Lecture 1. Introduction to biology...Lecture 1. Introduction to biology By. Tutor J.pop B. Sc....

22
Lecture 1. Introduction to biology By. Tutor J.pop B. Sc. (Biology) Faculty of Science Burapha University. Couse : G – student at RAC

Transcript of Lecture 1. Introduction to biology...Lecture 1. Introduction to biology By. Tutor J.pop B. Sc....

  • Lecture 1. Introduction to biology

    By. Tutor J.pop

    B. Sc. (Biology) Faculty of Science Burapha University.

    Couse : G – student at RAC

  • หนังสือที่ใช้อ้างอิง 1. ต าราภาษาไทย

  • 2. ต าราภาษาองักฤษ

  • ชีววิทยา (Biology) มาจากค าวา่ (Bios คือ ชีวิต + Logos คือ วิชา) ความหมาย วิชาท่ีศึกษาเก่ียวกบัส่ิงมีชีวิต ประกอบดว้ย 2 ส่วน 1. Knowledge 2. Process

  • คุณสมบัตขิองส่ิงมชีีวติ

    1. มีการจัดระบบ (Order) ส่ิงมีชีวิตตอ้งประกอบดว้ย cell tissue organ system

    2. มีวัฒนาการและการปรับตัว (Evolutionary adaptation) 3. มีการตอบสนองต่อส่ิงแวดล้อม (Response to the environment) 4. มีการควบคุม (Regulation) โดยการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิต

  • 5. มีการใช้พลงังาน (Energy) โดยเกิดปฏิกิริยาเคมีในส่ิงมีชีวิต (metabolism) - anabolism คือ การสงัเคราะห์สาร เช่น photosynthesis - catabolism คือ การสลายสาร เช่น cellular respiration

  • 6. การสืบพนัธ์ุ (Reproduction) เป็นการเพ่ิมจ านวนส่ิงมีชีวิต แบ่งเป็น 2 แบบ - แบบอาศยัเพศ (sexual reproduction) เช่น fertilization - แบบไม่อาศยัเพศ (unsexual reproduction) เช่น budding , binary fission 7. มีการเจริญเติบโต (Growth and development)

  • การศึกษาชีววิทยา (Sciencetific Method) ประกอบดว้ย 4 ขั้นตอน 1. การตั้งสมมุติฐาน 2. การตรวจสอบสมมุติฐาน - ตัวแปรต้น , ตาม , ควบคุม 3. การเกบ็ขอ้มลูและวิเคราะห์ผลขอ้มลู 4. การสรุปผลการทดลอง

  • ช่ือวชิาภาษาองักฤษ ช่ือวชิาภาษาไทย ศึกษาเกีย่วกบั Morphology สณัฐานวทิยา โครงสร้าง รูปร่าง ลกัษณะภายนอกและใน (พืช) Anatomy กายวภิาคศาสตร์ โครงสร้าง รูปร่าง ลกัษณะภายนอกและใน (สตัว)์ Physiology สรีรวทิยา การท างานของอวยัวะต่างๆภายในร่างกาย Biochemistry ชีวเคมี โครงสร้างและการเปล่ียนแปลงสารชีวโมเลกุล Cytology เซลลว์ทิยา เซลลส่ิ์งมีชีวติ Taxonomy อนุกรมวธิาน การจดัจ าแนกส่ิงมีชีวติเป็นหมวดหมู่ Botany พฤกษาศาสตร์ พืช Zoology สตัววทิยา สตัว ์Microbiology จุลชีววทิยา จุลินทรีย ์Genetics พนัธุศาสตร์ การถ่ายทอดลกัษณะทางพนัธุกรรม Molecular biology อณูชีววทิยา การท างานของยนีในส่ิงมีชีวติ Evolution ววิฒันาการ การแปล่ียนแปลงของส่ิงมีชีวติตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั Ecology นิเวศวทิยา ความสมัพนัธ์ของกลุ่มส่ิงมีชีวติกบัส่ิงแวดลอ้ม

    สาขาท่ีเก่ียวขอ้งเก่ียวกบัชีววิทยา

  • การศึกษาขนาดของส่ิงมชีีวติ ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดท่ีไม่เท่ากนั

  • กล้องจุลทรรศน์ (microscope) ประโยชน์ของกลอ้งจุลทรรศน์ - ใชศึ้กษาโครงสร้างของเซลล ์ - ศึกษาไดท้ั้งภายในและภายนอก

    ประเภทของกลอ้งจุลทรรศน์ - Light microscopy - Stereomicroscopy - Electron microscopy

  • 1. Light microscopy ประกอบดว้ยเลนส์แกว้ - Condenser lens (เลนส์รวมแสง) - Objective lens (เลนส์ใกลว้ตัถ)ุ - Ocular lens (เลนส์ใกลต้า)

  • • ภาพเกิดจากแสงส่องผา่นวตัถุท่ีตอ้งการดู • ความคมชดัของภาพข้ึนอยูก่บัก าลงัขยายของเลนส์ใกลว้ตัถุ • ขนาดจริงของวตัถุ = ขนาดภาพ / ก าลงัขยายกลอ้ง • ก าลงัขยายกลอ้ง = เลนส์ใกลต้า x เลนส์ใกลว้ตัถุ • ได้ภาพเสมือนหัวกลบั 2 มิติ

  • หลกัการปรับภาพของกล้องจุลทรรศน์ การเกิดปัญหา!!!! คือภาพไม่ชดั 1. แสงไม่เหมาะสม = ใชก้ารปรับ diaphragm 2. ระยะโฟกสัไม่เหมาะสม = ใชป้รับปุ่มภาพ หยาบ หรือ ภาพ ละเอียด

  • Magnification (ก าลงัขยาย)

  • Resolution (D) คือความสามารถของเลนส์ใกลว้ตัถุของกลอ้งในการแยก จุด 2 จุดท่ีอยูใ่กลก้นัใหอ้อกจากกนั

    Resolution (D)

  • Contrast คือความแตกต่างระหวา่งแสงหรือสีของวตัถุ 2 ชนิด

  • ขั้นตอนการเตรียม side 1. ตอ้งมีการคงสภาพของเซลลไ์ม่ใหเ้ซลลเ์ห่ียวหรือแตก 2. การเห็นสภาพชดัข้ึนจะตอ้งยอ้มสี โดยใชสี้ต่างๆข้ึนกบัส่ิงท่ีตอ้งการยอ้ม เช่น - H & E = ใชย้อ้มเน้ือเยือ่ทัว่ไป - Gram stain = ใชย้อ้มแบคทีเรีย - Safranin O = ใชย้อ้มผนงัเซลลข์ั้นท่ี 2 - Methylene blue = ใชย้อ้มเน้ือเยือ่สตัว ์ 3. เม่ือยอ้มเรียบร้อยกน็ าแผน่ปิด มาปิด โดยการท า wet mouth

  • 2. Stereomicroscopy • เกิดจากแสงส่องกระทบวตัถุแลว้สะทอ้นเขา้ตา • ศึกษาวตัถุภายนอก • ภาพเสมือนหัวตั้งแบบ 3 มิติ

  • แบ่งเป็น 2 แบบ 1. Transmitted electron microscope (TEM) - ใหภ้าพ 2 มิติ , ตอ้งหัน่วตัถุบางๆๆ , ศึกษาโครงสร้างภายในเซลล ์ 2. Scanning electron microscope (SEM) - ใหภ้าพ 3 มิติ , ไม่ตอ้งหั้นวตัถุบางๆๆ , ศึกษาพ้ืนท่ีผิวของเซลล ์

    3. Electron microscopy