Lay...

62
๖๑ วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น
  • date post

    19-Oct-2014
  • Category

    Documents

  • view

    3.298
  • download

    6

description

ผู้แต่ง : อารยา บุญทวี พิมพ์ครั้งที่ : - พิมพลักษณ์ : ฉะเชิงเทรา : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2555 บรรณลักษณ์ : 59 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 29 ซม. เลขเรียกหนังสือ : 390.09593 ว394 สถานที่จัดเก็บ : บางคล้า สาระสังเขป : ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ได้ร่วมมือกับองค์การ บริหารส่วนตำบลหัวไทร จัดทำหนังสือวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ปราชญ์ชาวบ้านให้เกิดการอนุรักษ์เผยแพร่และสานต่อให้เกิดคุณค่า หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ ผู้อ่านมีความรู้ ความเข้าใจภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น

Transcript of Lay...

Page 1: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๖๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 2: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 3: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

ปรัชญา อนุรักษ พัฒนา สรางสรรค ศิลปะ วัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถิ่น

วิสัยทัศน มุงสูความเปนแหลงเรียนรู เผยแพรและสืบสานเอกลักษณความเปนไทย พัฒนาเครือขายทางดานศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น

พันธกิจ ๑. รวมมือกับหนวยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อสงเสริมพัฒนาการเรียนรูดานศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น ๒. สงเสริมการจัดกิจกรรมโดยเนนการมีสวนรวม การสรางจิตสํานึกและการเรียนรูศิลปะ และวัฒนธรรมไทย

ผสมผสานใหสอดคลองกับการดําเนินวิถีชีวิตในปจจุบัน ๓. สรางเครือขายทางดานศิลปะ วัฒนธรรมและ

ภูมิปญญาทองถิ่น ทั้งในจังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัด

ใกลเคียง เพ่ือสืบสานอัตลักษณความเปนไทยใหคงอยูอยางยั่งยืน

วัตถุประสงค ๑. เพื่อเปนศูนยกลางขอมูล และแหลงเรียนรูทาง

ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น ๒. เพื่อประสานความรวมมือกับเครือขาย อันจะ สงผลใหเกิดการเรียนรู และรวมแกปญหาของชุมชนและ

ทองถิ่น ๓. เพื่อเปนศูนย ในการอนุรักษ พัฒนา และสรางสรรค โดยสงเสริม สนับสนุน และเผยแพรศิลปะ

วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น

หนังสือ “วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ินของตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา

จังหวัดฉะเชิงเทรา” จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพร ภูมิปญญาทองถิ่นและปราชญ ชาวบานใหเกิดการอนุรักษเผยแพร และสานตอใหเกิดคุณคา

เจาของ : ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

๔๒๒ ถ.มรพุงษ ต.หนาเมอืง อ.เมือง จ.ฉะเชงิเทรา

โทรศัพท. ๐-๓๘๕๓-๕๔๒๖-๘ ตอ ๕๑๕๓

โทรสาร ๐-๓๘๘๑-๐๓๓๗

http://culture.rru.ac.th

ปที่พิมพ : ๒๕๕๕

ที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารยเอนก เทพสุภรณกุล

ศาสตราจารยสุชาติ เถาทอง

ผูชวยศาสตราจารยชุมศรี นพวงศ ณ อยุธยา

ผูทรงคุณวุฒิประจําศูนยศิลปะฯ นายประดิษฐ ไกรสร นางสาวกัญญารัตน กิจนกุูล

ดร.สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี

อาจารยจินดา เนื่องจํานงค

บรรณาธิการ : อาจารยอารียา บุญทวี

กองบรรณาธิการ : อาจารยโยธิน จี้กังวาฬ อาจารยวชิรพงศ มณีนันทิวัฒน

นางสาวอรวรรณ เล็กชะอุม

นายณัฐปนนท สิงหยศ นางสาวนวลลออ อนุสิทธิ์ นางสาวฐิติรัตน เอนกสุวรรณกุล

นายสุรพล โตะสีดาโรงพิมพ : บริษัท เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท จํากัด โทร./แฟกซ ๐-๓๘๕๑-๕๗๗๐, ๐-๓๘๕๑-๕๕๓๐

จํานวนพิมพ ๔๐๐ เลม

Page 4: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

คํานํา ตําบลหัวไทร เปนตําบลที่มีเนื้อที่มากเปนอันดับที่หน่ึงของอําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา แบงพื้นที่ การปกครอง เปน ๗ หมูบาน ดังน้ี หมูท่ี ๑ บานหัวไทร หมูท่ี ๒ บานกลวย หมูท่ี ๓ บานคูมอญ หมูท่ี ๔ บานทางขามนอย หมูที่ ๕ บานนํ้าฉา หมูที่ ๖ บานลาดบัวขาว หมูที่ ๗ บานลาดโคก โดยตําบลจะมีภูมิปญญาทองถ่ินที่สําคัญทั้งดานหัตถกรรม การเกษตร แพทยแผนไทย สมุนไพร รวมท้ังมีสถานท่ีสําคัญ แหลงทองเท่ียวและประเพณีทองถ่ิน ที่สรางชื่อเสียงใหแกตําบลอยูมากมาย ดังนั้น ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร จึงไดรวมมือกับองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร จัดทําหนังสือวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นของตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีวตัถปุระสงคเพ่ือเผยแพรภมูปิญญาทองถ่ินและปราชญชาวบานใหเกิดการอนุรกัษเผยแพรและสานตอใหเกิดคุณคา คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมน้ีจะชวยใหผูอานมีความรู ความเขาใจในภูมิปญญาทองถิ่นเพิ่มมากขึ้น สดุทายนี ้ศนูยศลิปะ วฒันธรรมและทองถิน่ ขอขอบคุณองคการบรหิารสวนตําบลหวัไทร ทีส่นบัสนนุงบประมาณในการจัดทําหนังสือในครั้งนี้ รวมถึงขอขอบคุณ นางสมจิตร ไพรเถื่อน ผูใหญบานหมู ๒ นายสุรพล โกศาสตร ผูใหญบานหมู ๔ และนายสัมฤทธ์ิ สุกใส ผูใหญบานหมู ๖ ที่ชวยประสานในการลงพ้ืนที่เก็บขอมูล รวมทั้งปราชญ ชาวบานทางภูมิปญญาทองถิ่นและบุคคลท่ีสําคัญในทองถิ่น ทุกทานที่ชวยใหขอมูลจนทําใหหนังสือเลมนี้ สําเร็จลุลวง ไปไดดวยดี

ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕

Page 5: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

สารบัญ หนาคํานํา ๓สารบัญ ๔ประวัติความเปนมาของอําเภอบางคลา ๕ประวัติการต้ังถิ่นฐานของตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๖ ๑. บานหัวไทร ๖ ๒. บานกลวย ๖ ๓. บานคูมอญ ๗ ๔. บานทางขามนอย ๗ ๕. บานนํ้าฉา ๗ ๖. บานลาดบัวขาว ๗ ๗. บานลาดโคก ๗สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๘ ๑. สภาพทั่วไป ๘ ๒. ลักษณะโครงสรางพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๙ ๓. ดานเศรษฐกิจ ๑๐ ๔. ดานสังคม ๑๐ ๕. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๑๑ ๖. การเมืองการบริหาร ๑๑ภูมิปญญาบายศรี ๑๕ภูมิปญญาแพทยแผนไทย / สมุนไพร ๑๙ภูมิปญญาดานพิธีกรรม ๒๓ภูมิปญญาเกษตรผสมผสาน ๒๗ภูมิปญญาดานหัตถกรรม ๓๑ประวัติบุคคลสําคัญในตําบลหัวไทร ๓๓ประเพณีในตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๔๑แหลงโบราณสถานในตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๔๕สถาบันการศึกษาในตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๔๙สถานที่ทองเที่ยวในตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๕๓บรรณานุกรม ๕๙คณะที่ปรึกษาและคณะผูจัดทําหนังสือ ๖๐

Page 6: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ประวัติความเปนมาของอําเภอบางคลา

ประวัติความเปนมาของอําเภอบางคลา อําเภอบางคลาตั้งอยูทางทิศตะวันออกของจังหวัด ระยะทางจากตัวจังหวัด ๒๒ กโิลเมตร “บางคลา” เปนดนิแดนทีม่คีวามอดุมสมบรูณดวยนาไร และสวนผลไมชนดิตาง ๆ แผนดนิผนืนีเ้ปนทีต่ัง้รกรากของบรรพบรุษุชาวบางคลา ซึ่งมีทั้งชาวไทยและชาวไทยเช้ือสายจีนสืบทอดกันมาชานาน วิถีชีวิตของชุมชนเกาแกแหงน้ีมีความเปนอยูอยางสงบ

เรียบงาย ตางทํามาหากิน พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทุกคนมีความรักใครและความนับถือกันแบบเครือญาติ แผนดิน แผนน้ํา ที่เปนบางคลาขณะนี้มีความเปนมายาวนานมากกวา ๑๐๐ ป ทุกชุมชนจะมีประวัติและวถิีชีวิตที่ดํารงชีวิตดวยภูมิปญญาของตน และประกอบอาชีพตามส่ิงแวดลอมที่เอื้ออํานวย ผลิตผลจากหลายอาชีพจัดเปนของดีบางคลาที่มีผูมาเยือน

นิยมซื้อเปนของฝากกลับบาน “บางคลา” เปนชื่อที่ตั้งขึ้นมาจากพรรณไมชนิดหนึ่ง ที่เรียกวา “ตนคลา” ซึ่งเปนไมพุมขนาดเล็ก มีเหงาใตดินและแตกหนอออกเปนกอใหญ ตนสูงถึง ๒ เมตร แตกก่ิงกานตอนปลาย ใบคลายใบกลวยแตมีขนาดเล็กกวากันมาก ดอกสีขาวออกเปนชอหอยลงมาเปนสาย ผลกลม พบขึ้นมากตามปาดิบเขาริมลําธาร และที่ชุมชื้น ลําตนใชจักสาน ทางภาคเหนือ เรียกวา “แหยง” เหตุที่ตั้งชื่อวา “อําเภอบางคลา” เพราะวาอําเภอบางคลาที่ตั้งขึ้นมาเม่ือป พ.ศ. ๒๔๔๔ นั้น มีที่วาการอําเภอต้ังอยูบริเวณ

ปากคลองบางคลา ตาํบลบางสวน ตรงทีต่ัง้วดัใหมบางคลาในปจจบุนั เนือ่งจากตรงทีจ่ดุเดมิเปนหมูบานหมูหนึง่ เรียกวา “บานบางคลา” เมื่อมีการต้ังที่วาการอําเภอ จึงตั้งชื่ออําเภอวา “อําเภอบางคลา”

Page 7: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๖วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

เดิมที่วาการอําเภอบางคลาตั้งอยูที่ตําบลบางสวน ตอมาไดยายที่วาการอําเภอบางคลามาที่ตําบลเตาสุรา สาเหตุที่เรียกวา ตําบลเตาสุรา เพราะวามีโรงตมเหลาของทางราชการต้ังอยู โดยชาวบานเรียกกันตามภาษาชาวบานวา “โรงเหลา” อยูหางจากท่ีต้ังท่ีวาการเดิม ไปทางตะวันออก ประมาณ ๕ กโิลเมตร ตอมาเห็นวาช่ืออําเภอไมตรงกับช่ือตําบลจึงไดเปล่ียนช่ือตําบลเตาสุราเปนบางคลาตามช่ืออําเภอ และใชเรียกกันมาจนทุกวันน้ี ตอมาในปพุทธศักราช ๒๕๓๖ ไดมีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องแบงเขตทองที่อําเภอบางคลา จังหวดัฉะเชิงเทรา ตั้งเปนกิ่งอําเภอ ๑ แหง เรียกวา “กิ่งอําเภอคลองเข่ือน” มีเขตการปกครองรวม ๕ ตําบล คือ ตําบลกอนแกว ตําบลคลองเข่ือน ตําบลบางเลา ตําบลบางโรง ตําบลบางตลาด ทําใหเขตทองที่อําเภอบางคลาในปจจุบันจึงมีเหลืออยู ๙ ตําบล ดังนี้ ๑. ตําบลปากน้ํา ๒. ตําบลบางคลา ๓. ตําบลหัวไทร ๔. ตําบลบางกระเจ็ด ๕. ตําบลทาทองหลาง ๖. ตําบลเสม็ดเหนือ ๗. ตําบลบางสวน ๘. ตําบลเสม็ดใต ๙. ตําบลสาวชะโงก จากเอกสารบางคลา ๑๐๐ ป (๒๕๔๔) อําเภอบางคลาเปนสถานท่ีที่มีสวนเก่ียวของกับเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตร ชาติไทย ตั้งแตครั้งกรุงศรีอยุธยาถูกพมาลอมเมืองไวกอนที่จะเสียกรุง ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชเมื่อครั้งยังเปน พระยาวชิรปราการ เจาเมืองกําแพงเพชร ไดรับคําสั่งใหรักษากรุงศรีอยุธยา เพราะเห็นวากรุงศรีอยุธยาตองเสียใหแกพมาแนแทจึง ตัดสินใจรวบรวมพรรคพวกไทย – จีน ได ๕๐๐ คน ตีหักพมาออกจากกรุงศรีอยุธยา โดยทานมีปนกระบอกเดียว ไพรพล ๕๐๐ คน อาวุธเพียงหอก ดาบ แหลน หลาว ฝากองทัพพมา ไดรบกับพมาเปนสามารถ คร้ันวันรุงข้ึนไดยกกองทัพไปถึงบานโพธ์ิสามหาว (พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เรียกวา บานโพสังหาร) พมายกทัพติดตามไปจึงใหตระเตรียมพลทหารไทย – จีนไว ครั้นกองทัพพมายกมาถึงจึงออกรบเปนสามารถ พมาแตกกระจัดกระจายพายแพไป เก็บไดเคร่ืองศาสตราวุธเปนอันมาก หลังจากนั้นจึงหยุดประทับแรมอยูที่พรานนก ครั้นรุงขึ้นขุนชํานาญไพสณฑ และนายกองชางสามิภักดิ์นําชางมาถวาย พลาย ๕ เชือก พัง ๑ เชือก เขาเปน ๖ เชือก นําเสด็จไปถึงบานบางดง ขุนหม่ืนพันทนายบานมิไดเช่ือบารมีคิดประทุษราย รุงขึ้นจึงนําพลทหาร ๒๐ นายฝาเขาไป ไลตะลุมบอน ฟนทหารชาวบานบางดงแตกกระจัดกระจายหนีไป ไดชางพลาย ชางพัง ๗ เชือก และไดธัญญาหารเปนอันมาก ณ บริเวณปากน้ําโจโลปจจุบัน คือ ตําบลปากนํ้า อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนจุดที่พระยาวชิรปราการพักทัพและ

สูรบกับพมาจนไดชัยชนะท้ัง ๆ ที่พมามีกองกําลังมากกวา หลังจากรบกันที่ปากนํ้าโจโลแลว พมาก็เลิกติดตามทัพไทย ปลอยใหเดินทางตอไปจนกระทั่งกูอิสรภาพได เมื่อขึ้นครองราชยแลว สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชจึงไดมีพระบรมราชโองการใหสรางเจดีย ณ บริเวณ

ปากนํ้าโจโลเปนอนุสรณการสูรบในครั้งนั้น เจดียอนุสรณสถานน้ีถูกกระแสนํ้ากัดเซาะจนพังทลายลงน้ําไป เม่ือประมาณป พ.ศ. ๒๔๙๑ ทางราชการพิจารณาแลวจึงอนุมัติงบประมาณใหสรางขึ้นใหม ณ จุดเดิมเม่ือป พ.ศ. ๒๕๔๓ (วิชัย พงษโหมด และบุญมา พงษโหมด, ๒๕๔๗ : ๒๖ – ๒๘)

ประวัติการต้ังถิ่นฐานของตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑. บานหัวไทร หมูที่ ๑ ตําบลหัวไทร (วิชัย พงษโหมด และบุญมา พงษโหมด, ๒๕๔๗ : ๕๘ – ๕๙) ประวัติความเปนมาของบานหัวไทร ชื่อหมูบานไดจากตนไทร เปนพืชที่ขึ้นปกคลุมอยู สภาพพื้นท่ีเปนที่ดอน อยูฝง ทิศตะวันออกของแมนํ้าบางปะกง ในอดีตเปนปา เคยต้ังเปนอําเภอหัวไทร หมูบานน้ีตั้งขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๘ หรือประมาณ ๑๐๖ ป

คนกลุมแรกที่เขามาอยูไดอพยพมาจากบานพระตะบอง บานบางคางคาว และคุงกราง จํานวนประชากรในพื้นที่มีไมมาก ดังนั้นในป พ.ศ. ๒๔๔๗ สมเด็จพระบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซึ่งเปนเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย พิจารณาเห็นวาจํานวนราษฎร และขาราชการมีนอย จึงไดกราบบังคมทูลประกาศยุบอําเภอหัวไทร เม่ือวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๗

๒. บานกลวย หมูที่ ๒ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานกลวย ในอดีตมีสภาพเปนปากกและแหลงนํ้าธรรมชาติอุดมสมบูรณดวยสัตวนํ้าประเภท ปลาและกุง ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพทํานา ทําสวน เสนทางคมนาคมท่ีสําคัญ คือ การคมนาคมทางน้ํา โดยใชเรือเปนพาหนะ

Page 8: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๗วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ผานแมนํ้าบางปะกง เมื่อมีจํานวนประชากรเพ่ิมมากขึ้น การถางปา ยกเปนรองสวน ปลูกผักและพืชลมลุก จึงมีเพิ่มขึ้นดวย การคมนาคมทางนํ้าไดเปลี่ยนเปนการใชเสนทางคมนาคมทางบก ๓. บานคูมอญ หมูที่ ๓ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานคูมอญ ชื่อหมูบานไดมาจากพ้ืนที่นี้มีกลุมคนเช้ือสายมอญพายเรือนําโองมาขายเปน จํานวนมาก จึงเรียกละแวกบานนี้วา บานคูมอญ ๔. บานทางขามนอย หมูที่ ๔ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของหมูบานทางขามนอยเริ่มกอตั้งเมื่อประมาณ ๑๘๐ ปมาแลว คุณลุงจาย วิมลภักตร อายุ ๘๘ ป ปจจุบันอยูบานเลขท่ี ๘๗ หมูท่ี ๔ บานทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดเลาใหฟงวา หมูบานทางขามนอย ไดเริ่มกอตั้งเมื่อประมาณ ๑๘๐ ปมาแลว คนกลุมแรกที่เขามาเริ่มกอตั้งหมูบานไดอพยพมาจากตําบลปากนํ้า อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา คือ นายยอดและนางแวน วิมลภักตร กับ นางเจง งามเจริญ สาเหตุที่อพยพมาเนื่องจากบริเวณนี้มีพื้นที่วางเปลาอยูเปน จํานวนมาก ซึ่งในอดีตนั้นหมูบานทางขามนอยมีลักษณะพ้ืนที่สวนใหญเปนพื้นที่ราบลุมและบางแหงเปนที่ดอน มีชางอาศัยอยู เปนจํานวนมาก มีหญาเนาลอยอยูมาก ซึ่งจะเปนบริเวณสําหรับชางขามไปอีกฝงหนึ่ง ซึ่งอีกฝงหนึ่งจะมีลักษณะเปนดอย ชางจะขามไป เพ่ือหาอาหารกิน แตชางจะขามผานทางหมูบานนอยมาก เชน มีชาง ๑๐ ตัว จะผานสักประมาณ ๓ ตัว และชางจะผานไมบอยนัก เชน ๑๐ วัน จะผานสัก ๒ วัน เดิมเรียกวา ทางชางขามนอย แตตอมาชางไดอพยพไปอยูที่อื่น และหมดไปจากหมูบาน จึงเปล่ียนมาเรียก หมูบานทางขามนอย สภาพทางภูมิศาสตรของหมูบานนี้ กอนจะตั้งหมูบานเปนพื้นที่ราบลุม สวนใหญเปนที่ราบลุม และบางแหงเปน ที่ดอน และมีปาขโมง ปาอีเหม็นอยูเปนจํานวนมาก ปจจุบันปาไดหมดไปแลว เนื่องจากประชาชนในหมูบานไดใชเปนที่ทําการเกษตร เชน ทํานา ทําสวน สวนหนองนํ้าในหมูบานทางขามนอยยังมีเหลืออยู คือ หนองสองหอง หนองกระเดือย อาชีพครั้งแรกของราษฎร ที่อพยพมาอยูในหมูบาน คือ อาชีพทํานา รับจางทํานาและเล้ียงควาย ราษฎรมีการเปล่ียนแปลงอาชีพ อาชีพเดิมที่เลิกทําไปแลว คือ รับจางทํานา และเล้ียงควาย เลิกไปเพราะมีเคร่ืองมือท่ีทันสมัยและรวดเร็วกวาแรงงานคนและแรงงานควาย โดยเม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๓ มอีาชพีทีเ่กดิขึน้ใหม คอื อาชพีเลีย้งกุงกลุาดาํ เลีย้งปลา ทาํสวนมะมวง รบัจางโรงงานอตุสาหกรรม สานหมวกพลาสตกิ มกีารเปลีย่นแปลงดานสาธารณูปโภค คือ ถนนเม่ือเริ่มกอตั้งหมูบานมีสภาพเปนถนนแบบทางดิน และพัฒนาเปนถนนลูกรังประมาณ ๓,๐๐๐ เมตร เมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๔ เปนถนนลาดยาง ประมาณ ๑๔,๐๐๐ เมตร เม่ือป พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งรวมทั้งหมดถนนในหมูบานยาว ๑๗,๐๐๐ เมตร ไฟฟาเขาหมูบาน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ (วรัชยา บุญเพ็ง, ๒๕๔๕ : การประเมินโครงการกองทุนหมูบาน หมูที่ ๔) ๕. บานนํ้าฉา หมูที่ ๕ ตําบลหัวไทร ประวตัคิวามเปนมาของบานนํา้ฉา ชือ่ของหมูบานไดมาจากลกัษณะภมูปิระเทศในอดตีประชาชนในพืน้ทีน่ีป้ระกอบอาชพีทํานา เมื่อถึงหนาน้ําหลากหรือนํ้าทวม นํ้าที่ไหลผานไดทวมตนขาวมองเปนลักษณะสีชา จึงเรียกหมูบานน้ีวา บานน้ําชา ตอมาไดเพี้ยนมาเปนบานนํ้าฉา กลุมคนท่ีกอตั้งหมูบานเปนกลุมคนที่อาศัยอยูที่นี่มาแตเดิม ๖. บานลาดบัวขาว หมูที่ ๖ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานลาดบัวขาว คุณสํารวย ไมสวัสดี ไดใหขอมูลวา จากคําบอกเลาของคุณปู คุณทวด หมูบานนี้กอต้ังข้ึน เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๐ หรือประมาณ ๑๑๔ ป คนกลุมแรกท่ีเขามา คือ คุณตาจ่ัน คุณยายพลอย เอี่ยมพิพัฒน คุณตาครุฑ คุณยายพุม งามประยูร คุณตาสุด ไพรเถื่อน คุณตาสมหวัง คงคาชนะ และตระกูลกลัดเจ็ด โดยอพยพมาจากบานกลวยและบานคูมอญ สาเหตุของการอพยพคาดวาจํานวนประชากรมากขึ้น พื้นที่ทํากินไมพอเพียง จึงไดอพยพมาที่นี่ซึ่งมีสภาพเปนปาที่อุดมสมบูรณ สาเหตุ ที่เรียก บานลาดบัวขาว เนื่องจากหนาวัดมีดอกบัวหลวงสีขาวขึ้นเปนจํานวนมาก พระครูที่วัดลาดบัวขาวจึงไดนําช่ือดอกบัวขาวไป ตั้งชื่อวัดและหมูบาน ๗. บานลาดโคก หมูที่ ๗ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานลาดโคก หมูบานน้ีเดิมอยูรวมกับเขตพ้ืนที่บานกลวย หมูที่ ๒ เม่ือมีจํานวนประชากร หนาแนนจึงไดแยกเขตการปกครองออกมาเปนหมูที่ ๗ ชื่อของหมูบานเรียกตามลักษณะภมูิประเทศท่ีเปนที่ลาดยาวสลับกับเนินและโคก

เรียกวา บานลาดโคก ในอดีตเปนปากก ปาจาก และหนองน้ํา อุดมสมบูรณดวยสัตวนํ้า ประชาชนประกอบอาชีพทํานา ทําสวน เสนทางคมนาคมที่สําคัญ คือ การคมนาคมทางนํ้าใชเรือเปนพาหนะในการติดตอและคาขาย โดยผานแมนํ้าบางปะกง ตอมาไดมีการพัฒนาพ้ืนที่ตัดเสนทางคมนาคมทางบกเขามาถึงหมูบาน

Page 9: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๘วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๑. สภาพทั่วไป ๑.๑ ลักษณะที่ตั้ง องคการบริหารสวนตําบลหัวไทร เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตั้งอยูเลขที่ ๙๙ หมูที่ ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา อยูทางทิศเหนือของอําเภอบางคลา อยูหางจากอําเภอบางคลาประมาณ ๑๓ กิโลเมตร มีเนื้อท่ีรวม ๔๖.๑๒ ตารางกิโลเมตร หรือ ๒๘,๘๒๕ ไร ซึ่งเปนตําบลท่ีมีเนื้อที่มากเปนอันดับหนึ่งของอําเภอบางคลา คือรอยละ ๑๓.๐๙ ของพ้ืนที่ทั้งหมดของอําเภอบางคลา องคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ไดรับการยกฐานะเปนองคการบริหารสวนตําบลและมีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนราชการบรหิารสวนทองถิน่ ตามพระราชบญัญัตสิภาตาํบลและองคการบรหิารสวนตาํบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยมี นายประจักษ เอี่ยมศิริ กํานันตําบลหัวไทร เปนประธานกรรมการบริหาร (โดยตําแหนง) คนแรก และไดเปลี่ยนช่ือเรียกตําแหนงวานายกองคการบริหารสวนตําบลในเวลาตอมา ๑.๒ อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดตอกับ หมูที่ ๑, ๘ ตําบลบางกระเจ็ด ทิศใต ติดตอกับ หมูที่ ๗, ๑๒ ตําบลปากน้ํา ทิศตะวันออก ติดตอกับ หมูที่ ๑๐ ตําบลดงนอย อําเภอราชสาสน ทิศตะวันตก ติดตอกับ แมนํ้าบางปะกงและอําเภอคลองเข่ือน ๑.๓ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพโดยท่ัวไป พื้นท่ีเปนที่ราบลุม มีคลองสงนํ้าเล็ก ๆ ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและท่ีขุดโดยกรมชลประทาน เพ่ือนํานํ้าไปใชในการประกอบการเกษตรและบริโภค ๑.๔ ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูรอน ระหวางเดือนกุมภาพันธ – เดือนพฤษภาคม มีอากาศรอนถึงรอนจัด ฤดูฝน ระหวางเดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม ฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายน – เดือนมกราคม ๑.๕ จํานวนหมูบาน แบงพื้นท่ีการปกครองออกเปน ๗ หมูบาน ดังนี้ หมูที่ ๑ บานหัวไทร มีนายปราโมทย วัฒนานนท เปนผูใหญบาน หมูที่ ๒ บานกลวย มีนางสมจิตร ไพรเถื่อน เปนผูใหญบาน

หมูที่ ๓ บานคูมอญ มีนายชํานาญ บํารุงสาลี เปนกํานัน หมูที่ ๔ บานทางขามนอย มีนายสุรพล โกศาสตร เปนผูใหญบาน

หมูที่ ๕ บานนํ้าฉา มีนางวรวรรณ โสภา เปนผูใหญบาน หมูที่ ๖ บานลาดบัวขาว มีนายเกรียงศักดิ์ ถาวรบูรณทรัพย เปนผูใหญบาน หมูที่ ๗ บานลาดโคก มีนายสัมฤทธิ์ สุกใส เปนผูใหญบาน

๑.๖ ประชากร มีประชากรท้ังสิ้น ๖,๓๘๕ คน แยกเปนชาย ๓,๐๗๔ คน เปนหญิง ๓,๓๑๑ คน มีจํานวนครัวเรือน ๒,๐๐๑ ครัวเรือน มีความหนาแนนของประชากรโดยเฉลี่ย ๑๓๘.๔๔ คน / ตารางกิโลเมตร ดังตารางตอไปนี้

Page 10: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

,

,

, , , ,

: ( . . )

๒. ลักษณะโครงสรางพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๒.๑ การคมนาคม การจราจร ถนนที่ใชในการคมนาคมและสัญจรระหวางหมูบานตางๆ ในตําบลหัวไทร สวนใหญมีสภาพเปนถนนลูกรัง มีระดับ

พื้นถนนต่ํา เมื่อถึงฤดูฝนทําใหนํ้าทวมขังในทองถนน พื้นที่ ในเขตองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร มีถนนลาดยางและ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กท่ีมีความสําคัญและเปนสายหลักในการคมนาคมขนสง และสัญจรระหวางหมูบานและตําบลใกลเคียงดังตอไปน้ี ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จํานวน ๖ สาย รวมระยะทางยาวประมาณ ๓,๕๒๖ เมตร

ถนนลาดยาง จํานวน ๘ สาย รวมระยะทางยาวประมาณ ๘,๐๘๐ เมตร ถนนลูกรัง จํานวน ๓๙ สาย รวมระยะทางยาวประมาณ ๕,๘๙๒ เมตร

๒.๒ ไฟฟา จํานวนหมูบานที่ไฟฟาเขาถึง จํานวน ๗ หมูบาน จํานวนประชากรท่ีใชไฟฟา คิดเปนรอยละ ๙๘ ๒.๓ การประปา ประปาหมูบาน จํานวน ๓ หมูบาน คือ หมูที่ ๑ หมูที่ ๓ และหมูที่ ๗ ประปาสวนภูมิภาค จํานวน ๖ หมูบาน คือ หมูที่ ๑ หมูที่ ๒ หมูที่ ๓ หมูที่ ๔ หมูที่ ๖ และหมูที่ ๗ ไมมีประปาใช จาํนวน ๑ หมูบาน คือ หมูที่ ๕

๒.๔ การโทรคมนาคม โทรศัพทสาธารณะ จํานวน ๕ หมูบาน คือ หมูที่ ๑ หมูที่ ๓ หมูที่ ๔ หมูที่ ๖ และหมูที่ ๗ โทรศัพทบาน จํานวน ๖ หมูบาน คือ หมูที่ ๑ หมูที่ ๒ หมูที่ ๓ หมูที่ ๔ หมูที่ ๖ และหมูที่ ๗

Page 11: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๐วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๓. ดานเศรษฐกิจ ๓.๑ การเกษตร

( )

( )

( )

( )

( )

( )

( )

( )

( )

, , ,

,

, ,

, ,

, ,

, ,

,

, , , , , , ,

( . . )

๓.๒ การอุตสาหกรรม ในเขตพ้ืนท่ีตําบลหัวไทร มีโรงงานอุตสาหกรรมในพ้ืนที่ จํานวน ๑ แหง คือ โรงงานฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกร ของกรมปศุสัตว ซึ่งเปนโรงงานฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกรที่มีเครื่องจักรกลและวัสดุอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีสมัยใหมที่มีความทันสมัย ไดมาตรฐานสากลเปนที่ยอมรับของประเทศ ผูนําเขาเน้ือสุกรในตางประเทศ อีกท้ังเปนโรงงานฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกรท่ีมี ขนาดใหญที่สุดในประเทศไทย

หนวยธุรกิจในเขตองคการบริหารสวนตําบล ปมน้ํามันและกาซ จํานวน ๕ แหง โรงงานอุตสาหกรรม จํานวน ๑ แหง โรงสี จํานวน ๑ แหง ๔. ดานสังคม ๔.๑ การศึกษา สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา จํานวน ๑ แหง มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ฉะเชิงเทรา (บางคลา) โรงเรียนระดับประถมศึกษา จํานวน ๔ แหง โรงเรียนวัดหัวไทร หมูที่ ๑ - ครู จํานวน ๑๒ คน - นักเรียน จํานวน ๑๒๒ คน

Page 12: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

โรงเรียนวัดคูมอญ หมูที่ ๓ - ครู จํานวน ๖ คน - นักเรียน จํานวน ๘๒ คน โรงเรียนวัดทางขามนอย หมูที่ ๔ - ครู จํานวน ๗ คน - นักเรียน จํานวน ๘๒ คน โรงเรียนวัดลาดบัวขาว หมูที่ ๖ - ครู จํานวน ๕ คน - นักเรียน จํานวน ๕๖ คน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จํานวน ๑ แหง โรงเรียนวัดเปยมนิโครธาราม หมูที่ ๑ - ครู จํานวน ๒๕ คน - นักเรียน จํานวน ๓๔๑ คน ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก จํานวน ๔ แหง ๑. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหัวไทร หมูที่ ๑ - ครู จํานวน ๒ คน - นักเรียน จํานวน ๓๐ คน ๒. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนวัดคูมอญ หมูที่ ๓ - ครู จํานวน ๒ คน - นักเรียน จํานวน ๒๐ คน ๓. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนวัดทางขามนอย หมูที่ ๔ - ครู จํานวน ๑ คน - นักเรียน จํานวน ๒๐ คน ๔. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานลาดบัวขาว หมูที่ ๖ - ครู จํานวน ๒ คน - นกัเรียน จํานวน ๓๐ คน ๔.๒ การสาธารณสุข โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหัวไทร จํานวน ๑ แหง รานขายยาแผนปจจุบัน จํานวน ๒ แหง

๔.๓ การรักษาความสงบเรียบรอย สถานีตํารวจชุมชน จํานวน ๑ แหง

ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย จํานวน ๑ แหง ๕. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บอนํ้าตื้น จํานวน ๑๘ บอ สระนํ้า จํานวน ๑ บอ

คลองธรรมชาติ จํานวน ๑๗ สาย ๖. การเมืองการบริหาร ๖.๑ ศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบล ๖.๑.๑ บุคลากร จํานวน ๓๔ คน สํานักงานปลัด จํานวน ๑๐ คน น.ส.กัญญารัตน กิจนุกูล ตําแหนง ปลัดองคการบริหารสวนตําบล นางดวงรัตน นลินนท ตําแหนง หัวหนาสํานักงานปลัดฯ นางสาวสุพิชญากรณ แกวพิจิตร ตําแหนง บุคลากร ๕

Page 13: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๒วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

นายไพบูลย กองเกิด ตําแหนง นิติกร ๕ นายคงฤทธ์ิ จันทรฟู ตําแหนง เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน ๔ น.ส.ลมัย ฆารไสว ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ ๒ นางทัศวรรณ พลัดอยู ตําแหนง ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ นางสาวเรณู กรมถิน ตําแหนง ภารโรง นายอมรศักดิ์ วิกรานตกลุ ตําแหนง พนักงานขับรถยนต นายพยับ เกตุแกว ตําแหนง พนักงานขับรถยนต สวนการคลัง จํานวน ๕ คน นางกําไร สุขุมาลย ตําแหนง หัวหนาสวนการคลัง นางสาวศิริพร ขําเจริญ ตําแหนง นักวิชาการเงินและบัญชี ๕ นางสาวกมลพรรณ ดํารงสุสกุล ตําแหนง นักวิชาการจัดเก็บรายได ๕ นายเชาวลิต ศรีสมบัต ิ ตําแหนง เจาหนาที่การเงินและบัญชี นางวิไลวรรณ สันทา ตําแหนง ผูชวยเจาหนาที่การเงินและบัญชี สวนโยธา จํานวน ๓ คน นายธนพล พุทธวิเศษสรรค ตําแหนง หัวหนาสวนโยธา นายสรพงษ โหมลา ตําแหนง นายชางโยธา ๕ นายประสาท พานิช ตําแหนง ผูชวยชางโยธา สวนการศึกษาฯ จํานวน ๙ คน นางสาวจุฑานชุ พุมอรุณ ตําแหนง นักพัฒนาชุมชน ๔ นางสาววิลาสินี สุวะศรี ตําแหนง นักวิชาการศึกษา ๓ นางอัญจนา รัตนสินธุ ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหัวไทร นางสุชาดา มณฑาประเสริฐ ตําแหนง ผูชวยหัวหนาศูนยพัฒนาเด็กเล็ก นางวาสนา บํารุงสุข ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กฯ นางบังอร ทัดละมัย ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กฯ นางสาวนุชนาฏ ไสลจักร ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กฯ นางสุดา ถาวรบูรณทรัพย ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กฯ นางสาวลัดดาวัลย จันทรไพร ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย สวนสงเสริมการเกษตร จํานวน ๒ คน นายเฉลิมชัย คงรัตน ตําแหนง ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ นายวินยั เกตุแกว ตําแหนง คนสวน สวนสาธารณสุขฯ จํานวน ๕ คน ๑. นางสาววิไลพร อุมา ตําแหนง ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ ๒. นางสาวสุวรรณา วนะภูติ ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ ๓. นายประสงค โสภา ตําแหนง พนักงานขับรถยนต (รถขยะ)

๔. นายวรรฒนะชัย ไทยศรีสงา ตําแหนง คนงานประจํารถขยะ ๕. นายวุฒิไกร โลหคํา ตําแหนง คนงานประจํารถขยะ ๖. นายสงคราม อุมวัง ตําแหนง คนงานประจํารถขยะ ๖.๑.๒ คณะผูบริหาร จํานวน ๔ คน นายประดิษฐ ไกรสร ตําแหนง นายกองคการบริหารสวนตําบล นายวิรัตน สุกใส ตําแหนง รองนายกองคการบริหารสวนตําบล

นายประเสริฐ แตงออน ตําแหนง รองนายกองคการบริหารสวนตําบล นายเสรี จันทรเจริญ ตําแหนง เลขานุการนายกฯ

Page 14: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๖.๑.๓ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล จํานวน ๑๔ คน นายประจักษ จันทรมณี สมาชิก อบต. หมูที่ ๖ ตําแหนง ประธานสภาฯ นายไพบูลย เรืองประเภท สมาชิก อบต. หมูที่ ๒ ตําแหนง รองประธานสภาฯ นายชัชวาลย ไพรเถื่อน สมาชิก อบต. หมูที่ ๖ ตําแหนง เลขานุการสภาฯ นายบญุลือ พุกสอน สมาชิก อบต. หมูที่ ๑ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นางเกศยา บุญจันทร สมาชิก อบต. หมูที่ ๑ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายบุญชาน กลัดเจ็ด สมาชิก อบต. หมูที่ ๒ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายศักดิ์ชัย ไสลจักร สมาชิก อบต. หมูที่ ๓ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายจําเนียร รกัษาชอบ สมาชิก อบต. หมูที่ ๓ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายฉัตร พุมนิคม สมาชิก อบต. หมูที่ ๔ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายมานพ กรมถิน สมาชิก อบต. หมูที่ ๔ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายชาตรี กรุณา สมาชิก อบต. หมูที่ ๕ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายมานพ สุรศักดิ์ สมาชิก อบต. หมูที่ ๕ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ นายทวีศักดิ์ ลอจงเฮง สมาชิก อบต. หมูที่ ๗ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ ๖.๑.๔ หนวยเลือกตั้ง จํานวน ๘ หนวย ๑) หนวยเลือกตั้งที่ ๑ หอประชุมโรงเรียนวัดหัวไทร หมูที่ ๑ ๒) หนวยเลือกตั้งที่ ๒ ศาลาวัดหัวไทร หมูที่ ๑ ๓) หนวยเลือกตั้งที่ ๓ อาคารอเนกประสงคบานกลวย หมูที่ ๒ ๔) หนวยเลือกตั้งที่ ๔ อาคารโรงเรียนวัดใหมคูมอญ หมูที่ ๓ ๕) หนวยเลือกตั้งที่ ๕ อาคารโรงเรียนวัดทางขามนอย หมูที่ ๔ ๖) หนวยเลือกตั้งที่ ๖ อาคารอเนกประสงคบานน้ําฉา หมูที่ ๕ ๗) หนวยเลือกตั้งที่ ๗ อาคารอเนกประสงคโรงเรียนวัดลาดบัวขาว หมูที่ ๖ ๘) หนวยเลือกตั้งที่ ๘ อาคารอเนกประสงคบานลาดโคก หมูที่ ๗ ๖.๑.๕ รายไดขององคการบริหารสวนตําบล การบริหารรายจายในปงบประมาณท่ีผานมาเปรียบเทียบยอนหลัง

. . . . . . . . . .

, , . , , . , , . , , . , , .

, , . , , . , , . , , . , , .

๖.๒ ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่ ตาํบลหวัไทรหากมองศกัยภาพในภาพรวมพอทีจ่ะสรปุศกัยภาพและปจจยัทีเ่กือ้หนุนตอการพฒันาตาํบลในอนาคต

ไดดังนี้ ๑. มีแมนํ้าบางปะกงไหลผาน มีคลองเชื่อมหมูบานตาง ๆ เกือบทุกหมูบาน ซึ่งแมนํ้าดังกลาวสามารถใชเปนนํ้า เพื่อการอุปโภค บริโภค และนํ้าเพื่อการเกษตรได

๒. เกษตรกรในตําบลหัวไทร เปนผูมีความมัธยัสถ และเปนผูมีความรู ความสามารถ และยอมรับในเทคโนโลยี สมัยใหม ประชาชนสวนใหญมีฐานะปานกลางจึงทําใหสามารถสงบุตรหลานศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นจนถึงระดับอุดมศึกษา ๓. มีโรงฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกร ซึ่งเปนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญที่สุดในประเทศไทยและมี

เคร่ืองจักรกลและวัสดุอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีสมัยใหมที่มีความทันสมัยไดมาตรฐานสากลทัดเทียมนานาชาติ ตั้งอยูในเขตพื้นที่ ซึ่งหากเปดดําเนินการอยางเปนทางการจะทําใหตําบลมีรายไดจากการจัดเก็บภาษีอากร คาธรรมเนียมและใบอนุญาตตาง ๆ เปนจํานวนมาก

Page 15: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๔วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

อีกทั้งรัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาเสนทางคมนาคมใหดีขึ้น เพื่อใชในการขนสงสินคาและผลิตภัณฑจากโรงฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกรไปยังตางประเทศ ๔. มีสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร (บางคลา) ตั้งอยูในพ้ืนที่ เปนการขยายโอกาสทางการศึกษาและเปดกวางแกเยาวชนในตําบล ที่จะไดรับการพัฒนาทางดานการศึกษาและมีโอกาสทางการศึกษาเพ่ิมขึ้น ๕. ในอนาคตกรมราชทัณฑมีนโยบายจะยายเรือนจํากลางจังหวัดฉะเชิงเทราออกไปอยูในพ้ืนที่แหงใหม นอกชุมชนเมือง โดยขอใชที่ดินสาธารณประโยชนของตําบลหัวไทร เพื่อกอสรางเรือนจํากลาง ซึ่งจะทําใหประชาชนไดรับประโยชน ในดานคมนาคม สาธารณปูโภค และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาตําบลหัวไทรไดรับประโยชนในหลาย ๆ ดานพรอมกัน และมีรายไดจํานวนมาก ที่จะนํามาพัฒนาทองถิ่นใหเจริญและกาวหนาตอไปในอนาคต อีกทั้งจะเปนการเพ่ิมรายได และขยายโอกาสทางการผลิต การตลาด การจัดหางาน พรอมท้ังยกระดับคุณภาพชีวิตความเปนอยูของประชาชนในตําบลใหดีขึ้นตอไป

Page 16: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๑๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 17: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๖วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

บายศรีภูมิปญญาบายศรี ๑. ปาทรัพย บัวลบ อายุ ๗๔ ป อยูบานเลขที่ ๒๑ หมู ๕ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ความเปนมาในการทําบายศรี : เนื่องจากมีคนแกทําบายศรีอยู และปาไดไปดูคนทําบายศรีก็เลยไดทําการครอบครูใหแกปาทรัพย เครื่องใชในการครอบครูประกอบดวย ๑. ดอกไม / ธูป / เทียน ๒. นํ้ามนต ธรณีศาลที่ทําเอง ๓. เหลา ๔. บุหรี่ ๕. คากํานนครู หกสลึง อุปกรณในการทําบายศรี ๑. ใบตอง ๒. ดอกพุดพลาสติก ๓. บายศรี ๕ ชั้น, ๗ ชั้น, ๙ ชั้น ๔. หลักบายศรี ๕. ไมขนาบบายศรี ๓ ชิ้น ๖. ดอกไม เชน ดาวเรือง, บานไมรูโรย, ดอกบัว ในการทําบายศรี สวนใหญปาทรัพย บัวลบ จะทําบายศรีหลัก ๕ สําหรับบวชนาค บายศรีใสขัน (ขันธ ๕) บายศรีพรหม ซึ่งใชระยะเวลาในการทําบายศรี จํานวน ๒ วัน คือ วันแรกนั่งพับนิ้วบายศรี วันที่สองนุงผาน้ิวบายศรีและเขาองคบายศรี ราคาในการ ทําบายศรีหลัก ราคาเริ่มตน ๑,๕๐๐ บาท ๒. คุณอรุณรุง จุยเจริญ บานเลขท่ี ๖๕ / ๕ หมู ๒ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เบอรโทรศัพท ๐๘๖-๘๑๖๖๙๙๔ ความเปนมาในการทําบายศรี : คุณอรุณรุง จุยเจริญ เรียนทําบายศรีโบราณจากปาลําเจียก จุยเจริญ เรียนมาได ๒ ป เนื่องจากเปนหลานสะใภปาลําเจียก เครื่องใชในการไหวครูประกอบดวย ๑. เหลา จํานวน ๑ ขวด ๒. บุหรี่ จํานวน ๑ ซอง ๓. เงินกํานนครู จํานวน ๑๒ บาท ๔. ธูป – เทียนและดอกไม ๓ ดอก อุปกรณในการทําบายศรี ๑. กรรไกร ๒. แม็ค

๓. พานครู ๔. ดอกพุด ๕. ใบตอง ๖. ดอกไมสด ดอกไมแหง

๗. หลักบายศรี โดยบายศรีที่ทําสวนใหญเปนบายศรีปากชาม บายศรีตอ ใชในพิธียกศาล บายศรีหลักใชในพิธีบวชนาค ซ่ึงราคาในการทําบายศรี ดอกไมสด ราคา ๒,๐๐๐ บาท

ดอกไมแหง ๑,๕๐๐ บาท

คนที่ ๒ คุณอรุณรุง จุยเจริญ

Page 18: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๗วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๓. คุณปราณี วิลัยพัฒน บานเลขที่ ๑๐๘ หมู ๒ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เบอรโทรศัพท ๐๘๖ – ๑๕๙๕๑๑๒ ความเปนมาของการทําบายศรี : จากการเรียนรู โดยการศึกษานอกโรงเรียนบางคลา เมื่อวันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๕ สวนใหญไดทําบายศรีปากชาม บายศรีพรหม บายศรีเทพ

๔. ปาสมศรี โคมเดือน หมู ๓ อายุ ๖๕ ป ความเปนมาในการทําบายศรี : ไดทํามากวา ๓๐ ป โดยเห็นคนโบราณทําบายศรีและปามีความสนใจ คนทําบายศรีจึงไดทําพิธีครอบครูใหกับปาสมศรีในอดีตราคาบายศรี ๆ ละ ๕๐๐ – ๖๐๐ บาท ปจจุบัน ราคา ๑,๒๐๐ – ๑,๕๐๐ บาทสวนใหญทําบายศรีในงานบวช ยกศาล ไหวครู ซึ่งทําเปนเวลา ๒ วัน อุปกรณในการทําบายศรี ๑. ดอกรัก ๒. ใบตอง ๓. ดอกดาวเรือง ๔. ดอกกุหลาบ ๕. นางสาวสุนันทา นุชอินทรา หมู ๓ อายุ ๖๔ ป ความเปนมาในการทําบายศรี : ทํามา ๒๐ กวาป โดยคุณแมทําบายศรีอยูจึงฝกให สวนใหญทําบายศรีบัวคว่ํา บัวหงาย บายศรีปากชาม บายศรีบวชนาค ยกศาล ใชระยะเวลาทํา ๒ วัน

คนที่ ๓ (ดานขวามือ) คุณปราณี วิลัยพัฒน

Page 19: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๘วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 20: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๑๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๑๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 21: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๐วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

แพทยแผนไทย / สมุนไพรภูมิปญญาแพทยแผนไทย / สมุนไพร ๑. นายประจวบ งามเจริญ เกิด พ.ศ. ๒๔๙๖ บานเลขที่ ๘๘ / ๕ หมู ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เบอรโทรศัพท ๐๘๐ – ๗๗๒๒๑๖๘ อาชีพหลัก : เลี้ยงปลา รับจางปลูกบาน ความเปนมาในการรักษาแพทยแผนไทย กระดูกหัก กระดูกซน ขาแพลง เคล็ด : นายประจวบ งามเจริญ ไดรับการถายทอดภูมิปญญามาจากบิดา โดยในอดีตบิดาเปนทหารผานศึกสงครามอินโดจีน ครั้งที่ ๒ และไดเรียนมา จึงถายทอดใหลูกชาย ซึ่งบิดาไดใหคาถาในการรักษาโรคกระดูกหัก / ตอกระดูก กอนเสียชีวิตซึ่งไดทําการรักษาคนมาแลวเปนเวลา ๑๖ ป วิธีการรักษา เริ่มตนดวยการไหวครู มีขั้นตอนดังนี้ ๑. ดอกไมธูปเทียน ๒. คายกครู จํานวน หกสลึง ๓. หมาก / พล ูอยางละคํา ๔. จานสําหรับจุดธูปบอกครู – อาจารย ๕. ธูป ๕ ดอก เทียนหนัก ๑ บาท ๑ เลม ขั้นตอนการรักษา พิจารณาจากอาการปวย ๑. นํ้ามันลงคาถา ๒. นํ้ามันมะพราวที่เคี่ยวเอง หรือผูปวยตองหามาเอง ๓. มีการลงคาถา ๔. หญาคา ๑ ตน หญาแฝก ๑ ตน มวนกลม ๆ ๓ รอบแลวเสกคาถา ๕. เวลาในการรักษาข้ึนอยูกับอาการของผูปวยวาเปนมากหรือนอย ๖. หลังจากการรักษาจะทําลูกประคบ ประกอบดวย ไพร การบูร ใบมะขาม เกลือ แชนํ้าอุนประคบ จํานวน ๓ วัน กระบวนการทําพิธีสงขวัญขาว เมื่อผูปวยหายจากกระดูกหักแลวมีขั้นตอนดังนี้ ๑. บายศรีปากชาม (บัวควํ่า / บัวหงาย) ๑ อัน ๒. หมาก / พลู ๓. ไขตม ๒ ลกู ๔. ดอกไม ธูป – เทียนอยางละ ๕ ดอก ๕. กลวยน้ําวาสุกหรือดิบก็ได จํานวน ๑ หวี ๖. เหลาขาว จํานวน ๑ ขวด ๗. เงินจํานวนหกสลึง

๘. ในการทําพิธี สงขวัญขาวตองทําวันพฤหัสบดีเทาน้ันและตองทําชวงเชา

Page 22: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

กระบวนการทําพิธีสงขวัญขาว เมื่อผูปวยหายจากกระดูกซน ขาแพลง เคล็ดขัดยอก ๑. เงินจํานวน หกสลึง ๒. ขนมปลากริมไขเตา จํานวน ๑ ถุง หรือ ๑ หมอ ๓. หมอใสขนมปลากริมไขเตา โดยตองใชคนจํานวน ๒ คน หาบหมอปลากริมไขเตา เพื่อไปวางไวบนเส่ือหนาพานครู ๔. เมื่อจัดอุปกรณพรอม ครูที่รักษาจะทําพิธีบอกสิ่งศักดิ์สิทธิ์เองลุงประจวบไดใหความรูวา ในเดือน ๔ ของทุกป วันพฤหัสบดีแรกของเดือนลุงจะทําพิธีไหวครู โดยมีอุปกรณในการไหวครูดังนี้ ๑. บายศรีตอ ๑ คู ๒. เหลาขาว จํานวน ๑ ขวด ๓. หัวหมูตมสุก ๑ หัว ๔. ผลไม ๕ อยาง หรือ ๓ อยางก็ได ๕. บุหรี่ ๑ ซอง ๖. ดอกไม / ธูป / เทียน ๑ ชุด ๗. เงินคาครู จํานวน ๑๒ บาท กระบวนการถายทอดภูมิปญญา ลุงมีแนวคิดวาคนท่ีจะมาเรียนตองมาเรียนในวันพฤหัสบดีจึงจะดี สุดทายลุงประจวบ งามเจริญ จะเอาเงินที่ไดจากคากํานนครูจากผูมารักษาโรคไปทําบุญกับงานประจําปหลวงพอพุทธชินราช ที่วัดทางขามนอย ปละ ๓๐๐ – ๔๐๐ บาท

๒. นายเหมือน แตงออน บานเลขที่ ๓๕ / ๑ หมู ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ความเปนมาในการรักษาโรค : นายเหมือน แตงออน ไดรับความรูในการรักษาโรคมาจาก หมอหลิม หมอชุบ อยูที่บานกลวย หมอจัด ที่ตําบลปากน้ํา อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชงิเทรา การรักษาดวยนํ้ามัน ไดมาจากหมอแชม วิธีการรักษา โรคงูสวัด ไฟลามทุง เริม : รักษาโรคงูสวัด หัวพิษใชรากไม โดยใชไมพญารากเดียวไปหาตามปาที่ดงนอย อําเภอราชสาสน จังหวัดฉะเชิงเทรา นํารากไมมาตากแหงและฝนกับเหลาขาว มีคาถารักษาโรคไดมาจากหมอชุบที่บานกลวย

วิธีการรักษาฝ : ใชปูนแดงผสมกับน้ําผึ้ง เรียกวา สูญฝ ใชคาถากํากับ ถายงัไมหายจะใชตะปูตอก อธิษฐานเพ่ือเอาเคล็ด

วิธีรักษาแผลสด แผลกลาย ๑. นํ้ามันมะพราว

๒. ไขดิบ ๓. ดอกไม ธูป – เทียน

วิธีรักษา กวาดยาเด็ก พนซาง (ไข) ๑. ยาเทพมงคล ๒. ยาเขียว ๓. ยาหอม ๔. รากไม

วิธีรักษาอีสุกอีใส ๑. นําผักหวานดิบ ๆ มาตม ๒. นํานํ้าที่ตมผกัหวานมาอาบจนกวาจะหาย การรักษาโรคทุกโรคจะตองทําพิธีตั้งขวัญขาว ประกอบดวย ๑. ดอกไม / ธูป – เทียน จํานวน ๕ เลม ๒. นมขน จํานวน ๑ กระปอง

Page 23: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๒วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๓. บุหรี่ จํานวน ๑ ซอง ๔. คากํานนครู จํานวน ๑๒ บาท ถาผูปวยเตรียมของในการทําพิธีขวัญขาวกอนรักษา เวลาหายปวยไมตองทําพิธีตั้งขวัญขาว แตถาคนปวยไมไดเตรียมของ มากอนรักษา เมื่อหายปวยแลวจะตองทําพิธีสงขวัญขาว

๓. นายบุญสง พิมพศรี อายุ ๘๑ ป บานเลขที่ ๔/๑ หมู ๗ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ความเปนมาในการรักษาโรค : นายบุญสง พิมพศรี ไดรับการถายทอดภูมิปญญามาจากการอานตําราไมเทศเมืองไทย โดยอาศัยการอานตําราหมอนวดและยาแผนโบราณ โดย...เสรี อาจสาลี เปนผูแตง ซึ่งลูกเปนคนซ้ือตํารามาให สวนการรักษาทางไสยศาสตร ปาของลุงเปนผูถายทอดให เนื่องจากปาของลุงเปนคนทรง จึงไดถายทอดวิชาไสยศาสตรใหลุงบุญสง เวลาเขาทรงเจาก็จะบอกชนิดของยาสมุนไพร โดยนางกิมเฮียง พิมพศรี ผูเปนภรรยาของลุงบุญสงไดเปนคนจดช่ือยาสมุนไพร เพื่อใหลุงนําไปรักษาโรค วิธีการรักษาโรคงูสวัด ๑. ตนจักรนารายณ ๒. ใบนํ้าเตา ผสมกับข้ีวัวและเหลาขาว วิธีการรักษาโรคหัวเริม ไฟไหม นํ้ารอนลวก ๑. นําตนโคกกระออมโขกผสมเหลาขาว ตนโคกกระออม สมุนไพรชนิดเถา พบไดตามสนามหญาทั่วไป มีหนวดเก่ียวไปกับไม ที่อยูขาง ๆ มีลูกหอยอยูใตเถาเล็ก ๆ วิธีแกพิษงูเหา ๑. ใชรากโคกกระออม โดยใชฝนกับน้ํามะนาวและตนเขยตาย ใชรากแกพิษงูเหาได วิธีแกไข / ซาง ๑. ใชรากเขยตาย ผสมกับยากวาดเด็ก ซึ่งยากวาดเปนยาชนิดใดก็ได แกไขซาง วิธีแกฝ ๑. ขาวเย็นเหนือ ขาวเย็นใต อยางละ ๒๐ บาท ๒. ธูปหอม ๑ แหนบ ๓. นํ้าตาลกรวดหนัก ๕ บาท ๔. หัวพุทธรักษาแดง / ดอกเล็ก / หนัก ๒๐ บาท ๕. หญาแพรก ๑ กํามือ นําสมุนไพรดังกลาวมาตมใชดื่มแกฝได

** หมายเหตุ : บาท = ไมใชคาเงิน แตเปนมาตราชั่งตวงยาไทยแบบโบราณ ตนโคกกระออม

Page 24: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๒๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 25: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๔วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ดานพิธีกรรมภูมิปญญาดานพิธีกรรม ๑. นายมานพ จุยเจริญ อายุ ๖๙ ป อยูบานเลขที่ ๑๒๖ / ๑ หมู ๒ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ความเปนมาของพิธีสูขอและแตงงานคูบาว – คูสาว นายมานพ จุยเจริญ สืบทอดพิธีกรรมมาจากบิดา สวนประกอบในการทําพิธี มีดังนี้ ๑. กระบะทําดวยกาบกลวย (บัตรพลี) ประมาณ ๔๐ เซนติเมตร ถาคูบาว – สาว ใช ๒ กระบะ แตถาทําพิธีบวชนาคจะใช ๑ กระบะ ๒. กระทงมีสวนประกอบในกระทง มีขาวตอก ดอกไม หมากพลู ขาวดํา ขาวแดง ขาวขาว กุงพลา – ปลายํา ๓. มะพราวหุมกระดาษเงิน กระดาษทอง ๔. แมซื้อ ประจําวัน ทั้ง ๗ วัน โดยทําพิธีเสียแมซื้อ ใชเวลาในการประกอบพิธี ๓๐ นาที ทํากลางคืน เวลา ๑ ทุม หรือ ๒ ทุม แลวแตความพรอมของเจาสาว พิธีสูขอมีขั้นตอนดังนี้ ๑. เด็กผูหญิงเชิญขันหมากเขาบาน ๒. ดูฤกษยามมงคล ๓. ขนมเปนคู ๆ ๔. หมู ๒ ถาด เซนเทวดา ๑ ถาด เซนผี ๑ ถาด ๕. เชิญเจาบาว เจาสาวขึ้นบาน ๖. โรยถ่ัว โรยงา โดยโรยบนพานที่รองสินสอด ของหม้ัน ๗. ใหศีลใหพรแกเจาบาว – เจาสาว ๘. สวมแหวน สวมสรอย (ของหมั้น) ๙. ผาพับ ใหบาวสาวพับผามอบสินสอดใหแกพอแม ๑๐. ทําพิธีเซนผี ๑๑. สุดทายรับไหวญาติผูใหญ

๑๒. สวมมงคลสมรส ๑๓. หลัง่นํา้พระพุทธมนต การต้ังโตะหลัง่นํา้พระพุทธมนต (นํา้สงัข) ตองหันหนาไปตามทิศของแตละวนั โดยหมอขวัญบาว – สาว เปนผูดูแลให พิธีสงตัวคูบาว – สาว มีขั้นตอนดังนี้ ๑. ดูฤกษยามมงคล

๒. พานพุม – พานดอกไม ๓. หมาก พลู

๔. แฟง ๕. หิน ๖. แปงหอม นํ้ามันหอม

๗. หวี กระจก

Page 26: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ความเปนมาของพิธีทําขวัญนาค นายมานพ จุยเจริญ ไดสืบทอดภูมิปญญาน้ีจากการอานเอกสาร ตํารา และมาครอบครู โดยลุงสุวรรณ จุยเจริญ เปนผูครอบครูให สวนประกอบในการทําพิธี ๑. กระบะทําดวยกาบกลวย ประมาณ ๔๐ เซนติเมตร จํานวน ๑ กระบะ ๒. ขาวดํา ขาวขาว ขาวแดง ๓. กุงพลา – ปลายํา ๔. ดอกไม ๕. หมาก – พลู ๖. มะพราว ๑ ลูก หุมกระดาษทอง ขั้นตอนการทําพิธีขวัญนาค ขั้นตอนที่ ๑ เสียแมซื้อ มีขั้นตอนดังนี้ ๑. กระบะ ๑ ใบ ประกอบดวย หมาก พลู กระทง ๗ กระทง ดอกดาวเรือง ขาวตอก ๒. มะพราว ๑ ลูก หุมกระดาษทอง ๓. พิธีเสียแมซื้อ ๔. ดอกไม ขั้นตอนที่ ๒ บทสวดชุมนุมเทวดา ๑. การเลาเรื่อง จํานวน ๒ ชั่วโมง ขั้นตอนที่ ๓ การทําขวัญนาค ๑. บายศรีหลัก ๕ ประกอบดวย ขนม ๓ อยาง ๒. กลวย ๒ ลูก ๓. ไขตมไวตรงยอดบายศรี ๔. นํ้ามะพราวออน ๑ ลกู ทั้งนี้ ลุงไดกลาววา ในสมัยกอนนาคจะนํากรวยดอกไม ประกอบดวย ดอกไม ธูป – เทียน ยาเสน ไปกราบลาอุปสมบท ผูเฒา ผูแก กอนที่จะบวชเปนการขออโหสิกรรม แตในปจจุบัน ญาติผูใหญจะมานั่งลอม รอเวียนเทียน ๓ รอบ ในการขออโหสิกรรม

๒. นายเหมือน แตงออน บานเลขที่ ๓๕ / ๑ หมู ๔ ตําบลหัวไทร

อําเภอบางคลา จังหวดัฉะเชิงเทรา พิธียกศาลบูชา พระภูมิ เจาที่ ไดรับการถายทอดมาจากลุงจาย อดีตผูใหญบาน หมู ๔ ตําบลหัวไทร

อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา จะทํากันในวันพฤหัสบดี ตนเดือนขางขึ้นในเดือน ๔ เดือน ๖ หรือเดือน ๘

Page 27: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๖วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

เครื่องของบูชาพระภูมิ - เจาที่ ๑. ธูป ๑ หอ เทียนหนัก ๑ บาท จํานวน ๗ เลม ดอกไม ๔ กํา ๒. เงิน ๑๒ บาท พวงมาลัย ๒ พวง ๓. บายศรีปากชาม ขาวปากหมอ ๒ ที่ ไขตม ๒ ลูก ๔. ขนมตมแดง ตมขาว อยางละ ๒ ที่ ๕. ผลไม ๓ อยาง ๒ ที่ ผาแดง ๒ ผืน ๖. ไก ๑ ตัว หมูตม ๑ ชิ้น ๗. เหลาขาว ๑ ขวด หมาก ๕ คํา ยาสูบ ๕ มวน ๘. กระดาษเงิน กระดาษทอง ๕ แผน ๙. ผาสามสี ๒ ชุด ทองคําเปลว ๗ แผน ๑๐. แปงหอม นํ้ามันหอม นํ้าอบไทย ๑ ขวด สิ่งของที่ตองใชบูชาแมธรณี และทําขวัญเสา ๑. ดอกไม ๓ กํา เงินกํานนครู ๑๒ บาท ๒. ธูป ๑ หอ เทียน ๕ เลม ๓. กระทง ๑๒ ใบ ใสกุงพลา – ปลายํา ๔ ใบ ใสขาวตอกดอกไม ๘ ใบ พอใสนํ้า ๑ ใสเหลา ๑ ผาขาว ๑ ผืน ๔. บายศรีปากชามใสขาวปากหมอ ไขตม ๑ ลูก ขนมตมแดง – ขนมตมขาว ๕. หนอกลวย ๒ หนอ ออย ๒ หนอ ผานุงหม ผาขาวมา ๑ ผืน ๖. พวงมาลัย ๒ พวง ผาสามสี ๒ ชุด ดายสายสิญจน ๗. ทองคําเปลว ๗ แผน แปงหอม ๑ นํ้ามัน ๑ ขวด นํ้าอบ ๑ ขวด

๓. นายบุญสง พิมพศรี อายุ ๘๑ ป บานเลขที่ ๔ / ๑ หมู ๗ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พิธีคูบาว – คูสาว ลุงบุญสงไดรับการถายทอดพิธีคูบาว – คูสาว จากคุณตาพวง รื่นเจริญ อยูที่คลองบางแกวเปนผูถายทอดภูมิปญญาให ขั้นตอนพธิีคูบาว – คูสาว ๑. คูบาว – คูสาว

๒. ทําพิธีเสียแมซื้อ โดยมีอุปกรณ กระบะ กาบกลวย (บัตรพลี) มีกระทง ๗ กระทง มะพราวหอดวยกระดาษเงิน กระดาษทอง โดยใหคูบาว – คูสาว มานั่งจุดธูปเทียน บูชา เชิญเทวดา กลาวช่ือแมซื้อ ๗ วัน เสร็จพิธีทําแลว นําของไปแขวนไวที่ตนไม

๓. นิมนตพระมาเจริญพระพุทธมนต ๔. จัดขนมในขันหมาก เทศนเพื่อเซนผี โดยลุงเคยทําพิธีตามตางจังหวัด เชน พังงา บุรีรัมย ฯ ๕. กินเลี้ยง ๖. ไหวญาติผูใหญ ๗. สงตัวเขาหอ

ขั้นตอนบูชาครู ๑. นํ้ามนตธรณีสาร ๒. บุหรี่ ๑ ซอง ๓. คากํานน ๓ บาท ๔. ธูป – เทียน / ดอกไม

Page 28: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๗วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๒๗วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 29: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๘วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ภูมิปญญาเกษตรผสมผสาน ต.หัวไทร อ.บางคลา จ.ฉะเชิงเทราภูมิปญญาเกษตรผสมผสาน

๑. นายเชาว แกวประสิทธิ์ อยู หมู ๔ บานทางขามนอย ต.หัวไทร อ.บางคลา จ.ฉะเชิงเทรา

๒. กิจกรรมที่มีรายไดแบบรายเดือน ๒.๑ กจิกรรมท่ีมรีายไดแบบรายเดือน การเล้ียงกุงกลุาดาํระบบปดและใชระบบชีวภาพบําบดั มรีายไดเฉลีย่เดอืนละประมาณ ๑๕,๐๐๐ บาท

ความคิดริเริ่มและความพยายามฟนฝาอุปสรรคในการดําเนินงานตามเศรษฐกิจพอเพียง เดิมทีเดียวพื้นที่ดินแปลงน้ีรกรางวางเปลาเปนเวลานาน ไดจัดซื้อมาเปนของตนเองเม่ือประมาณป ๒๕๒๘ มีเน้ือที่ ๒๔ ไรเศษ และไดดําเนินการพัฒนาพื้นที่เปนสวนมะมวง แตเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๓ ไดเกิดนํ้าทวมทําใหมะมวงเสียหายทั้งหมด แตก็ไมไดยอทอ แตอยางใด เริ่มดําเนินการปลูกมะมวงซํ้าใหมลงไปอีก แตเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๘ ไดเกิดนํ้าทวมใหญอีกครั้ง ทําใหมะมวงเสียหายหมด ทั้งสวน แตก็ยังไมยอมแพ ไดพัฒนาพื้นท่ีเปนนาขาว ๑ ป จึงไดนําแนวทางการเกษตรแบบทฤษฎีใหม (ไรนาสวนผสม) เขามาดําเนินการตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๐ เปนตนมา และประสบความสําเร็จ ผลงาน ไดแบงออกเปนกิจกรรมหลัก ๆ ๓ อยาง คือ ๑. กิจกรรมที่มีรายไดแบบรายวัน ๑.๑ กิจกรรมท่ีมีรายไดแบบรายวัน ผักหวานบาน ชะอม และอื่น ๆ ซึ่งมีรายไดเฉลี่ยวันละประมาณ ๗๒๐ บาท

๓. กิจกรรมที่มีรายไดแบบรายป ๓.๑ กิจกรรมท่ีมีรายไดแบบรายป เปนการเล้ียงปลาในแหลงนํ้าทั้งหมดที่อยู ๓.๒ การทํานา มีการปลูกขาวพันธุขาวดอกมะลิ ๑๐๕ บนเน้ือที่ ๕ ไร เพื่อบริโภคในครัวเรือน และเหลือจําหนาย ๓.๓ เลี้ยงโค จํานวน ๒๒ ตัว เพื่อจําหนายและใชมูลโคทําปุยคอก ๓.๔ การขยายพันธุผักหวาน และชะอมเพ่ือจําหนาย ๓.๕ ปลูกไมผล ไดแก มะพราว มะมวง ขนุน มะละกอ ฝรั่ง กลวย และอื่น ๆ เพื่อบริโภคในครัวเรือนและเหลือจําหนาย

นอกจากกิจกรรมตาง ๆ ที่กลาวมาแลวนี้ ในบริเวณพื้นที่จะใชชีวภาพเปนสวนใหญ เพื่อใหปลอดภัยตอตนเองและผูบริโภค จะมีการทํานํ้าหมักชีวภาพ ใชเลี้ยงกุง และปุยนํ้าชีวภาพใชในการเพาะปลูก

Page 30: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๒๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ประวัติการทํางาน ๑. เปนลูกจางรายวันโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริเขาหินซอน ป พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๒๖ (กรมปาไม) ๒. เปนลูกจางรายเดือนกรมพัฒนาที่ดิน ประจําที่ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริเขาหินซอน ป พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๓๐ ๓. เปนพนักงานบริษัทสัมมากร จํากัด (ทรัพยสินสวนพระองค) ป พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๔๐ ๔. เปนหวัหนาโครงการพัฒนาสวนพระองค ตําบลบางแตน อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี ป พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๖ รางวัลที่ไดรับ ๑. ไดรับรางวัลท่ี ๑ การประกวดสถาบันเกษตรและเกษตรกรดีเดน ระดับจังหวัดประจําป พ.ศ. ๒๕๔๖, ๒๕๔๘, ๒๕๔๙ สาขาไรนาสวนผสม ๒. ไดรับรางวัลที่ ๒ การประกวดสถาบันเกษตรและเกษตรกรดีเดนระดับเขต ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๘ สาขาไรนาสวนผสม ๓. ไดรับรางวัลที่ ๓ การประกวดสถาบันเกษตรและเกษตรกรดีเดนระดับเขต ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๙ สาขาไรนาสวนผสม ๔. ไดรับรางวัลดีเดน การประกวดศูนยการเรียนรูการเกษตรพอเพียงระดับจังหวัด ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒. นายประจักษ เอ่ียมศิริ อยู หมู ๖ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา อาชีพ เกษตรกร คุณประจักษ เอี่ยมศิริ ไดทําการเกษตร ป พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยทําเปนแปลงสาธิตแปลงแรก รอบ ๆ แปลงไดปลูกตนมะมวง ตนมะพราว กลวยหอม นอยหนา ชวงป พ.ศ. ๒๕๓๓ ประเทศไทยนิยมเลี้ยงกุงกุลาดํา จึงไดหันมาเลี้ยงกุงกุลาขาว กุลาดํา และเลี้ยงปลา ตอมาไดเปลี่ยนมาเลี้ยงกุงกุลาดํา ปนปลาจํานวน ๔๐๐ ไร (๓ – ๔ แปลง) ทั้งนี้ รอบ ๆ ฟารม ไดปลูกมะมวง มะพราว ปลูกผักสวนครัว โดยระยะเวลาการจับปลา ๑๐ – ๑๒ เดือน สวนการจับกุงกุลาดํา จะจับทุก ๆ ๓ เดือน

ซึ่งคุณประจักษ เอี่ยมศิริ ไดใชเครื่องมือในการดักกุงที่เปนภูมิปญญาทองถิ่นเวลาดักกุงจะเปนเวลา ชวงเย็น โดยใชลอบ (ไอโง) ดัก โดยใชไฟสองเขาไปในลอบ (ไอโง) เพื่อใหกุงเขามาเลนไฟ

Page 31: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๐วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ลอบ (ไอโง) ใชสําหรับดักกุง ปลา

รางวัลที่ไดรับในดานการเกษตร ๑. พ.ศ. ๒๕๔๕ รางวัลผูนําอาชีพกาวหนาจากจังหวัดฉะเชิงเทรา ๒. พ.ศ. ๒๕๕๓ รางวัลปราชญ ดานสหกรณการเกษตรจากจังหวัดฉะเชิงเทรา

Page 32: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๓๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 33: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๒วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

หัตถกรรม งานสานใบตาล

นางอิงอร โฉมระ

ผลิตภัณฑจักสานจากใบตาล เปนการจักสานดวยมือ ไมมีการใชเคร่ืองจักร วัสดุไดจากใบตาลออน นํามาตากแหง หรืออบแหง ยอมสี ใชมีดคม ๆ แบงเปนเสนขนาดตามตองการ ใบตาลขนาดสั้น – ยาว จะสานกระปุกทุเรียนไดใบเล็ก – ใหญ ใชเวลา ๓ – ๕ วัน ตอกระปุกทุเรียน ๑ ใบ นางอิงอร โฉมระ ไดริเริ่มสานกระปุกทุเรียนเปนคร้ังแรก เม่ือป พ.ศ. ๒๕๔๘ เนื่องจาก พี่สาวท่ีสืบทอดการสานมาจากคุณตาไดเสียชีวิต ทําใหนางอิงอรซึ่งปวยรักษาตัวอยูที่บานไดนํากระปุกมาแกะออกและฝกสานดวยตนเองไดอยางประณีต ลวดลายละเอียด สวยงาม นอกจากกระปุกท่ีสานอยูเปนประจํา ยังมีกระเปาถือ กระเปาหิ้วอีกดวย สวนลายดอกรัก ไดพืน้ฐานมาจากการสงัเกตเครือ่งจกัสานในพพิธิภณัฑของศูนยวชิาการทองถิน่ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร จึงนํารูปแบบมาพัฒนางานดังกลาว ในอนาคตจะสานเปนรูปเล็ก ๆ ไปถวายใน วัดบางกระเจ็ด

รูปแบบผลิตภัณฑ กระปุกทุเรียน กระเปาแบบตาง ๆ ตะกรา ฯลฯ ราคาจําหนาย ๒๕๐ – ๑,๕๐๐ บาท

ผูผลิต นางอิงอร โฉมระ อายุ ๕๖ ป ๔๖ หมู ๗ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา โทร ๐๓๘ – ๕๒๗๑๓๗

การประดิษฐดอกไมจันทนของกลุมสตรีในตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา การประดิษฐดอกไมจันทนของกลุมสตรี หมูที่ ๑ ตําบลหัวไทร กลุมสตรี หมูที่ ๑ ไดมีการรวมกลุมกันประดิษฐดอกไมจันทน โดยพัฒนารูปแบบตาม

ความตองการของลูกคา และพัฒนาผลิตภัณฑใหสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนหลังจาก เสร็จสิ้นพิธีกรรมตาง ๆ แลว เชน นําชอน นาิกา มาจัดใหเปนรูปแบบของพวงหรีด เปนตน โดยกําหนดราคาพวงหรีดดอกไมจันทน อัตรา ๓๐๐ บาท

Page 34: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๓๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 35: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๔วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ประวัติบุคคลสําคัญในตําบลหัวไทร

๑. ประวัติหลวงพอเชิด วัดลาดบัวขาว นามเดิม เชิด นามสกุล สุนทรวิจารณ ฉายา จนทสุวณโณ เกิด วันอังคารที่ ๒๓ กันยายน ๒๔๓๓ ปขาล สถานที่เกิด ตําบลบางปลารา อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี บิดา นายรุง ธูปหอม มารดา นางแดง สุนทรวิจารณ

อุปสมบท พุทธศักราช ๒๔๕๔ ณ วัดลาดบัวขาว ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พระอุปชฌาย พระครูรอด วัดคลองเข่ือน ตําบลคลองเข่ือน อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พระกรรมวาจาจารย พระอาจารยปาน เกสโร วัดลาดบัวขาว (เจาอาวาส

รูปแรก) ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พระอนุสาวนาจารย พระอาจารยเที่ยง วัดหัวไทร ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

การศึกษา เรียนหนังสือกับพระอาจารยปาน เกสโร เจาอาวาสวัดลาดบัวขาว

หนาที่การงาน ป พ.ศ. ๒๔๖๗ เปนเจาอาวาสวัดลาดบัวขาว

สมณศักดิ์ ป พ.ศ. ๒๔๙๙ เปนพระครูชั้นประทวน มีเรื่องเลาวา (สมัยกอนมีการรับพัดเหมือนพระครูสัญญาบัตร) ถึงเวลาทานไมไปรับ บอกวาไมไดขอ ใครใหก็เอามาใหเอง รอนถึงเจาคณะจังหวัดตองเอาพัดมาถวายเม่ืองานฝงลูกนิมิตวัดโพธ์ิบางคลา แลวทานก็ฝาก พระครูสุตาลงกชไว แสดงใหเห็นวาทานไมยึดติดในตําแหนง ทานเปนพระที่มีสติปญญาเฉียบแหลม ทรงจําพระปาฏิโมกข ทองเพียง

๗ วัน แตพอใหเปนคูสวดทานทําเปนสวดไมได คือไมสวดใหใคร

งานเผยแผ เปนพระฝายวิปสสนาธุระ เดินธุดงคตลอดชีวิต ปละประมาณ ๕ เดือน เปนหัวหนามีพระไมตํ่ากวา ๑๐๐ รูป รวมปฏิบัติ ธุดงควัตร มีคฤหัสถติดตามประมาณ ๒๐ คน กอนเปนเจาอาวาสทานเดินธุดงคตลอด ๒-๓ ป จึงกลับวัด ป พ.ศ. ๒๔๘๗ สมเด็จพระอริยะวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก (แพ ติสสเทโว) วัดสุทัศนเทพวรา

ราม กรุงเทพมหานคร ไดมีพระบัญชาใหพระมหาสงัดนําตูพระไตรปฎกพรอมคัมภีร เคร่ืองลายครามและพรมมาถวายโดยทางเคร่ืองบิน เพราะทรงทราบในจริยาวัตรจากคนใกล กลาววา “ทางวัดสุทัศนฯ นิมนตหลวงพอไปนั่งปรกถึงสามคร้ัง แตทานไมไปแมแตครั้งเดียว”

งานดานสาธารณประโยชน / ศึกษาสงเคราะห ป พ.ศ. ๒๔๗๒ สรางกุฎิทรงไทย ลักษณะตัวยู ๘ หลัง หลังคากระเบ้ืองโบราณ ฝาผนังแกะสลักงดงามมาก ป พ.ศ. ๒๔๘๔ เปนหัวหนาสรางโรงเรียนประชาบาล วัดลาดบัวขาว ป พ.ศ. ๒๔๙๔ สรางศาลาการเปรียญทรงไทย กวาง ๓๐ เมตร ยาว ๕๕ เมตร สรางเสร็จภายในสามเดือน

Page 36: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ความสามารถพิเศษ / เมตตาจิต ๑. รักษาคนวิกลจริตดวยยา กดดวยมีดอีโต ลงอาคม (จิตวิทยา) มีผูมาใหรักษาตลอด ๒. รักษาโรคทุกอยางดวยมีดอีโต และเปาพนนํ้าหมาก รดนํ้ามนต วาจาสิทธิ์ ๓. มพีลงัทางจติสงู แปลงกายเปนเสอืสมงิได หายตวั สมยัทานอยูกบัหลวงพอคง วดัชาํปางาม สามารถยนระยะทางบณิฑบาตแถบพระโขนงกับหลวงพอคงผูเปนอาจารย ๔. อดีตเจาคณะจังหวัด วัดสัมปทวน เมตตาทานมาก เพราะความเปนพระตรงไปตรงมา พ.ศ. ๒๔๖๙ ทานหลอ พระธัมมจักรที่วัดลาดบัวขาว ทองเหลือง ทองแดง ลงหิน ทองคํา เหลือจากเทองคใหญ นายชางแถวอําเภอพยุหะคีรี ทําพระนักษัตรให โดยเก็บเงินทีหลัง เพราะทานไมอยากทํา ถูกนายชางยัดเยียดใหทํา ครั้นเวลาผานไปนายชางก็มาเก็บเงิน ทานไมมีจายใหจึงฟอง เจาคณะจงัหวดัหลายครัง้ เจาคณะจงัหวดักม็าสอบสวน จะปลดจากเจาอาวาส ทานกพ็ดูทาํนองวา “ปลดผมกอ็อกเพราะไมอยากจะเปน” มีอยูครั้งหน่ึงที่เจาคณะจังหวัดมาท่ีวัด ลูกศิษยนิมนตหลวงพอใหไปตอนรับที่ทานํ้า ทานบอกวามาจากไหนมาได ถึงวัดแลวไมขึ้นวัด ก็อยูในเรือ กูไมไป จนกระท่ัง ป พ.ศ. ๒๔๘๐ ทานจองกฐินเพราะเช่ือมั่นในศีลาจารวัตรของหลวงพอ นําคณะมาถวายส่ิงของโบราณ เชน ตุมนํ้าโบราณเขียวไขกา เครื่องลายครามกระโถน ฯลฯ ปจจุบันยังมีใหชม

มรณภาพ ทานมรณภาพ วันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๐ สิริรวมอายุ ๖๖ ป หลวงพอเชิดทานมีเรือประจําตัวของทานชื่อ “เรือมาตรประสาทพร” ใชเปน ยานพาหนะเวลาไปไหนมาไหนในสมัยนั้น เวลาไดลวงเลยมาถึงปจจุบัน เรือได หายไปจากวัดนานแลว จนกระท่ังนายประเสริฐ รอดอุดม ฝนเห็นหลวงพอเชิด ทานถามวา “เอาเรือไปไวที่ไหน” ตอจากน้ันไดเดินทางไปหาซ้ือถังตวงขาว ๒ ลูก ไปขามนอยได ๑ ลูก เขตนํ้านา ๑ ลูก ไดเอามาไวที่บานนายแหยม เลยมองเห็น เรือจอดอยูบนบกและตากแดด เรือหลวงพอเชิดลํานี้มีคนนํามาถวายท่ีวัดไผขวาง

จึงจําเปนตองจัดทอดผาปาขอซื้อเรือคืนกลับมาในวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ซึ่งเรือลําน้ีทําจากไมตะเคียน อายุ ๑๐๐ กวาป ปจจุบันยังอยูที่วัด

๒. ประวัติพระครูสุนทรธรรมวิทิต (ชุมพล สุนทรวิจารณ) ชื่อ พระครูสุนทรธรรมวิทิต (ชุมพล สุนทรวิจารณ) เกิด วันท่ี ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ ปจจุบันอายุ ๖๕ ป เกิดที่ ๑๑ หมู ๑ ตําบลบางกระเจ็ด อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ปจจุบัน อยู หมู ๖ ถนนวัดลาดบัวขาว ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

ประวัติครอบครัว บิดา ชื่อ นายชื้น สุนทรวิจารณ มารดา ชื่อ ลมุด สุขประเสริฐ สถานภาพ โสด

ประวัติการศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนวัดลาดบัวขาว

สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนสุตะบํารุงวิทยาคาร สําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาตรี จาก พ.ม. จังหวัดฉะเชิงเทรา ป พ.ศ. ๒๕๑๗

Page 37: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๖วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ตําแหนง / หนาที่ พ.ศ. ๒๕๔๒ เปนเจาอาวาสวัดลาดบัวขาว พ.ศ. ๒๕๔๙ รับพระราชทานสมณศักดิ์เปนเจาคณะตําบลช้ันโท ที่พระครูสุนทรวิทิต พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนพระอุปชฌาย

ผลงานที่ภาคภูมิใจ ๑. สรางกุฏิสงฆวัดลาดบัวขาว ๒. งานปกครองท่ีเรียบรอย ๓. การเผยแพรวัฒนธรรม (เทศนมหาชาติ)

เหรียญ / รางวัล / ประกาศเชดิชูเกียรติที่เคยไดรับ - โลเกียรติยศ (ธรรมจักร) สวท. นักเผยแพรดีเดน ป พ.ศ. ๒๕๓๔หลักการทํางานและหลักในการดําเนินชีวิต - ตั้งใจจริง มุงประโยชนเพื่อสังคม เสียสละ ทุมเทการทํางานทรรศนะเก่ียวกับอําเภอบางคลา - เปนท่ีนาอยู ประชาชนมีคุณธรรมสูง จัดเปนปฏิรูปเทสะ

๓. ประวัติพระมหาสงา วีรัปปญญาโณ ชื่อ พระมหาสงา วีรัปปญญาโณ สังกัด ธรรมยุตนิกาย เจาอาวาสวัดมูลเหล็ก ตําบลบานสราง อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี สถานะเดิม ชื่อ สงา วัฒนานนท

เกิด วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๔๖๖ ปจจุบันอายุ ๘๖ ป สถานท่ีเกิด หมู ๑ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา บิดา ชื่อ นายธรรม วัฒนานนท มารดา ชื่อ นางเจ็ก วัฒนานนท

๑. บรรพชา พ.ศ. ๒๔๗๙ เปนสามเณรตั้งแตอายุ ๑๔ ป วัดหัวไทร ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

อุปสมบท วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ ปมะแม ณ วัดเทพศิรินทร ตําบลเทพศิรินทร อําเภอปอมปราบ จังหวัดพระนคร พระอุปชฌาย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย วัดเทพศิรินทร ทานเจาคุณพระศรีวิสุทธิวงศ วัดเทพศิรินทราวาส เปนพระกรรมวาจารย

Page 38: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๗วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๒. วิทยฐานะ พ.ศ. ๒๔๗๘ สําเร็จประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียนประชาบาล วัดหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. ๒๔๗๙ สอบไดนักธรรมตรี สํานักเรียนวัดเทพศิรินทร อําเภอปอมปราบ จังหวัดพระนคร พ.ศ. ๒๔๘๐ สอบไดนักธรรมโท สํานักเรียนวัดเทพศิรินทร อําเภอปอมปราบ จังหวัดพระนคร พ.ศ. ๒๔๘๑ สอบไดนักธรรมเอก สํานักเรียนวัดเทพศิรินทร อําเภอปอมปราบ จังหวัดพระนคร พ.ศ. ๒๔๘๕ สอบไดเปรียญธรรม ประโยค ๓ สํานักเรียนวัดเทพศิรินทร อําเภอปอมปราบ จังหวัดพระนคร พ.ศ. ๒๔๘๖ สอบไดเปรียญธรรม ประโยค ๔ สํานักเรียนวัดเทพศิรินทร อําเภอปอมปราบ จังหวัดพระนคร การศึกษาพิเศษทางธรรม ความชํานาญการสอนปริยัติธรรมและการกอสราง ๓. ดํารงตําแหนง พ.ศ. ๒๔๙๑ พระอาจารยสอนนักธรรมและภาษาบาลีวัดเจดียหลวง จังหวัดเชียงใหม พ.ศ. ๒๕๒๗ เจาอาวาสวัดมูลเหล็ก อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. ๒๕๓๒ ไดสมณศักดิ์ พระครูชั้นโท (พระครูธรรมทีปาจารย) พ.ศ. ๒๕๓๘ ไดสมณศักดิ์ พระครูชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๕๑ เทียบเทาพระอารามหลวงช้ันเอก อันดับ ๑ และอันดบั ๒ ๔. ผลงานที่ภาคภูมิใจ ไดเปนผูนาํชาวบานสรางสิง่กอสรางและตดิตอหนวยงานราชการเพ่ือดาํเนินการสรางส่ิงกอสรางทีเ่ปนสาธารณประโยชน ดังตอไปนี้ พ.ศ. ๒๕๑๑ อาคารโรงเรียนวัดหัวไทร พ.ศ. ๒๕๑๓ อาคารโรงเรียนวัดหัวไทร หลังที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๑๔ ทลูเชิญพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัฯ และสมเด็จพระบรมราชินนีาถ เปดอาคารเรียน และตัดลกูนมิติ พระอุโบสถวัดหัวไทร พ.ศ. ๒๕๑๙ - ขออนุญาตตั้งโรงเรียนมัธยม (โรงเรียนวัดเปยมนิโครธาราม) - ติดตอใหการไฟฟาสวนภูมิภาคเดินสายจายไฟ จากตําบลปากน้ํามายังตําบลหัวไทร - สรางทางสายหัวไทรไปวัดทางขามนอย - สรางทางจากตําบลหัวไทรไปถึงวัดนํ้าฉา

- หอประชุมโรงเรียนวัดหัวไทร พ.ศ. ๒๕๓๐ สรางทางจากวัดปากนํ้า ผานบาน ๓ แยก พ.ศ. ๒๕๓๗ สถานีอนามัยตําบลหัวไทร ศาลาการเปรียญหลังใหญ วัดหัวไทร

๕. เหรียญ / รางวัล / ประกาศเชิดชูเกียรติที่เคยไดรับ พ.ศ. ๒๕๑๙ ไดพัดยศ พระนักพัฒนา

๖. หลักการทํางานและหลักในการดําเนินชีวิต ตองพัฒนาชุมชนและวัดใหมีความเจริญทางดานวัตถุ จิตใจและศาสนาใหไดทัดเทียมที่อื่น

๗. ทรรศนะเกี่ยวกบัอําเภอบางคลา โดยภาพรวมแลวอําเภอบางคลามีความเจริญทั้งดานวัตถุและจิตใจแลวในระดับที่นาพอใจแตตองการใหคนในสังคม มีความชวยเหลือซึ่งกันและกันมากกวานี้และลดชองวางระหวางฐานะของคนในสังคม

Page 39: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๘วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๔. ประวัติพระสมศักดิ์ ขนฺติสาโร ชื่อ พระสมศักดิ์ ขนฺติสาโร เจาอาวาสวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา อุปสมบทเมื่ออายุ ๕๐ ป ณ วันท่ี ๑๑ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙เวลา ๑๔.๓๐ น. วัดลาดบัวขาว ตําบลบางกระเจ็ด อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

๕. ประวัติพระครูพิพัฒนวรากร พุทธญาโณ ชื่อ พระครูพิพัฒนวรากร พุทธญาโณ สังกัด มหานิกาย อดีตเจาอาวาสวัดหัวไทร ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ชื่อเดิม นายสวาง นามสกุล กองแกว เกิดวันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๙ มรณภาพ วันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ บิดา ชื่อ นายวัน กองแกว มารดา ชื่อ นางไล กองแกว อาชีพ รับจาง

๑. กอนอุปสมบท อยูบานหัวไทร หมู ๑ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๑๑๐ มีอาชีพ รับจาง ๒. อุปสมบท ที่วัดหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เม่ือวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๑ ๓. การศึกษาสามัญ อยูในระดับประถมศึกษาปที่ ๔ ๔. การศึกษาพระปริยัติธรรม สําเร็จนักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๔๙๗ สํานักเรียนวัดหัวไทร ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๕. ดานการปกครอง พ.ศ. ๒๕๐๖ เปนรองเจาอาวาส พ.ศ. ๒๕๑๖ เปนเจาอาวาส

๖. ประวัตินายประจักษ เอ่ียมศิริ ชื่อ นายประจักษ นามสกุล เอี่ยมศิริ เกิดวันที่ ๑๗ สงิหาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ปจจุบันอายุ ๘๖ ป สถานที่เกิด หมู ๓ ตําบลบางกระเจ็ด อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ปจจุบัน อยู หมู ๖ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา อาชีพ เกษตร ๑. ประวัติการศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนพูลทรัพยวิทยาคาร สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนสุตะฯ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ดานการเกษตร

๒. ตําแหนง / หนาที่ ๑. ประธานกองทุนหมูบานลาดบัวขาว

๒. ประธานศูนยถายทอดเทคโนโลยีของตําบลหัวไทร ๓. ประธาน อสม.ของตําบลหัวไทร ๔. ประธานสหกรณการเกษตรของอําเภอบางคลา

๕. ประธานสถานศึกษาโรงเรียนวัดลาดบัวขาว ๖. ประธานสถานศึกษาโรงเรียนวัดบางกระเจ็ด

Page 40: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๓๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๗. กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนวัดเปยมนิโครธาราม ๘. คณะกรรมการสาธารณสุข (สปสช.)

๓. ผลงานที่ภาคภูมิใจ ทําสิ่งที่เปนประโยชนตอสวนรวม โดยไมคํานึงถึงประโยชนสวนตัว ๔. เหรียญ / รางวัล / ประกาศเชิดชูเกียรติที่เคยไดรับ ป พ.ศ. ๒๕๕๓ รางวัลปราชญดานสหกรณการเกษตรจากจังหวัดฉะเชิงเทรา รางวัลพอตัวอยางแหงชาติ ป พ.ศ. ๒๕๔๕ รางวัลผูนําอาชีพกาวหนา จากจังหวัดฉะเชิงเทรา ป พ.ศ. ๒๕๔๔ กํานันแหนบทองคํา จากกระทรวงมหาดไทย ป พ.ศ. ๒๕๔๐ กํานันแหวนเพชร ป พ.ศ. ๒๕๒๖ รางวัล อสม. ดีเดนของจังหวัดฉะเชิงเทรา ๕. หลักการทํางานและหลักในการดําเนินชีวิต ใชการศึกษาจากธรรมชาติเปนองคประกอบในการทํางาน

๖. ทรรศนะเกี่ยวกับตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา มีโรงแปรรูปสุกรที่ไดมาตรฐานและมีพื้นที่ตั้งที่เอื้ออํานวยในการลงทุนทางเศรษฐกิจและการเกษตร

๗. ประวัตินายวิฑูร สุนทรเสณี ชื่อ นายวิฑูร นามสกุล สุนทรเสณี เกิดวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๔๘๕ ปจจุบันอายุ ๗๐ ป คูสมรส พลตรีหญิงวัธนี สุนทรเสณี อาชีพ ทันตแพทย โรงพยาบาลพระมงกุฎ ๑. ประวัติการศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนวัดหัวไทร สําเร็จการศกึษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ และโรงเรียนอํานวยศิลปพระนคร (๒ ป) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (กสิกรรมและสัตวบาล) หลักสูตร ๕ ป รุนที่ ๒๐ กิจกรรมระหวางเปนนักศึกษา ๑. ประธานนักศึกษา ๒. นักกีฬารักบี้ทีมชาติ

๒. การอบรมและดูงาน เนือ่งจากจบคณะกสิกรรมและสัตวบาลจึงไดไปศึกษาดูงานตางประเทศ ในการแลกเปล่ียนองคความรูบอย เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศออสเตรเลีย

๓. ประสบการณในการทํางาน ๑. บริษัทเคมีภัณฑ / บริษัทเชลลแหงประเทศไทย ทํางานเปนระยะเวลา ๑๖ ป โดยทําแปลงทดลองแปลงฝาย ๒. ผูจัดการฝายเคมีการเกษตร ผูจัดการเคมี ผูใชในบานเรือน ๓. บริษัทยูเนี่ยนคารไบด ตําแหนง Country manager ระยะเวลา ๔ ป

๔. ประธานกลุมบริษัทโปรครอป จํากัด โดยไดตั้งบริษัทโปรครอปในการนําเขาปุย

๕. หลังจากเกษียณอายุ จากประธานกลุม โปรครอป จํากัด ตอนอายุ ๖๐ ป มาทํางานที่บางปะกงฟารม

Page 41: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๐วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๖. ผูจัดการบางปะกงฟารม จุดประสงคในการตั้งบางปะกงฟารม เพื่อใชเปนศูนยการเรียนรูทางการเกษตรรวมกับ กรมประมง และบริษัท เอกชน ซีพี เปนศูนยเลี้ยงลูกปลาขนาดเล็กที่มีอายุได ๗ – ๑๕ วัน นํ้าหนักประมาณ ๒ กรัม ก็จะสามารถ โยกยายมาที่บางปะกงฟารม เมื่อนําปลาลงเลี้ยงในบอจะเจริญเติบโตไดขนาด ๑๐๐ กรัม สงขายใหเกษตรตอไป ซึ่งบางปะกงฟารม เปนศูนยเพาะพันธุปลาทับทิมในภาคตะวันออก สวนเรื่องที่เกี่ยวกับปาไม ไดประสานกับกรมปาไมเพื่อผลิตถานไมอัดแทง เรียกวา “ถานอัดแทงไรควัน” ใหความรอนสูงอยูไดนาน ๗. ผูริเริ่มสมาคมไผแหงประเทศไทยและพืชทดแทนพลังงาน โดยคุณวิฑูรไดรณรงคการปลูกไผเพื่อปองกันและ แกไขปญหานํ้าทวม หรืออาจเรียกไดวาไผชวยชาติ ๔. เหรียญ / รางวัล / ประกาศเชิดชูเกียรติที่เคยไดรับ มีหนวยงานมามอบรางวัลให แตไมประสงคขอรับรางวัลใด ๆ ทั้งส้ิน เนื่องจากเปนคนที่ไมไดยึดติดกับตําแหนงใด ๆ ขอทํางานเพ่ือรับใชสังคมมากกวา ๕. หลักการทํางานและหลักในการดําเนินชีวิต ตองทํางานใหคุมคา ควรใหคนรุนใหมเขามาพัฒนาการดําเนินงาน อยายึดติดกับอายุ ตองมีอายุมากจึงจะบริหารงานเกง

และในอนาคตมีการเลี้ยงปลาในบอแบบผสมผสาน มีปลาในกระชัง กุงกามกราม กุงขาว โดยทําเปนระบบที่เผยแพรตอไป

๖. ทรรศนะเกี่ยวกับตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา อยากใหภาครัฐเขามาสงเสริมในเร่ืองแหลงเรียนรู การนําเทคโนโลยีมาใชกับประชาชนในทองถิ่น โดยเช่ือมโยงกับผูมี ความรู เชน บางปะกงฟารม นําเทคโนโลยีเชื่อมโยงกับเกษตรกับฟารมใหญ ๆ

Page 42: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๔๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 43: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๒วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ประเพณีในตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑. ประเพณีการเสียแมซื้อ ประเพณีการเสียแมซื้อ นิยมทํากันในพ้ืนบานตําบลหัวไทร และใกลเคียง จากการสอบถามประเพณีนี้จากคณะกรรมการ ขั้นพื้นฐานของโรงเรียน คือ นายสุทัศน เมฆฉ่ํา และจากภูมิปญญาทองถิ่นของโรงเรียนวัดหัวไทร คือ นางกลอม แกวมณี ไดความวา ประเพณีเสียแมซื้อ จะทําพิธีนี้เฉพาะงานมงคลตาง ๆ เชน ประเพณีโกนจุก ประเพณีบวชนาค และประเพณีการแตงงานเทาน้ัน ประเพณีเสียแมซื้อนี้จัดทําข้ึนเพ่ือเปนการเคารพ สักการะ และเพ่ือเปนการระลึกถึงแมซื้อประจําวันเกิดของแตละคน คอยดูแลเรามาต้ังแต แรกเกิด โดยมีชื่อแมซื้อแตละวันเกิด ดังนี้ แมซื้อวันอาทิตย ชื่อวา แมจิตดาวัน แมซื้อวันจันทร ชื่อวา แมจันทะนงคราญ แมซื้อวันอังคาร ชื่อวา แมลักขะบริสุทธิ์ แมซื้อวันพุธ ชื่อวา แมสามนทัด แมซื้อวันพฤหัส ชื่อวา แมสะโลทุกข แมซื้อวันศุกร ชื่อวา แมยักษขะนงเยาว แมซื้อวันเสาร ชื่อวา แมเอตาลัย การจัดทําเคร่ืองเซนไหว โดยการใชกาบกลวยกวางประมาณ ๒.๕ นิ้ว มาทําหักมุมฉากทําเปนกระบะส่ีเหล่ียม (บัตรพลี) มีเชือกผูกโยงส่ีมุมไวสําหรับแขวน ใชไมไผเสียบภายในกระบะ เวนระยะพอประมาณ จํานวน ๔ – ๕ อัน เสร็จแลวตัดใบตอง วางบนพ้ืนนั้น ใชใบตองทํากระทงพองาม ประมาณ ๗ ใบ วางในกระบะนั้น ภายในกระทงใส ดอกไม ธูป เทียน หมาก พลู สตางค กระทงละ ๑ บาท ใสกุงพลา ปลายํา (ยําปลากระปองก็ใชได) เตรียมมะพราวแหง ๑ ลูก หุมดวยกระดาษเงินกระดาษทอง ถาเปนงานแตงงานใชมะพราว ๒ ลูก ถาโกนจุกจะตองมี

สายสิญจนยาวประมาณ ๑ คืบเศษ ไปผูกท่ีจุกเด็กท่ีจะโกนจุกแลวนํามาใสในกระทงไว เวลาจะทําพิธีใชผาขาวปูกับพื้น และเอากระบะ ที่มีเคร่ืองเซนไหวครบมาวางบนผาขาวน้ัน ผูทําพิธีจะกลาวเปนคําคลองจองเรียนเชิญแมซื้อทั้ง ๗ วัน มากินเคร่ืองเซนไหว เพ่ือเปนการสกัการบูชา และระลึกถงึพระคณุของแมซือ้ เสรจ็แลวจะนาํกระบะนัน้ไปแขวนท่ีตนไมทางทิศตะวนัออกเพือ่เปนการขอขมาลาโทษแมซือ้ที่คอยเฝาดูแลเลี้ยงดูมาเพื่อเปนสิริมงคลแกคนโกนจุก คนบวชนาค หรือคูบาวสาวท่ีจะแตงงานกัน ใหมีความสุข ความเจริญรุงเรือง ตลอดไป เปนอันเสร็จพิธีเสียแมซื้อ

๒. ประเพณีแหพระพุทธชินราช ประวัติวัดทางขามนอย วัดทางขามนอย ปจจุบันตั้งอยูในหมูที่ ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

มีความเปนมาดังนี้ (บัณฑูรย บุญประเสริฐ : ๒๕๕๓) เนื่องดวยมีพระธุดงค ๓ รูป คือ พระกล่ัน พระเทียน และพระหมก ได เดินธุดงคจากจังหวัด

นครราชสีมา จนกระทั่งถึงหมูบานทางขามนอย (ที่ชื่อหมูบานทางขามนอยเนื่องจากบริเวณหมูบานแตดั้งเดิมเปนปาไมและมีลําธารที่มี นํ้าไหลผาน สัตวตาง ๆ พากันเดินขามลําธารที่เปนทางเดินของสัตว จากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่งซึ่งเปนทางเล็ก ๆ และต้ืนเขิน โดยสัตว

ตาง ๆ ใชขามไปมา ปจจบุนัก็คอืบรเิวณขางวดั และไดเปลีย่นมาเปนคลองคมูอญ) ตอจากนัน้ราษฎรกไ็ดนมินตพระท้ัง ๓ รปู ใหอยูประจาํในหมูบาน และไดปรึกษากันที่จะสรางสํานักสงฆขึ้น โดยมีนายเกิด นางแหรม ราษฎรในหมูบานไดยกที่ดินใหเปนสํานักสงฆจํานวน ๑๒ ไรเศษ และไดยกบานใหจํานวน ๓ หลัง เพื่อใชเปนกุฏิ และไดเปนสํานักสงฆในปใดไมปรากฏ ตอมามีการกอสรางเพิ่มเติมและ

ไดยกฐานะเปนวัด เมื่อป พ.ศ. ๒๔๒๔ โดยใชชื่อวา วัดศรีวิไลราษฎรศรัทธาธรรมขามนอย อําเภอหัวไทร (ปจจุบันเปลี่ยนมาเปน อําเภอบางคลา) จังหวัดฉะเชิงเทรา

Page 44: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ตอจากนั้นก็มีการสรางพระอุโบสถ ในป พ.ศ. ๒๔๖๔ แตก็ไมมีพระประธานในพระอุโบสถ นายขํา นายกุล และนายจ๊ีด ราษฎรในหมูบานไดเดินทางไปจังหวัดพิษณุโลก เพื่อไปนมัสการหลวงพอพระพุทธชินราช และไดหาชางมาทําแบบจําลองหลอ หลวงพอพุทธชินราชขึ้น เพื่อประดิษฐานในพระอุโบสถ (หลังเดิม) และไดมีการจัดงานเฉลิมฉลองใหหลวงพอปละ ๒ ครั้ง ตลอดมา คือ ๑. งานประเพณีแหหลวงพอพุทธชินราช คือวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ หลังออกพรรษา ๑ วัน ในสมัยกอนจะนําหลวงพอ พุทธชินราชจําลอง แหทางนํ้าไปตามลําคลองตาง ๆ ออกสูแมนํ้าบางปะกง เพื่อใหประชาชนไดปดทองและสักการบูชา ซึ่งปจจบุันมีถนน แมนํ้าลําคลองจึงไมมีการสัญจรไปมาจึงเปลี่ยนมาแหทางบกโดยใชรถเปนขบวนแห ราษฎรไดปฏิบัติกันเปนประจําทุกปเม่ือถึงวันนี้

๒. ประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ซึ่งถือเปนงานประจําป เปนการสมโภชองคหลวงพอในเดือนท่ีมีการสรางหลวงพอขึ้น โดยจัดงานใหหลวงพอ ๒ วัน คือ ขึ้น ๑๒ คํ่า และ ๑๓ คํ่า เดือน ๔ เพื่อใหประชาชนในหมูบานและประชาชนท่ีมาจากตางถิ่นไดปดทอง กราบไหว สักการบูชา

การจัดงานปละ ๒ ครั้ง ทางคณะกรรมการวัดจะตองจัดลิเกมาแสดงใหหลวงพอ ซึ่งมีการปฏิบัติสืบตอกันมา เนื่องจาก หลวงพอพุทธชินราชเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนไดมาบนบานตอหลวงพอในเรื่องตาง ๆ ปรากฏวาประสบความสําเร็จ จึงนําลิเกมาแสดง มารําถวาย เปนประจํา ปใดไมจัดงานซึ่งเคยมีมา จะเกิดอาเพศตาง ๆ ในหมูบาน

Page 45: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๔วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

- การสืบสานประเพณีทองถิ่น คาํวา ทองถ่ิน หมายถึง พืน้ทีแ่ละขอบเขตท่ีชมุชนหมูบาน เมือง มกีารปะทะสังสรรคกนัทางสังคม เศรษฐกจิและวัฒนธรรม จนปรากฏรูปแบบทางวฒันธรรมทีเ่หมือนกนัและแตกตางกนัไปจากชมุชน หมูบาน และเมอืง ในทองถิน่ซ่ึงจะพบวาวฒันธรรมและประเพณ ีของทองถ่ินแตละแหงอาจมีรูปแบบแตกตางกันไปตามสภาพภูมิศาสตร ศาสนา และความเช่ือ ในภาคกลางสภาพภูมิศาสตรสามารถ แบงวัฒนธรรมออกเปน ๓ ลักษณะ คือ ๑. ทองถ่ินที่ตั้งอยูสองฟากฝงแมนํ้า ใชเสนทางนํ้าในการไปมาหาสู ซื้อขายสั่งของเครื่องอุปโภคบริโภคกัน ทองถิ่น ดังกลาว เชนนี้ คือทองถิ่นรุนเกาที่สุด ๒. ทองถ่ินที่ตั้งอยูตามทองทุง ตามท่ีราบ ซึ่งในภาคกลางมักเปนพ้ืนที่อันกวางใหญ และมีชาวนามาต้ังบานเรือน หลายหมูบานเขามาทํานาในท่ีราบลุมแหงนี้ บางแหงนี้เปนทุงราบไมกวางใหญ ก็มีทองถ่ินเดียว โดยมีหนองน้ําเปนแหลงอุปโภคบริโภค การติดตอสื่อสารสวนใหญใชเสนทางนํ้า เชน คู คลอง มีเรือแลน เปนตน ๓. ทองถิ่นท่ีอยูหางจากทองทุง เปนพ้ืนที่ดอนและไกลจากชุมชนมักเรียกวา “บานปา” ดานการเปลี่ยนแปลงทองถิ่นท่ีอยูกลางทุงจะเปลี่ยนเขาสูระบบเศรษฐกิจใหมเพื่อการคาเชนเดียวกับชุมชนริมนํ้า เมื่อกลาวถึงวัฒนธรรมทองถ่ินภาคกลางแลวจะพบวาภาคกลางมีประชาชนอยูจํานวนมากหลายกลุม หลายเช้ือชาติ และหลากหลายวฒันธรรม ทาํใหประเพณทีองถิน่มคีวามแตกตางกนัไป เชน การแตงกาย การละเลน ความเชือ่ ฯลฯ ซึง่ผูเขยีนไดมโีอกาส ไปรวมกิจกรรมการสืบสานประเพณีแหพระพุทธชินราชและแขงขันเรือพายบานทางขามนอย ครั้งที่ ๑๒ วันอาทิตยที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ วัดทางขามนอย อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยทางคณะกรรมการวัด และองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ไดอัญเชิญหลวงพอพุทธชินราชประดิษฐานบนรถยนต แหไปยังวัดตาง ๆ ในพื้นที่ตําบลหัวไทร โดยเริ่มจากวัดลาดบัวขาว วัดใหมคูมอญ และวดัหวัไทร เพ่ือใหพีน่องประชาชน และพทุธศาสนกิชนไดทาํบญุปดทอง และนมสัการหลวงพอพทุธชนิราช หลังเสรจ็พธิจีากวดัหัวไทร ไดอัญเชิญหลวงพอพุทธชินราชกลับประดิษฐานยังโบสถวัดทางขามนอย ซึ่งผูนําทองถิ่น นักเรียน พอคา ประชาชน แขกผูมีเกียรติ ที่มารวมงานต้ังแถวขบวนแหหลวงพอพระพุทธชินราชบริเวณซุมประตูทางเขาวัด โดยจะแหรอบโบสถ จํานวน ๓ รอบ ซึ่งนายสุรพล โกศาสตร ผูใหญบานหมู ๔ ไดเลาใหฟงวา ในอดีตการแหหลวงพอพุทธชินราช จะแหทางเรือ ใชเรือบรรทุกขาวแห โดยจะออกจาก วัดทางขามนอยไปยังวัดลาดบัวขาว ผานวัดบางกระเจ็ด ออกจากวัดบางกระเจ็ด ไปยังวัดบานกลวย มาสุดที่วัดหัวไทร ใหประชาชน กราบสักการะ ปจจุบันการชลประทานปดทางนํํ้าและนํ้ามันราคาแพง จึงเปล่ียนจากแหทางนํ้ามาเปนทางบกแทน ชวงบาย มีการแขงขัน เรือพายพ้ืนบานประเภทตาง ๆ กีฬาพื้นบาน เปนตน ในการจัดงานทางคณะกรรมการวัดจะตองจัดลิเกมาแสดงถวายใหหลวงพอ โดยประชาชนมีความเช่ือวา ขอพรหรือบนบานกับหลวงพอพุทธชินราชไว ถาส่ิงท่ีขอไดดังสมปรารถนาก็จะนําลิเกมาแสดงถวาย ในอดีตท่ีผานมาจะเร่ียไรเงินคาลิเกไปตามบาน ปจจุบันเม่ือถึงงานประจําป ประชาชนก็จะนําเงินบริจาคมารวมกันใหคณะกรรมการวัดจางลิเกมาเลนถวายหลวงพอ ซึ่งคาลิเกประมาณ ๘๘,๘๐๐ บาท / คืน นอกจากน้ี ชวงกลางคืนประชาชนท่ีแกบนจะมาแจงกับ

คณะกรรมการวัดใหคณะลิเกรําถวาย โดยคณะลิเกจะจัดชุดรําถวายชุดละ ๖ คน ซึ่งประชาชนในตําบลหัวไทรมีความเชื่อวาหลวงพอ พุทธชินราชโปรดลิเกและการรําถวาย หากนําภาพยนตรมาฉายจะทําการคาไมข้ึน ดังน้ันประชาชนจะอธิษฐานและแกบนดวยลิเก จากคําบอกเลาของคณะกรรมการวัด ประชาชนท่ีเขารวมงานสวนใหญจะบนเรื่องการขายที่ดิน การเล้ียงกุง การประกอบอาชีพ เมื่อไดราคามากก็จะนําลิเกมาถวาย สวนคนท่ีมีกําลังทรัพยนอย จะบนในเรื่องการใหหายจากเจ็บไข การสมัครเรียน เปนตน ก็จะใหชุดลิเกรําถวาย บางคืน ผูแสดงลิเกรําถึง ๒๐ เที่ยวข้ึนไปก็มี โดยผูเขียนไดไปรวมการสืบสานประเพณีแหพระพุทธชินราช ในแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑

และเมื่อวันที่ ๑๕ – ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดมีโอกาสไปรวมประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ซึ่งเปนงานประจําป สมโภชองคหลวงพอที่ทางวัดทางขามนอยไดจัดงานจํานวน ๒ วัน คือ วันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ในชวงเชาทางคณะกรรมการวัดทางขามนอยไดทําพิธีบวงสรวงหลวงพอพุทธชินราชในครั้งนี้ดวย ในการน้ี ของที่ใชในการบวงสรวงหลวงพอพุทธชินราช คือ ผลไม ๕ อยาง บายศรี ซึ่งทาง

คณะกรรมการวัดไดนิมนตพระสงฆจํานวน ๙ รูป มาสวดเจริญพระพุทธมนต ใหหลวงพอในวันแรกของการจัดงาน มีลิเกมาแสดง ถวายหลวงพอในภาคกลางคืน สวนวันท่ี ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ มีลิเกแสดงท้ังกลางวันและกลางคืน รวมทั้งนักแสดงลิเกไดรําถวายหลวงพอพุทธชินราชกอนแสดงลิเกดวย จากหลักฐานทางประวัติศาสตรดังกลาว จะพบวาแตละวัฒนธรรมมีบริบท มีประวัติเฉพาะของตัวเอง จากแนวคิดนี้ จอหนสตัน (๑๙๗๘ : ๑๓๐) มีความเห็นสอดคลองกับ โบ แอส ที่วา วัฒนธรรมแตละวัฒนธรรมมีเอกลักษณเปนของตนเอง และถึงแมวาวัฒนธรรมจะแตกตางกัน แตจะไมมีประเพณีวัฒนธรรมไหนดีกวา เดนกวาประเพณีวัฒนธรรมอื่น ๆ ทั้งน้ีเพราะ

แตละวัฒนธรรมมีความพอเพียงอยูในตัวของมันเอง และสามารถใหประโยชน เกิดคุณคาทางจิตใจแกคนในทองถิ่นสืบตอ ๆ กัน

Page 46: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๔๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 47: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๖วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

แหลงโบราณสถาน ๑. วัดหัวไทร กอสรางป พ.ศ. ๒๔๘๖ เดิมมีตนไทรใหญอยูริมแมนํ้าบางปะกง มีนางฮัน นางสอนศรี ภุมสอย มอบท่ีดินให โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงประกอบพิธีตัดลูกนิมิต เมื่อ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ปจจุบันมี พระครูพิพัฒนวรากร เปนเจาอาวาส

๒. วัดทางขามนอย วัดทางขามนอย ปจจุบันตั้งอยูในหมูที่ ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา มีความเปนมาดังนี้ (บัณฑูรย บุญประเสริฐ : ๒๕๕๓) เนื่องดวยมีพระธุดงค ๓ รูป คือ พระกลั่น พระเทียน และพระหมก ไดเดินธุดงคจากจังหวัดนครราชสีมา จนกระท่ังถึงหมูบานทางขามนอย (ที่ชื่อหมูบานทางขามนอยเนื่องจากบริเวณหมูบานแตดั้งเดิมเปนปาไมและมีลําธารที่มีนํ้าไหลผาน สัตวตาง ๆ พากันเดินขามลําธารที่เปนทางเดินของสัตว จากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่งซึ่งเปนทางเล็ก ๆ และ ตื้นเขิน โดยสัตวตาง ๆ ใชขามไปมา ปจจุบันก็คือบริเวณขางวัด และไดเปลี่ยนมาเปน คลองคูมอญ) ตอจากนั้นราษฎรก็ไดนิมนตพระทั้ง ๓ รูป ใหอยูประจําในหมูบาน และไดปรึกษากันที่จะสรางสํานักสงฆขึ้น โดยมีนายเกิด นางแหรม ราษฎรในหมูบานไดยกที่ดินใหเปนสํานักสงฆจํานวน ๑๒ ไรเศษ และไดยกบานให จํานวน ๓ หลัง เพื่อใชเปนกุฏิ และไดเปนสํานักสงฆในปใดไมปรากฏ ตอมามีการกอสรางเพิ่มเติมและไดยกฐานะเปนวัด เม่ือป

ศาสนสถาน : วัดหัวไทร

พ.ศ. ๒๔๒๔ โดยใชชือ่วา วดัศรวีไิลราษฎรศรทัธาธรรมขามนอย อาํเภอหวัไทร (ปจจบุนัเปลีย่นมาเปนอําเภอบางคลา) จงัหวดัฉะเชงิเทรา

๓. วัดลาดบัวขาว กอสรางเม่ือป พ.ศ. ๒๔๓๗ โดยหลวงพระธรรมจักร ตอมาป พ.ศ. ๒๔๘๕ สมเดจ็พระสงัฆราชสกลมหาสงัฆปรนิายก

(แพ ติโส) นําพระไตรปฎกถวายหลวงพอเชิด เจาอาวาส ขณะนั้น พระประธานในโบสถ คือ พระโมฆราสารีบุตร ไดมาจากวดัสระเกต ุปจจบุนัพระครใูบฎกีาชมุพล สนุทรวจิารณ

เปนเจาอาวาส

ประวัติหลวงพอเชิด วัดลาดบัวขาว นามเดิม เชิด นามสกุล สุนทรวิจารณ ฉายา จนทสุวณโณ เกิดวันอังคารที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๓ ปขาล สถานที่เกิด ตําบลบางปลารา อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี บิดา นาย รุง ธูปหอม มารดา นางแดง สุนทรวิจารณ

Page 48: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๗วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

อุปสมบท พุทธศักราช ๒๔๕๔ ณ วัดลาดบัวขาว ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พระอุปชฌายพระครูรอด วัดคลองเขื่อน ตําบลคลองเขื่อน อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พระกรรมวาจาจารย พระอาจารยปาน เกสโร วัดลาดบัวขาว (เจาอาวาสรูปแรก) ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวดัฉะเชิงเทรา พระอนุสาวนาจารย พระอาจารยเที่ยง วัดหัวไทร ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา การศึกษา เรียนหนังสือกับพระอาจารยปาน เกสโร เจาอาวาสวัดลาดบัวขาว หนาที่การงาน ป พ.ศ. ๒๔๖๗ เปนเจาอาวาสวัดลาดบัวขาว สมณศักดิ์ ป พ.ศ. ๒๔๙๙ เปนพระครูชั้นประทวน มีเรื่องเลาวา “(สมัยกอนมีการรับพัดเหมือนพระครูสัญญาบัตร) ถึงเวลาทานไมไปรับ บอกวาไมไดขอ ใครใหก็เอามาใหเอง รอนถึงเจาคณะจังหวัดตองเอาพัดมาถวาย เมื่องานฝงลูกนิมิตวัดโพธิ์บางคลา แลวทานก็ฝากพระครูสุตาลงกชไว แสดงใหเห็นวาทานไมยึดติดในตําแหนง ทานเปนพระท่ีมสีตปิญญาเฉียบแหลม ทรงจําพระปาฏิโมกข ทองเพียง ๗ วนั แตพอใหเปนคูสวดทานทําเปนสวดไมได คอืไมสวดใหใคร” งานเผยแผ เปนพระฝายวิปสสนาธุระ เดินธุดงคตลอดชีวิต ปละประมาณ ๕ เดือน เปนหัวหนา มีพระไมตํ่ากวา ๑๐๐ รูป รวมปฏิบัติธุดงควัตร มีคฤหัสถติดตามประมาณ ๒๐ คน กอนเปนเจาอาวาส ทานเดินธุดงคตลอด ๒-๓ ป จึงกลับวัดป ๒๔๘๗ สมเด็จ พระอริยะวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก (แพ ติโส) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร ไดมีพระบัญชาใหพระมหาสงดั นาํตูพระไตรปฎกพรอมคมัภรี เครือ่งลายครามและพรมมาถวายโดยทางเครือ่งบนิ เพราะทรงทราบในจรยิาวตัรจากคนใกล กลาววา “ทางวัดสุทัศนฯ นิมนตหลวงพอไปน่ังปรกถึงสามคร้ัง แตทานไมไปแมแตครั้งเดียว” งานดานสาธารณประโยชน / ศึกษาสงเคราะห ป พ.ศ. ๒๔๗๒ สรางกุฏิทรงไทย ลักษณะตัวยู ๘ หลัง หลังคากระเบ้ืองโบราณ ผนังฝาแกะสลักงดงามมาก ป พ.ศ. ๒๔๘๔ เปนหัวหนาสรางโรงเรียนประชาบาล วัดลาดบัวขาว ป พ.ศ. ๒๔๙๔ สราง ศาลาการเปรียญทรงไทย กวาง ๓๐ เมตร ยาว ๕๕ เมตร สรางเสร็จภายในสามเดือน ความสามารถพิเศษ / เมตตาจิต ๑. รักษาคนวิกลจริตดวยยา กดดวยมีดอีโต ลงอาคม (จิตวิทยา) มีผูมาใหรักษาตลอด ๒. รักษาโรคทุกอยางดวยมีดอีโตและเปาพนนํ้าหมาก รดนํ้ามนต วาจาสิทธิ์ ๓. มีพลังทางจิตสูง แปลงกายเปนเสือสมิงได หายตัว สมัยทานอยูกับหลวงพอคง วัดชําปางาม สามารถยนระยะทางบิณฑบาตแถบพระโขนงกับหลวงพอคงผูเปนอาจารย ๔. อดีตเจาคณะ จังหวัดวัดสัมปทวน เมตตาทานมาก เพราะความเปนพระตรงไปตรงมา พ.ศ. ๒๔๖๙ ทานหลอพระธัมมจักรที่วัดลาดบัวขาว ทองเหลือง ทองแดง ลงหิน ทองคํา เหลือจากเทองคใหญ นายชางแถว อําเภอพยุหะคีรี ทําพระนักษัตรใหโดยเก็บเงินทีหลัง เพราะทานไมอยากทํา ถูกนายชางยัดเยียดใหทํา ครั้นเวลาผานไปนายชางก็มาเก็บเงิน ทานไมมีจายให จึงฟองเจาคณะจังหวัดหลายครั้ง เจาคณะจังหวัดก็มา สอบสวน จะปลดจากเจาอาวาสทานก็พูดทํานองวา “ปลดผมก็ออก เพราะไมอยากจะเปน” มีอยูครั้งหนึ่ง ที่เจาคณะจังหวัดมาที่วัด ลูกศิษยนิมนตหลวงพอใหไปตอนรับท่ีทานํ้า ทานบอกวามาจากไหนมาได ถึงวัดแลวไมขึ้นวัดก็อยูในเรือ กูไมไป จนกระทั่ง ป พ.ศ. ๒๔๘๐ ทานจองกฐินเพราะเช่ือม่ันในศีลาจารวัตรของหลวงพอ นําคณะมาถวายส่ิงของโบราณ เชน ตุมนํ้าโบราณเขียวไขกา เครื่องลายครามกระโถน ฯลฯ ปจจุบันยังมีใหชม

มรณภาพ ทานมรณภาพ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๐ สิริรวมอายุ ๖๖ ป หลวงพอเชิด ทานมีเรือประจําตัวของทานชื่อ เรือมาตรประสาทพร ใชเปนยานพาหนะเวลาไปไหนมาไหนในสมัยนั้น เวลาไดลวงเลยมาถึงปจจุบัน เรือไดหายไปจากวัดนานแลว จนกระท่ังนายประเสริฐ รอดอุดม ฝนเห็นหลวงพอเชิด ทานถามวาเอาเรือไปไวที่ไหน ตอจากน้ัน ไดเดินทางไปหาซ้ือถังตวงขาว ๒ ลูก ไปขามนอยได ๑ ลูก เขตนํ้าฉา ๑ ลูก ไดเอามาไวที่บานนายแหยม เลยมองเห็นเรือจอดอยู บนบก และตากแดด เรือหลวงพอเชิดลํานี้มีคนนํามาถวายที่วัดไผขวาง จึงจําเปนตองจัดทอดผาปาขอซ้ือเรือคืนกลับมาในวันท่ี ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งเรือ ลํานี้ทําจากไมตะเคียนอายุ ๑๐๐ กวาป ปจจุบันยังอยูที่วัด โดยทางวัดไดจัดงานประจําปในเดือนพฤศจิกายน ดวยความศักดิ์สิทธ์ิ ของทาน ถาใครขอพรจากทานแลวบนไดดังที่ขอไวก็จะนําลิเกมาถวายใหเพื่อเปนการแกบน

๔. วัดใหมคูมอญ นามเดิมชื่อ วัดทุงสามัคคี ตั้งอยูเลขที่ ๑๐๕/๒ หมูที่ ๓ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เริ่มสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งมีนางบุญธรรม สารโภค นายย่ี จันทรทอง เปนผูถวายที่ดินแดพระครูใบฎีกาจรัญ ธมฺมวิจาโร จํานวน ๑๗ ไร ๑ งาน ๒๑ ตารางวา โดยตั้งชื่อวา “วัดทุงสามัคคี” ปจจุบันวัดมีที่ดินจํานวน ๔๕ ไร ๓ งาน ๔๓ ตารางวา มีผูถวายและ รวมบริจาคซื้อเพ่ิม

Page 49: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๘วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

ในอดีตบานคูมอญ การคมนาคมสวนใหญใชทางเรือและเดินเทา มีคลองเรียก “คลองคูมอญ” ไหลผานหมูบานไหลออกสูแมนํ้าบางปะกงใกล ๆ วัดหัวไทร การคมนาคม สมัยกอนจึงใชทางนํ้าเปนสวนใหญ ชาวบานเลาวาในสมัยกอนชาวมอญไดมาอาศัยและขุดดิน นําไปปนเคร่ืองดินเผา เนื่องจากดินบริเวณหมูบานแหงนี้เปนดินเหนียวสีแดงเหมาะแกการทําเคร่ืองปนดินเผาจึงเปนท่ีมาของช่ือ “หมูบานคูมอญ” การสรางวัด หลักฐานและการบอกเลาจากชาวบานเกิดจาก พระอาจารยจรัญ

ธมฺมวิจาโร อุปสมบทอยูที่วัดบานกลวย เม่ือเจาอาวาสวัดบานกลวยอาจารยของทานไดมรณภาพลงจัดงานเสร็จแลวทางคณะสงฆได แตงตั้งพระอาจารยจวน ผูมีพรรษามากกวาเปนเจาอาวาสวัดบานกลวย พระอาจารยจรัญ ธัมมวิจาโร ทานมีความรูความสามารถจบ นักธรรมเอก ญาติโยมเคารพทานมาก มีลูกศิษยมาก ทานเปนพระหมอมีวิชา ญาติโยมและทานพระอาจารยจรัญไดหาที่สรางวัด ในที่สุดมาไดที่ของบิดามารดาตระกูลของทานเอง โดยชาวบานรวมกันซื้อใชชื่อมรรคทายกที่ออกทรัพยมากเปนผูถวายเพื่อใหงายในแงกฎหมาย ตั้งชื่อวัดทุงสามัคคี ชื่อวัดเตรียมไวหลายชื่อพบจากใบกําหนดงานประจําป เชน วัดใหมคูมอญ วัดใหมคูมอญราษฏรบํารุง วัดทอง โภคพิพัฒน วัดทุงสามัคคีธรรม วัดทุงรวงทอง วัดทุงรวงทองสามัคคีธรรม สถานที่นี้ทํานาปลูกขาวดีมาก รวงขาวงามเสมอมองเปน รวงทอง ประชาชนสามัคคี พระอาจารยจรัญ ธมฺมวิจาโร เปนพระที่เสียสละ ทุมเทชีวิตและจิตใจ เพื่อพระพุทธศาสนา เพื่อวัดใหมคูมอญเรียกวายอมสละชีวิตดูไดถึงวันสุดทายที่จากพวกเราไป งานกอสรางทานทําจริง ทรัพยสินเงินทองที่ดินทานสรางทานใหพระพุทธศาสนาทั้งหมดเงินติดตัวไมมีก็ตองหา วางแผนจัดงานวัดเพื่อผูกมิตรผูกใจญาติโยมพบใบจัดงานทานเขียนวา เชญิมาเปนประธาน เชิญมาเพื่อเปนเกียรติ ทานจัดงานตาง ๆ แฝงไปดวยหลักธรรมะคือใหผูมารวมสนุกสนานเบิกบานสามัคคี ทานมีเมตตาสังเกตวาทานไปหาใคร ไมเกนิสองครัง้ ผูนัน้จะตองมาทําบุญมาอปุถมัภทานมีคาถาหรือจติใจเมตตาจริง นสิยัทานเปนคนเอาจริงเอาจงั บางครัง้ทานแสดงอาการโกรธจัดเหมือนฟาถลมทลายน่ันเปนอาการแสดงเทานัน้เพ่ือใหเกิดอาํนาจบารมีผูทาํช่ัวผิดจะไดกลบัตวั ในใจจริง ๆ ของทานมีเมตตาตลอดผูอยูใกลชิดทานจะรูดี สักครูเดียวอารมณดีบางครั้งแสดงออกดวยอาการยิ้มเล็กนอย ทานมีเมตตา ขึ้นชื่อเปนหมอรักษาผูถูกงูกัด ๆ มาถวายสังฆทานเลาวาหมอโรงพยาบาลรูจักทานเปนอยางดี บอกวาหมดทางรักษาใหเส่ียงไปรักษากับอาจารยจรัญวัดใหมคูมอญ เมื่อคนไขถูกงูกัดถูกสงมารักษาก็รอดตายจํานวนมาก บางคนมาชาไป ตายก็มี ทานเปนหมอรักษาโรคตาง ๆ ใชยาสมุนไพรแบบโบราณ เปนหมอดบูอกฤกษ หมอน้ําพุทธมนต ในนามบัตรทานเขียนไวหลายอยาง วัดทุงสามัคคีไดรับหนังสืออนุญาตใหสรางวัดในสมัยพระอาจารยจรัญ เม่ือ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ไดรับหนังสือประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องตั้งวัดในพระพุทธศาสนา ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ เน้ือที่ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ (อุโบสถกวาง ๕.๕๐ เมตร ยาว ๒๒.๕๐ เมตร) เสนาสนะสิ่งปลูกสรางที่มีคือ ๑. พ.ศ. ๒๕๑๕ เริ่มมาสรางที่พักคลายเลาไก ๒. กุฏิ ๕ หลัง กวาง ๓.๕๐ เมตร ยาว ๙ เมตร สรางเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๖

๓. บอนํ้าวัด สาธารณประโยชน กวาง ๑๔ เมตร ยาว ๒๘ เมตร ลึก ๔ เมตร สรางเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๖ ๔. ถนนดิน เสริมลูกลังรอบบริเวณวัด กวาง ๔.๕๐ เมตร สูง ๙๐ เซนติเมตร จัดทําเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๖ ๕. ศาลาการเปรียญ กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สรางเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๗

๖. สุสาน ๒๐ ล็อก กวาง ๑.๕๐ เมตร ยาว ๓ เมตร สรางเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๗

๗. หอสวดมนต กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๙ เมตร สรางเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๙ ๘. อุโบสถ กวาง ๕.๕๐ เมตร ยาว ๒๒.๕๐ เมตร สรางเม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๙ (เริ่มกอสราง)

รายนามเจาอาวาสวัดทุงสามัคคี มีดังนี้ รูปที่ ๑ พระครูสุเวชวรทร (จรัญ ธมฺมวิจาโร) เปนเจาอาวาสต้ังแตสรางวัด จนถึงวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ รูปที่ ๒ พระอธิการบุญสม จิรธัมโม เปนเจาอาวาสต้ังแต วันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ถึง วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ รูปที่ ๓ พระครูสุภาจารโสภิต เปนเจาอาวาสตั้งแต วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ถึง ปจจุบัน วัดทุงสามัคคีไดขออนุญาตเปล่ียนช่ือวัดเปน “วัดใหมคูมอญ” เม่ือวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖ เพื่อใหสอดคลองกัน กับหมูบาน

Page 50: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๔๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๔๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 51: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๐วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๑. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑.๑ สภาพโดยท่ัวไปของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร มีสถานท่ีปฏิบัติงานดั้งเดิมตั้งแตเริ่มกอตั้งอยูในอําเภอเมืองฉะเชิงเทรา ใกลวัดโสธรวรารามวรวิหาร สถานท่ีประดิษฐานหลวงพอพุทธโสธร และกองพันทหารชางที่ ๒ (คายศรีโสธร) มีสถานที่ปฏิบัติงานแยกกันเปน ๓ แหง คือ แหงแรก ตั้งอยู ณ เลขที่ ๔๒๒ ถนนมรุพงษ ตําบลหนาเมือง อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐ บนเนื้อท่ี ๔๓ ไรเศษ เปนที่ตั้งของสํานักงาน อาคารเรียน อาคารปฏิบัติการและอาคารที่ทําการตาง ๆ แหงที่สอง ตั้งอยู ณ เลขท่ี ๔๐ ถนนศรีโสธรตัดใหม ตําบลหนาเมือง อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐ มีพื้นที่ประมาณ ๑๗ ไร เปนพื้นที่ซึ่งไดรับบริจาคและจัดซ้ือเพิ่มเติมเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนของโปรแกรมวิชาเกษตรศาสตร ปจจุบันไดเปลี่ยนมาใชในการจัดการเรียนการสอนของโปรแกรมดนตรี และเปนบริเวณที่พักอาศัยของขาราชการในมหาวิทยาลัย แหงที่สาม ตั้งอยู ณ เลขท่ี ๖ หมูที่ ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๑๑๐ มีพื้นที่ประมาณ ๕๐๐ ไร เปนที่สาธารณประโยชน ซึ่งกระทรวงมหาดไทยอนุมัติใหใชเปนที่ตั้งของมหาวิทยาลัยฯ เม่ือวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๙ สถานที่แหงแรกนี้เดิมเปนที่ตั้งของโรงเรียนฝกหัดครูกสิกรรมชายซึ่งตอมาเมื่อโรงเรียนยายไปตั้งใหมที่จังหวัดปราจีนบุรี ทางราชการจึงไดขยายสถานท่ีเดิมใหกวางข้ึนโดยขอท่ีดินจากทางการทหารและจัดซ้ือเพ่ิมเติมสรางหอนอนและเรือนพักครูแลวยายนักเรียนสตรีแผนกฝกหัดครู ซึ่งเรียนรวมอยูกับนักเรียนสตรีประจําจังหวัดฉะเชิงเทรา “ดัดดรุณี” มาเรียนแทนในป พ.ศ. ๒๔๘๓ โดยใชชื่อโรงเรียนวา “โรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด” เปดสอนหลักสูตรครูประกาศนียบัตรจังหวัด (ครู ว.) จึงถือไดวามหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทรไดถือกําเนิดในป พ.ศ. ๒๔๘๓ จากนั้นก็ไดพัฒนาเปล่ียนแปลงมาโดยลําดับ กลาวคือ พ.ศ. ๒๔๘๕ ไดเปดสอนหลักสูตรครูประชาบาล (ป.ป.) และเปล่ียนช่ือเปน “โรงเรียนสตรีฝกหัดครูฉะเชิงเทรา” แตตอมาไดตัดหลักสูตรครูประชาบาล และหลักสูตรครูประกาศนียบัตรจังหวัดออกปละชั้นจนหมดในป พ.ศ. ๒๔๙๑ และ พ.ศ. ๒๔๙๕ ตามลําดับ พ.ศ. ๒๔๙๓ เปดสอนหลักสูตรครูมูล และในป พ.ศ. ๒๔๙๔ เปดสอนหลักสูตรฝกหัดครูประถม (ป.ป.) ซึ่งเปนการเปดสอนนักเรียนฝกหัดครู ป.ป. หญิง เปนครั้งแรกในสวนภูมิภาคของไทย ในระยะนี้เองที่กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดใหจังหวัดฉะเชิงเทราเปนสถานที่ทดลองปรับปรุงสงเสริมการศึกษา โดยความรวมมือขององคการระหวางประเทศหลายองคการ ไดแก องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) องคการบริหารความรวมมือระหวางประเทศและอนามัยโลก (WHO) องคการบริหารความรวมมือระหวางประเทศสหรัฐอเมริกา (USOM) มีชาว ตางประเทศเขามาดําเนินงานโครงการนี้จากหลายชาติ คือ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา เดนมารก นอรเวย สวีเดน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด แคนาดา อินเดีย ศรีลังกา และญี่ปุน ในการนี้ทางโรงเรียนฝกหัดครูฉะเชิงเทราไดใหความรวมมือกับโครงการระหวางประเทศ โดยจัด สถานที่ไวสวนหนึ่งสําหรับใหโรงเรียนตาง ๆ ใชเปนสถานที่ประชุม การสาธิตการสอนโดยผูเชี่ยวชาญจากประเทศไทยและตางประเทศ พ.ศ. ๒๔๙๘ มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร โดยใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) แทนหลักสูตร ป.ป. โดยรับนักเรียนชายเขาเรียนดวย จึงเปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนสตรีฝกหัดครูฉะเชิงเทรา เปน “โรงเรียนฝกหัดครูฉะเชิงเทรา” สังกัดกรมการฝกหัดครู ตลอดเวลาที่ผานมาโรงเรียนฝกหัดครูฉะเชิงเทราไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ทั้งดานอาคาร สถานที่และ ดานการเรียน การสอน โดยไดรับการชวยเหลือจากองคการปรับปรุงสงเสริมการศึกษาและองคการ ยูนิเซฟ (UNCEF) และไดมีโครงการฝกหัดครูชนบทขึ้นในระยะนี้ดวย ตอมาในวนัท่ี ๑ ตลุาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ โรงเรยีนฝกหดัครฉูะเชงิเทรา ไดรบัการสถาปนาเปน “วทิยาลยัครฉูะเชิงเทรา” เปดสอนถึงระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาช้ันสูง (ป.กศ.สูง) ทั้งนักศึกษาภาคปกติและภาคค่ํา (Twilight) ในดานอาคารสถานท่ี ไดมีการกอสรางอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กแทนอาคารเรียนไมที่มีอยูแตเดิมและมีอาคารอ่ืน ๆ เพิ่มขึ้นตามลําดับ พ.ศ. ๒๕๑๘ ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. ๒๕๑๘ วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา จึงไดรับการ ยกฐานะตามพระราชบัญญัติใหผลิตครูไดถึงระดับปริญญาตรี และใหมีภารกิจอื่น ๆ คือ การคนควาวิจัย ทํานุบํารุงศาสนาและ ศิลปวัฒนธรรม การสงเสริมวิทยฐานะครู และการอบรมครูปะจําการ จึงไดมีโครงการอบรมครูประจําการ (อ.ค.ป.) ขึ้น โดยไดเปดสอนตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๒ จนถึง พ.ศ. ๒๕๓๐ ในป พ.ศ. ๒๕๒๗ มีการประกาศใชพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ ๒) และใหวิทยาลัยครูเปดสอนสาขาวิชา ตาง ๆ ถึงระดับปริญญาตรีได วิทยาลัยครูฉะเชิงเทราจึงเปดสอนระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาการศึกษา (ค.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตร (วท.บ.) สาขาวิชาศิลปศาสตร (ศศ.บ.) ทั้งนักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษาตามโครงการจัดการศึกษาสําหรับบุคลากรประจําการ (กศ.บป.) ในวันเสาร – อาทิตย

Page 52: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๑วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

วันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๓๕ กรมการฝกหัดครูไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานนาม วิทยาลัยครูวา “สถาบันราชภัฏ” ตราเปนพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ เม่ือวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๑๒ ตอนที่ ๔ ก วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ วิทยาลัยครูฉะเชิงเทราจึงเปลี่ยนชื่อเปน “สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา” ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๓๙ กรมท่ีดิน กระทรวงมหาดไทยไดอนุมัติใหใชที่ดินสาธารณประโยชน บริเวณหนองกระเดือย หมู ๔ ตาํบลหัวไทร อาํเภอบางคลา จงัหวัดฉะเชิงเทรา เปนทีต่ัง้สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา ศนูยบางคลา ตามหนังสือที ่มท ๐๖๑๘/๑๑๙๖๔ ลงวนัที ่๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ และในป พ.ศ. ๒๕๔๑ สมเดจ็พระเจาพีน่างเธอเจาฟากลัยาณวิฒันา กรมหลวงนราธวิาสราชนครนิทร ไดประทานนามสถาบันราชภัฏวา “สถาบันราชภัฏราชนครินทร” สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีไดนํารางพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนช่ือ ขึ้นทูลเกลาฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชเปนกฎหมายตามความ ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๑๕ ตอนที่ ๗๒ ก เมื่อวันท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทราจึงเปล่ียนชื่อเปน “สถาบันราชภัฏราชนครินทร” พ.ศ. ๒๕๔๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระราชบัญญตั ิมหาวทิยาลยัราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๒๓ ก. ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ทําใหสถาบันราชภัฏ ราชนครินทรเปลี่ยนเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร” ตั้งแตวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนตนมา ใชอักษรยอภาษาไทย “มรร” และใชชื่อภาษาอังกฤษ RAJABHAT RAJANAGARINDRA UNIVERSITY ตัวยอ RRU

๑.๒ ศูนยวิชาการทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ไดรับการอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย ใหใชพื้นที่ดินสาธารณประโยชน จํานวนประมาณ ๕๐๐ ไร บริเวณหนองกระเดือย ต.หัวไทร อ.บางคลา จ.ฉะเชิงเทรา เพื่อประโยชน ทางการศึกษา เมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๙ มหาวิทยาลัยในขณะน้ันเปนสถาบันราชภัฏ ราชนครินทร ไดดาํเนินการพัฒนาพ้ืนทีใ่หเปนแหลงการใหบรกิารแกชมุชน เปนแหลงศึกษาคนควาขอมูลตาง ๆ เชน อาคารบรรณราชนครินทร ศูนยวิทยาศาสตร และศูนยวิชาการทองถิ่น (อาคารสัมมนาคารศูนยศิลปะ วัฒนธรรม) โดยสรางดวยเงินบํารุงการศึกษา เงินบริจาคธนาคารกรุงเทพ มูลนิธิชินโสภณพนิช มูลนิธิ ดร.เทียม โชควัฒนา เปนเงิน ๑๐,๔๐๐,๐๐๐ บาท พิธีเปดโดย ฯพณฯ ทานประสิทธิ์

กาญจนวัฒน (อดีตประธานสภาผูแทนราษฎร) วางศิลาฤกษ ๑๐ มกราคม โดย

ฯพณฯ ทานสุชาติ ตันเจริญ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย นายกสภามหาวิทยาลัย ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอาน รศ.ดร.สุพล วุฒิเสน อธิการบดี ซึ่งภายใน

ศูนยวิชาการ มีนิทรรศการ ดังนี้ ๑. นิทรรศการเรือจําลอง

๒. นิทรรศการเคร่ืองมือเคร่ืองใชสมัยโบราณ ๓. นิทรรศการบายศรีใบตอง ๔. นิทรรศการพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เสด็จพระราชดําเนินมาเยือนจังหวัดฉะเชิงเทรา ๕. โครงกระดูกสมัยกอนประวัติศาสตร ๖. นิทรรศการผลิตภัณฑจากใบหญาแฝก

๗. ผลงานศิลปะของนักศึกษา / ศิลปนตะวันออกและเครือขายผูสนใจสามารถติดตอประสานงานไดที่ : ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น โทร. ๐๓๘-๘๑๐-๔๔๑

ภาพ : ศูนยวิชาการทองถิ่นมหาวิทยาลยัราชภัฏราชนครินทร บางคลา

ภาพหองนิทรรศการเครื่องใชโบราณ

ภาพ : นิทรรศการผลิตภัณฑจากใบหญาแฝก

Page 53: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๒วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๑.๓ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงมีพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทางการดําเนินชีวิต แกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา ๓๘ ป ตั้งแตกอนวิกฤติการณทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลังไดทรงเนนยํ้าแนวทางการแกไขเพ่ือใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความเปล่ียนแปลงตาง ๆ โดยมีฐานการเรียนรูดังนี้ - ฅนมีนํ้ายา (ผลิตนํ้ายาอเนกประสงค) - ฅนเอาถาน (เผาถานนํ้าสมควันไม) - ฅนติดดิน (สรางบานดิน อิฐบล็อกประสาน) - ฅนมีไฟ (ไบโอแกส) - ฅนรักแม (การผลิตปุยนํ้า ปุยผล ปุยเม็ด) - ฅนรักทุง (นาขาวอินทรียและโรงสีขาว) - ฅนรักน้ํา (การเลี้ยงสตัวนํ้าระบบชีวภาพ) - ฅนรักปา (ปา ๓ อยาง ประโยชน ๔ อยาง) - ฅนมีพลัง (ไบโอดีเซล) - ฅนรักหมู (หมูหลุม เลี้ยงหมูไดมากกวาหมู) ผูสนใจสามารถติดตอเขาศึกษาดูงานไดที่ : อาจารยไตรภพ โคตรวงษา ผูอํานวยการสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง และ คุณธนานันท เหล็กเกตุ เบอรติดตอ ๐๘๕-๔๓๕-๖๖๔๔

ภาพ : ฐานการเรียนรูสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง

ภาพ : ฐานการเรียนรูสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง

Page 54: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๕๓วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Page 55: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๔วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

สถานที่ทองเที่ยวในตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑. ธาราบางคลารีสอรท แอนดโบทคลับ โครงการนี้กอสรางมาประมาณ ป พ.ศ. ๒๕๓๒ ประมาณ ๒๒ ป มาแลว แตเริ่มทําจริงจัง ป พ.ศ. ๒๕๓๗ โดย รศ.ดร.สมเจตต ทิณพงษ ซึ่งตอนนั้นทานเปนผูวาการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หลังจากที่ทานเดินทางไปตางประเทศ ทานชืน่ชมบรรยากาศรมินํา้ อยางเชน แมนํา้เทมป แมนํา้ไลน จงึเกดิจนิตนาการทีต่องการสรางเมอืงชนบททีม่อีารยธรรมเหมอืนตางชาติและมีมหาวิทยาลัยและแนวคิดในการทํารีสอรท และหลงัจากทีท่านเดนิทางมาเยีย่มนคิมอตุสาหกรรมเกตเุวย และแวะมาทางบางคลา เหน็จดุนีซ้ึง่หางจากกรงุเทพไมมาก และเปนจุดที่พระอาทิตยตกทางฝงตรงขาม ฝงขวามีแนวเปนเสนตรง ฝงซายเปนเสนโคงไมรูจบ จึงเปนที่มาของรีสอรท ป พ.ศ. ๒๕๔๐ ทานไดเปนผูวาการสนามบินสุวรรณภูมิ จึงละจากงานรีสอรทไปชวงหน่ึงและจึงกลับมาสรรคสรางบรรยากาศโรแมนติกบวกกับการผสมผสานใหสอดคลองกับการใชและดูแลส่ิงแวดลอมและสอดคลองกับวัฒนธรรม ๑. จุดแรกที่เราจะพาชมกอน คือ หองอาหารเชา ซึ่งประกอบไปดวยโตะบิลเล่ียด มุมคาราโอเกะ ซึ่งขวามือที่เห็นสีสม สเีหลือง เปนการนําหลังคาบานทางภาคเหนือทีเ่หลือใชมาผสมกับศิลปะสมัยใหมใสลลีาใหดนูารกั ถดัมาหลังคาหองน้ี ทัง้หมดทํามาจากตนไมตาย ๑ ตน ใชเปลือกไม ไสไม และเนื้อไมทุกสวน ๒. จุดที่ ๒ คือ หองแกลลอรี่ซึ่งพื้นเปนแทนกระจกผนังเปนรูปวาดของรีสอรทที่มองจากมุมฝงตรงขามโดยจิตรกร ทานจะรูสึกเหมือนตัวเองอยูกลางแมนํ้าแลวมองมายังรีสอรท ถัดมาคือไมที่เห็นเปนรั้วของโรงเรียนที่เลิกใชแลว นํามาผสมกับศิลปะ กลายเปนหองเก็บรูปภาพซึ่งเขียนจริงเปนวิวของที่นี่โดยจิตรกรที่มีชื่อเสียง ถัดมาอีกเปนหองนิทรรศการของ สทอภ. รูปเหลานี้ชี้ ใหเหน็วา เราอยูจุดไหนในจักรวาล เราอยูจุดไหนในอวกาศ เราอยูจุดไหนในโลก เราอยูท่ีไหนในประเทศ และสุดทายเรายืนอยูท่ีน่ี ธาราบางคลา ถัดมาอีกนิดบนัไดทีห่นุมสาวขึน้ไปถายรปูเปนมุมโรแมนตกิอกีมมุหนึง่ ถดัมาหองโถงกลางเปนจดุเชคอนิ และนัง่พกัผอนมไีวไฟวฟรใีหลกูคา

ไดนั่งทํางาน หรือเลนอินเตอรเน็ต และยังเปนจุดที่จัดนิทรรศการของ สทอภ. ๓. หองตอมาคือ หองนิทรรศการของในหลวง และแผนที่ของอําเภอบางคลา ๔. หองตอมา คือ Space inspired ซึ่งแปลวา ดลใจจากอวกาศ รูปโลกที่เห็นอยูหลายทานคงเคยเห็นแตพระอาทิตยขึ้นแตทีน่ีเ่ปนเพยีงทีเ่ดยีวท่ีทานจะมองเหน็โลกคอย ๆ ขึน้โดยสมมตุวิาเรายนือยูบนพืน้ดวงจนัทร เปนหองประชมุเลก็อกีหองหนึง่ ซึง่สามารถจุไดถึง ๔๐ คน พรอมอุปกรณที่ใชในหองประชุม พรอมทาน Coffee Break และเชื่อมตอไปยังริมแมนํ้าเพ่ือรับประทานอาหารกลางวัน

ในบรรยากาศแบบรมรื่นบนลานไทรและน้ําตกจําลอง ซึ่งเปนที่ตั้งของพระบรมรูป ร.๕ ซึ่งสรางในสมัย ร.๙ มีทั้งหมด ๕๙ รูปในประเทศ ถัดมาบานอีกหลังที่อยูติดกับลานไทร คือ มารีนา เปนบาน ๓ ชั้น ประกอบดวย หองนอน ๒ หอง ชั้นละ ๑ หอง ซึ่งมีระเบียงใหทานน่ังชมบรรยากาศยามเย็น และเปนมมุทีท่านสามารถเห็นววิของรีสอรทไดอยางชัดเจน และสวยงาม หองโถงช้ันลางสามารถ

ทํากิจกรรมไดหลากหลาย เชน ตกปลา รับประทานอาหารหรือแคมปง และยังเปนบริเวณท่ีใชเปนทาเรืออีกดวย ซ่ึงทางรีสอรทจะมีบริการเรือ ใหลูกคาทุกทานที่อยากชมบรรยากาศทางแมนํ้า ธาราบางคลารีสอรท แอนดโบทคลับ ตั้งอยูที่ ๓๙/๕ หมู ๗ ถนนฉะเชิงเทรา – บางคลาหัวไทร จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๔๑๑๐ โทร. ๐๘๑ – ๔๘๘๘ – ๖๐๖, ๐๘๗ – ๓๒๘ – ๐๘๙๖

Page 56: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๕วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Super Deluxe Riverside Room R , . , .

Super Standard Riverside Room

R – R , . , .

Standard Riverside Room

R – R , . , .

Extra bed ( ) . . /

Superior Hotel room

C & C , . , .

– Standard Hotel room

C ,C ,C ,C,C , . , .

Water Front Villa (

/ )

, . , .

Bonca Villa (

) , . , .

Marina (

) , . , .

อัตราคาที่พัก

๑. อัตราคาที่พักขางตน สําหรับ ๒ ทานตอหอง ตอ ๑ คืน รวมอาหารเชา อาทิ เชน ขาวตม (หมู, ไก, ปลา) ชา / กาแฟ ผลไม และขนมหวานในทองถิ่น เปนตน ๒. เด็กอายุตํ่ากวา ๑๒ ป สามารถเขาพักรวมกับครอบครัวไดโดยไมเสียคาใชจายคาหองพัก แตตองซื้อคูปองอาหารเชาในราคา ๑๕๐ บาท ตอทาน และอนุญาตใหเขาพักภายในหองไดรวม ๔ ทาน เปนผูใหญ ๒ ทาน และเด็ก ๒ ทาน ๓. เตียงเสริม สูงสุดได ๑ เตียงภายในหอง โดยราคาดังกลาวเปนราคาท่ีรวมอาหารเชา ๔. เวลาเขาพัก เริ่มจาก ๑๔.๐๐ น. เวลาออก ภายใน ๑๒.๐๐ น. ตดิตอสอบถามไดที ่: คณุแปง ๐๘๑ – ๔๘๘๘๖๐๖ Email : [email protected] หรอื คณุดา ๐๘๗ – ๓๒๘๐๘๙๖

Email : [email protected] เว็บไซต : http://www.bangklariviera.com

Page 57: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๖วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๒. บางปะกงฟารม สัมผัสวิถีชุมชน กลางสายนํ้าแมนํ้าบางปะกง เรียนรูวิถีการทําประมง ศึกษาแหลงธรรมชาติ ชมตนไมใหญ กระชัง เลีย้งปลากะพง ปลาทบัทิม พายเรอืลองแพดนูก ตกปลาตกกุงรมิแมนํา้บางปะกง บานพกัแบบโฮมสเตย ตัง้อยูรมิแมนํา้บางปะกงทามกลางธรรมชาติ ใกลกรุงเทพฯ และปริมณฑล ใชเวลาเดินทางเพียง ๑ ชั่วโมงครึ่งเทาน้ัน เหมาะสําหรับผูที่ชื่นชอบธรรมชาติ ตนไม สายนํ้า และนกัทองเทีย่วแบบเชงิเกษตร เหมาะกบัการพกัผอนกบัครอบครวัหรอืพบปะสงัสรรคกนัในหมูมติรสหาย ทางฟารมมสีถานทีเ่ตรยีมไวสาํหรบัหมูคณะที่จะสังสรรค และทํากิจกรรมไวคอยบริการ เชน ลานกิจกรรม หองประชุม สัมมนาจัดเล้ียง สถานที่ตกปลา คันเบ็ด จักรยาน และครัวเปดบางปะกง สามารถนําผัก ผลไม กุง ปลา มาปรุงเองได สถานท่ีนี้มีที่พัก อาหาร และส่ิงอํานวยความสะดวกไวคอยบริการแขกท่ีเขามาพัก สามารถเลือกรูปแบบท่ีพักไดตาม ความตองการ ไมวาจะเปนโฮมสเตยหรือรีสอรทในราคาสุดคุม นอกจากที่พักแลว บางปะกงฟารมยังมีสิ่งอํานวยความสะดวกอ่ืนที่ทําใหผูที่มาพักเพลิดเพลินกับการพักผอน เชน จักรยาน คันเบ็ด เตายางปลา ลานกิจกรรม และทางฟารมมีบริการรานอาหารและคาราโอเกะอีกดวย ที่สําคัญนักทองเท่ียวท่ีชอบการทองเท่ียวท่ีสัมผัสกับวีถีชีวิตชาวบาน หรือผูที่ทองเท่ียวแบบเกษตร เหมาะมากท่ีจะมาเท่ียว ที่บางปะกงฟารม เพราะมีเนื้อที่กวา ๑๒๐ ไร สําหรับทําการเกษตรตามโครงการเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ แกวมังกร ทับทิม มะเฟอง พืชผักสวนครัวไมดอกไมประดับ พันธุไมแปลก ๆ และอื่น ๆ อีกมากมาย นอกจากน้ีฟารมยังเล้ียงปลากะพงและปลาทับทิมกวา ๓๐๐ กระชัง ทางฟารมมีการผลิตปุยหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใชภายในฟารม เชน เศษไมใบหญา ผลไมทีเ่นาเสยี ทางฟารมยนิดทีีจ่ะเผยแพรความรูใหกบัผูทีส่นใจ ฟารมน้ีเปนศูนยเพาะพนัธุไผทองสยาม บริการจําหนายใหกับผูที่สนใจในราคาเปนกันเอง

Page 58: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๗วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

Description Price (bath) Person (room) Breakfast

/ Included

, / Included

/ , / Included

, / Included

/ ( ) ,

, / Included

, / - Included

Please contact for information

- Included

Please contact for information - -

( ) . - , -

/ . . . email: [email protected]

Page 59: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๘วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

๓. เรนโบวอโรคยา เปนศูนยสุขภาพแบบองครวมท่ีใหการดูแล ฟนฟู และบําบัดรักษาสุขภาพ ดวยศาสตรแนวการแพทยทางเลือก ไดสรางสรรคหลักการดูแลสุขภาพแบบองครวมกับศูนยอายุยืนแนวใหม ที่มุงม่ันในการสรางจิตสํานึกท่ีดีดวยการใหความสําคัญตอการกลับมาดูแลสุขภาพของแตละคน และบุคคลรอบขางอันเปนท่ีรักและหวงใย ดวยการออกแบบเมนูสุขภาพ สําหรับปองกันสาเหตุและลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคที่เกิดจากความเสื่อมของรางกาย เชน มะเร็ง หัวใจ ไต อัมพฤกษ อัมพาต อัลไซเมอร ตลอดจนเสริมสรางบุคลิกภาพ ที่ดี เปนการดูแลที่สาเหตุของปญหาสุขภาพ โดยการปรับเปล่ียนวิธีคิด ภาวะโภชนาการและวิถีชีวิตการใชอิริยาบถในชีวิตประจําวัน ที่ถูกตอง

Page 60: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๕๙วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

บรรณานุกรม

การศึกษานอกโรงเรียน บางคลา. ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ. จังหวัดฉะเชิงเทรา : ตําบลหัวไทร (อําเภอบางคลา) .ทรัพย บัวลบ. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่บานคุณทรัพย บัวลบ เม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕.บุญสง พิมพศรี. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่บานคุณบุญสง พิมพศรี เม่ือวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๕.ประจวบ งามเจริญ. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่บานคุณประจวบ งามเจริญ เม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕.ประจักษ เอี่ยมศิริ. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่บานคุณประจักษ เอี่ยมศิริ เม่ือวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕.ประเสริฐ ศีลรัตนา และจินดา เนื่องจํานงค (๒๕๕๒). แนะนําจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับอําเภอบางคลา. จังหวัดฉะเชิงเทรา : บริษัท เอ็ม เอ็น คอมฟวออฟเซท จํากัด.ปราณี วิลัยพัฒน. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่ศาลาประชาคม หมู ๒ เม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕.พระครูธรรมทีปาจารย. (๒๕๕๓). พระครูธรรมทีปาจารย บูชาบุคคลที่ควรบูชา. ฉะเชิงเทรา.มานพ จุยเจริญ. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่ศาลาประชมคม หมูที่ ๒ เม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕.ยุพา สรอยขา. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่ศาลาประชาคม หมูที่ ๒ เม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕.วรัทยา บุญเพ็ง. (๒๕๔๕). การประเมินโครงการกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง : กรณีศึกษากองทุนหมูบานทางขามนอย หมูที่ ๔. ฉะเชิงเทรา : สถาบันราชภัฏราชนครินทร.วิชัย พงษโหมด และบุญมา พงษโหมด. (๒๕๔๗). ประวัติการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร : คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร.วิฑูร สุนทรเสณี. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่บานคุณวิฑูร สุนทรเสณี เม่ือวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๕.สมาคมชาวบางคลา. (๒๕๔๔). บางคลา ๑๐๐ ป. ฉะเชิงเทรา : สมาคมชาวบางคลา.สมศรี โคมเดือน. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่ศูนยวิชาการทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕.สุนันทา นุชอินทรา. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่ศูนยวิชาการทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕.อรุณรุง จุยเจริญ. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่ศาลาประชาคมหมูที่ ๒ เม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕.อิงอร โฉมระ. เปนผูใหสัมภาษณ, อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ, ที่บานคุณอิงอร โฉมระ เม่ือวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

Page 61: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๖๐วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน

คณะที่ปรึกษา ๑. นายประดิษฐ ไกรสร นายกองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๒. นางสาวกัญญารัตน กิจนุกูล ปลัดองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๓. ผูชวยศาสตราจารยเอนก เทพสุภรณกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ๔. ดร.สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี รองอธิการบดีวางแผนและพัฒนาและบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร บางคลา

คณะผูจัดทําหนังสือ ๑. นายจินดา เนื่องจํานงค ประธาน ๒. นายโยธิน จี้กังวาฬ รองประธานกรรมการ ๓. นายวชิรพงศ มณีนันทิวัฒน กรรมการฝายเก็บขอมูล ๔. นายณัฐปนนท สิงหยศ กรรมการฝายเก็บขอมูล ๕. นายสุรพล โตะสีดํา กรรมการฝายเก็บขอมูล ๖. นางสาวอรวรรณ เล็กชะอุม กรรมการฝายการเงิน ๗. นางสาวฐิติรัตน เอนกสุวรรณกุล กรรมการฝายเอกสาร ๘. นางสาวนวลลออ อนุสิทธิ์ กรรมการฝายออกแบบและจัดทํารูปเลม ๙. นางสาวอารียา บุญทวี กรรมการและเลขานุการ และผูเรียบเรียงเนื้อหา

Page 62: Lay wedtaวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตำบลหัวไทร อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราnatoom

๖๒วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน