเมินพนักงาน วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการพัฒนาและประเมินผลงานของพนักงานในดานโลจิสติกส รวมทั้งมีการนําหลักการ การจัดการองคความรู เขามาประยุกตใชในองคกร เพ่ือพัฒนาความสามารถของพนักงานในดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีระบบในการพัฒนาและประเมินผลงานของพนักงาน รวมทั้งมีการนําหลักการ การจัดการองคความรู เขามาประยุกตใชในองคกร ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 1.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรไมมีการฝกอบรมพนักงานในดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรไมมีการฝกอบรมพนักงานในดานโลจิสติกส ระดับ 3 องคกรมีการกําหนดถอยแถลง (Commitment Statement) และประกาศใหทราบทั่วกัน

องคกรมีโครงการฝกอบรมเพื่อยกระดับความสามารถของพนักงานใหเปนไปตามถอยแถลงขององคกร ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบการวัดผลการทํางาน และประเมินการทํางานของพนักงานใหเปนไปตามถอยแถลงขององคกร ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีระบบในการจัดการองคความรู เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ และการเรียนรูระหวางทีม และพนักงานแตละระดับขององคกร

คําอธิบายเพิ่มเติม

ถอยแถลง (Commitment Statement) ตัวอยางเชน “องคกรมุงมั่นสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา ดวยการสงมอบสินคาที่ตรงเวลา” เปนตน

“มีระบบในการจัดการองคความรู เพ่ือใหเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ และการเรียนรูระหวางทีม และพนักงานแตละระดับขององคกร” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 4)

การจัดการองคความรู (Knowledge Management) หมายถึง ความสามารถในการจัดการความรู ประกอบดวย การสรางความรู การประมวล การแลกเปลี่ยนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรูและการสรางนวัตกรรมใหมใหเกิดขึ้นในหนวยงาน คํานิยาม -

Page 69: Logistics Scorecard

69

ดัชนีดานท่ี 2 การวางแผนและความสามารถในการปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดท่ี 2.1 การกําหนดแผนงานดานโลจิสติกส มีการพิจารณาการใชทรัพยากรอยางเหมาะสม

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา เมื่อมีการกําหนดกลยุทธดานโลจิสติกส แลวหนวยงานหรือผูรับผิดชอบงานดาน โลจิสติกส นํามาวางแผนการทํางานของตนอยางเหมาะสม ภายใตทรัพยากรที่มีอยู และมีความรวมมือกันในหนวยงานที่เกี่ยวของภายในองคกรเพื่อมุงสูเปาหมายองคกรรวมกัน และกําหนดแผนไวเปนลายลักษณอักษร ตลอดจนกาวไปสูความรวมมือกับลูกคาและผูสงมอบในการแกปญหาเฉพาะหนา และพัฒนาไปสูการวางแผนแกปญหาหรือการพัฒนาในระยะยาวรวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด โดยมุงพิจารณาจาก

• การมีแผนงานเปนลายลักษณอักษร • การกระจายแผนงานไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ • ความรวมมือกันกับผูสงมอบและลูกคา

ความหมาย องคกรมีการกําหนดแผนงานดานโลจิสติกสใหสอดคลองกับกลยุทธดานโลจิสติกส และคํานึงถึงทรัพยากร

ที่มีอยูในองคกรและหวงโซอุปทาน

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการวางแผนงานดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการวางแผนงานดานโลจิสติกส และ

องคกรมีการกระจายแผนงานไปยังหนวยงานตางๆ ทุกหนวยงานในองคกร ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการทบทวนและปรับปรุงแผนงานดานโลจิสติกสในหนวยงานตางๆ อยางตอเน่ือง ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

การมีสวนรวมของลูกคาหรือผูสงมอบในการใชประโยชนทรัพยากรดานการขนสงถายวัสดุ หรือสินคา ใหเกิดประโยชนรวมกัน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ มีการวางแผนงานดานโลจิสติกสที่แสดงใหเห็นถึงความรวมมือกันในหวงโซอุปทาน ซ่ึงทําใหเกิดประโยชนรวมกัน เชน มีการออกแบบหรือพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อใหเหมาะสมกับการขนถายวัสดุ/สินคา (Design for Logistics) เปนตน

คําอธิบายเพิ่มเติม “มีการกระจายแผนงานดานโลจิสติกสออกไปยังหนวยงานตางๆ ทุกหนวยงานในองคกร” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 2) การมีแผนงานดานโลจิสติกสอยางเดียวนั้นไมเพียงพอ เนื่องจากวาผูประกอบการในกลุมนี้เปนผูประกอบการดานการใหบริการโลจิสติกส (Service Provider) เปนหลัก ดังนั้นการที่จะไดคะแนนในระดับที่ 2 นั้นจําเปนที่จะตองกระจายแผนงานดานโลจิสติกสออกไปยังทุกหนวยงานในองคกร

คํานิยาม -

Page 70: Logistics Scorecard

70

ตัวชี้วัดท่ี 2.2 ความสามารถในการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมทางการตลาด วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรตระหนักถึงความสําคัญของการพยากรณแนวโนมของตลาดสินคา และการพยากรณความตองการของลูกคา จากขอมูลในอดีตตลอดจนใชวิธีการทางสถิติมาชวยในการพยากรณ และนําผลของการพยากรณ มาใชประโยชนอ่ืนๆ เชน การวางแผนการตลาด การวางแผนการขาย การวางแผนการทํางานที่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคต หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย องคกรมีความเขาใจในแนวโนมของตลาดสินคา และใชวิธีการทางสถิติในการพยากรณความตองการของลูกคา ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรมีการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมของตลาด โดยอาศัยประสบการณ ระดับ 2 องคกรมีการพยากรณความตองการของลูกคา และแนวโนมของตลาด โดยอาศัยขอมูลในอดีต วิธีการทางสถิติ

รวมกับประสบการณ ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการรวมมือและนําขอมูลของลูกคา มาพิจารณารวมดวย ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบในการนําผลการพยากรณ ไปใชประโยชนดานตางๆ เชน การวางแผนการตลาด การวางแผนยอดขาย ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีระบบในการประเมินและทบทวนการพยากรณ เพื่อใชในการปรับเปลี่ยนแผนงานตางๆ ที่เกี่ยวของ คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 2.3 ความสามารถในการวางแผน และการปรับแผนการทํางานดานโลจิสติกสขององคกร วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรมีการวางแผนการทํางานดานโลจิสติกส โดยอาศัยขอมูลที่มีความถูกตองแมนยําและมีความเชื่อมโยงขอมูลในแตละแผนกที่เกี่ยวของบนฐานขอมูลเดียวกัน และมีความรวมมือกันภายในองคกร (ซึ่งบางแหงมีการประชุมรวมกันแตมีตัวเลขที่แตกตางกันในแผนกตางๆ เนื่องจากไมไดใชฐานขอมูลรวมกัน) ตลอดจนมีการนําขอมูลของลูกคาและผูสงมอบมาพิจารณารวมกัน หรือไม และอยูในระดับใด โดยพิจารณาจาก

Page 71: Logistics Scorecard

71

• ความรวมมือกันในแผนกตางๆ • ความเชื่อมโยงและแมนยําของขอมูล • ความรวดเร็วในการประสานงาน

ความหมาย

แผนงาน และการดําเนินกิจกรรมดานโลจิสติกสตางๆ ขององคกร มีความสอดคลองกัน เชน มีการวางแผนการขาย การสั่งซื้อวัตถุดิบ และการจัดสงสินคารวมกันรวมถึงการพิจารณาจํานวนสินคาคงคลังที่มีอยู และมีการประสานงานเพื่อการตอบสนองลูกคาอยางรวดเร็ว (Quick Response)2.1 ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 การวางแผนของแตละแผนกเปนอิสระ ไมข้ึนตอกัน (ไมมีการพิจารณารวมกัน) ระดับ 2 การวางแผนของแตละแผนก มีการพิจารณารวมกัน ในบางแผนก ระดับ 3 การวางแผนของแตละแผนกมีการพิจารณารวมกันครบทุกแผนก ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีการใชฐานขอมูลรวมกัน ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีการนําขอมูลของลูกคา และผูสงมอบมาพิจารณารวมดวย คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 2.5 ความสามารถในการตอบสนองอยางรวดเร็ว (Quick Response) คือ ผลิตอยางเพื่อใหสามารถตอบสนองความ

ตองการไดอยางรวดเร็ว ต้ังแตตนน้ําถึงปลายน้ํา เชน การจัดหาวัตถุดิบไดอยางรวดเร็ว โดยอาศัยหลักการทางดานโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพ การจัดสงไดอยางรวดเร็ว ตองรูขอมูลไดอยางรวดเร็ว โดยใชระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพชวยในการบริหารจัดการ เปนตน

ตัวชี้วัดท่ี 2.4 การมีข้ันตอนการทํางาน และกระบวนการทํางานท่ีเปนมาตรฐานและชัดเจน

เปนลายลักษณอักษร วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรมีระบบและมาตรฐานในการทํางาน และมีการแนวโนมการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพ่ือเปนการประกันกระบวนการทํางานตางๆ ดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด

Page 72: Logistics Scorecard

72

ความหมาย องคกรมีการกําหนดและนํามาตรฐานสําหรับวิธีการทํางานในองคกร รวมท้ังกิจกรรมที่มีการติดตอกับผูสง

มอบและลูกคาขององคกร และมีการพัฒนาการทํางานภายในองคกรอยางตอเนื่อง ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรยังไมมีมาตรฐานการดําเนินงานที่เปนลายลักษณอักษรครบทุกกิจกรรม ระดับ 2 กิจกรรมทั้งหมดมีมาตรฐานเปนลายลักษณอักษร

การปฏิบัติงานยังไมเปนไปตามมาตรฐานอยางครบถวน ระดับ 3 กิจกรรมทั้งหมดมีมาตรฐานชัดเจน

การปฏิบัติงานเปนไปตามมาตรฐานอยางครบถวน ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีระบบในการพัฒนาการทํางานภายในองคกร และดําเนินการอยางตอเน่ือง ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีความรวมมือกับลูกคา หรือผูสงมอบและมีระบบในการพัฒนาการดําเนินงานรวมกัน คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม -

ตัวชี้วัดท่ี 2.5 การพัฒนาหนวยงานรับผิดชอบดานโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการกําหนดหนวยงานหรือผูรับผิดชอบงานที่เกี่ยวของกับดานโลจิสติกส มีการกําหนดอํานาจ หนาที่ และมีจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมกับปริมาณงานและแผนงาน ตลอดจนมีการกําหนดความสามารถ (Competency ) ของบุคลากรในตําแหนงตางๆ และมีการพัฒนาตามผลการประเมินความสามารถ (เนื่องจากบุคลากรเปนทรัพยากรที่สําคัญในการขับเคล่ือนองคกร) หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย องคกรมีการวางแผนกําลังพลและพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกส

Page 73: Logistics Scorecard

73

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 2.5 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดผูรับผิดชอบดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการประกาศขอบเขต อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบของตําแหนงงานตางๆ ทีเ่กี่ยวของกับ

กิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ

มีการวิเคราะหหาจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมในแตละตําแหนงงาน และมีจํานวนบุคลากรเพียงพอ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

มีการวิเคราะหและประเมินความสามารถ(Competency ) 2.2 ของบุคลากรดานโลจิสติกสในตําแหนงตางๆ ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

มีแผนในการพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกสตามผลการประเมินความสามารถของบุคลากร คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 2.6 ความสามารถ (Competency) คือ ความรู (Knowledge) ความสามารถ หรือทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ

(Attributes) ของบุคคลที่มีความสัมพันธโดยตรงกับงานที่ปฏิบัติเพ่ือใหไดผลงานที่มีประสิทธิภาพ บางก็เรียกวา สมรรถนะ ขีดสมรรถนะ เปนตน

ดัชนีดานท่ี 3 ประสิทธิภาพและประสิทธิผลดานโลจิสติกส ตัวชี้วัดท่ี 3.1 การพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีแผนในการพัฒนากิจกรรมทางดานโลจิสติกสในทุกกิจกรรมใหสามารถเชื่อมโยงถึงกันไดอยางมีระบบ หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรควรปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสตางๆ ภายในองคกรใหสามารถเชื่อมโยงถึงกัน และสามารถประสานกับลูกคา และผูสงมอบไดอยางมีประสิทธิภาพ การพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส เชน ลดเวลาในการเตรียมการผลิต การลดขนาดของจํานวนการสั่งซื้อหรือส่ังผลิต การพัฒนาบรรจุภัณฑ การพัฒนาคลังสินคา การพัฒนาวิธีการหยิบที่ลดระยะเวลาลงได และหยิบไดอยางถูกตองแมนยํา เปนตน

Page 74: Logistics Scorecard

74

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการวางแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสในบางกจิกรรมเทานั้น โดยมีการกําหนดเปาหมายไว

เปนลายลักษณอักษร ระดับ 3 องคกรมีแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสในทุกกิจกรรม โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลาย

ลักษณอักษร ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสไดตามเปาหมายที่ตั้งไวในบางกิจกรรม องคกรมีแผนการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสใหมีการเชื่อมโยงถึงกันภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสไดตามเปาหมายที่ตั้งไวในทุกกิจกรรม องคกรมีการวางแผนพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมดานโลจิสติกสอยางตอเน่ือง องคกรมีการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสของท้ัง องคกร ผูสงมอบและลูกคา ใหสามารถสอดประสานถึงกันได

คําอธิบายเพิ่มเติม กิจกรรมดานโลจิสติกส

โดยคําวา “กิจกรรม” หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่อยูในขอบขายกระบวนการทางดานโลจิสติกส ซึ่ง ประกอบดวย

- งานบริการลูกคา - การวางแผนเกี่ยวกับตําแหนงที่ต้ังของอาคารโรงงาน คลังสินคา - การพยากรณและการวางแผนอุปสงค - การจัดซื้อจัดหา - การจัดการสินคาคงคลัง - การจัดการวัตถุดิบ - การเคลื่อนยายวัตถุดิบ - การบรรจุหบีหอ - การดําเนินการกับคําส่ังซื้อของลูกคา - การขนของ และการจัดสง - โลจิสติกสยอนกลับ (อาทิเชน การจัดการสินคาคืน) - การจัดการกับชองทางจัดจําหนาย - การกระจายสินคา - คลังสินคาและการเก็บสินคาเขาคลัง - กิจกรรมการแปรรูปเพ่ือนํากลับมาใชใหม

ทั้งนี้ขึ้นอยูกับองคกรแตละองคกรมีกิจกรรมเหลานี้ดําเนินการอยูหรือไม ซึ่งในทกุิจจกรมที่มีอยูในองคกรตองมีแผนในการพัฒนาอยางเปนลายลักษณอักษร และมีเปาหมายที่ชัดเจน

Page 75: Logistics Scorecard

75

“องคกรมีแผนการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสใหมีการเชื่อมโยงถึงกันภายในองคกร” (ตัวชี้วัดในระดับท่ี 4) ยกตัวอยางเชน ลําดับในการนําของออกจากโกดังสอดคลองกับแผนในการขนสง การจดัของในรถบรรทุก สอดคลองกับลําดับในการสงสินคา เปนตน

“การพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสของทั้งองคกรเอง ของผูสงมอบ และลูกคา ใหสามารถสอดประสานถึงกันได ” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 5) หมายถึง การพัฒนาใหกิจกรรมทางดานโลจิสติกสขององคกร เช่ือมโยงกับลูกคาและผูสงมอบไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน องคกรพัฒนาวิธีการคนหาสินคาที่ลูกคามาฝากเก็บไว เปนการลดระยะเวลาในการคนหาสินคา

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.2 การบริหารจัดการความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยู (Excess capacity)3.1

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวา องคกรมีระบบในการวัดอัตราที่เหลืออยูของความสามารถในการใหบริการอยางแมนยํา และมีระบบในการบริหารจัดการความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยู หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรจัดการบริหารความสามารถในการใหบริการอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ โดยความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยูมีการเก็บขอมูลแยกกันระหวางผูสงมอบและลูกคาแตละราย ตลอดจนแยกประเภทสินคาที่ขนสงแตละประเภท

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 o องคกรไมทราบและไมมีการจัดการความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยู ระดับ 2 o องคกรทราบความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยู

o องคกรไมมีการนําขอมูลมาใชเกี่ยวกับการจัดการความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยูมาใช ระดับ 3 o องคกรทราบความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยูของลูกคาทุกราย

o องคกรมีการนําขอมูลมาใชเกี่ยวกับการนําความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยูมาใช ระดับ 4 o องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

o องคกรสามารถวัดความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยูอยางถูกตองแมนยําระดับวัน ระดับ 5 o องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

o องคกรสามารถวัดความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยูอยางถูกตองแมนยําระดับชั่วโมง คําอธิบายเพิ่มเติม เนื่องจากองคกรในหมวดนี้คือ องคกรประเภทผูใหบริการโลจิสติกส ซึ่งโดยทั่วไปแลวผูใหบริการโลจิสติกสจะไมมีการดําเนินการเกี่ยวกับสินคาคงคลังมาเกี่ยวของดวย ดังนั้นในหัวขอนี้จึงเปล่ียนจากการวัดอัตราการหมุนเวียนของสินคาคงคลัง (Inventory turnover) มาเปน การวัดความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยู

Page 76: Logistics Scorecard

76

(Excess capacity) การดําเนินธุรกิจของผูประกอบการโลจิสติกสนั้นจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม ขึ้นอยูกับการบริหารจัดการ ความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยู

คํานิยาม 3.11 ความสามารถในการใหบริการที่เหลืออยู (Excess capacity) คือความสามารถของผูประกอบธุรกิจประเภทบริการที่ยังไมมีการ

นํามาใชประโยชน ซ่ึงถาหากไมมีการนําไปใช หรือไมมีลูกคามาใชบริการ ก็จะทําใหผูประกอบการเสียประโยชน กลาวคือ ผูประกอบการมีตนทุนในความสามารถใหบริการไปแลว ตัวอยางเชน หองวางในโรงแรม ที่นั่งวางบนเครื่องบินโดยสาร อัตราบรรทุกที่เหลืออยูในแตละเที่ยวการบรรทุก ชองสัญญาณในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนตน

ตัวชี้วัดท่ี 3.3 ประสิทธิภาพ และคุณภาพในการจัดสงสินคา วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีประสิทธิภาพ และคุณภาพในการสงมอบ (โดยวัดจาก อัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) และความถูกตองในการเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา (Order fulfillment accuracy) ตามลําดับ) และมีความพยายามในการเพิ่มประสิทธิภาพ และคุณภาพในการสงมอบรวมกับลูกคา และผูสงมอบอยางเปนระบบหรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรจะตองทราบประสิทธิภาพ และคุณภาพในการจัดสงสินคา รวมทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพในดานนี้อยางตอเนื่อง โดยมีการนําลูกคาและผูสงมอบเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงระบบ โลจิสติกสขององคกรเพื่อใหมีประสิทธิภาพในการสงมอบสินคาที่ดีขึ้น

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 ▪ องคกรไมมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือ

ของลูกคา (Order fulfillment accuracy) ระดับ 2 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา แตทั้งสองตัว

มีประสิทธิภาพต่ํากวา 95% ระดับ 3 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา และ

▪ อัตราการสงมอบที่ทันเวลา หรือความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา ตัวใดตัวหนึ่ง มีประสิทธิภาพสูงกวา 95% ▪ มีการเก็บขอมูลสาเหตุหลักของการสงมอบที่ลาชาหรือผิดพลาด

ระดับ 4 ▪ องคกรมีการวัดอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา และ ▪ อัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา มีประสิทธิภาพสูงกวา 95% ▪ องคกรมีแผนงานเพื่อเพิ่มอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร ▪ องคกรมีมาตรการปองกันการสงมอบที่ลาชาหรือผิดพลาดอยางเปนลายลกัษณอักษร

Page 77: Logistics Scorecard

77

ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 5 ▪ องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

▪ องคกรประสบความสําเร็จในการเพิ่มอัตราการสงมอบที่ทันเวลา และความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา ไดตามเปาหมายที่ตั้งไว ▪ องคกรไดนําผูสงมอบกับลูกคาใหเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงและรักษาไวซ่ึงประสิทธิภาพในการสงมอบสินคา และการเติมเต็มคําสั่งซ้ือของลูกคา

คําอธิบายเพิ่มเติม อัตราการสงมอบที่ทันเวลา (On time delivery) หมายถึง การสงมอบที่ตรงตอเวลาตามที่ไดสัญญาไวกับลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ ความถูกตองในการเติมเต็มคําสั่งซื้อของลูกคา (Order fulfillment accuracy) หมายถึง การสงมอบที่ถูกตองตามปริมาณที่ไดสัญญาไวกับลูกคา ไมมีของเสีย รวมทั้งประเภทและคุณสมบัติของผลิตภัณฑตรงตามความตองการของลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ ตัวชี้วัดทั้งสองตัวสามารถวัดรวมกันไดโดยใชตัวชี้วัดที่เรียกวา อัตราการสงมอบอยางสมบูรณแบบ (On time in full delivery) หมายถึง การสงมอบที่ตรงเวลา ในปริมาณที่ถูกตอง ไมมีของเสีย รวมท้ังประเภทและคุณสมบัติของผลิตภัณฑตรงตามความตองการของลูกคา

สูตรในการคํานวณ คือ คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.4 ความสามารถในการใหบริการและตนทุนคาเสียโอกาส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการตรวจสอบติดตามความสามารถในการใหบริการตลอดหวงโซอุปทาน และ

สามารถประเมินตนทุนคาเสียโอกาสอันเนื่องมาจากไมสามารถใหบริการได หรือไม และอยูในระดับใด

อัตราการสงมอบที่ทันเวลา = จํานวนคําส่ังซื้อที่สงทันเวลา จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

ความถูกตองในการเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา = จํานวนคําส่ังซื้อที่ถูกสงอยางถูกตองตามปริมาณ และประเภทของผลิตภัณฑ

จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

อัตราการสงมอบอยางสมบูรณแบบ = จํานวนคําส่ังซื้อที่ถูกสงทันเวลาอยางถูกตองตามปริมาณ และประเภทของผลิตภัณฑ

จํานวนคําส่ังซื้อทั้งหมด

Page 78: Logistics Scorecard

78

ความหมาย องคกรตองมีการตรวจสอบติดตามความสามารถในการใหบริการตลอดหวงโซอุปทาน ชวยใหสามารถ

ประเมินตนทุนคาเสียโอกาสอันเนื่องมาจากไมสามารถใหบริการได

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 ▪ องคกรทราบเฉพาะความสามารถในการใหบริการของตนเอง

▪ องคกรไมมีการประเมินคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมสามารถใหบริการได ระดับ 2 ▪ องคกรทราบเฉพาะความสามารถในการใหบริการของตนเอง

▪ องคกรมีการประเมินคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมสามารถใหบริการแกลูกคา ระดับ 3 ▪ องคกรทราบเฉพาะความสามารถในการใหบริการของตนเองและผูสงมอบ

▪ องคกรมีการประเมินคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมสามารถใหบริการแกลูกคา ระดับ 4 ▪ องคกรทราบเฉพาะความสามารถในการใหบริการของตนเองและผูสงมอบและทราบถึงปริมาณความตองการ

ในการใชบริการของลูกคา ▪ องคกรมีการประเมินคาเสียโอกาสที่เกิดข้ึนจากการที่ไมสามารถใหบริการแกลูกคา

ระดับ 5 ▪ องคกรทราบสถานะของความสามารถในการใหบริการของทั้งหวงโซอุปทาน ▪ องคกรมีการประเมินตนทุนคาเสียโอกาสที่จะเกิดข้ึน จากการที่ไมสามารถใหบริการใหกับความตองการที่จะ

เกิดข้ึนกับทั้งหวงโซอุปทาน

คําอธิบายเพิ่มเติม เนื่องจากองคกรในหมวดนี้คือ องคกรประเภทผูใหบริการโลจิสติกส ซึ่งโดยทั่วไปแลวผูใหบริการโลจิสติกสจะไมมีการดําเนินการเกี่ยวกับสินคาคงคลังมาเกี่ยวของดวย ดังนั้นในหัวขอนี้จึงเปล่ียนจาก “การบริหารจัดการสินคาคงคลัง” มาเปน “ความสามารถในการใหบริการ” การดําเนินธุรกิจของผูประกอบการโลจิสติกสนั้นจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม ขึ้นอยูกับการบริหารจัดการ ความสามารถในการใหบริการมากกวา เชน ผูประกอบการขนสง จะตองสามารถจัดการเดินรถในการขนสงสินคาของลูกคาทั้งหมดใหไดประสิทธิภาพสูงสุดจากจํานวนรถที่มีอยูทั้งหมด (หมายเหตุ ในกรณีนี้รถบรรทุก ถือวาเปนอุปกรณเครื่องมือขององคกร ไมใช สินคาคงคลังขององคกร)

“การประเมินคาเสียโอกาส” องคกรจะตองประเมินคาโดยคํานึงถึงความตองการของตลาดที่มีตอการใหบริการขององคกร ซึ่งถาองคกรไมมีความสามารถในการใหบริการเพื่อรองรับความตองการเหลานี้ นั้นถือวาองคกรเสียโอกาสในการขาย รวมถึงในกรณีที่ลูกคาตองการใชบริการกับองคกรแตองคกรไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได ทําใหลูกคาเปล่ียนไปใชบริการกับองคกรอื่นๆ

คํานิยาม -

Page 79: Logistics Scorecard

79

ตัวชี้วัดท่ี 3.5 กิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยท่ีองคกรมีสวนรวม วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบหรือนโยบายที่สนับสนุนการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอม โดยยังคงไวซึ่งประสิทธิภาพทางดานโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเขาใจถึงความสําคัญของการรักษาสิ่งแวดลอม และสรางสภาพการทํางานที่ปลอดภัย โดยการลดขั้นตอน หรือปรับเปล่ียนกระบวนการที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและความปลอดภัย ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.6 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม

องคกรไมมีนโยบายดานความปลอดภัย ระดับ 2 องคกรมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม และความปลอดภัย

กิจกรรมดานสิ่งแวดลอม เปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพราะขอบังคับดานกฎหมายเทานั้น กิจกรรมดานความปลอดภัย เปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพราะขอบังคับดานกฎหมายเทานั้น

ระดับ 3 องคกรมีนโยบายดานสิ่งแวดลอม และความปลอดภัย องคกรมีการประเมิน วิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ที่เกิดจากกระบวนการดําเนินกิจกรรมโลจิสติกสขององคกร องคกรมีการประเมิน วิเคราะหผลกระทบดานความปลอดภัย ที่เกิดจากกระบวนการดําเนินกิจกรรมโลจิสติกสขององคกร

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีแผนในการปรับเปลี่ยนระบบโลจิสติกสขององคกรเพื่อลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของ โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร มีแผนในการปรับเปลี่ยนระบบโลจิสติกสขององคกรเพื่อลดผลกระทบที่มาจากปจจัยดานความปลอดภัยในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของ โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการพัฒนาไดตามเปาหมายที่วางเอาไวของแผนงานดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย มีการนําผูสงมอบและลูกคาเขามามีสวนรวมในการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยอยางจริงจังและตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม แผนในการลดผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอมขององคกรจะตองคํานึงถึงกิจกรรมหรือประสิทธิภาพดานโลจิสติกสรวมดวย เชน การออกแบบหีบหอหรือบรรจุภัณฑโดยใชวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชใหมได รวมทั้งออกแบบใหสามารถรองรับกับกิจกรรมโลจิสติกสขากลับ (Reverse Logistics) ไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือการไมใชวัตถุดิบหรือชิ้นสวนประกอบที่เปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม เลือกใชผูสงมอบที่ผลิตโดยใชเทคโนโลยีสะอาด (Green Purchasing) เปนตน

Page 80: Logistics Scorecard

80

คํานิยาม - ตัวชี้วัดท่ี 3.6 ตนทุนท่ีเกี่ยวของกับโลจิสติกส (ตนทุนการจัดสง ตนทุนการเก็บสินคาคงคลัง ตนทุนการ

บริหารคําสั่งซื้อ3.2) วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีระบบในการบริหารจัดการตนทุนทางดานโลจิสติกสขององคกร และมีความพยายามในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมกับลูกคา และผูสงมอบอยางเปนระบบ หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรจะตองทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับงานดานโลจิสติกสขององคกร มีการนําขอมูลดานตนทุนมาวิเคราะหเพ่ือนําไปใชในกระบวนการบริหารจัดการ และมีความพยายามในการลดตนทุน โดยรวมมือกันทั้งองคกรเอง ผูสงมอบ และลูกคา

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 3.6 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสบางตัวที่สําคัญ ระดับ 3 องคกรทราบตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกสครบทุกตัว

องคกรมีการนําขอมูลดานตนทุนมาวิเคราะหเพื่อนําไปใชในกระบวนการบริหารจัดการ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรมีแผนงานเพื่อลดตนทุนที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส โดยมีการกําหนดเปาหมายไวเปนลายลักษณอักษร องคกรมีการนําหลกัการบริหารตนทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC)3.3 มาใชวิเคราะหกิจกรรมดานโลจิสติกส เพื่อปรับปรุงระบบใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรประสบความสําเร็จในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมไดตามเปาหมายที่ตั้งไว องคกรมีการพัฒนากลยุทธในการลดตนทุนโลจิสติกสรวมกับผูสงมอบและลูกคาขององคกร เชน มีการใชชองทางในการกระจายสินคารวมกัน ซ่ึงจะทําใหองคกรสมาชิกไดรับผลประโยชนรวมกัน (Win-Win Scenario)

คําอธิบายเพิ่มเติม ตนทุนทางดานโลจิสติกส ประกอบดวย ตนทุนที่เกิดจากกิจกรรมหลักที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส ซึ่งไดกลาวถึงในขอท่ี 3.1 เชน ตนทุนการจัดสง ตนทุนการเก็บสินคาคงคลัง ตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ ตนทุนการจัดซื้อจัดหา ตนทุนการบรรจุหีบหอ ตนทุนคลังสินคา เปนตน

คํานิยาม 3.12 ตนทุนการบริหารคําส่ังซื้อ คือ ตนทุนที่ใชไปในการบริหารคําส่ังซื้อ เชน การปอนคําส่ังซื้อ (Order Entry) การ

ประมวลผลคําส่ังซื้อของลูกคา (Order Processing) การเติมเต็มคําส่ังซื้อของลูกคา (Order Fulfillment) เปนตน

Page 81: Logistics Scorecard

81

3.13 ตนทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) คือ วิธีการจัดทําบัญชีตนทุนที่ใชวิธีการจัดสรรตนทุนแตละสวนใหกับกิจกรรมที่เกี่ยวของ (เชน กิจกรรมทางดานโลจิสติกส) ซึ่งชวยใหสามารถมองเห็นภาพของกิจกรรมที่กอใหเกิดตนทุนไดเปนอยางดี

ดัชนีดานท่ี 4 ระบบการบริหารขอมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวชี้วัดท่ี 4.1 การกําหนดรหัสมาตรฐานสําหรับสินคา และกระบวนการ วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการกําหนด รหัสที่เปนมาตรฐานใหกับสินคา หรือกระบวนการตางๆ ภายในองคกร รวมท้ังมีการประยุกตใชงานรหัสมาตรฐานดังกลาวเขากับเทคโนโลยีสารสนเทศทางดาน ซัพพลายเชนและโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการกําหนดรหัสที่เปนมาตรฐานสําหรับระบุใหกับสินคา และกระบวนการตางๆ เชน รหัสสินคา รหัสลูกคา รหัสผูสงมอบ รหัสคลังสินคา รหัสใบสั่งซื้อ รหัสใบสั่งผลิต เพ่ือ • การสื่อสารขอมูลในองคกร เปนไปดวยความงาย กระชับ สะดวก รวดเร็ว และเปนอันหนึ่งอนัเดียวกัน • สามารถพัฒนาไปสูการจัดการระบบบริหารขอมูลสารสนเทศในองคกร ทั้งการบันทึกขอมูล การประมวลผล

ขอมูล และการแสดงผลขอมูลได • สามารถนําไปประยุกตใชกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส อ่ืนๆ เชน ระบบ

ERP4.1 ระบบ CRM4.2ระบบ TMS4.3 ระบบ Barcode4.4 ระบบ EDI4.5 ระบบ XML/EDI4.6 ฯลฯ ตอไปได ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคา และกระบวนการ ระดับ 2 องคกรมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคาบางรายการ หรือกระบวนการบางสวน ระดับ 3 องคกรมีการกําหนดรหัสมาตรฐานใหกับสินคาทุกรายการ และกระบวนการ ท้ังระบบ ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรมีการประยุกตใชรหัสมาตรฐานที่กําหนด เขากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกส ตางๆ (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM ระบบ TMS ระบบ Barcode ฯลฯ) ภายในองคกร

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรขยายขอบเขตการประยุกตใชรหัสมาตรฐานที่กําหนดเขากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส ตางๆ ไปถึงระดับหวงโซอุปทาน (ระหวางองคกร) เชน ใชระบบ EDI หรือ XML/EDI ทําการจัดซ้ือ การโอนเงิน ระหวางองคกร เปนตน

Page 82: Logistics Scorecard

82

คําอธิบายเพิ่มเติม รหัสมาตรฐาน หมายถึง รหัสใดๆ ที่ต้ังขึ้นมาเพ่ือใชส่ือสารกันภายในองคกร

เปนรหัสเดียวกันทั้งองคกรไมวาจะเปนฝายผลิต ฝายคลังสินคา ฝายบัญชี และฝายอื่นๆ เชน การนําเลขที่ใบส่ังซื้อ (Purchase Order) มาเปนรหัสมาตรฐาน หากนํามาเปนรหัสวัตถุดิบแลวใชเรียกกันทั่วทั้งองคกรไมวาแผนกใดๆ ถือวาเปนรหัสมาตรฐาน บารโคด (Barcode) ที่ลูกคากําหนดใหติดบนสินคา แตภายในองคกรไมไดใชบารโคดนั้น ส่ือสารภายในองคกรถือวาไมเปนรหัสมาตรฐานขององคกร

คํานิยาม 4.13 ระบบ ERP: Enterprise Resource Planning ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงปฏิบัติการที่รวบรวมสารสนเทศ

มาจากหลายหนาที่งานของบริษัท เชน ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบัญชี เขาดวยกัน ระบบสามารถใชจัดการสินคาคงคลัง สรางคําส่ังซื้อ วางแผนตารางการผลิต จัดตารางจัดสงสินคาสําเร็จรูป และสารสนเทศอื่นๆ ทั่วทั้งองคกรได ปจจุบันระบบ ERP พัฒนาอยูในรูปแบบซอฟทแวรสําเร็จรูป ที่เปนที่รูจักกันดี ไดแก ระบบ SAP, Oracle , Intuitive, ECONs

4.14 ระบบ TMS: Transport Management System ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงปฏิบัติการซึ่งเชื่อมโยงกับระบบรับคําส่ังซื้อ และจะทําการกําหนดตัวผูขนสง และสรางตารางเวลาการรับสินคาและจัดสง การเตรียมความพรอมสําหรับบรรจุหีบหอ และจัดสง ระบบ TMS จะติดตามการจัดสง การชําระคาเดินทาง และประสิทธิภาพของผูสง ซึ่งไมวาคุณจะสงทางรถบรรทุก เครื่องบิน หรือเรือก็ตาม ระบบ TMS จะสรางเอกสารที่ประกบติดไปกับสินคาจนถึงปลายทาง

4.15 ระบบ CRM: Customer Relationship Management ระบบบริหารงานลูกคาสัมพันธ บริหารการทํางานของพนักงานขาย วิเคราะหขอมูลลูกคาและวิเคราะหการขาย วิเคราะหส่ือที่ใช วิเคราะหคูแขง ซึ่งชวยใหประสิทธิภาพการขายเพิ่มขึ้น และเพ่ิมคุณภาพการใหบริการใหสามารถครองใจลูกคามากขึ้น อีกทั้งสามารถนําไปขยายตลาดสําหรับลูกคาใหมได

4.16 ระบบ Barcode คือ สัญลักษณรหัสแทงที่ใชแทนขอมูลตัวเลข มีลักษณะเปนแถบมีความหนาบางแตกตางกันขึ้นอยูกับตัวเลขที่กํากับอยูขางลาง การอานขอมูลจะอาศัยหลักการสะทอนแสง เพ่ืออานขอมูลเขาเก็บในคอมพิวเตอรโดยตรงไมตองผานการกดปุมท่ีแปนพิมพ การนําเขาขอมูลจากรหัสแถบของสินคาเปนวิธีที่ สะดวกรวดเร็ว และความนาเชื่อถือไดของขอมูลมีสูง

4.17 ระบบ EDI : Electronics Data Interchange ระบบการแลกเปลี่ยนธุรกรรมทางธุรกิจ เชน การสั่งซื้อ ใบกํากับภาษี การโอนเงิน ระหวางบริษัทคูคาในรูปแบบ มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องหนึ่ง ซึ่งตองใชรหัสที่เปนมาตรฐาน

4.18 ระบบ XML/EDI ระบบที่วิวัฒนาการมาจาก EDI อํานวยความสะดวกดานการคา และการบริการ โดยเฉพาะการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส มีจุดแข็งในเรื่องการใชงานงาย และประหยัดเวลากวา EDI

Page 83: Logistics Scorecard

83

ตัวชี้วัดท่ี 4.2 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการจัดการขอมูลทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการนําคอมพิวเตอร และโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการจัดการขอมูล

ทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกสหรือไม และนํามาประยุกตใชเพ่ือชวยสนับสนุนการตัดสินใจภายในองคกร และระหวางคูคา (ผูสงมอบ หรือ ลูกคา) ในหวงโซอุปทาน หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรมีการนําคอมพิวเตอร (ฮารดแวร) และโปรแกรมคอมพิวเตอร (ซอฟทแวร) มาชวยในการจัดการขอมูลทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกสมาใชในองคกร ซึ่งโปรแกรมดังกลาวอาจพัฒนาขึ้นเองภายในองคกร หรือซื้อโปรแกรมสําเร็จรูปจากตัวแทนจําหนายตางๆ มาติดตั้ง เพ่ือชวยในการเก็บขอมูล การประมวลผลขอมูล หรือการแสดงผลขอมูล ในกระบวนการตางๆ เชน การทํารายการสินคาคงคลัง การวางแผนการผลิต การทําบัญชี เพ่ือ • ใหเกิดความสะดวกและความรวดเร็ว ในการทํางานมากขึ้น และ • สามารถเชื่อมโยงสารสนเทศเหลานั้นใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ใหสามารถชวยสนับสนุนการตัดสินใจภายใน

องคกร และระหวางคูคา (ผูสงมอบ หรือ ลูกคา) ในหวงโซอุปทานได ตัวอยางของโปรแกรมทางดานการจัดการซัพพลายเชนและโลจิสติกส เชน โปรแกรมที่มีลักษณะการจัดการขอมูลแบบระบบ ERP ระบบ CRM หรือ ระบบ TMS เปนตน ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 4.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส บางกิจกรรมเทานั้น ระดับ 3 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ทุกกิจกรรม แตยังไมมีการ

เชื่อมโยงขอมูลถึงกัน ระดับ 4 องคกรมีการใชคอมพิวเตอรเพื่อการจัดการขอมูลในกิจกรรมดานโลจิสติกส ทุกกิจกรรม

องคกรมีการประยุกตใชโปรแกรมทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกสเพื่อการจัดการขอมูล (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM หรือ ระบบ TMS หรือระบบลักษณะดังกลาวที่พัฒนาข้ึนเอง) และมีการเชื่อมโยงขอมูลถึงกัน

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรเชื่อมโยงขอมูลจากโปรแกรมดังกลาว เขากับโปรแกรมทางฝงผูสงมอบ และลูกคา องคกรใชโปรแกรมดังกลาวเปนเคร่ืองมือในการวางแผนการใชทรัพยากรในหวงโซอุปทานใหเกิดประโยชนสูงสุด

คําอธิบายเพิ่มเติม สําหรับองคกรใดท่ีใชคอมพิวเตอรตัวเดียวในการจัดการกับขอมูลตางๆ ที่เกิดจากกิจกรรมโลจิสติกส ใหมองที่การเชื่อมโยงของขอมูล หากมีการเชื่อมโยงของขอมูลตางๆ ของกิจกรรมดานโลจิสติกสภายในคอมพิวเตอรเครื่องเดียวกัน ก็ถือวามีการเชื่อมโยงขอมูลกัน

Page 84: Logistics Scorecard

84

คํานิยาม ระบบ ERP ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ TMS ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ CRM ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4.3 การนําระบบตรวจติดตามอัตโนมัติมาใช

วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการนําระบบตรวจติดตามอัตโนมัติมาใชในการตรวจ ติดตาม สินคา ผลิตภัณฑ ยานพาหนะ กิจกรรมตางๆ ตลอดทั้งกระบวนการ และเชื่อมโยงขอมูลจากกิจกรรมเหลานั้นใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือไม และอยูในระดบัใด ความหมาย

องคกรมีการนําระบบตรวจติดตามอัตโนมัติมาใชในการตรวจ ติดตาม สินคา ผลิตภัณฑ ยานพาหนะ กิจกรรมตางๆ ตลอดทั้งกระบวนการ และเชื่อมโยงขอมูลจากกิจกรรมเหลานั้นใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่งระบบตรวจติดตามอัตโนมัติดังกลาว เชน ระบบ บารโคด (Bar Code) ระบบ RFID4.7 ระบบ GPS4.8 เปนตน ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 4.3 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมตระหนักถึงความสําคัญของการนําระบบตรวจติดตามอัตโนมัติมาใช ระดับ 2 องคกรมีการนําระบบตรวจติดตามอัตโนมัติมาใช ในกิจกรรมดานโลจิสติกส เชน การตรวจสอบตําแหนงของ

ยานพาหนะ องคกรยังไมมีการเชื่อมโยงขอมูลไปยังแผนกอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

ระดับ 3 องคกรมีการนําระบบตรวจติดตามอัตโนมัติมาใช ในกิจกรรมดานโลจิสติกส เชน การตรวจสอบตําแหนงของยานพาหนะ องคกรมีการเชื่อมโยงขอมูลระหวางแผนกที่เกี่ยวของ เพื่อทําใหการไหลขอมูลมีความสอดคลองกัน

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ มีการใชระบบติดตามอัตโนมัติ เปนเครื่องมือหลักในการปฏิรูประบบซัพพลายเชนและโลจิสติกสภายในองคกร โดยเชื่อมโยงระบบดังกลาวเขากับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส อื่นๆ เชน ระบบ EDI ระบบERP

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ ขยายขอบเขตการเชื่อมโยงไปสูการเชื่อมโยงระหวางองคกรตลอดหวงโซอปุทาน

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม

Page 85: Logistics Scorecard

85

4.19 ระบบ RFID : Radio Frequency Identification) ระบบชี้เฉพาะอัตโนมัติ แบบไรสาย ระบบนี้จะประกอบดวยอุปกรณสองสวน คือ สวนเครื่องอาน (Reader) และสวนปายชื่อ (Tag) โดยเครื่องอานจะทําหนาที่จายกําลังงานในรูปคล่ืนความถี่วิทยุใหกับตัวบัตร ยังผลใหวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในสามารถสงขอมูลจําเพาะได RFID เปนเทคโนโลยีที่เอ้ืออํานวยตอการใชงานที่ตองการการบงบอกความแตกตางหรือขอมูลจําเพาะของแตละวัตถุ ซึ่งสามารถทํางานไดถูกตองแมนยํา รวดเร็ว และอัตโนมัติกวา Barcode

4.20 ระบบ GPS : ระบบติดตามยานพาหนะเปนศูนยรวมขอมูลที่แสดงตําแหนงรถ พฤติกรรมการ ขับขี่รถ ระบบหาพิกัด เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางานใหเปนไปดวย ความรวดเร็ว ถูกตอง แมนยํา และเก็บขอมูลการทํางานตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ระบบ ERP ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ EDI ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ Barcode ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 4.4 การพัฒนาบุคคลกรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดาน

ซัพพลายเชนและโลจิสติกส วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีการสงเสริม และการพัฒนาบุคลากรในองคกร ใหไดรับความรูในดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส หรือไม และอยูในระดับใด

ความหมาย องคกรมีการพัฒนาบุคลากร ใหมีความรู ความเขาใจ ในเรื่องการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศตางๆ ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส เชน ซอฟทแวรดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส (เชน ระบบ ERP ระบบ CRM ระบบ TMS เปนตน) ระบบตรวจติดตามอัตโนมัติ (เชนระบบ บารโคด ระบบ GPS เปนตน) ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (EDI,XML/EDI) เพ่ือใหบุคลากรในองคกรสามารถนําความรู มาประยุกตใชกับกระบวนการ หรือกิจกรรมตางๆ ใหเปนประโยชนตอการตัดสินใจในการทํางานได

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 4.4 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาบุคคลากรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส ระดับ 2 องคกรตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาบุคคลากรดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส องคกรมีบุคคลกรทางดานนี้อยางเพยีงพอ

ระดับ 3 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 2 และ องคกรมีแผนสงเสริมการฝกอบรมดานการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและโลจิสติกส

ระดับ 4 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ องคกรมีการปฏิบัติตามแผนบางสวน

Page 86: Logistics Scorecard

86

ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 3 และ

องคกรมีการปฏิบัติตามแผนทั้งหมด องคกรมีการประเมินผลงานของบุคคลกรผูรับผิดชอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชนและ โลจิสติกส อยางตอเน่ือง

คําอธิบายเพิ่มเติม “องคกรมีบุคคลกรทางดานนี้อยางเพียงพอ” (ตัวชี้วัดในระดับคะแนน 2) คําวา “อยางเพียงพอ” ในที่นี้หมายถึงองคกรมีบุคลากรผูรับผิดชอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางดานซัพพลายเชน ตามจํานวนที่เหมาะสมที่กําหนดไวในตัวชี้วัดที่ 2.5

คํานิยาม ระบบ ERP ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ TMS ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ CRM ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ EDI ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1 ระบบ Barcode ดูในหัวขอคํานิยาม ของตัวชี้วัดที่ 4.1

ดัชนีดานท่ี 5 การรวมมือกันระหวางองคกร ตัวชี้วัดท่ี 5.1 การเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจท่ีเปนพันธมิตร5.1

กัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน5.2 วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีความรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนน ของตัวชี้วัดที่ 5.1 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน ระดับ 2 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีแผนที่จะดําเนินการเพื่อสรางความรวมมือระหวางกัน

Page 87: Logistics Scorecard

87

ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 3 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวาง

ธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีโครงการที่รวมมือกันแตยังไมมีขอตกลงที่เปนทางการ

ระดับ 4 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือ ทางดานโลจิสติกสระหวางธุรกิจที่เปนพันธมิตรกัน และระหวางธุรกิจประเภทเดียวกัน องคกรมีโครงการที่รวมมือกันและมีขอตกลงที่เปนทางการ

ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ องคกรมีกระบวนการในการพัฒนาโครงการที่รวมมือกันตามขอตกลงใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 5.5 พันธมิตร : องคกรธุรกิจ ที่อยูคนละหวงโซอุปทาน แตมีความสัมพันธสวนบุคคล (connection) ที่ดีตอกัน ซึ่ง

อาจรวมมือกันในการพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกสได เชน องคกรหนึ่ง อยูที่ กรุงเทพ อีกองคกรหนึ่งอยูที่ เชียงใหม อาจมีการตกลงใชพาหนะบรรทุกสินคารวมกันในการไปกลับทําใหไมตองมีการวิ่งรถเปลา เปนตน

5.6 ธุรกิจประเภทเดียวกัน : องคกร ที่ผลิต หรือบริการ สินคาประเภทเดียวกัน ซึ่งสามารถรวมมือกัน บนพ้ืนฐานที่ไดประโยชนทั้ง 2 ฝาย เชน รวมกันในการสั่งซื้อวัตถุดิบจากตางประเทศซึ่งทําใหมีปริมาณการสั่งซื้อสูงทําใหสามารถตอรองกับผูคาวัตถุดบิได เปนตน

ตัวชี้วัดท่ี 5.2 การเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และหนวยงาน

วิจัยหรือพัฒนา5.3 วัตถุประสงคและประเด็นชี้วัด

ปจจัยนี้เพ่ือวัดวาองคกรมีความรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และหนวยงานวิจัยหรือพัฒนา โดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย หรือไม และอยูในระดับใด ความหมาย

องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และหนวยงานวิจัยหรือพัฒนาโดยอยูบนพ้ืนฐานของการไดประโยชนดวยกันทั้ง 2 ฝาย

Page 88: Logistics Scorecard

88

ระดับคะแนน ผูประกอบการสามารถประเมินระดับคะแนนของตัวชี้วัดที่ 5.2 ใหกับองคกรของตน ไดตามคุณสมบัติดังตอไปนี้ ระดับคะแนน คุณสมบัติ ระดับ 1 องคกรไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา ระดับ 2 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกส ระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีแผนที่จะดําเนินการเพื่อสรางความรวมมือระหวางกัน ระดับ 3 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีโครงการที่รวมมือกันแตยังไมมีขอตกลงที่เปนทางการ ระดับ 4 องคกรเห็นถึงความสําคัญของการรวมมือทางดานโลจิสติกสระหวางองคกร และ หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา

องคกรมีโครงการที่รวมมือกันและมีขอตกลงที่เปนทางการ ระดับ 5 องคกรมีคุณสมบัติตามระดับ 4 และ

องคกรมีกระบวนการในการพัฒนาโครงการที่รวมมือกันตามขอตกลงใหสําเร็จตามวัตถุประสงค คําอธิบายเพิ่มเติม - คํานิยาม 5.5 หนวยงานวิจัยหรือพัฒนา : หนวยงาน / สถาบัน / มหาวิทยาลัย ที่มีการดําเนินการวิจัยและพัฒนา ซึ่งองคกร

สามารถใหเงินทุนในการสนับสนุนใหวิจัยหรือพัฒนากิจกรรมดานโลจิสติกส เพ่ือผลประโยชนขององคกร หรือเปนการทําวิจัยรวมกัน เพ่ือยกระดับองคความรูทางดานโลจิสติกส

Page 89: Logistics Scorecard

89

ภาคผนวก ก. Logistics Scorecard

Page 90: Logistics Scorecard

90

Logistics Scorecard (อุตสาหกรรมการผลิต)

วันที่ทําการบันทึกขอมูล (วัน/ เดือน/ ป): / /___

ขอแนะนํากอนที่จะทําการประเมินผลดวย Logistics Scorecard (LSC) 1. ใหใสคําตอบเปนคะแนนระหวาง 1-5 ในแตละคําถาม โดยเลอืกระดับใหเหมาะสมที่สุดสําหรับองคกรของทานเองในแตละดัชนีชี้วัด 2. ขอมูลที่ไดรับจากองคกรของทาน จะถูกเก็บเปนความลับ และจะไมมีการเผยแพรใหแกองคกรใด ๆ 3. ในกรณีที่เลือกคําตอบเปน “อื่นๆ” กรุณาระบุขอความในบริเวณที่เวนวางไวใหดวย กรุณากรอกขอมูลเบื้องตนของบริษัทของทาน และคะแนนจากการประเมินผลในแตละดัชนีช้ีวดั (23 หัวขอ) จาก Logistics Scorecard ลงในตารางสวนลางของเอกสารฉบับนี ้ 1. ชื่อองคกร ___________________________________________________________________________________ ทีอ่ยู ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ 2. ผูใหขอมูล (ชือ่-สกุล __________________________________ ตําแหนง____________________________________) หมายเลขโทรศัพท โทรสาร E-mail: __

3. ประเภทขององคกร ผลิตสินคา (สินคาหลักที่ทําการผลติไดแก _____________________) อาหาร/ เครือ่งด่ืม □ เครื่องด่ืม □ อาหารที่มีการผลิตและสงสนิคาใหมทุกวัน □ อาหารแปรรูป เคมี □ วัสดุ □ สินคาอุปโภค กระดาษ/ สิ่งทอ □ สิ่งทอ □ กระดาษ □ เสือ้ผาสําเร็จรูป □ ผลิตภัณฑจากสิ่งทอ อุตสาหกรรมยา □ ยา □ เครื่องสําอางและโภชนาการ ไฟฟา □ เครื่องใชไฟฟา □ ชิ้นสวนอิเลคทรอนิกส เครื่องจักร/ ยานยนต □ เครื่องจกัร □ ประกอบยานยนต (assembly) □ ชิ้นสวนยานยนต (auto-parts) วัสดุ □ ไม/ แปรรูปไม □ เซรามิกส □ อื่น ๆ (กรุณาระบ ุ___________________) หัตถอุตสาหกรรม □ หัตถกรรมพื้นบาน ________________ □ อุตสาหกรรมพื้นบาน ________________ □ กลุมอุตสาหกรรมอื่น ๆ (โปรดระบ ุ_________________________________)

4. ขนาดองคกร □ องคกรขนาดยอม (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดินไมเกิน50 ลานบาท การจางงานไมเกิน 50 คน) □ องคกรขนาดกลาง (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดิน มากกวา 50 ลาน แตไมเกิน 200 ลานบาท การจางงานมากกวา 50 คน แตไมเกิน 200 คน) □ องคกรขนาดใหญ (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดิน มากกวา 200 ลานบาท การจางงานมากกวา 200 คน) กรุณากรอกคะแนนที่ไดจากการประเมินตาม Logistics Scorecard (LSC) ที่ไดแนบมา

1. การกําหนดกลยุทธองคกร 2. การวางแผนและความสามารถในการปฏิบัติงาน

3. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดานโลจิสติกส

4.ระบบการบริหารขอมูล

สารสนเทศ และการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช

ในองคกร

5. การรวมมือระหวางองคกร

(1.1) (1.2) (1.3) (1.4) (1.5) (2.1) (2.2) (2.3) (2.4) (2.5) (2.6) (3.1) (3.2) (3.3) (3.4) (3.5) (3.6) (3.7) (4.1) (4.2) (4.3) (5.1) (5.2)

Page 91: Logistics Scorecard

91

Logistics Scorecard

(อุตสาหกรรมการบริการ) วันที่ทําการบันทึกขอมูล (วัน/ เดือน/ ป): / /___

ขอแนะนํากอนที่จะทําการประเมินผลดวย Logistics Scorecard (LSC) 1. ใหใสคําตอบเปนคะแนนระหวาง 1-5 ในแตละคําถาม โดยเลอืกระดับใหเหมาะสมที่สุดสําหรับองคกรของทานเองในแตละดัชนีชี้วัด 2. ขอมูลที่ไดรับจากองคกรของทาน จะถูกเก็บเปนความลับ และจะไมมีการเผยแพรใหแกองคกรใด ๆ 3. ในกรณีที่เลือกคําตอบเปน “อื่นๆ” กรุณาระบุขอความในบริเวณที่เวนวางไวใหดวย กรุณากรอกขอมูลเบื้องตนของบริษัทของทาน และคะแนนจากการประเมินผลในแตละดัชนีช้ีวดั (23 หัวขอ) จาก Logistics Scorecard ลงในตารางสวนลางของเอกสารฉบับนี ้ 1. ชื่อองคกร ___________________________________________________________________________________ ทีอ่ยู ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ 2. ผูใหขอมูล (ชื่อ-สกุล __________________________________ ตําแหนง____________________________________) หมายเลขโทรศัพท โทรสาร E-mail: __ 3. ประเภทขององคกร บริการ (บริการหลักขององคกรไดแก ________________________________) □ การแพทย สุขภาพ และความงาม □ การทองเที่ยวและสันทนาการ (เขน โรงแรม บริษัททองเทีย่ว เปนตน) □ สื่อและสิ่งพิมพ □ ธุรกิจบันเทิง (เชน โรงภาพยนตร รานใหเชาหนัง เปนตน) □ ธุรกิจรานอาหารและเครื่องด่ืม □ ธุรกิจรับจางกอสราง/ผูรับเหมา □ อื่น ๆ (โปรดระบุ _________________________________) 4. ขนาดองคกร □ องคกรขนาดยอม (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดินไมเกิน50 ลานบาท การจางงานไมเกิน 50 คน) □ องคกรขนาดกลาง (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดิน มากกวา 50 ลาน แตไมเกิน 200 ลานบาท การจางงานมากกวา 50 คน แตไมเกิน 200 คน) □ องคกรขนาดใหญ (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดิน มากกวา 200 ลานบาท การจางงานมากกวา 200 คน) กรุณากรอกคะแนนที่ไดจากการประเมินตาม Logistics Scorecard (LSC) ที่ไดแนบมา

1. การกําหนดกลยุทธองคกร 2. การวางแผนและความสามารถในการปฏิบัติงาน

3. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดานโลจิสติกส

4.ระบบการบริหารขอมูล

สารสนเทศ และการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช

ในองคกร

5. การรวมมือระหวางองคกร

(1.1) (1.2) (1.3) (1.4) (1.5) (2.1) (2.2) (2.3) (2.4) (2.5) (2.6) (3.1) (3.2) (3.3) (3.4) (3.5) (3.6) (3.7) (4.1) (4.2) (4.3) (5.1) (5.2)

Page 92: Logistics Scorecard

92

Logistics Scorecard (อุตสาหกรรมการบริการดานโลจิสติกส)

วันที่ทําการบันทึกขอมูล (วัน/ เดือน/ ป): / /___ ขอแนะนํากอนที่จะทําการประเมินผลดวย Logistics Scorecard (LSC) 1. ใหใสคําตอบเปนคะแนนระหวาง 1-5 ในแตละคําถาม โดยเลอืกระดับใหเหมาะสมที่สุดสําหรับองคกรของทานเองในแตละดัชนีชี้วัด 2. ขอมูลที่ไดรับจากองคกรของทาน จะถูกเก็บเปนความลับ และจะไมมีการเผยแพรใหแกองคกรใด ๆ 3. ในกรณีที่เลือกคําตอบเปน “อื่นๆ” กรุณาระบุขอความในบริเวณที่เวนวางไวใหดวย กรุณากรอกขอมูลเบื้องตนของบริษัทของทาน และคะแนนจากการประเมินผลในแตละดัชนีช้ีวดั (22 หัวขอ) จาก Logistics Scorecard ลงในตารางสวนลางของเอกสารฉบับนี ้ 1. ชื่อองคกร ___________________________________________________________________________________ ทีอ่ยู ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ 2. ผูใหขอมูล (ชื่อ-สกุล __________________________________ ตําแหนง____________________________________) หมายเลขโทรศัพท โทรสาร E-mail: __ 3. ประเภทขององคกร ผูสง/ กระจายสินคา (Physical Distribution) □ สําหรับองคกรใดองคกรหนึ่ง (Subsidiary) □ ผูกระจายสินคาที่ทําสัญญากับองคกรตาง ๆ (third party logistic) □ ผูสง/ กระจายสินคาอิสระ (Independent) □ อื่น ๆ (โปรดระบุ _________________________________) 4. ขนาดองคกร □ องคกรขนาดยอม (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดินไมเกิน50 ลานบาท การจางงานไมเกิน 50 คน) □ องคกรขนาดกลาง (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดิน มากกวา 50 ลาน แตไมเกิน 200 ลานบาท การจางงานมากกวา 50 คน แตไมเกิน 200 คน) □ องคกรขนาดใหญ (ขนาดสินทรัพยถาวรไมรวมคาที่ดิน มากกวา 200 ลานบาท การจางงานมากกวา 200 คน) กรุณากรอกคะแนนที่ไดจากการประเมินตาม Logistics Scorecard (LSC) ที่ไดแนบมา

1. การกําหนดกลยุทธองคกร 2. การวางแผนและความสามารถในการปฏิบัติงาน

3. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดานโลจิสติกส

4.ระบบการบริหารขอมูลสารสนเทศ และการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมา

ใชในองคกร

5. การรวมมือระหวางองคกร

(1.1) (1.2) (1.3) (1.4) (1.5) (2.1) (2.2) (2.3) (2.4) (2.5) (3.1) (3.2) (3.3) (3.4) (3.5) (3.6) (4.1) (4.2) (4.3) (4.4) (5.1) (5.2)

หมายเหตุ : ใหนําคะแนนที่ไดจากตารางดานบนไปวิเคราะหหรือคํานวณ ในโปรแกรม Scorecard ที่ www.ftilogistics.org

Page 93: Logistics Scorecard

93

ภาคผนวก ข. รายนามคณะทํางาน

นายนคร ทิพยาวงศ ที่ปรึกษาโครงการ นายเผาภัค ศิริสุข หัวหนาโครงการ นายกิตติพงศ วิเวกานนท คณะทํางาน นายธราธร กูลภัทรนิรันดร คณะทํางาน นายสมชาย วงศรัศมี คณะทํางาน นายวรพจน มีถม คณะทํางาน นายพัฒนพงษ แสงหัตถวัฒนา คณะทํางาน นางสาววธนิดา สุนารักษ คณะทํางาน นางสาวปยะมาส กลาแข็ง คณะทํางาน