Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร

17
แปลกจริงหนอ !! ของแจกฟรีแตมีกําไรมหาศาล สุรพล ศรีบุญทรง บทความป 1997 ขึ้นชื่อบทความอยางนีผูอานหลายทานคงจะนึกแปลกใจวาผูเขียนไปติดโรคตลกฝดจากรายการหลัง ขาวของชอง 7 สีทีวีเพื่อใครมาหรือ ? บางทานที่คิดลึกขึ้นไปอีกหนอยอาจจะสงสัยวาผูเขียนกําลังนําบุญมาบอก เพราะบุญนั้นถึงจะตีคาราคาเปนตัวเงินไมไดแตก็อาจจะนํากําไรมหาศาลกลับคืนมา จนขนาดที่ผูนําบุญบางทานถึงกับ ทุมเททําบุญกันจนสุดฤทธิ์สุดเดชชนิดกูหนี้ยืมสินกันไปทําบุญก็ยังมี ฉนั้นเพื่อไมใหเกิดจินตนาการเตลิดเปดเปงไปถึง ขนาดนั้น ผูเขียนขอเฉลยเลยแลวกันวา สิ่งที่จะถูกพูดถึงตอไปในบทความคือ เรื่องของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ "ลีนุกซ (linux)" และบรรดา รหัสโปรแกรมพื้นฐานชนิดเสรีเปดกวาง (Open source code) ความนาสนใจของโปรแกรมลีนุกซ และ Open source code อยูตรงที่มันอนุญาตใหผูใช คอมพิวเตอรสามารถเปดเขาไปดาวนโหลดมาใชไดฟรีๆ ทางอินเทอรเน็ต ประหนึ่งวาเปนสมบัติสาธารณะ ใคร ใครใชก็เอามาใชไมมีใครหามใครหวง เพียงแตมีขอผูกมัด ทางจริยธรรมนิดหนอยวา เมื่อเอาสมบัติสาธารณะพวกนีไปใชงานฟรีๆ แลว เวลาที่ไดผลงานอันมีคุณคามีประโยชนของตนออกมา ก็ควรจะมีการตอบแทนคืนกลับสูสังคม ดวย การเปดโอกาสใหสาธารณชนไดมีโอกาสใชผลงานบางสวนที่ตนไดพัฒนาและปรับ ปรุงไปบางเทานั้น ที่นาสนใจยิ่งไปกวานั้น คือ บรรดาซอฟทแวรสาธารณะที่แจกจายใหกันแบบฟรีๆ เหลานี้ ไดสราง ผลตอบแทนในรูปรายไดที่เปนกอบเปนกําใหกับบรรดาบริษัท และหางรานที่เกี่ยวของ ถึงขนาดที่ผูผลิตผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรชั้นนําของโลกอยาง ไอบีเอ็ม, ซันส ไมโครซิสเต็มส, และ ออราเคิล ฯลฯ ตางอดรนทนไมไหวตองเขา มารวมแจมกับสังคมของนักลีนุกซ ดังจะเห็นไดจากการที่มีผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรภายใตนามของบริษัทชั้นนําเหลานีที่ถูกออกแบบมาเพื่อการใชงานกับระบบปฏิบัติการลีนุกซ (Linux version) ใหเลือกใชงานกันบางแลว ใน ขณะเดียวกัน นักวิจารณในแวดวงคอมพิวเตอรหลายๆ ทานถึงกับฟนธงลงไปเลยวา โปรแกรมลีนุกซ และ Open Source code นี่แหละที่มีศักยภาพสูงพอจะแขงขัน และตอตานการครอบงําตลาดซอฟทแวรของบริษัทไมโครซอฟท ได บทเกริ่นเรื่อง "ลีนุกซ" กอนที่กาวลึกลงไปในเรื่องบทบาทและความสําคัญทีระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code มีตอแวดวงอุตสาหกรรม คอมพิวเตอรในปจจุบัน ผูเขียนขอเกริ่นถึงขอมูลเบื้องตนคราวๆ ของ เทคโนโลยีดานซอฟทแวรสําคัญสองอยางนี้เสียกอนเพื่อใหผูซึ่งไมเคยใสใจ หรือไมเคยรับรูถึงความหมายของพวกมันจะไดมีความเขาใจที่สอดคลองตองกับ สิ่งที่ผูเขียนจะไดบรรยายถึงตอไป (ในกรณีที่ทานผู อานมีความเชี่ยวชาญใน

Transcript of Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร

แปลกจริงหนอ !!

ของแจกฟรีแตมีกําไรมหาศาล สุรพล ศรีบุญทรง

บทความป 1997

ข้ึนช่ือบทความอยางน้ี ผูอานหลายทานคงจะนึกแปลกใจวาผูเขียนไปติดโรคตลกฝดจากรายการหลัง

ขาวของชอง 7 สีทีวีเพ่ือใครมาหรือ ? บางทานที่คิดลึกขึ้นไปอีกหนอยอาจจะสงสัยวาผูเขียนกําลังนําบุญมาบอก

เพราะบุญนั้นถึงจะตีคาราคาเปนตัวเงินไมไดแตก็อาจจะนํากําไรมหาศาลกลับคืนมา จนขนาดที่ผูนําบุญบางทานถึงกับ

ทุมเททําบุญกันจนสุดฤทธิ์สุดเดชชนิดกูหน้ียืมสินกันไปทําบุญก็ยังมี ฉน้ันเพื่อไมใหเกิดจินตนาการเตลิดเปดเปงไปถึง

ขนาดน้ัน ผูเขียนขอเฉลยเลยแลวกันวา สิ่งที่จะถูกพูดถึงตอไปในบทความคือ เรื่องของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ

"ลีนุกซ (linux)" และบรรดา รหัสโปรแกรมพ้ืนฐานชนิดเสรีเปดกวาง (Open source code)

ความนาสนใจของโปรแกรมลีนุกซ และ

Open source code อยูตรงที่มันอนุญาตใหผูใช

คอมพิวเตอรสามารถเปดเขาไปดาวนโหลดมาใชไดฟรีๆ

ทางอินเทอรเน็ต ประหนึ่งวาเปนสมบัติสาธารณะ ใคร

ใครใชก็เอามาใชไมมีใครหามใครหวง เพียงแตมีขอผูกมัด

ทางจริยธรรมนิดหนอยวา เม่ือเอาสมบัติสาธารณะพวกน้ี

ไปใชงานฟรีๆ แลว เวลาที่ไดผลงานอันมีคุณคามีประโยชนของตนออกมา ก็ควรจะมีการตอบแทนคืนกลับสูสังคม ดวย

การเปดโอกาสใหสาธารณชนไดมีโอกาสใชผลงานบางสวนที่ตนไดพัฒนาและปรับ ปรุงไปบางเทาน้ัน

ที่นาสนใจยิ่งไปกวาน้ัน คือ บรรดาซอฟทแวรสาธารณะที่แจกจายใหกันแบบฟรีๆ เหลานี้ ไดสราง

ผลตอบแทนในรูปรายไดที่เปนกอบเปนกําใหกับบรรดาบริษัท และหางรานที่เก่ียวของ ถึงขนาดที่ผูผลิตผลิตภัณฑ

คอมพิวเตอรช้ันนําของโลกอยาง ไอบีเอ็ม, ซันส ไมโครซิสเต็มส, และ ออราเคิล ฯลฯ ตางอดรนทนไมไหวตองเขา

มารวมแจมกับสังคมของนักลีนุกซ ดังจะเห็นไดจากการที่มีผลิตภัณฑ คอมพิวเตอรภายใตนามของบริษัทชั้นนําเหลาน้ี

ที่ถูกออกแบบมาเพ่ือการใชงานกับระบบปฏิบัติการลีนุกซ (Linux version) ใหเลือกใชงานกันบางแลว ใน

ขณะเดียวกัน นักวิจารณในแวดวงคอมพิวเตอรหลายๆ ทานถึงกับฟนธงลงไปเลยวา โปรแกรมลีนุกซ และ Open

Source code นี่แหละที่มีศักยภาพสูงพอจะแขงขัน และตอตานการครอบงําตลาดซอฟทแวรของบริษัทไมโครซอฟท

ได

บทเกริ่นเรื่อง "ลีนุกซ"

กอนที่กาวลึกลงไปในเรื่องบทบาทและความสําคัญที่

ระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code มีตอแวดวงอุตสาหกรรม

คอมพิวเตอรในปจจุบัน ผูเขียนขอเกร่ินถึงขอมูลเบื้องตนคราวๆ ของ

เทคโนโลยีดานซอฟทแวรสําคัญสองอยางนี้เสียกอนเพ่ือใหผูซ่ึงไมเคยใสใจ

หรือไมเคยรับรูถึงความหมายของพวกมันจะไดมีความเขาใจที่สอดคลองตองกับ

สิ่งที่ผูเขียนจะไดบรรยายถึงตอไป (ในกรณีที่ทานผู อานมีความเชี่ยวชาญใน

file : linux.doc page : 2

เรื่องโปรแกรมภาษาลีนุกซอยูแลว ก็ผานไปอานหัวขอถัดไปไดเลย เพื่อไมให เสียเวลา)

โปรแกรมลีนุกซคือระบบปฏิบัติการแบบมัลติทาสก (multitasking OS) ประเภทยูนิกซชนิดหน่ึงซ่ึง

ไดรับการพัฒนาขึ้นมาคร้ังแรกในป ค.ศ. 1991 โดยนักศึกษาหนุมชาวฟนแลนด ช่ือ ไลนัส ทอรวาลด ระหวางที่เขา

กําลังศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ (ช่ือของเขาสะกดเปนภาษาอังกฤษวา Linus Torvald ซ่ึงถาจะอานออกเปน

สําเนียงฟนนิชคงตองออกเสียงเปน "ลีนุซ" และสําหรับช่ือของโปรแกรมนั้น ไลนัส ทอรวอลด ออกเสียงวา ลีนูคซ

(Lee-nooks) ในขณะที่ นักคอมพิวเตอร สหรัฐฯ นิยมออกเสียงใหสั้นข้ึนเปน ลินุคส (Lih-nucks))

จุดเดนที่ทําใหระบบปฏิบัติการลีนุกซไดรับความสนใจอยางสูงจากนักคอมพิวเตอรทั่วโลก อยูตรง

รูปแบบที่เรียบงายกระทัดรัด มุงเนนไปที่การสั่งงานระดับแกนกลางของระบบปฏิบัติการโดยตรง (kernel base) จึง

ทํางานไดรวดเร็ว และมีความเช่ือถือไดสูง (reliabilty) เม่ือเทียบกับระบบปฏิบัติการวินโดวส ดังจะสังเกตุไดวานัก

คอมพิวเตอรที่ใชระบบปฏิบัติการลีนุกซแทบจะไมตองสัมผัสกับอาการ เครื่องแฮงคเลยระหวางการใชงาน ไม

เหมือนกับเคร่ืองคอมพิวเตอรที่ใชวินโดวสเปนระบบปฏิบัติการ ซ่ึงตองแกปญหาเคร่ืองแฮ็งคดวยการกด Ctrl-Alt-Del

หรือรีเซ็ทเครื่องกันวันละหลายๆ รอบ (ผู ใชวินโดวสอาจจะลองลงโปรแกรมลีนุกซใหกับเคร่ืองคอมพิวเตอรของตน

เพ่ือทดสอบดูได เพราะลีนุกซสามารถอาน FAT ของวินโดวส เราจึงสามารถลงระบบปฏิบัติการสองตัวน้ีไวภาย ใน

เครื่องเดียวกันได)

การที่ระบบปฏิบัติการลีนุกซถูกออกแบบมาใหติดตอสื่อสารกับอารด

แวรคอมพิวเตอรในระดับแกนกลาง (kernel) โดยตรง ทําใหมันมีความเปนสากล

สูง สามารถนําไปติดต้ังใชงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอรไดหลายๆ ตระกูล

(Multiplatform) ไมจํากัดวาจะเปนเคร่ืองคอมพิวเตอรในตระกูล พีซี (อินเทล) ,

แมคอินทอช, อมิกาส, อัลฟา, อตาริ, เพาวเวอร พีซี, ไอบีเอ็ม หรือ ซันส ไมโครซิส

เต็มส ฯลฯ นอกจากน้ัน ความที่มันมีขนาดเล็กกระทัดรัด ยังทําใหมันไมตองการ

ทรัพยากรทางดานฮารดแวรมารองรับมากนัก แคเครื่องคอมพิวเตอรระดับ 386,

RAM 16 MB, และฮารดดิสกขนาด 120 MB ( ความตองการตํ่าสุด) หรือขนาด

500 MB (กรณีที่ลงโปรแกรมชนิดครบถวนสมบูรณ) ก็สามารถรัน โปรแกรมลีนุกซ

ไดอยางสบายๆ แลว (แตถาอยากใหทํางานไดเร็วๆ คงตอง ใชเครื่องคอมพิวเตอรรุน 486, RAM 24 MB, HDD 1 GB

ข้ึนไป)

อยางไรก็ตาม จุดเดนที่นับวาสําคัญที่สุดในระบบปฏิบัติการลีนุกซคือมันใชรหัสโปรแกรมพ้ืนฐานแบบ

Open Source Code ที่เปดกวางใหผูสนใจเลือกหยิบดึงไปใชพัฒนาโปรแกรมซอฟทแวรของตนไดอยางฟรีๆ

กลาวๆไดวา Open Source code น้ันเปนสมบัติสาธารณะที่ชวยยํ้าเตือนใหผูคนในแวดวงคอมพิวเตอร มีความเปน

มนุษยมากข้ึน รูจักที่จะใหคืนตอสังคมบาง (แทนที่จะมุงกอบโกยเงินตราเขามาไวมากๆ จน กลายเปนมหาเศรษฐี

อันดับตนๆ ของโลก) และดวยปรัชญาการแจกจายรหัสโปรแกรมพ้ืนฐาน ใหกับสาธารณะแบบใหเปลาน้ีเอง ทําให

โปรแกรมลีนุกซมีสภาพเปนสมบัติของโลกอยางแทจริง ไมมีผูใดสามารถอางความเปนเจาของในซอฟทแวรตัวนี้ไดอีก

ตอไป

แมกระทั่ง ไลนัส ทอรวอลด ผูใหกําเนิดโปรแกรมลีนุกซเอง ก็คงตองยอมรับในเร่ืองความเปนสมบัติ

สากลของมัน เพราะหลังจากที่โปรแกรมลีนุกซไดรับการเผยแพรออกมาสูโลกเม่ือ 8 - 9 ป ที่แลว มันก็ไดรับ

file : linux.doc page : 3

ปรับปรุงแกไขสมรรถนะโดยบรรดาโปรแกรมเมอรจํานวนหลายพันรายทั่วโลก มีการปรับแกขอผิดพลาดในโปรแกรม

(bugs) กันแบบคนละมือละไม ใครเห็นวามีขอบกพรองตรงไหนก็ชวย กันปรับชวยกันแก หรือถาคิดวานาจะเติม

อะไรบางก็ชวยกันเสริมชวยกันเติมเขามา ดังจะเห็นไดจาก รูปแบบการทํางานใหมๆ (new features) ที่ไดรับการเพิ่ม

เสริมเขามาเรื่อยๆ

เม่ือโปรแกรมลีนุกซมีรูปแบบทันสมัยมากขึ้น และมีโปรแกรมประยุกตใหเลือกใชไดหลากหลายมาก

ย่ิงขึ้น ก็สงผลใหมีผูใชคอมพิวเตอรสมัครใจที่จะเลือกใชลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลักในเคร่ืองคอมพิวเตอรมาก

ตามไปดวย อยางการสํารวจขอมูลผูใชลีนุกซในเดือนมีนาคมปที่แลวโดยบริษัทเรดแฮ็ทลีนุกซ ไดขอมูล ที่นาสนใจวามี

ปริมาณผูใชลีนุกซมากถึง 8 ลานรายทั่วโลก นอกจากน้ัน ผลการสํารวจของบริษัทวิจัยอินเตอรเนช่ันแนลดาตาคอรป

ก็ระบุวามีความตองการติดตั้งโปรแกรมลีนุกซใหกับเคร่ืองเซิรฟเวอรมากกวา 750,000 เครื่อง และยังจะเพิ่มข้ึนไป

เร่ือยๆ จึงชวยย้ําใหเห็นกระแสความนิยมที่พุงข้ึนอยางพรวดพราดของ

โปรแกรมระบบปฏิบัติการลีนุกซไดเปนอยางดี

สําหรับผูที่ตองการทราบรายละเอียดเก่ียวกับระบบปฏิบัติการ

ลีนุกซที่มากไปกวานี้ ใหลองเปดอานนิตยสารไอทีซอฟทเลมเกาๆ ยอนหลัง

ไปสักปสองปก็จะไดขอมูลมากมายเหลือเฟอ หรือถาจะใชวิธีสํารวจจาก

อินเทอรเน็ต ก็มีเว็บไซทที่ใหคําอธิบายเกี่ยวกับเร่ืองของลีนุกซไดอยางดีเปน

จํานวนมาก ยกตัวอยางเชน เว็บเพจ

http://www.cnet.com/Content/Reports/Special/Linux/ ของซีเน็ท

นอกจากน้ัน ถาใครอยากไปสัมผัสกับบรรยากาศของชุมชนนักเลนลีนุกซอ

ยางถึงรากถึงโคน ก็อาจจะลองเดินทางไปชมงานประชุมใหญ LinuxWorld

Conference and Expo ซ่ึงมีการจัดขึ้นเปนประจําในชวงเดือนสิงหาคม

ของทุกป (ปนี้ งานจัดวันที่ 9 - 12 สิงหาคม ที่เมืองซานโฮเซ, แค ลิฟอรเนีย)

"Open Source Code" รหัสท่ีกําลังมาแรง

เม่ือเร็วๆ น้ี มหาวิทยาลัยสแตนฟอรดไดมีการจัดสัมนาเก่ียวกับเรื่อง Open source code ข้ึนที่

หอประชุม Faculty Club โดยมีการเชิญบุคคลช้ันนําในวงการคอมพิวเตอรสหรัฐฯ ซึ่งเก่ียวของและมีบทบาทสําคัญ

ในการพัฒนารหัสโปรแกรม Open Source code มารวมแสดงความคิดเห็นหลายทาน ไดแก โปรแกรมเมอรจาก

บริษัทเรดแฮ็ทซอฟทแวรเจาของผลิตภัณฑ Red Hat Linux ที่วากันวาเปน โปรแกรมลีนุกซที่ใชงานไดงายที่สุด,

แขกรับเชิญคนถัดมา คือ ประธานบริษัท (CEO) เซนดเมลอิงคซึ่งดําเนินธุรกิจเก่ียวกับการรับสง อีเมลล

ทางอินเทอรเน็ต, ตัวแทนบริษัทวีเอรีเสิรชซึ่งประสบความสําเร็จจากการจัดจําหนายเคร่ืองคอมพิวเตอรซึ่งใชโปรแกรม

ลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลัก, ตัวแทนจากบริษัท ซิกนุสซอฟทแวรซึ่งสามารถทํารายไดถึง 20 ลานเหรียญสหรัฐฯ

จากการใหบริการทางเทคนิคแกผูใช Open Source code และแขกรับเชิญคนสําคัญ ที่จะเวนไปเสียไมไดเลยก็คือ

ไลนัส ทอรวอลด ผูใหกําเนิดโปรแกรมลีนุกซตัวจริงเสียงจริง

วากันวาบรรยากาศของหองประชุม Faculty Club ในวันน้ัน อุนขึ้นจากปริมาณผูฟงจํานวนมากที่ยืน

อัดกันแนนหองไปหมด มีทั้งนักศึกษาแตงตัวเซอรๆ อารมณรุนแรงที่พรอมจะเฮกันลั่นหองทุกคร้ังที่มีการพูดถึงบริษัท

file : linux.doc page : 4

ไมโครซอฟทในเชิงตอตาน และนักศึกษาอีกกลุมที่แมจะแตงตัวเรียบรอย แตก็ใจรอนไมแพกัน เพราะหลายๆ คน

กําลังอยากรูวาไอเจา Open Source code ที่เขาสนใจน้ีจะไปทํามาหากินสราง รายไดใหเปนกอบเปนกําไดอยางไร

บาง ความอุนในหองประชุมเริ่มเปลี่ยนสภาพเปนความรอน

มากขึ้นเมื่อประธานในที่ประชุมคอยแตจะโยนคําถามใหกับผู

รวมสัมนาคนอื่นๆ จนเหมือนกับจะลืมไปวามี ไลนัส ทอร

วอลด ซ่ึงเปนผูกอสรางลีนุกซ และ Open Source code ตัว

จริงมารวมน่ังสัมนาอยูดวย

ความไมพอใจที่กอตัวข้ึนในหมูผูฟงนั้น ไม

อาจจะกลาวโทษวาเปนเพราะผูรวมสัมนาพูดไมดี ทุกคนที่

ไดรับเชิญมาตางลวนเปนผูที่ประสบความสําเร็จ และมีความรูความเขาใจในเรื่อง Open Source code กันเปนอยาง

ดีทั้งนั้น ปญหาอยูตรงที่ผูฟงอยากจะไดยินอะไรเด็ดๆ ออกมาจากปากของ ไลนัส ทอรวอลด โดยตรงเทาน้ันเอง

ฉนั้น กอนที่ความไมพอใจจะกอตัวกลายไปเปนจราจล ไลนัส ทอรวอลด ก็ไดเอยตัดบทประธานในที่ประชุมขึ้นมา

แบบย้ิมๆ วา " ผมเองก็มีรูปแบบการดําเนินธุรกิจ (business model) เฉพาะตัวของผมเองอยูเหมือนกัน

และหลังจากจบการสัมนาคร้ังน้ีแลว ผมก็จะสงตอหมวกของผมออกไปใหกับผูฟงทั่วๆ หอง (pass my hat

around)"

ไมทันที่ไลนัส ทอรวอลด จะพูดจบประโยคดี บรรดาผูฟงในหองประชุมตางพากันหัวเราะชอบใจครืน

ใหญ ตรงน้ีมีขอสังเกตุวาความสําเร็จและชื่อเสียงของไลนัส ทอรวอลด ไดสงผลใหคําพูดทุกคําของเขามีความหมาย

ข้ึนมาทันที ไมจํากัดวาเขาจะต้ังใจสื่อมันในลักษณะใด มุขตลกของเขาจะดูตลกมากและมีความหมายลึกซึ้งนาสนใจ

เสมอ (เชนที่บอกวาจะสงตอหมวกนั้น โดยทั่วไปแสลง Pass someone hat มีความหมายงายๆ วาเปนการสงหมวก

เวียนไปรอบๆ หองเพ่ือเร่ียไรสตางค แตทุกคนในหองตางลวน รูกันอยูในใจวาเปนการลอเลน และไลนัส ทอรวอลด

คงไมสงหมวกมาเร่ียไรเงินจากตนจริงๆ แน อยางไรก็ตาม หากคิดใหลึกไปกวาน้ันก็เปนไปไดวาไลนัส ทอรวอลด

อาจจะถือโอกาสแซวผลิตภัณฑ Red Hat Linux ที่ทํามาหากินอยางเปนล่ําเปนสันจากผลงานที่มีตนกําเนิดมาจาก

มันสมองของเขาไปในตัวดวยก็ได)

ในกรณีของการสัมนาที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอรดน้ี หลายคนอาจจะมองอารมณตอบสนองรุนแรงที่

บรรดาผูฟงในหองประชุมมีตอ ไลนัส ทอรวอลด วาเปนเพียงกระแสนิยมที่ปรากฏข้ึนอยางวูบวาบเหมือนแฟช่ัน ของ

เด็กวัยรุน แตการตอบรับของบรรดานักธุรกิจในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร ก็ชวยยํ้าเตือนใหเห็นกระแสความ

นิยมของระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open Source code ไดเปนอยางดี จนสงผลใหนิตยสารคอมพิวเตอรชั้นนํา

อยาง Wired ตองมอบหมายใหสองคอลัมนิสตสําคัญ อยาง แอนดรูว เลนเนิรด และสเตฟาน โซโมกิ มาชวยกัน

วิเคราะหถึงทิศทางและแนวโนมในอนาคตของระบบปฏิบัติการลีนุกซ ไวในนิตยสารฉบับเดือนพฤษภาคมที่ผานมา

ภายใตช่ือคอลัมน Open Season และ Free Enterprise ซ่ึงผูเขียนถือโอกาสนําเอาบทความสองสามเรื่องนี้มายํา

เขาดวยกัน แลวสรุปออกมาเลาสูกันฟง

รูปที่ 1 แสดงใหเห็นกระแสความนิยมในระบบปฏิบัติการลีนุกซที่ทวีขึ้นสูงมากในรอบ ปสองปนี้ เชน

เทียบปริมาณผูใชโปรแกรมลีนุกซระหวางป ค.ศ. 1997 กับป 1998 จะเห็นวามีสัดสวนเพ่ิมขึ้น

file : linux.doc page : 5

เกือบสองรอยเปอรเซนต (จาก 6.8 % ไปเปน 17.2 %) โดยเฉพาะในตลาดซอฟทแวร

สําหรับเคร่ืองเซิรฟเวอรน้ัน ปรากฏวาผลิตภัณฑ Apache มีสวนแบงตลาดเพ่ิม ขึ้นจาก 45.1 %

ไปเปน 54.2 % ในชวงหน่ึงปที่ผานมา

การแสวงหารายไดจากของฟรี

ปญหาที่หลายคนยังอาจจะสงสัยอยูเกี่ยวกับการทําธุรกิจดวยโปรแกรมลีนุกซ และ Open Source

code คือ เราจะหารายไดจากสิ่งของที่เขาแจกกันฟรีๆ ไดอยางไร คําตอบคือ วิธีการที่จะใหไดมาซึ่งประโยชนจาก

ของฟรีสองอยางน้ีแหละคือที่มาของรายได เพราะถึงแมวาตัวโปรแกรมและรหัสคําสั่งพ้ืนฐานของลีนุกซจะเปนของ

ฟรี แตถาใครไมเคยเรียนรูภาษาลีนุกซมาอยางเพียงพอ หรือไมมีเวลาแสวงหาอุปกรณทั้งซอฟทแวรและฮารดแวรมา

ใชงานรวมกันมัน ก็คงตองอาศัยความสะดวกจากบริษัทหรือหางรานที่เขามีความเพียบพรอมและความชํานาญมากกวา

ชองทางธุรกิจที่เก่ียวของกับโปรแกรมลีนุกซนั้น

ไดแก การเปดบริษัทขึ้นมาเพ่ือใหบริการดานเทคนิค (tech

support) แกผูใชคอมพิวเตอร, การจัดสรางผลิตภัณฑลีนุกซออก

มาจําหนายในรูปชุดโปรแกรมสําเร็จรูป, การใหบริการสนับสนุน

และการอัพเกรดโปรแกรมใหเปนระยะๆ, การพัฒนาโปรแกรม

ประยุกตขึ้นมาเพื่อใชสําหรับระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการ

เฉพาะ (Linux applications) ยกตัวอยางเชนโปรแกรมประเภทออฟฟซ เวิรด หรือโปรแกรมจัดการขอมูลทางบัญชี

อะไรทํานองน้ี, หรือบริษัทผูผลิตจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรบางรายก็อาจจะประกอบเครื่องคอมพิวเตอรซ่ึงใชลีนุกซ

เปนระบบปฏิบัติการหลักออกจําหนายเสียเลย เพราะจะชวยทุนคาลิขสิทธิ์กินเปลาที่ตองจายใหกับเสือนอนกิน อยาง

ไมโครซอฟทไปไดเปนเงินไมนอยตอเคร่ืองคอมพิวเตอรแตละเครื่อง

นอกจากน้ัน กระแสความนิยมในระบบปฏิบัติการลีนุกซยังสงผลใหบริษัทคอมพิวเตอรช้ันนําอยาง

ไอบีเอ็มไดประกาศแผนการณที่จะนําเอาโปรแกรมอปาเช (Apache) มาใชเปนแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑรุน

ถัดไปของตน พรอมกับปราวนาตัววาพรอมจะใหการรองรับระบบปฏิบัติการลีนุกซในโอ กาสตอๆ ไป (โปรแกรม

Apache คือ โปรแกรมในตระกูล Open Source code คลายๆ ลีนุกซที่ออกแบบมาสําหรับการทํางานบนเครื่องเว็บ

เซิรฟเวอรโดยเฉพาะ) ในขณะเดียวกัน ยักษใหญดานซีพียูอยางอินเทลก็ไดเร่ิมคืบเขาสูตลาดลีนุกซดวยการลงทุนซึ้อ

กิจการบางสวนของบริษัทเร็ดแฮ็ทซ่ึงเปนผูพัฒนาโปรแกรมตระกูลลีนุกซรายสําคัญ

สวนทางดานซอฟทแวรน้ัน บริษัทคอเรลก็ไดพัฒนาโปรแกรมเวิรดเพอรเฟครุนใหมข้ึนมาสําหรับการรัน

บนระบบปฏิบัติการลีนุกซโดยเฉพาะ จนแทบจะกลาวไดวามีบริษัทคอมพิวเตอรออกมาประกาศตัวสนับสนุน แนวคิด

เรื่อง Open Source code กันแทบจะทุกวัน (ตรงน้ีมีขอสังเกตุวา สํานวนนักคอมพิวเตอร ฝรั่งเขาเรียกการปราว

นาตัวสนับสนุนแนวคิด Open Source code วาเปนการ going Open Source ทํายังกับสมัยที่พวกเกยยังไมเปนที่

ยอมรับในสังคม หากใครเปดตัวออกมาวาเปนเกยก็มักจะ เรียกวาเปนการออกมาจากตู)

คาซอฟทแวรถูกแตคาบริการไมแน !

file : linux.doc page : 6

เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา แนวคิดเร่ือง Open Source code ของระบบปฏิบัติการลีนุกซน้ันมี

พัฒนา การรวมกับการพัฒนาของอินเทอรเน็ตมาโดยตลอด และถาจะพูดกันใหชัดๆ ลงไปแลว ก็คงตองบอกวาลีนุกซ

และ Open Source code น้ันมีจุดกําเนิดมาจากมันสมองของบรรดานักแฮ็ก (Hackers) ที่เปนสมาชิกผูบุกเบิกรุน

แรกของอินเทอรเน็ตนั่นเอง ดังน้ัน แนวคิดด้ังเดิมของของมันจึงมีลักษณะอุดมคติลวนๆ ไมไดมีนักแฮ็กคนไหนคิดจะ

ทํามาหากินใหไดเงินไดทองเปนกอบเปนกําจากการแจกจายรหัสโปรแกรมลีนุกซ และ Open Source code ออกไป

ฟรีๆ อยางน้ี

นอกจากน้ี กระบวนวิธีคิดของนักแฮ็กก็มักจะไมมีเรื่อง

ของธุรกิจเขามาเจือปน พวกเขาพัฒนา ซอฟทแวร Open Source

code ข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความอยากรูอยากเห็นและแกปญหาของ

ตนเองเปนหลัก (แอนดรูว เลนเนิรด เรียกการตอบสนองความอยากรู

ของนักแฮ็กวาเปนการเกาแกคัน หรือ scratch thier itch) ฉน้ัน ผู

ที่คิดจะใชงานระบบปฏิบัติการลีนุกซยุคแรกๆ จึงตองทําใจ

คอนขางมากกับความยุงยากในการใชงาน จะมาคาดหวังการลากเมาส

คลิ้กเรียกโปรแกรมโนนโปรแกรมน้ีข้ึนมาใชไดงายๆ หรือเวลาเกิด

ปญหาในการใชงานโปรแกรมจะเรียกเปดโปรแกรมชวยเหลือแบบ

Interactive help ข้ึนมาดูเหมือนระบบปฏิบัติการวินโดวส หรือแมคอินทอช คงไมได (หลายคนสรุป วาการพัฒนาลี

นุกซน้ัน ไมคอยมีแนวคิด User-friendly interface เขามาเก่ียวของ)

หากผูบริหารองคกรรายใดคิดจะนําเอาโปรแกรมลีนุกซไปใชเปนระบบปฏิบัติการหลักสําหรับ

เครือขายเน็ตเวิรกภายในสํานักงานของตน ก็คงตองคิดใครครวญใหดี เพราะถึงแมวาตัวโปรแกรมจะฟรี หรือมีราคา

คาดาวนโหลดที่ถูกมาก แตคาใชจายหนักๆ จะไปตกอยูที่การอบรมพนักงาน และคาบริการดานเทคนิค โดยเฉพาะใน

กรณีที่บุคลากรภายในหนวยงานไมคอยมีความรูดานคอมพิวเตอร หรือเปน พนักงานประเภทตอตานการพัฒนาดวย

แลว คาใชจายในสวนนี้จะทวีสูงขึ้นอยางมหาศาล ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 1 ซ่ึงเปรียบเทียบคาใชจายในการติดต้ัง

LAN ขนาด 10 Incident calls ระหวางผลิต ภัณฑวินโดวส เอ็นที ของไมโครซอฟท และผลิตภัณฑ Red Hat Linux

ของบริษัทเรดแฮ็ท

จากขอมูลในตารางที่ 1 แมวาคาใชจายโดยรวมในการติดต้ัง LAN ของลีนุกซจะต่ํากวาวินโดวสเอ็นที

เกือบสี่เทา ($5,544.70 เทียบกับ $21,453) แตคาใชจายมากกวาครึ่งหน่ึงของลีนุกซแลนจะตกหนักอยูกับคาบริการ

สนับสนุนดานเทคนิค (support fee $2,995) ซ่ึงแพงกวาคาบริการ ของวินโดวสเอ็นทีถึงหน่ึงเทาตัว และจะยิ่งแพง

หนักข้ึนไปอีก หากวาเครือขายเน็ตเวิรกมีการขยายขนาดใหใหญข้ึน เชน ถาเพ่ิมขนาดเน็ตเวิรกขึ้นไปถึงระดับที่ตองใช

บริการดานเทคนิคชนิดเต็มสเกล (2 4/7/365) ของเร็ดแฮ็ทลีนุกซ คาใชจายสวนคาบริการดานเทคนิคน้ีก็มีมากถึง

$60,000 เลยทีเดียว

ในทางตรงกันขาม หากเปนการใชบริการจากไมโครซอฟท คาใชจายดานเน็ตเวิรกขององคกรจะมี

แนวโนมลดตํ่าลงไปเรื่อยๆ หากจํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรที่รับบริการมีจํานวนเพิ่มมากข้ึน เชนถามีการติดต้ัง

โปรแกรมใหกับเครื่องคอมพิวเตอร 25 เครื่อง ราคาคาโปรแกรมก็จะปรับลดลงไปจากการซื้อโปรแกรมเดี่ยวๆ ถึง 18

% (คาใชจายสําคัญอยางหน่ึงที่ทําใหผลิตภัณฑดาน LAN ของไมโครซอฟท มีราคาแพงคือคา client-access

file : linux.doc page : 7

license ที่ตองจายกันเปนรายเครื่อง เชน ในเน็ตเวิรกขนาด 2 5 เคร่ืองนั้น

ลูกคาของไมโครซอฟทตองจายคาไลเซนตสําหรับโปรแกรมวินโดวส เอ็นที $31

ตอเครื่อง และโปรแกรมเอ็กเชนจในอัตรา $56 ตอเคร่ือง)

ตารางที่ 1 นิตยสาร Wired มอบหมายให ไมเคิล เดอโนวิช

ลองเปรียบเทียบระหวางคาใชจายในการติดตั้ง LAN ขนาด 10

Incident calls ดวยผลิตภัณฑวินโดวส เอ็นที ของไมโครซอฟท

และผลิตภัณฑ Red Hat Linux ของบริษัทเรดแฮ็ท โดยรวมเอา

คาใชจายสําหรับการติดตั้งโปรแกรมประยุกตตัวหลักๆ ที่มักจะไดรับการติดตั้ง

ใชงานในสํานักงาน อยาง โปรแกรมเวิรด โพรเซสเซอร, โปรแกรมส

เปรดชีต, และ โปรแกรมนําเสนอขอมูล ไวดวย

อนาคตของลีนุกซ

การที่ระบบปฏิบัติการลีนุกซถูกกอกําเนิดขึ้นมาในลักษณะที่เหมือนไมต้ังใจ ไมมีการวางแผนการตลาด

ลวงหนา และไมคิดจะงอลูกคา ทําใหเปนเรื่องยากอยูเหมือนกันที่จะคาดเดาอนาคตของลีนุกซ และ Open Source

code ไวลวงหนา เพราะถาอยูมาวันใดวันหน่ึง ไลนัส ทอรวอลด บอกวาเขาเหน่ือยแลว เขาไมอยากจะคิดพัฒนา

อะไรในตัวโปรแกรมลีนุกซอีกตอไปแลว วงการนักเลนลีนุกซก็อาจจะตองควางไปพักใหญเพราะไมมีหัวเรือใหญคอย

กําหนดทิศทางการพัฒนาผลิตภัณฑ (ไลนัส ทอรวอลด เปนคนที่มีบทบาทมากในการพัฒนาสวน Kernel ที่ถือวาเปน

หัวใจสําคัญของลีนุกซ)

อีกทั้งยังมีความคลุมเครืออยูมากเกี่ยวกับเรื่องการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรของซอฟทแวรที่ถูก

พัฒนามา จากรากฐานของลีนุกซอีกตอหนึ่ง (โปรแกรมประยุกตที่จะมีปญหามากคือโปรแกรมประเภทที่ใชเฉพาะ

งานมากๆ และเกี่ยวพันตอความเปนความตายของมนุษยมากๆ อยางเชน โปรแกรมที่ใชควบคุมกระบวน การรักษาโรค

เพราะโปรแกรมทํานองน้ีมักจะมีสัดสวนกําไรสูงมาก)

กระน้ัน จุดที่หลายคนมองวาเปนจุดดอยน้ีก็อาจจะนับเปนจุดเดนของระบบปฏิบัติการลีนุกซไดดวย

เหมือนกัน เพราะความที่ไมมีเจาเขาเจาของที่ชัดเจน ทําใหโปรแกรมลีนุกซมีการพัฒนาไปไดอยางไมจํากัด ใคร คิดจะ

พัฒนาอยางไรก็ทําได ไมถูกกีดกั้นไวดวยปญหาลิขสิทธิ์ อีกทั้งยังเปดโอกาสใหบริษัทซอฟทแวรรายเล็กๆ สามารถ

แจงเกิดไดในโลกอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร เพราะมันคือสมรภูมิเดียวที่นัก คอมพิวเตอรทุนนอยจะใชแขงขันกับบริษัท

ใหญๆ ทุนหนาๆ ได ยกตัวอยางเชนผลิตภัณฑอปาเชที่กําลังประสบความสําเร็จคอนขางมากในเรื่อง Web server

น้ัน ก็อาศัยชองวางที่โปรแกรมลีนุกซเปดไว ใหนี้กาวขึ้นมาเปนผูนําตลาดไดในที่สุด

แอนดรูว เลนเนิรด มองวาการดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ตางคนตางชวยกันพัฒนาสังคมคอมพิวเตอร

โดยรวมรวมกัน อยางการแจกจายโปรแกรมซอฟทแวรที่ตนพัฒนาข้ึนมาฟรีออกไปทางอินเทอรเน็ตนี้เปน รูปแบบ

เศรษฐกิจเฉพาะอยางหน่ึง อาจจะเรียกวา "ระบบเศรษฐกิจน้ําใจ" หรือ "Gift economy" ก็คงจะได โดยระบบ

เศรษฐกิจนํ้าใจที่วานี้เร่ิมดําเนินมาต้ังแตทศวรรษที่ 80s แลว เพียงแตในระยะแรกน้ันมันยังไมปรากฏภาพออกมาให

file : linux.doc page : 8

เห็นอยางชัดเจน ดวยถูกบดบังจากผลสําเร็จของบรรดาบริษัทที่ทํากําไรอยางเปนกอบเปนกําจากระบบซอฟทแวร

ลิขสิทธิ์ผูกขาด (ตัวอยางผูสําเร็จในระบบเศรษฐกิจผูกขาดดานซอฟทแวร ไดแก บริษัทไมโครซอฟทนั่นเอง)

อยางไรก็ตาม ในชวงทศวรรษ 90s น้ี ระบบเศรษฐกิจนํ้าใจกลับเขามามีบทบาทสําคัญในแวดวง

อุตสาหกรรมคอมพิวเตอรมากข้ึน เพราะผูคนที่เก่ียวของกับการแจกจายซอฟทแวรออกไปฟรีน้ันเร่ิมจะไดรับ

ความสําเร็จทั้งในแงชื่อเสียงและรายไดตอบแทนเปนจํานวนมาก ไมวาจะเปน มารค แอนเดรสเสน ที่พัฒนาโปรแกรม

โมเสอิค (โปรแกรมตนแบบของเน็ตสเคป) แลวแจกจายออกไปใหนักคอมพิวเตอร ไดใชงานกันไดฟรีๆ จนสงผลให

อินเทอรเน็ตดังระเบิดเถิดเทิงไปทั่วอยางในขณะน้ี หรือ ไลนัส ทอรวอลด ที่เรากําลังพูดถึงเปนหลักในบทความเรื่อง

น้ี

อาจจะกลาวไดวา ระบบเศรษฐกิจน้ําใจที่วาน้ี จะยังคงไมทําผลกําไรตอบแทนกลับมามากมายเปนกอบ

เปนกําเหมือนบรรดาบริษัทที่มุงไปที่กําไรจากการขายซอฟทแวรเปนหลัก แตดวยปริมาณสมาชิกอินเทอรเน็ตที่มักจะ

มีจิตสํานึกรวมกันในสมบัติสาธารณะ ก็เปนเรื่องคอนขางแนชัดวาปรัชญาการดําเนินธุรกิจแบบเศษฐกิจน้ําใจจะกลาย

สภาพเปนสิ่งจําเปนตออุตสาหกรรมคอมพิวเตอรอยางแนนอน ชนิดที่วาตอไปนี้ผูประกอบการในธุรกิจคอมพิวเตอร

ทุกรายจะตองกําหนดนโยบายการตลาดใหสอดคลองกับระบบเศรษฐกิจนํ้าใจ จะมองมันแคเปนทางเลือกหนึ่งของการ

ดําเนินธุรกิจไมไดอีกแลว

สํารวจชองทางธุรกิจลีนุกซ

ไหนๆ ก็พูดเร่ืองความสดใสในอนาคตของระบบปฏิบัติการลีนุกซ และ Open

Source code มาต้ัง มากตั้งมายแลว ทีมงานบรรณาธิการนิตยสาร Wired คงเกรงวาผูอาน

จะมองภาพพจนไดไมชัด เก่ียวกับชองทางดําเนินธุรกิจดวย Open Source code จึงสง

แพทริเซีย ครูเกอร ออกไปเที่ยว สํารวจดูวามีบริษัทหางรานใดบางที่ไดรับความสําเร็จจาก

การดําเนินธุรกิจดวยการแจกรหัสคําสั่ง Open Source code ออกไปฟรีๆ

ในจํานวนบริษัทคอมพิวเตอรตัวอยาง 21 ราย ที่แพทริเซีย ครูเกอรไดออกไป

เที่ยวสํารวจมาน้ัน มีขอสังเกตุวาสวนใหญมักจะเปนบริษัทเล็กๆ พนักงานไมก่ีสิบราย มีอยู

ไมถึงหาบริษัทที่มีจํานวนพนักงาน เกินรอย และสวนใหญมักจะเปนบริษัทที่เพ่ิงไดรับการ

กอต้ังข้ึนมาในชวงหาหกปมานี้เอง บริษัทที่ เกาแกที่สุดอยางซิกนุสโซลูชั่น ก็ยังมีอายุไดเพียง

10 ป เทาน้ันเอง

สําหรับรูปแบบการดําเนินธุรกิจของบริษัทคอมพิวเตอรเหลาน้ีอาจจะแยกออกเปนประเภทหลักๆ ได

สองประเภท คือ ประเภทที่มุงไปที่การพัฒนาซอฟทแวรเพ่ือจําหนายจายแจก แลวอาศัยรายไดจากการใหบริการดาน

เทคนิค กับบริษัทประเภทที่มุงผลิตสินคาฮารดแวรมาใชสําหรับรันระบบปฏิบัติการลีนุกซกัน เปนการเฉพาะ สวน

รายละเอียดบริการที่แตละบริษัทมีอยูน้ันก็ไดแก

การพัฒนาซอฟทแวรจาก Open Source code แลวอัดยอไฟลลใหขนาดเล็กกระทัดรัด (shrinking -wrapping)

เพ่ือรอใหลูกคามาดาวนโหลดโปรแกรมไปใชโดยอาจจะคิดคาบริการแบบสินน้ําใจเล็กๆ นอย,

การพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมาใหมๆ (New OS developments) โดยปรับปรุงจาก Open Source code ให

มีความสะดวกงายดายในการใชงานมากขึ้น

file : linux.doc page : 9

การพัฒนาโปรแกรมประยุกตขึ้นมาเพ่ือรันบนระบบปฏิบัติการแบบ Open Source code โดยเฉพาะ (OSS

applications developments) เชน อาจะพัฒนาโปรแกรมเวิรด, สเปรดชีต, เกมส ฯลฯ สําหรับลีนุกซ

ปรับปรุงซอฟทแวรสวนที่จะมาเสริมประสิทธิภาพ (enhancements for OSS) ในการทํางานใหกับบรรดา

ระบบปฏิบัติการประเภท Open Source code ที่มีใชงานกันอยู

พัฒนาอุปกรณฮารดแวรขึ้นมาเพื่อใชรวมกับระบบปฏิบัติการประเภท Open Source code โดยตรง (New

hardware for OSS)

พัฒนาซอฟทแวรตัวใหมจาก Open Source code ใหมีความเหมาะสมเฉพาะกับหนวยงานธุรกิจที่เปน ลูกคา

ของตัวเองโดยตรง ( Open Source software customization)

ใหบริการดานคําปรึกษาแกลูกคาที่อาจจะมีปญหาจากการใชงาน Open Source code (Consulting services)

พัฒนาระบบปฏิบัติการรูปแบบเฉพาะเพ่ือใหบริการแกลูกคาที่ไมใชภาษาอังกฤษเปนภาษาหลัก (Non -English

OS development)

ใหบริการสนับสนุนดานเทคนิคแกบรรดาโปรแกรมเมอรที่เกี่ยวของกับรหัสคําสั่ง Open Source code (Tech

support for developers)

ใหบริการสนับสนุนดานเทคนิคแกบรรดาผูใชคอมพิวเตอรที่สนใจในระบบปฏิบัติการแบบ Open Source code

(Tech support for end users)

ตัวอยางผูประสบความสําเร็จในธุรกิจจาก Open Source code

Caldera Systems : บริษัทที่เพ่ิงไดรับการกอต้ังมาปกวาๆ และมีจํานวนพนักงาน อยูแค 50 คนรายน้ี

นับวามีอัตราการเติบโตสูงมาก เพราะเพ่ิงไดรับการจัดลําดับใหเปนผูจําหนายซอฟทแวรรายใหญอันดับสาม

สําหรับตลาดซอฟทแวรกลุมเซิรฟเวอรตระกูลลีนุกซ โดยรูปแบบธุรกิจหลักของบริษัทน้ีจะอยูที่การพัฒนา

โปรแกรมประยุกตขึ้นมาเพื่อใชกับระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการเฉพาะ มีทั้งซอฟทแวรสําหรับการใชงานบน

อินเทอรเน็ต, อินทราเน็ต, สําหรับเคร่ืองคอมพิวเตอรที่พวงกันอยูเปนเครือขายเน็ตเวิรก และเครื่องคอมพิวเตอร

ที่ใชงานแบบเดี่ยวๆ (standalone)

Linuxcare : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 30 คน มุงเนนไปที่การ

ดําเนินธุรกิจในฐานะของที่ปรึกษาทางเทคนิคใหกับผูใชระบบปฏิบัติการลีนุกซเปนการเฉพาะ รวมทั้งยังมีบริการ

ดานการใหคําปรึกษา (Consulting) และบริการดานการศึกษา (Education) ควบคูกันไปดวย ผลสําเร็จที่เห็น

ไดชัดหลังจากตั้งบริษัทมาไดเพียงปกวาๆ คือ การที่เพ่ิงไดรับเงินทุนสนับสนุนกอนโตจากกลุมธุรกิจ Sand Hill

Group ในชวงเดือนกุมภาพันธที่ผานมา

Penguin Computing : กอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานแค 20 คน ดําเนินธุรกิจดวยการ

ผลิตเครื่องคอมพิวเตอรระดับเซิรฟเวอรข้ึนมาจําหนายโดยใชโปรแกรมลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการหลัก

นอกจากนั้น ยังมีทีมงานวิศวกรสําหรับใหคําปรึกษา บริการฝกอบรม และรับแกปญหาอันเนื่องมาจากการใช

โปรแกรมลีนุกซโดยเฉพาะ

file : linux.doc page : 10

The Puffin Group : บริษัทคอมพิวเตอรขนาดจิ๋วที่มีจํานวนพนักงานแค 10 คนรายนี้ ดูเหมือนจะ

วาจะถูกกอต้ัง (ค.ศ. 1998) ข้ึนมาเพ่ือรับงานเฉพาะกิจ เพราะธุรกิจหลักที่บริษัท The Puffin Group ทําอยู คือ

การเขียนโปรแกรมลีนุกซเพ่ือปอนใหกับเครื่องคอมพิวเตอร ระดับ PA-RISC ของบริษัทฮิวเล็ตต-แพ็คการดเปน

การเฉพาะ

Scriptics : ไดรับการกอต้ังขึ้นในป ค.ศ. 1998 มีจํานวนพนักงานทั้งหมดแค 20 คน รับจางผลิตและ

จําหนายโปรแกรมประเภททูลลที่ใชชุดภาษา Scripting Language แบบ Open Source code เปนการ

เฉพาะ รวมทั้งดําเนินธุรกิจใหคําปรึกษาแกผูใช Open Source code โดยทั่วไปอีกดวย เทาที่ทราบในขณะนี้ก็

มีบริษัทชั้นนําในสหรัฐฯ หลายรายที่เปนลูกคาของ Scriptics อยู ไดแก บริษัท AOL, Cisco, และ Lucent

AbiSource : กอตั้งข้ึนในป ค.ศ. 1997 มีจํานวนพนักงาน 15 คน ดําเนินธุรกิจผลิตโปรแกรมประยุกต

สําหรับใชรันบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ และวินโดวส, ใหบริการดานเทคนิค และคําปรึกษาแกผูสนใจ แถมยัง

ใจดีแจกจายโปรแกรมซอฟทแวรบางสวน (shrinked-wraped software) ใหผูใชอินเทอรเน็ตไดดาวนโหลดมา

ใชงานไดฟรีๆ อีกดวย

Sendmail Inc. : เปนธุรกิจ Open Source code ที่กอกําเนิดข้ึนมา โดยต้ังเปาไปที่ลูกคากลุม

ศูนยบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) และผูใชบริการอีเมลลทั่วโลกโดยเฉพาะ ( กอตั้งในป ค.ศ. 1997 มีจํานวน

พนักงาน 65 คน)

Cobalt Networks : กอต้ังขึ้นในป ค.ศ. 1996 มีจํานวนพนักงาน 80 คน เปนบริษัทจําหนายเครื่อง

คอมพิวเตอรที่ริเริ่มนําเอาบรรดา Open Source code และโปรแกรมระบบ ปฏิบัติการของฟรีอยางลีนุกซ,

Perl, Apache, และ Samba มาใชติดต้ังบนผลิตภัณฑเซิรฟเวอรที่ตน เองจําหนาย ทําใหสามารถตั้งราคา

จําหนายตํ่ากวาพันเหรียญได

The Linux Mall : ศูนยการคาบนอินเทอรเน็ตรายน้ีเปนตัวอยางที่ดีของการใชทรัพยากรมนุษย

อยางมีประสิทธิภาพ เพราะถึงแมวาจะไดการกอตั้งมานานกวาสี่ปแลว ( ค.ศ. 1995) แตจํานวนพนักงานที่

รับผิดชอบใหบริการยังคงจํากัดอยูแค 10 คนเทานั้น โดยสินคา ที่ศูนยการคา Linux Mall มีจําหนายสวนใหญ

ก็หนีไมพน พวกโปรแกรมประยุกตที่ออกแบบมาจากบรรดารหัสคําสั่ง Open Source code และพวกที่ถูก

ออกแบบมาสําหรับการทํางานบนโปรแกรมระบบปฏิบัติการแจกฟรีอยางลีนุกซ หรืออปาเช อะไรทํานองน้ี

นอกจากนี้ยังดําเนินธุรกิจใหคําปรึกษาดานเทคนิค แกลูกคาที่ซ้ือซอฟทแวรไปจากตนดวยอีกตางหาก

Lutris Technologies : เปนบริษัทใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจบนอินเทอรเน็ต ไดรับการ

กอตั้งข้ึนในป ค.ศ. 1995 มีจํานวนพนักงาน 35 คน ผลงานลาสุดที่ปรากฏสูตลาดในชวงเดือนมกราคม คือ

การพัฒนาโปรแกรมประยุกตดวยภาษาจาวาข้ึนมา ใชกับเคร่ืองเซิรฟเวอร โดยทางบริษัท Lutris

Technologies ไมมีแผนการจัดจําหนายโปรแกรมภาษาจาวาที่วาน้ี แตจะใชวิธีแจกจายใหกับสมาชิกของตน

แบบฟรีๆ

Whistle Communications : ไดรับการกอตั้งข้ึนในป ค.ศ. 1995 มี จํานวนพนักงาน 70 คน

ดําเนินธุรกิจทางดานฮารดแวร โดยการประยุกตเอาเทคโนโลยี Open Source code และระบบปฏิบัติการ

แจกฟรี อยางลีนุกซ, Sendmail, Apache, Samba, และ FreeBSD มาใชติดตั้งเขากับอุปกรณคอมพิวเตอร

file : linux.doc page : 11

ราคาถูก ซ่ึงไดรับการออกแบบมาเพ่ือใชสําหรับการสื่อสารบนอินเทอรเน็ตเปนการเฉพาะ (InterJet Net

Appliance) นอกจากน้ัน ยังรับใหคําปรึกษาเก่ียวกับการจัดสรางเครือขายเน็ตเวิรกใหกับบรรดาหนวยงาน

ธุรกิจขนาดยอมๆ โดยทั่วไป อีกดวย

ArsDigita : กอต้ังข้ึนในป ค.ศ. 1994 มีจํานวนพนักงานทั้งหมดแค 10 คน เปนตัวอยางของธุรกิจบน

อินเทอรเน็ตที่เติบโตแบบชาๆ คอยเปนคอยไป โดยนําเอารหัสคําสั่งแบบ Open Source code มาใชพัฒนา

ชุดโปรแกรมทูลลรูปแบบเฉพาะตัวของตนเอง (Open-source Toolkits) จากน้ันก็นําเอาผลงานของตัวเองน่ีแห

ละมาใหบริการแบบบริษัทที่ปรึกษา กอต้ังเปนชุมชนออนไลนที่มีกลุมสมาชิกขนาดยอมๆ เวลามีขาวสารอะไรที่

อยากจะเผยแพรแกลูกคาและมวลสมาชิก ก็ใชบุลเลตินบอรดของตนเปนที่เผยแพรขาวสาร

C2Net : ไดรับการกอต้ังมาต้ังแตป ค.ศ. 1994 โดยคร้ังแรกดําเนินธุรกิจให บริการอินเทอรเน็ต (ISPs)

กอน ตอมาเม่ือวิทยายุทธแกกลาข้ึน ก็เลยหันมาพัฒนาโปรแกรมกลุมอปาเชสําหรับเครื่องเซิรืหเวอรเพื่อ

จําหนายดวย ปจจุบัน มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 25 คน

Red Hat Software : จัดไดวาเปนธุรกิจลีนุกซที่ทํามาคาข้ึนมาก ที่สุด เพราะถาพิจารณาจาก

จํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรเซิรฟเวอรและไคลเอนตที่มีการติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนุกซทั่วโลกขณะน้ี เช่ือวากวา

ครึ่งหน่ึงเปนโปรแกรม Red Hat Linux และดวยความ สําเร็จที่ผานๆ มาน้ี ก็สงผลใหบริษัท Red Hat

Software มักจะไดรับการจับตามองจากนักสังเกตุการณดานคอมพิวเตอรเสมอเวลาที่มีการพูดถึง

ระบบปฏิบัติการลีนุกซ

ลาสุด ทราบวาบริษัท Red Hat software เพ่ิงไดรับการ

เซ็นสัญญากจากบริษัทไอบีเอ็มใหชวย ออกแบบ

ระบบซอฟทแวรสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร ของไอบีเอ็ม รวมทั้งยัง

ผูกพันสัญญาระยะะยาวเก่ียวกับการบริการ หลังการขายอีกดวย (ถา

ใครศึกษาประวัติศาสตรของวงการ คอมพิวเตอรใหดี ก็จะ

พบวาบริษัทไมโครซอฟทสมัยที่ยังเล็กๆ ก็เคย รับจางเขียนโปรแกรม

ดอสใหกับไอบีเอ็มมากอน) นอกจากน้ี บริษัท Red Hat

Software ยังไดรับเงินทุนสนับสนุนจาก บริษัทคอมพิวเตอรชั้นนํา

อีกหลานราย ไมวาจะเปน คอมแพ็ค, ออราเคิล หรือ โนเวลล สงผลใหบริษัทคอมพิวเตอรที่เคยมีขนาด

เล็กๆ (ชวงกอ ตั้งป ค.ศ. 1994) มีการขยายขนาดข้ึนอยางรวดเร็ว ปจจุบัน มีการวาจางพนักงานไวมากถึง

100 คน

VA Research : บริษัทคอมพิวเตอรซ่ึงถูกกอต้ังขึ้นในป ค.ศ. 1993 และมี จํานวนพนักงาน 55 คน

รายนี้ นับเปนเจาตํารับการผลิตและจําหนายเครื่องเวิรกสเตชั่นที่มีโปรแกรมลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการ

อยางไรก็ตาม ธุรกิจของบริษัท VA Reasearch ไมไดจํากัดอยูเฉพาะดานฮารดแวร แตยังครอบถึงการบริกร

ทางดานซอฟทแวรลีนุกซประเภทตางๆ อีกดวย อีกทั้งยังเปน เจาของเว็บไซท Linux.com ที่คอยใหบริการ

ดานขาวสารขอมูลตอผูสนใจในโปรแกรมลีนุกซเปนการ เฉพาะอีกดวย

Pacific HiTech : บริษัทซอฟทแวรลีนุกซสัญชาติซามูไรเจาของผลิตภัณฑ TurboLinux รายน้ี เริ่ม

กอตั้งข้ึนในป ค.ศ. 1992 มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 50 คน และไดรับการจัดลําดับวาเปนผูผลิตผลิตภัณฑลีนุ

file : linux.doc page : 12

กซรายใหญอันดับสี่ของโลก ลาสุด กําลังขับเค่ียวกับบริษัท Red Hat Software เพ่ือครอบครองสวนแบงตลาด

ลีนุกซในประเทศสหรัฐฯ

SuSe : จัดวาเปนบริษัทซอฟทแวรลีนุกซขาใหญรายหน่ึง มีจํานวนพนักงานมากถึง 130 คน และ ไดรับ

การกอตั้งมาต้ังแตป ค.ศ. 1992 ธุรกิจหลักๆ ที่ดําเนินอยูคือการจัดจําหนายและ เผยแพรโปรแกรม

ระบบปฏิบัติการลีนุกซที่ทางบริษัทไดพัฒนาขึ้นเอง มีธุรกิจเสริมเปนการจัดจําหนาย โปรแกรมระบบปฏิบัติการ

ย่ีหออ่ืนๆ อยางเชน Aplixware ความยิ่งใหญของ SuSe อยูที่การครองสวนแบงตลาดลีนุกซในยุโรปไดมากที่สุด

สวนในสหรัฐอเมริกาน้ันเปนรองอยูแค Red Hat Software เทานั้น

Berkeley Software Design Inc. : บริษัทชื่อ เดียวกับสาขาของมหาวิทยาลัยชื่อดังของโลกราย

น้ี ไดรับการกอต้ังขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวนพนัก งาน 35 คน ไมทราบวามีความเก่ียวของอยางไรก็

มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ณ เบอรกเลย ถึงได มุงเปาการพัฒนาผลิตภัณฑไปที่การประยุกตโปรแกรมลีนุกซไป

เพ่ือการทํางานกับระบบปฏิบัติการ BSD/OS

file : linux.doc page : 13

Cyclades : ไดรับการกอตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1991 มีจํานวนพนักงาน 150 คน เปนผูผลิตอุปกรณ

ฮารดแวรเพ่ือรองรับการสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอรเครือขายที่ไดรับการยอม รับคอนขางมากในหมู

นักเลนลีนุกซ ไมวาจะเปนอุปกรณเราทเตอร, แผงวงจรอนุกรม, หรือระบบ เช่ือมโยงไรสาย ฯลฯ ผลิตภัณฑ

ฮารดแวรของ Cyclades ไดรับการสนับสนุนยืนยันจากวารสาร Linux Journal วาเปนอุปกรณที่เหมาะกับการ

สื่อสารภายใตระบบปฏิบัติการลีนุกซมากที่สุด

Walnut Creek CDROM : กอตั้งข้ึนในป ค.ศ. 1991 มีจํานวน

พนักงาน 30 คน ดําเนินธุรกิจเก่ียวกับการพัฒนาชุดโปรแกรมสําเร็จรูปจาก

ชุดคําสั่ง Open Source code เปนหลัก เชน ผลิตภัณฑกลุม

FreeBSD/OS ก็ไดรับการยอมรับใชงานโดยเว็บไซทช่ือดังอยาง Yahoo!

และ HotMail ในขณะที่โปรแกรมประยุกต Slackware ก็ไดรับการตอนรับ

เปนอยางดีจากบรรดา หนวยงานธุรกิจขนาดยอม โดยโปรแกรม

Slackware น้ีคอนขางมีช่ือเสียงในเรื่องทนทาน ไมเสีย ไมแฮ็งคงายๆ เวลา

ที่ตองรับกับสภาพการใชงานหนักๆ

Cygnus Solutions : เปนบริษัทผูประกอบธุรกิจดาน Open

Source code ที่คอนขางเกา ไดรับการกอต้ังมาต้ังแตป ค.ศ. 1998 ปจจุบัน มีจํานวนพนักงาน 180 คน ได

พัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูปซ่ึงมีรากฐานมาจาก Open Source code ออกจําหนายจายแจกหลายตอ หลายรุน

ดวยกันแลว ยกตัวอยาง eCos OS (บางรุนก็ขาย บางรุนก็แจกฟรี ใครอยากรูวามีอะไร แจกฟรีบางคงตอง

เปดไปดูที่เว็บไซทของ Cygnus Solutions เองวาพอจะมีอะไรใหดาวนโหลดมา ใชบาง)

ตารางที่ 2 แสดงใหเห็นชื่อ และชนิดของธุรกิจที่ประสบความสําเร็จจากการนําเอา Open Source

code และระบบปฏิบัติการลีนุกซไปใชพัฒนาผลิตภัณฑ

file : linux.doc page : 14

"Cobalt Networks"

กรณีศึกษาของธุรกิจ Open Source

บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก (Cobalt Networks) คือหนึ่งในกิจการที่ประสบความสําเร็จสูงมากจากการ

นําเอา Open Source code ไปประยุกตใช โดยทางบริษัทสามารถจําหนายเครื่องเซิรฟเวอรออกไปไดมากกวาหน่ึง

หม่ืนเครื่องในชวงระยะเวลาไมถึงหน่ึงป (นับจาก เดือนมีนาคม 1998 ถึงมีนาคม 1999) สงผลใหบริษัท โคบอลต

เน็ตเวิรกเจริญเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว มีการขยายสาขาจากสํานักงานใหญที่เมืองซิลิคอน วัลเลย ออกไปในหลายๆ

เมืองของสหรัฐ ฯ มีการกอตั้งบริษัทสาขาไวในตางประเทศ ทั้งใน ญ่ีปุน, เยอรมัน, อังกฤษ, และเนเธอรแลนด ฯลฯ

ในชวงระยะเวลาไมถึงสามปน้ัน บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรกไดเพ่ิมจํานวนพนักงานจาก 14 คน ไปเปน

80 คน แถมยังวางแผนเจาะเขาไปในตลาดที่บริษัทคอมพิวเตอรสวนใหญยังไมคอยใหความสนใจเทาใดนัก อยางเชน

ญี่ปุน, จีน และรัสเซีย โดยเฉพาะในญี่ปุนน้ัน ทางบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก หมายม่ัน ปนมือวาจะพยายามผลักดันให

ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรมาตรฐานสําหรับหนวยงานธุรกิจทั่วๆ ไป ใหได ซ่ึงผลจากการพัฒนาอยางกาวกระโดดเชนน้ี

สงผลใหไดรับความสนใจเขารวมกิจการจากกลุมลงทุนช้ันนําทั่วโลก ไมวาจะเปน NTT, Mitsui Comtek, France

Telecom, Chase Capital Partners, Tech Fund Capital, Vanguard Venture Partners, หรือ Crystal

Internet Venture Fund ฯลฯ

อยางไรก็ตาม หากเราศึกษาลงลงไปในประวัติการกอต้ังบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ก็จะพบความจริงที่

นาสนใจวา ชวงปลายป ค.ศ. 1996 ที่ วิเวก เมหรา, มารค ออร และ สตีเฟน เดอวิตต เริ่มกอรางสรางบริษัทโค

บอลต เน็ตเวิรกนั้น ศัพทคําวา Open Source ยังไมไดรับการรับรูในหมูผูใชคอมพิวเตอรเลย จวบจนกระทั่งเดือน

มีนาคม 1998 ที่บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก เริ่มเปดตัวสินคารุนแรกออกสูตลาดนั่นแหละ ที่พวกเขาไดเริ่มตระหนักวา

การนําเอาระบบปฏิบัติการลีนุกซมาติดต้ังบนเครื่องคอมพิวเตอรของตนสามารถทํากําไรยอนกลับมาไดเปนกอบเปนกํา

ทีเดียว

กอนที่จะมีการกอตั้งบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก นั้น สตีเฟน เดอวิตต เคยดํารงตําแหนงเปนรองประธาน

และกรรมการผูจัดการของบริษัทซิสโก ในขณะที่ วิเวก เมหรา และ มารค ออร ก็ทํางาน เปนผูบริหารระดับสูงอยูที่

บริษัทแอปเปล (เมหราอยูฝายวิศวกรรม สวนออรอยูฝายการตลาด) พวก เขามารวมหัวกันวาทําอยางไรถึงจะผลิต

เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความเหมาะสมตอการทํางานเปนเครื่อง Web Server โดยมีเปาหมายวาผลิตภัณฑ

คอมพิวเตอรที่จะผลิตออกมาน้ันจะตองใชงานไดงายๆ และมีราคาไมแพง พวกเขามองเห็นอนาคตของเครื่อง

คอมพิวเตอรรุนน้ีวาจะตองทําเงินใหอยางมหาศาล หาก สามารถครองสวนแบงตลาดสินคากลุมน้ีไดมากพอ

ตรงน้ีอาจจะตองยอนกลับไปอีกนิด เริ่มจากรายงานผลการสํารวจตลาดคอมพิวเตอรป 1996 ของ

บริษัทวิจัย Zona Research ที่ไดพยากรณอนาคตของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอรไววา กอนสิ้นป ค.ศ. 1999 ตลาด

เครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอินเทอรเน็ต (Web server) จะมีการเติบโตข้ึนไปถึงระดับ 2 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ในขณะ

ที่ตลาดเคร่ืองเซิรฟเวอรสําหรับอินทราเน็ตก็จะโตข้ึนไปไดถึงระดับ หน่ึงหม่ืนสองพันลานเหรียญ (การพยากรณนี้มี

โอกาสเกิดข้ึนจริงไดสูงมาก เพราะจากยอดจําหนายโดยรวมในปที่แลว ปรากฏวา ตลาดเครื่องเว็บเซิรฟเวอรโดยรวม

คือ 1.3 พันลานเหรียญ และยอด จําหนายของเคร่ืองเซิรฟเวอรสําหรับอินทราเน็ตมีมูลคาเทากับ 7.3 พันลานเหรียญ)

file : linux.doc page : 15

รูปที่ 2 หนุมหนาใสคนนี้เองคือ สตีเฟน เดอวิตต ประธานบริหาร บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก

ซึ่งไดแสดงทัศนคติเก่ียวกับ Open Source code ไวอยางแยบคายวา " Open Source code

เปดโอกาสใหเราสามารถกําหนดชองทางการตลาดรูปแบบใหมขึ้นมา และยังชวยใหสามารถกําหนดราคา

ไดต่ํากวาเกณฑมาตรฐานเดิม"

ท่ีมาของธุรกิจโคบอลต เน็ตเวิรก

เม่ือสามเกลอ เดอวิตต ออร และเมหรา เห็นชองโอกาสธุรกิจพันลานของเครื่องเซิรฟเวอรอยูขางหนา

พวกเขาจึงเริ่มวางแผนการกอตั้งบริษัทขึ้นมาเพ่ือผลิตสินคาเคร่ืองเซิรฟเวอรออกมาจําหนาย เริ่มจากการใชเวลากวา

สองเดือนในการสํารวจดูวาสมรรถนะและตนทุนคาใชจายที่เหมาะสม ของเคร่ืองเซิรฟเวอรตนแบบย่ีหอโคบอลต เน็ต

เวิรก ควรจะมีในระดับใด ขอสรุปที่ไดในสวนองคประกอบดานฮารดแวรคือ มันควรจะใชซีพียูในกลุม RISC ซึ่งมี

สมรรถนะคอนขางสูงเม่ือเทียบกับเครื่องพีซีธรรมดาทั่วๆ ไป กอปรกับในขณะนั้นเริ่มมีการผลิตชิป RISC ราคาตํ่ากวา

$40 ออกมาใชงานบนเครื่องเราทเตอร และอุปกรณ set-top box กันบางแลว ฉนั้นพวกเขาจึงไมตองกังวลเก่ียวกับ

ภาวะขาดแคลนชิป RISC ขึ้นในอนาคต อีกทั้ง การที่ชิป RISC ไดความนิยมใชงานอยางกวางขวางทั่วไปเชนนั้นยังชวย

รับประกันวามันจะมีราคาไมแพงอีกดวย

อยางไรก็ตาม เม่ือจบปญหาเร่ืององคประกอบฮารดแวรลงไปได พวกเขาก็ตองมาน่ังขบคิดกันตอไปวา

ควรจะลงโปรแกรมระบบปฏิบัติการย่ีหอใดใหกับเครื่องเซิรฟเวอรตนแบบดี จะใชวิธีพัฒนาโปรแกรมระบบปฏิบัติการ

เฉพาะแบบของตนเองข้ึนมาดี หรือจะใชวิธีซื้อสิทธ์ิของระบบปฏิบัติการช้ันนําอยางวินโดวส และ แมคอินทอช หรือ

จะเลนของฟรีอยางระบบปฏิบัติการลีนุกซดี คิดกันไปคิดกันมาสุดทาย ก็มาจบลงตรงที่ของฟรี (ระบบปฏิบัติการลี

นุกซ) เพราะถาขืนพัฒนาโปรแกรมระบบปฏิบัติการขึ้นมาเอง กวาจะสําเร็จคงตองใชเวบลาเปนปๆ เพราะตองลอง

แลวลองอีก หรือถาไปซ้ือสิทธิ์ของโปรแกรม ระบบปฏิบัติการมียี่หอมาลง ตนทุนที่เพ่ิมข้ึนมาคงจะทําใหแขงขันใน

ตลาดคอมพิวเตอรไดคอนขางยาก

สวนที่พวกเขาเจาะจงลงมาที่โปรแกรมลีนุกซ น้ันเปนเพราะระบบปฏิบัติการลีนุกซมีรูปแบบการทํางาน

คอนขางเพียบพรอม (full-features) มีความม่ันคงเช่ือถือได (stable) ม่ันใจไดวาจะไมทําใหบริษัทเสียชื่อเสียงแน

แถมลีนุกซยังเปนโปรแกรมระบบปฏิบัติการที่ไดรับการยอมรับโดยบริษัทผูผลิตฮารดแวร และพวกโปรแกรมเมอรอีก

หลาย พันรายทั่วโลก ที่สําคัญที่สุดคือ โปรแกรมลีนุกซน้ันเปนของแจกฟรี คิดดูงายๆ วาหากบริษัทโคบอลต เน็ต

เวริก ตองจายสิทธในการติดต้ังระบบปฏิบัติการวินโดวสเอ็นทีใหกับไมโครซอฟทในอัตรา $850 ตอเครื่อง ทางบริษัท

คงไมปญญาจําหนายเครื่องเซิรฟเวอรใหมีมีราคาตํ่าถึงขนาด $999 ไดแน

(ภายหลัง เมหรา แอบสารภาพวา ตอนที่การตัดสินใจงวดเขามามากๆ เขาไดลองเดินไป รานหนังสือ

ช่ือ Computer Literacy แลวสํารวจดูวามีตํารับตําราเก่ียวกับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ อะไรจําหนายมากๆ บาง

ผลปรากฏวาหนังสือตําราของลีนุกซถูกพิมพออกมาจําหนายมากทีสุด เขาเลยตกลงใจวาจะใชลีนุกซนี่แหละเปน

โปรแกรมระบบปฏิบัติการของเครื่อง Cobalt)

หลังจากที่ไดขอกําหนดที่ชัดเจนแลววาจะใชองคประกอบทางดานฮารดแวร และองคประกอบทางดาน

ซอฟทแวรอยางไรบางกับผลิตภัณฑเซิรฟเวอรของตน บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ก็เรงผลิตสินคาออกมา จําหนายถึง 7

รุน ภายในชวงระยะเวลาแคปเศษๆ อันไดแก รุน Qube, RaQ, CacheRaQ, CacheRaQ, Qube 2, RaQ 2, และ

file : linux.doc page : 16

NASRAQ โดยรุนที่มีสมรรถนะต่ําสุดคือ รุน Cobalt Qube 2 น้ันมีราคาจําหนายเพียง $999 ในขณะที่เครื่อง

เซิรฟเวอรรุนทอปอยาง Cobalt RaQ ถูกกําหนดราคาไวที่ $3, 199 (ตรงนี้หากลองยอนกลับไปในอดีต แลวเกิด

ทีมงานผูบริหารบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ตัดสินใจ ใชระบบปฏิบัติการวินโดวสเอ็นทีใหกับผลิตภัณฑของตน ราคา

จําหนายเคร่ืองคงจะตํ่าถึงขนาดนี้ไมไดแน ๆ เพราะลําพังคาสิทธิในการลงโปรแกรมที่ตองจายใหกับไมโครซอฟทก็คง

กินทุนไปอยางนอย 27 % ถึง 85 %)

อยางไรก็ตาม บริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ไมไดจํากัดตัวเองไวที่โปรแกรมระบบปฏิบัติการลีนุกซเทานั้น

ทีมงานวิจัยของบริษัทไดพยายามทดลองโปรแกรมลุม Open Source code ดูหลายๆ ตัว เพื่อเปรียบเทียบดูวาตัว

ไหนจะเหมาะกับงานประเภทไหน และตัวไหนจะทําใหผูใชเครื่องเกิดความ สะดวกสบายมากที่สุด เชน ในกรณีที่ลูกคา

ตองการซื้อเครื่องไปใชเปนเครื่องเว็บเซิรฟเวอร บริษัทโค บอลต เน็ตเวิรก ก็จะลงโปรแกรมอปาเชให หรือถาหากจะ

ซ้ือเครื่องไปใชเปน ไฟลลเซิรฟเวอรทางบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ก็มีโปรแกรมแซมบาใหเลือกใชไดเชนกัน

รูปที่ 3 หนุมแขกทาทางเจาความคิดน้ีคือ วิเวก เมหรา ผูรวมกอตั้งบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ที่มี

ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการดําเนินธุรกิจของบริษัทตนวา "บรรดาศูนยบริการอินเทอรเน็ตตางยืนยันวา

การติดตั้งเคร่ืองเซิรฟเวอรของบริษัทเราน้ันเปนไปอยางสะดวกงายดาย ฉน้ัน จนถึงเดี๋ยวน้ีพวกเขาก็

ยังยินดีจายเงินเปนคาความสะดวก ความงาย และความเพียบพรอมใหกับเรา"

การตอบแทนสูสังคม

เปนที่รับรูกันในหมูผูเลน Open Source code วา ทุกคนที่ไดใชประโยชนจากทรัพยากรสาธารณะ

อยาง Open Source code ควรจะแบงปนผลประโยชนที่ตนไดรับกลับคืนสูสาธารณะบาง ในรูปของ โปรแกรมที่ตน

ไดพัฒนาขึ้นมา อยางไรก็ตาม จริยธรรมเรื่องการตอบแทนคืนกลับสูสังคมน้ีเปนเรื่องของ ปจเจกชน บางคนอาจจะ

รูสึกวาตัวเองติดคางตอสังคมมากตองคืนกลับเยอะๆ ในขณะที่บางคนอาจจะตอบแทนกลับมานอย ยกตัวอยางเชน

บริษัทออราเคิล และอินฟอรมิกซที่เพ่ิงกาวเขามาสูสังเวียน Open Source code ตามสมัยนิยมกับเขานั้น สเตฟาน

โซโมกิ บอกวาเก็บงํา Source code ที่พัฒนาไดไวคอนขางมิด ชิด ไมคอยยอมคืนกลับมาสูสังคม

สวนบริษัทไอบีเอ็ม และเอสจีไอน้ัน ดูจะรักษาช่ือเสียงรักษาหนาตาของตัวไวไดคอนขางดี เพราะ

หลังจากทีมงานวิจัยของสองบริษัทน้ีไดนําเอาโปรแกรม Source code ของอปาเช และแซมบาไป ศึกษาวิจัย พวกเขา

ก็ไดเผยแพรผลงานกลับคืนมาใหอยางเต็มที่ และที่นาช่ืนชมมากที่สุดเห็นจะไดแก บริษัทเน็ตสเคป เพราะใจปาถึง

ขนาดเอารหัส Source code ของโปรแกรมรุนเด็ดๆ ของตนออกมา เผยแพรแจกจายใหฟรีบนอินเทอรเน็ต

อยางไรก็ตาม เรื่องการตอบแทนสังคมดยการเผยแพรรหัสโปรแกรมของตนออกสูสังคมนี้ ไมไดมีการ

จํากัดเวลาไววาจะตองทําเม่ือน้ันเม่ือนี้ โดยสวนใหญแลวเจาของผลงานมักจะใชผลงานสรางรายไดใหเปนกอบเปนกํา

เสียกอนถึงคอยเผยไตออกสูสายตาสาธารณชน ซ่ึงตรงน้ีก็นาจะถือวายุติธรรมดี ในขณะเดียวกันบางครั้งเจาของ

ผลงานเองยังอาจจะไดประโยชนจากการเผยแพรผลงานออกไปหลังจากที่มีกําไรเปนกอบเปนกําแลวดวย เพราะ

บางครั้งนักคอมพิวเตอรรายอื่นๆ อาจจะมีจินตนาการที่แหวกแนวไปกวาเจาของความคิด แลวก็ ชวยพัฒนาผลงานให

มีรูปแบบหลากหลายมากย่ิงข้ึน

file : linux.doc page : 17

สวนบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก ที่มีจุดกําเนิดมาจาก Open Source code น้ัน ก็ดูเหมือนวาจะ

พยายามปฏิบัติตามพันธะสัญญาไวอยางม่ันคง ดวยการเผยแพรผลงาน Open Source code ที่ทีมงาน วิศวกรของ

ตนไดพัฒนาขึ้นออกมาเปนระยะ โดยเดอวิตตใหความเห็นในเรื่องน้ีวาทางบริษัทโคบอลต เน็ตเวิรก พยายามตอบแทน

ผลงานที่ไดคืนกลับสูสังคม Open Source code อยางเต็มที่ แตบางคร้ังก็ ตองทําความเขาใจไวหนอยวาบริษัทกําลัง

ทําธุรกิจไมใชมูลนิธิ จึงตองเนนไปที่การตอบแทนผูถือหุนมาก กวาผูคนขางนอก

รูปที่ 5 ภายในชวงระยะเวลาแคไมถึงหนึ่งป รองประธานบริษัทฝายพัฒนาผลิตภัณฑ มารค ออร ได

ผลักดันสินคาเซิรฟเวอรภายใตชื่อยี่หอโคบอลต เน็ตเวิรก ออกมาถึงเจ็ดรุน และจัดจําหนายมันออกไป

ทั่วโลก (55 ประเทศ)