Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

65
1 คํานํา การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเปนทั้งศาสตรและศิลป นัก จัดรายการวิทยุ จึงตองใชทั้งหลักวิชาที่กําหนดไวอยางชัดเจน ผสมผสานกับความสามารถและทักษะที่จะแสดงออกใหเกิดความ ประทับใจ สะเทือนใจ หรือเขาถึงอารมณของผูฟงอยางลึกซึ้ง ตาม วัตถุประสงคของรายการแตละประเภท “คูมือการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง” จึงถือเปนเครื่องมือ อันสําคัญที่จะนําพาใหนักจัดรายการวิทยุและผูสนใจทั่วไป กาวเขาสู โลกของการเปนนักวิทยุที่เขาใจทุกรายละเอียด จากประสบการณ ของผูแตงที่สั่งสมมายาวนาน และไมเพียงแตจะทําใหผูอานสามารถ เก็บขอมูลความรูในรูปแบบที่ไมปรากฏบอยนักในหนังสือเลมใดๆ แลวหนังสือเลมนี้ ยังใหแนวทางในการจัดรายการวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว ในรูปแบบที่สรางสรรค และกอใหเกิดสุข ภาวะในสังคมไดอยางนาสนใจ ดังปรากฏในภาคผนวกทายเลมที่ผู แตงไดสอดแทรกเอาไว จึงหวังวา หนังสือเลมนี้จะอยูขางกายทาน นักวิทยุไดอยางนาภาคภูมิใจ ดร.ธีรารัตน พันทวี

description

 

Transcript of Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

Page 1: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

1

คํานํา

การจัดรายการวิทยุกระจายเสียงเปนทั้งศาสตรและศิลป นักจัดรายการวิทยุ จึงตองใชทั้งหลักวิชาที่ กําหนดไวอยางชัดเจน ผสมผสานกับความสามารถและทักษะที่จะแสดงออกใหเกิดความประทับใจ สะเทือนใจ หรือเขาถึงอารมณของผูฟงอยางลึกซ้ึง ตามวัตถุประสงคของรายการแตละประเภท

“คูมือการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง” จึงถือเปนเคร่ืองมืออันสําคัญที่จะนําพาใหนักจัดรายการวิทยุและผูสนใจทั่วไป กาวเขาสูโลกของการเปนนักวิทยุที่เขาใจทุกรายละเอียด จากประสบการณของผูแตงที่ส่ังสมมายาวนาน และไมเพียงแตจะทําใหผูอานสามารถเก็บขอมูลความรูในรูปแบบที่ไมปรากฏบอยนักในหนังสือเลมใดๆ แลวหนังสือเลมนี้ ยังใหแนวทางในการจัดรายการวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว ในรูปแบบที่สรางสรรค และกอใหเกิดสุขภาวะในสังคมไดอยางนาสนใจ ดังปรากฏในภาคผนวกทายเลมที่ผูแตงไดสอดแทรกเอาไว จึงหวังวา หนังสือเลมนี้จะอยูขางกายทานนักวิทยุไดอยางนาภาคภูมิใจ

ดร.ธีรารัตน พันทว ี

Page 2: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

2

สารบัญ

หนา บทที่ 1 เรื่องควรรูเกี่ยวกับรายการวิทยุกระจายเสียง 3 - องคประกอบในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 3 - ประเภทรายการวิทยุกระจายเสียง 6 บทที่ 2 การผลิตรายการ 9 - ขั้นตอนการผลิตรายการ 9 - หนาที่และความรับผิดชอบของผูผลิตรายการ 11 - ความรูความสามารถในการเปนผูผลิตรายการ 12 - คุณสมบัติของผูผลิตรายการที่ดี 13 บทที่ 3 การจัดรายการ 14 - หลักเบื้องตนในการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง 14 - หลักการจัดรายการวิทยุแยกตามประเภทของรายการ 17 บทที่ 4 อุปสรรค 20 - ขอจํากัดดานเวลา 20 - การขาดความรูในเร่ืองที่นําเสนอ 20

Page 3: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

3

หนา - ความไมสมบูรณของหองออกอากาศและเคร่ืองมือทาง เทคนิค 21 บทที่ 5 จริยธรรมวิชาชีพ 22 - จริยธรรมวิชาชีพนักจัดรายการวิทยุกระจายเสียง 22 - จริยธรรมวิชาชีพนักจัดรายการขาว 22 ภาคผนวก 24 - จริยธรรมวิชาชีพวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว 25

Page 4: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

4

บทท่ี 1 เรื่องควรรูเก่ียวกับรายการวิทยกุระจายเสียง

องคประกอบในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง การที่รายการวิทยุรายการหนึ่งจะประสบความสําเร็จ

ไดนั้น ตองอาศัยองคประกอบหลายอยาง ผูจัดรายการวิทยุที่ประสบความสํ า เ ร็ จ จึ งตอ ง ศึกษาและทํ าคว ามเข า ใ จองคประกอบตางๆ ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงใหถ่ีถวน เพราะองคประกอบแตละสวนลวนมีความสําคัญ และสงผลตอความสําเร็จในการจัดรายการวิทยุทั้งสิ้น

1.ผูฟง หัวใจสําคัญของการผลิตรายการวิทยุ คือ กลุมผูฟงที่เปน

เปาหมายของรายการ ซึ่งจะเปนผูตัดสินวา รายการที่เราผลิตนั้นประสบผลสําเร็จหรือไม ทั้งนี้ เปนหนาที่ของผูผลิตรายการ ที่จะตองคนหาและกําหนดวากลุมผูฟงของเราเปนใคร

Page 5: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

5

การกําหนดกลุมผูฟงเปาหมายนี้ ผูผลิตรายการควรแสวงหาขอมูลเจาะจงอยางลึกซึ้ง ถึงประวัติ พฤติกรรม และทัศนคติของกลุมคนที่เราอยากจัดรายการใหเขาฟง ผูผลิตควรจะตองทราบถึงอายุ เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ วิถีการดําเนินชีวิตของกลุมผูฟงเปาหมาย เชน เขามักฟงรายการวิทยุในชวงเวลาใด หรือเขาอยากฟงรายการแบบไหน ฯลฯ รวมไปถึงวัฒนธรรม ประเพณี ธรรมเนียมปฏิบัติของกลุม ภาษาที่ใชในกลุม และความสนใจเฉพาะกลุม ขอมูลเหลานี้จะชวยใหสามารถผลิตเนื้อหา และวางแผนการจัดรายการ เพ่ือสรางความพึงพอใจและตอบสนองความตองการของกลุมผูฟงไดดีขึ้น

2.เน้ือหา เนื้อหาของรายการ คือ เรื่องราวตางๆ ที่ผูจัดรายการ

ตองการใหกลุมผูฟงเปาหมายไดรับฟง ซึ่งเนื้อหาเหลานี้ ตองนําเสนอใหสอดคลองกับลักษณะและความตองการของก ลุ ม เ ป า ห ม า ย ที่ เ ร า กํ า ห น ดไ ว เ ช น ห า ก เ ร า กํ า ห น ด

Page 6: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

6

กลุมเปาหมายเปนวัยรุน เนื้อหารายการก็ควรเปนเรื่องที่วัยรุนชอบ และสนุกสนาน ไมเปนวิชาการมากเกินไป เพลงที่ใชก็ควรจะเปนเพลงที่มีจังหวะคึกคัก ขณะที่หากกลุมเปาหมายเปนวัยสูงอายุ เนื้อหารายการก็ควรเปนเรื่องที่เหมาะกับวัย ฟงเพลิน ๆ ไมหวือหวาจนเกินไป เชนเดียวกับเพลงที่ใช ก็ควรจะเปนเพลงที่มีจังหวะสบายๆ ไมเรงเราอารมณมากเกินไป หรือเปนเพลงที่รวมสมัยกับกลุมผูสูงอายุ เปนตน

3.วิธีนําเสนอ วิธีนําเสนอ คือ กระบวนการถายทอดเนื้อหาหรือ

เรื่องราวตางๆ ไปสูผูฟงอยางมีศิลปะ เพราะหากผูจัดรายการนําเสนอรายการโดยพูดตรงไปตรงมาเปนทางการ เหมือนการบรรยายในหอง เรียน หรือ พูด โดยอานตามบท (script) จนเกินไป จะทําใหผูฟงเกิดอาการเบ่ือ เทคนิคการพูดนั้น ควรนึกถึงการพูดเหมือนกับคุยกับเพ่ือนสนิทสักหนึ่งคนอยางเปนกันเอง ไมใชพูดเสมือนวา พูดกับคนเปนลานคนพรอมๆกัน

Page 7: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

7

ทั้งนี้ การจัดรายการอยางมีศิลปะนั้น เปนคําถามที่ผูจัดตองหาคําตอบเองวา จะทําอยางไรใหผูฟงรับขาวสารหรือเรื่องราวตางๆ ไดโดยไมรูสึกตัว พรอมๆ ไปกับที่รูสึกเพลิดเพลิน รื่นเริงบันเทิงใจ ไดรับความรู และไดสรางจินตนาการตามไปดวย ซึ่งผูจัดรายการตองสรางสรรควิธีการนําเสนอใหสอดคลองกับลักษณะของกลุมเปาหมาย โดยคํานึงถึงองคประกอบดังตอไปนี้

ภาษาพู ด ผู จั ด ค ว ร ใ ช ภ า ษ า ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กั บ

กลุมเปาหมาย เขาใจงาย ดวยประโยคสั้นๆ กะทัดรัด ใหเหมาะกับสภาพการรับฟงวิทยุของผูฟงโดยทั่วไป ไมควรใชภาษาหยาบคาย หรือเปนตัวอยางการใชภาษาที่ดูเหมือนวา ไมใหเกียรติผูฟง หรืออาจละเมิดสิทธิสวนบุคคล ซึ่งอาจเขาขายผิดกฎหมายได

ลีลาการพูด หลักของการจัดรายการวิทยุขอหนึ่งคือ ไม

ควรพูดเหมือนอานหนังสือ แตควรพูดเหมือนกําลังพูดคุยกับเพ่ือนคนหนึ่ง (ยกเวนในกรณีที่เปนรายการขาวหรือบทความ ที่

Page 8: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

8

ตองแสดงความนาเชื่อถือ) พรอมทั้งแสดงความจริงใจในน้ําเสียง และไมควรแสดงการดูถูกผูฟง

เพลงประกอบ เพลงที่เปดประกอบรายการควรจะทําให

รายการนาฟงและเกิดความผอนคลายรวมถึงสามารถสราง จินตนาการรวมใหแกผูฟงได ดังนั้น จึงควรเลือกเพลงที่เหมาะกับเนื้อหา เรื่องราวที่นําเสนอ และรูปแบบรายการ มากกวาเลือกเพลงที่ผูจัดชอบเสียเอง

เสียงประกอบ เสียงที่ใชในรายการอาจเปนเสียงที่

เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือเกิดขึ้นจากเหตุการณจริง เชน เสียงนกรอง น้ําไหล ฝนตก ฯลฯ รวมไปถึงเสียงที่มีผูบันทึกไวในแผนซีดีเรียบรอยแลว หรือเสียงประกอบที่อาจสามารถทําเลียนแบบเสียงตางๆไดภายในหองบันทึกเสียง เพ่ือใชประกอบในรายการ ทําใหรายการดูมีสีสันและไมนาเบ่ือ

Page 9: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

9

ความหลากหลายและความเปนเอกภาพ ความมุงหมายของการสรางความหลากหลาย คือ เพ่ือไมใหผูฟงเกิดอาการเ บ่ือ ผูจัดรายการจึงควรเสนอเรื่องราวให มีความหลากหลาย โดยนําเอาเนื้อหาที่จะนําเสนอ พรอมภาษาพูด ลีลาการพูด เพลงประกอบ และเสียงประกอบ มาประยุกตใชใหรายการเกิดความนาสนใจ ไมซ้ําซากจําเจ ทั้งนี้ ตองคํานึงถึงความเปนเอกภาพ หรือความเปนอันหนึ่งอันเดียวของรายการดวย โดยผูจัดรายการตองดําเนินเรื่องราวใหสอดคลองกันไปตลอดทั้งรายการ ทั้งยังตองสอดคลองกับวัตถุประสงค และแนวคิดหลัก (Theme) ของรายการดวย ซึ่งผูจัดรายการมีหนาที่สรางความสมดุลระหวางความหลากหลายและความเปนเอกภาพอยางพอเหมาะพอดี อยาใหความหลากหลายทําลายเอกภาพของรายการไป จนผูฟงแยกไมออกวากําลังฟงรายการอะไรอยู

4. เวลาออกอากาศ เวลาในการออกอากาศ คือ ปจจัยหนึ่งในการกําหนดวา

Page 10: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

10

เราจะผลิตรายการออกมาในรูปแบบใด เพราะเวลาออกอากาศมีความสัมพันธกับกลุมผูฟงเปนอยางย่ิง เพราะผูฟงแตละชวงวัย แตละอาชีพ มีวิถีชีวิตในแตละชวงเวลาใน 1 วันที่แตกตางกัน เนื่องจากชวงเวลาหนึ่งๆ อาจเปนชวงเวลาของกลุมผูฟงประเภทหนึ่ง ขณะที่อีกชวงเวลาหนึ่งอาจเปนชวงเวลาของกลุมผูฟงอีกประเภทหนึ่ง เชน ชวงเชา กลุมผูฟงอาจเปนพนักงานในบริษัท ขณะที่ชวงกลางคืน กลุมผูฟงอาจเปนกลุมพอคาแมค ารานอาหารหรือคนทํางานกลางคืน เพราะฉะนั้น หากเราไดเวลาออกอากาศในชวงเชา แลวเราผลิตรายการสารคดีที่เปนวิชาการเกินไป ก็คงไมมีใครต้ังอกต้ังใจฟง เพราะยังเชาเกินไป ขณะที่เราไดเวลาออกอากาศในชวงกลางคืน แลวจัดรายการสําหรับเด็ก ก็คงไมมีเด็กคนไหนอยูฟง เพราะเขานอนกันหมดแลว เปนตน

อยางไรก็ดี สถานีวิทยุฯ มักมีการกําหนดเวลาออกอากาศ

ไวเปนที่เรียบรอยแลว ผูจัดรายการจึงตองผลิตรายการโดยคํานึงถึงชวงเวลาในการออกอากาศเปนสําคัญ เพ่ือสรางความสนใจ และความพึงพอใจใหเกิดกับกลุมเปาหมาย โดยกําหนด

Page 11: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

11

เนื้อหาและรูปแบบรายการที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมายที่ฟงในชวงเวลาดังกลาว

5.การประเมินผล กา รจ ะ จัด รา ย กา รวิ ท ยุใ ห ปร ะส บ คว ามสํ า เ ร็ จ

จําเปนตองมีการประเมินผลเพ่ือตรวจสอบวา กลุมผูฟงคิดเห็นอยางไรกับรายการของเรา เพ่ือที่เราจะนําความคิดเห็นนั้น มาปรับปรุง หรือแกไขรายการของเราใหสอดคลองกับความตองการของกลุมผูฟงมากย่ิงขึ้น โดยวิธีการประเมินที่ใชกันเปนสากล มีอยู 2 วิธี คือการประเมินผลอยางไมมีระบบ เชน จดหมายหรือโทรศัพทจากผูฟง การสังเกตจากการพูดคุยของคนทั่วไป การเขามามีสวนรวมในรายการของผูฟง ฯลฯ กับการประเมินผลอยางมีระบบ เชน การวิจัยเชิงสํารวจ ตามวิธีการวิจัยอยางเปนทางการ หรือการใชการสํารวจรายการยอดนิยม (Program Rating) เปนตน

Page 12: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

12

ทั้งนี้ การประเมินผลทั้ง 2 ระบบนี้ ผูจัดรายการอาจเลือกใชระบบใดระบบหนึ่ง หรือเลือกใชทั้ง 2 ระบบก็ได แตอยางไรก็ดี การประเมินผลทั้ง 2 ระบบ ตางก็มีขอดีขอเสียแตกตางกัน แตประเด็นสําคัญก็คือ รายการวิทยุฯที่เราจัดจะประสบความสําเร็จได ตองมีการประเมินผลอยางตอเนื่อง เปนระยะๆ อยางสมํ่าเสมอ ไมใชประเมินผลเพียงครั้งหรือสองครั้งแลวก็หยุด ไมประเมินอีกเลย

ขอด ี/ ขอเสียของการประเมินผลอยางมีระบบและ

ไมมีระบบ การประเมินผลอยางมีระบบ ขอดี - ผลที่ไดมีความแนนอนและใกลเคียงความจริง ขอเสีย - ใชเวลามาก เพราะตองปฏิบัติตามขั้นตอนการ

ประเมิน ดังนั้น การประเมินแบบนี้ จึงประเมินเพียงป

ละ 1-2 ครั้ง

Page 13: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

13

การประเมินผลอยางไมมีระบบ ขอดี - ประหยัดเวลา - ทําไดทุกโอกาส และบอยครั้ง ขอเสีย - ความเห็นที่ไดอาจมาจากกลุมที่ไมใชกลุม

ผูฟงที่เราตองการจริงๆ - ขอมูลอาจไมเที่ยงตรงและขาดความนาเชื่อถือ ประเภทรายการ รายการวิทยุสามารถแบงไดเปนหลายประเภท และมี

เกณฑในการแบงที่หลากหลาย หากแบงตามลักษณะและรูปแบบของรายการแลว เราสามารถแบงไดเปนรายการประเภทตาง ๆ ดังนี ้

1.รายการพูดคุย เปนรูปแบบหนึ่งของรายการวิทยุ ที่นําเสนอเนื้อหาดวย

“การพูดคุย” เพียงอยางเดียว โดยการพูดคุยนั้น อาจเปนผูจัดรายการพูดคุยกับผูฟงโดยตรงหรือโดยออมก็ได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับ

Page 14: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

14

จํา น ว น คน ที่ พู ด ( จํ า น ว น ผู จัด ร า ย ก า ร ผู ร ว มร า ย ก า ร หรือแขกรับเชิญในรายการ) แตละครั้ง รายการพูดคุยสามารถแบงยอยออกไดเปน 4 ประเภท คือ

รายการพูดคุยกับผูฟงโดยตรง เปนรูปแบบการจั ด ร า ย ก า ร ที่ สื่ อ ส า ร กั บ ผู ฟ ง อ ย า ง ตร ง ไ ป ตร ง มา ที่ สุ ด ประหยัดเวลาและคาใชจายที่สุด ขอเสียคือ ถาผูพูดพูดไมเกง อาจสรางความนาเบ่ือใหกับผูฟงได

รายการสัมภาษณ เปนรายการที่พูดคุยกับผูฟงทางออม โดยผูฟงจะไดรับประโยชนจากการฟงการสัมภาษณแล ะ ก า ร ใ หสั มภ า ษ ณ ขอ ง ผู จั ด ร าย ก า ร แ ล ะผู เ ข า ร ว ม รายการหรือแขกรับเชิญ

รายการสนทนา เปนรายการที่มีลักษณะคลายกับรายการสัมภาษณ แตตางกันตรงที่ผูสัมภาษณไมใชผูต้ังคําถามแตเพียงอยางเดียว แตจะรวมแสดงความคิดเห็น และทําหนาที่ถาม-ตอบไปพรอมๆ กับผูรวมรายการดวย

รายการอภิปราย เปนรายการที่พูดคุยกับผูฟงทางออม ผานทางผูรวมรายการมากกวา

Page 15: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

15

2 คน โดยผูฟงจะไดรับฟงความคิดเห็นที่แตกตางผานทางการอภิปรายของผูรวมรายการแตละคน

2.รายการสารคดี เปนรายการที่ มุ งเลาเรื่องราว ใหสาระความรู แต ก็

ส า ม า ร ถ สอดแทรกใ ห ค ว า ม บั น เ ทิ ง ไ ป พ ร อ ม ๆ กั น ไ ด ลักษณะเฉพาะของรายการสารคดีคือ มุงเจาะจงเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางลึกซึ้ง ดังนั้น จะเห็นวารายการสารคดีโดยสวนใหญ มักนําเสนอเรื่องเพียงเรื่องเดียว แตวิธีการนําเสนออาจมีหลายวิธีคละเคลาผสมผสานกันไป

รายการสารคดีสามารถแบงไดเปน 5 ประเภท คือ สารคดีท่ัวไป เนื้อหาของสารคดีประเภทนี้มักเปน

เรื่องทั่วๆ ไป ไมจําเพาะเจาะจง วิธีการเสนอ ควรมีความหลากหลายของเสียง

สารคดี เ น่ืองในโอกาสพิ เศษ เนื้ อ หามักเก่ียวของกับงานเทศกาลพิเศษ หรือบุคคลที่นาสนใจเปนที่รูจักแกคนทั่วไป และนําเสนอในรูปแบบสารคดี

Page 16: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

16

สารคดีเชิงวิเคราะห เนื้อหามักเปนเรื่องเก่ียวกับการดํารงชีวิตของมนุษยหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่ตองเผชิญกับปญหาสิ่งแวดลอม หรือปญหาของตัวเองในทุกๆ เรื่อง โดยนําเสนอในรูปแบบการวิเคราะหสาเหตุของปญหาตามขอมูลที่คนพบ หรือ วิเคราะหหาแนวทางแกไขตามขอมูลที่สืบคนมาได และนําเสนอวิธีแกวา หลังจากวิเคราะหแลวจะมีวิธีแกใดบาง ซึ่งอาจจะเสนอทางแกสัก 2 – 3 วิธี

สารคดีเชิงขาว เนื้อหามักเก่ียวเนื่องมาจากขาวที่เกิดขึ้นแลว แตขาวนั้นยังมีเงื่อนงํา เรื่องราวยังไมมีขอยุติ ยังเปนขอสงสัยของคนโดยทั่วไป ผูจัดรายการจะสืบหาสาเหตุเรื่องราวความเปนมาของขาวนั้นๆ อยางละเอียด แลวนําขอมูลที่ไดมา นํามาวิเคราะหโดยปราศจากอคติเจือปน ขอมูลหรือขาวที่นํามาวิเคราะหนั้นควรเปนไปตามขอเท็จจริงที่พบมา แลวทําการสรุปสิ่งที่เปนเงื่อนงํานั้น วามาจากสาเหตุอะไรบาง และอาจจะสงผลอยางไรไดบาง เพ่ือใหผูฟงไดทราบขอมูลอยางเจาะลึก และรูสาเหตุที่มาที่ไปของขาวที่เกิดขึ้น เพียงแตวาเรานําเสนอตามรูปแบบรายการสารคดีเทานั้น

Page 17: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

17

สารคดีทองเ ท่ียว เนื้อหาเปนเรื่องของการเดินทางไปทองเที่ยวตามสถานที่ตางๆ เปนการเลาเรื่องเก่ียวกับสถานที่ทองเที่ยววา นาสนใจอยางไร มีประวัติความเปนมาอยางไร จะเดินทางไปยังสถานที่แหงนั้นไดอยางไร โดยพาหนะใดไดบาง คาใชจายควรจะเปนสักเทาไรตอการทองเที่ยวในหนึ่งครั้ง และจะตองเตรียมตัวอยางไรบาง สัมภาระหรือสิ่งของเครื่องใชเฉพาะตัว จะตองเตรียมอยางไรหรือไม

3.รายการนิตยสารทางอากาศ เปนรายการที่นําเสนอเรื่องราวที่มีเนื้อหาหลากหลาย

ผสมผสานไวในรายการเดียว ดวยวิธีการนําเสนอที่หลากหลายเชนเดียวกัน ถึงกระนั้นก็ดี ในความหลากหลาย ก็ควรจะตองมีแนวทางหลักหรือเอกลักษณของรายการ เพ่ือที่ผูฟงจะไดไมสับสน วาตกลงนี่เปนรายการอะไรกันแน ซึ่งการวางแนวทางหรือเอกลักษณนี้ มี 2 วิธี คือ

Page 18: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

18

แบงโดยเอาผูฟงเปนหลัก ไมวาเนื้อหาและวิธีการนําเสนอจะเปนอยางไร ตองมีความสอดคลองกับกลุมผูฟง เชน รายการนิตยสารแมบาน รายการนิตยสารสําหรับเด็ก เปนตน

แบงโดยเอาเน้ือหาเปนหลัก เชน รายการนิตยสารกีฬา รายการนิตยสารรถยนต เปนตน

4. รายการขาว เปนรายการที่นําเสนอขอเท็จจริง หรือ

เหตุการณที่เกิดขึ้นในชวงเวลานั้นๆ เม่ือไปถึงที่เกิดเหตุหรือไดขอมูลของเรื่องดังกลาวแลว จะตองเลือกประเด็นเนื้อหาที่จะนําเสนอเสียกอน แลวจึงลงลึกในประเด็นขาวนั้นวา มีเรื่องที่จะเสนออยางไร โดยสรุปประเด็นสําคัญไวในยอหนาแรก ยอหนาถัดมาจึงเปนรายละเอียด และยอหนาตอไปจะเปนรายละเอียดมากขึ้นเรื่อยๆ จนเพียงพอกับเวลากับการเสนอขาวแตละขาว ซึ่งผูจัดรายการจะตองนําเสนอขอเท็จจริงอยางตรงไปตรงมา ไมใชความคิดเห็นหรือทัศนะสวนตัวมาปะปนกับเนื้อหาขาวที่นําเสนอ ตองยึดถือจริยธรรมการประกอบอาชีพสื่อมวลชนเปนหลัก

Page 19: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

19

บทท่ี 2 การผลิตรายการ

ข้ันตอนการผลิตรายการ การผลิตรายการวิทยุโดยทั่วไป มีอยู 4 ขั้นตอน คือ 1. ข้ันเตรียมการ ขั้นเตรียมการนี้ สามารถแบงยอยออกไดเปนอีก 3

ขั้นตอน คือ 1.1 วางแผน คือ การกําหนดหัวขอวาจะจัด

รายการเรื่องอะไร มีเนื้อหาอยางไร จะเสนอรายการในรูปแบบไหน ผูฟงคือใคร ออกอากาศเวลาไหน ฯลฯ ทั้งนี้ เพ่ือใหเกิดความชัดเจน ผูผลิตรายการควรเขียนออกมาเปนโครงการนําเสนอรายการ จะชวยใหเหน็ภาพของการจัดรายการไดชัดเจนขึ้น

1.2 การเขียนบท คือ การนําเอาความคิดในขั้นวางแผนมาขยาย และเขียนรายละเอียดออกมาเปนบทวิทยุฯ

Page 20: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

20

โดยอาศัยการคนควาขอมูลที่เก่ียวของกับเนื้อหาที่ตองการจะนําเสนอมาประกอบกับจินตนาการ

1.3 การเตรียมวัสดุอุปกรณและเสียงประกอบ คือ การจัดเตรียมแผนเสียง แผนซีดี เพลงประกอบในรายการ เสียงประกอบตางๆ ตลอดจนจัดหาบุคลากรใหพรอมตามบทที่กําหนดไว วาใครทําหนาที่อะไร มีใครมารวมรายการบาง นัดหมายการสัมภาษณเวลาใด เปนตน

ตัวอยาง

โครงการนําเสนอรายการ 1. เรื่อง ( เรื่องอะไร เชนเรื่อง “กุหลาบ” ) 2. กลุมเปาหมาย ( เปนใคร เชน แมบาน เกษตรกร ผูที่

สนใจกุหลาบเปนพิเศษ เปนตน ) 3. วัตถุประสงค ( เพ่ืออะไร จะเกิดประโยชนอยางไรตอ

ผูฟง )

Page 21: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

21

4. หัวขอเรื่อง ( หัวขอที่จะพูดเฉพาะในรายการตอนนี้ เชน “กุหลาบมีก่ีพันธุ แตละพันธุมีจุดดี จุดดอย ตางกันอยางไร มีวิธีปลูกแตกตางกันหรือไมอยางไร เปนตน )

5. เนื้อหารายการ ( สรุปเนื้อหาที่จะนําเสนอในครั้งนี้อยางยอ ๆ )

6. รูปแบบรายการ ( จะนําเสนอรายการในรูปแบบใด เชน รายการสัมภาษณ รายการสารคดี รายการนิตยสาร ฯลฯ ผูจัดรายการตองเลือกแบบใดแบบหนึ่ง )

7. ความยาว ( ก่ีนาที ) 8. ชื่อรายการ ( ควรต้ังชื่อรายการใหชวนฟง และสื่อสาร

ใหผูฟงทราบวาจะไดฟงเนื้อหาเก่ียวกับอะไรบาง ) 9. ผูดําเนินรายการ ( เปนใคร ) 10. สถานีที่ออกอากาศ (สถานีชื่ออะไร คลื่นความถ่ี

อะไร) 11. วันและเวลาที่ออกอากาศ ( ออกอากาศวันและเวลา

ใด เชน เวลา 06.00 – 07.00 น. ทุกวันจันทร-ศุกร หรือ 13.00 –

Page 22: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

22

13.30 น. ทุกวันเสาร เปนตน หากเปนบทเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งก็ใหระบุวันที่ที่ชัดเจนลงไปเลย )

ตัวอยาง

โครงการนําเสนอรายการ

ช่ือรายการ : คิดสคลับ ตอน หนูเคยพูดไมเพราะหรือเปลา เรื่อง : การพูดไมสุภาพของเด็ก ออกอากาศ : สถานีวิทยุ มก. AM 1107 KHz. วันจันทรที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 เวลา 17.00 - 17.10 น. วัตถุประสงค : 1. ใหเด็กเห็นความสําคัญและขอดีของการ พูดบอกไดวาการพูดไมสุภาพมีขอเสียอยางไร

2.ใหพอแมผูปกครองรูวิธีแกปญหา วาจะจัดการกับลูกอยางไรหากพบวาลูกพูดไมสุภาพ

หัวขอเรื่อง : เด็กพูดไมสุภาพจะแกอยางไร

Page 23: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

23

กลุมเปาหมาย : เด็กอายุ 6-9 ขวบ และพอแม ผูปกครอง เน้ือหา : เปนการเลาถึงการพูดไมสุภาพของเด็กซึง่มี

หลายสาเหตุ ทั้งชวงวัย เพ่ือน สิ่งแวดลอม คนในครอบครัว ฯลฯ พอแมจึงตองมีวิธีแกปญหาที่ ถูกตอง เ ม่ือเ ด็กเขาใจและตองการการยอมรับจากสังคม เด็กก็จะพูดจาไพเราะและถูกกาลเทศะในที่สุด

รูปแบบรายการ: สารคดีทั่วไป 1. ยกตัวอยางปญหาการพูดไมสุภาพของเด็ก โดยนําเสนอดวยนิทานสั้น ๆ 2. พูด ( แสดง ) ใหเด็กเห็นถึงขอเสียของการพูดไมสุภาพและขอดีของการพูดสุภาพ โดยใหเด็กเลาเรื่องและถายทอดประสบการณของตัวเอง 3. เสนอแนวทางการแกปญหาของพอแมผูปกครอง เม่ือพบวาลูกพูดไมสุภาพ หรือ พูดคําหยาบ

Page 24: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

24

4. สรุป การพูดไมสุภาพของเด็กเกิดจากหลายสาเหตุ พอแมผูปกครองจึงจําเปนตองมีวิธีแกปญหาที่ถูกตองและเปนแบบอยางที่ดี ให กับ ลูก เ ม่ือ เ ด็กเห็น แบบอ ยางที่ ดี ประกอบกับเด็กตองการการยอมรับจากเพ่ือนและสังคม เขาก็จะพูดจาไพเราะและพูดถูกกาลเทศะไดเอง

การนําเสนอ : รายการพูดคุยสลับเพลง และเลาเรื่องประกอบ ความยาว : 10 นาท ีดําเนินรายการโดย : พ่ีนอย (นามสมมุติ) ******************************************************************

2. ข้ันซักซอมกอนออกอากาศ เปนการซักซอมการจัดรายการตามรายละเอียดของบท

วิทยุที่เขียนไวทั้งหมด เพ่ือใหบุคลากรที่เก่ียวของทุกคนไดทํา

Page 25: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

25

ความเขาใจรวมกัน และเพ่ือหาขอบกพรอง จะไดแกไขไดทันทวงท ี

3.ข้ันออกอากาศ เปนขั้นตอนไดดําเนินการตามบทที่ผานการซักซอมและ

แกไขมาแลว โดยการออกอากาศนี้ อาจเปนการออกอากาศจริง หรือบันทึกเทปเอาไว แลวนําไปออกอากาศอีกทอดหนึ่งก็ได

4.ข้ันประเมินผล เ ป น ก า ร ติ ด ต า ม ผ ล ห ลั ง จ า ก ก า ร อ อ ก อ า ก า ศ

ว า ร า ย ก า ร ที่ ผ ลิ ต ไ ป นั้ น ป ร ะ ส บ ป ญ ห า อ ะ ไ ร บ า ง จะตองแกไขอยางไร หรือผูฟ งตองการให เปนแบบไหน เพ่ือใหรายการประสบความสําเร็จสูงสุด

หนาท่ีและความรับผิดชอบของผูผลิตรายการ ในการผลิตรายการวิทยุทุกรายการ ผูผลิตรายการหรือผู

จัดรายการเปนผูที่มีบทบาทสําคัญอยางมาก เพราะตองทํา

Page 26: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

26

หนาที่เสมือนเปนพอครัวปรุงอาหารใหคนอื่นรับประทาน อาหารจะมีรสชาติดีหรือไม รายการจะถูกใจผูฟงหรือไม อยางไร ขึ้นอยูกับการทําหนาที่และความรับผิดชอบของผูผลิตรายการนั้นๆ ซึ่งหนาที่และความรับผิดชอบของผูผลิตรายการวิทยุที่ ดี มีดังตอไปนี ้

- กําหนดเนื้อหาสาระ และรูปแบบของรายการในแนวทาง

ที่สอดคลองกับกลุมผูฟงเปาหมาย - กําหนดตัวผูรวมงานในกลุม เชน ผูเขียนบท ผูดําเนิน

รายการ ผูควบคุมเสียง ฯลฯ - รวบรวมเสียงประกอบจริง เชน การบันทึกเสียง

สัมภาษณนอกสถานที่ การบันทึกเสียงเหตุการณ จริง ฯลฯ - รูจักเลือกเพลงประกอบและเสียงประกอบสําหรับใชใน

รายการ - อานทบทวนบทวิทยุที่เขียนเสร็จแลวเพ่ือพิจารณา

ปรับปรุงแกไขหรือดัดแปลงใหเหมาะสม

Page 27: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

27

- เตรียมวัสดุอุปกรณตางๆ ที่จําเปนตองใชในการออกอากาศสดหรือรายการบันทึกเทปใหพรอม เชน เตรียมบทวิทยุใหทีมงานทุกคน จัดเตรียมแผนเสียงที่จะใชประกอบในรายการใหครบถวน ฯลฯ

- ซักซอมความเขาใจและให คําแนะนําแกผู ดําเนินรายการ

- ตรวจสอบระบบเสียงภายในหองบันทึกเสียง ปองกันหรือแกไขเสียงกองหรือเสียงรบกวน รวมทั้งปรึกษาฝายชางในการจัดต้ังไมโครโฟน

- อธิบายรายละเอียดของบทวิทยุแกเจาหนาที่ควบคุมเสียง เพ่ือซักซอมทําความเขาใจในรายละเอียดตาง ๆ

- ควบคุมการซอมรายการทั้งที่ เปนรายการสดและรายการบันทึกเทป เพ่ือดัดแปลงแกไขใหทุกสิ่งทุกอยางในรายการสมบูรณที่สุด

- จัดใหมีการซอมเพ่ือจับเวลาและฝกฝนใหเกิดความชํานาญ

Page 28: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

28

- ขั้นสุดทาย คือ อํานวยการออกอากาศรายการสดหรือรายการบันทึกเทป โดยรายการบันทึกเทป อาจตองมีการตัดตอเสียงใหเหมาะสมกอนออกอากาศดวย

ความรูความสามารถของผูผลิตรายการ ในการจัดรายการวิทยุ ผูผลิตรายการหรือผูจัดรายการมี

หนาที่ตองรับผิดชอบทั้งดานเนื้อหาสาระของรายการและดานเทคนิค ดังนั้น การจะเปนผูผลิตรายการที่ดีได จําเปนตองมีความรูความสามารถดังตอไปนี้

ดานเน้ือหา - ผูผลิตรายการที่ดีตองสามารถผลิตเนื้อหาสาระของ

รายการใหสอดคลองเหมาะสมกับกลุมผูฟง ซึ่งหมายความวา ตองมีความรูความเขาใจในการวิเคราะหผูรับสาร เชน กลุมผูฟงมีการศึกษาในระดับใด ประกอบอาชีพอะไร เพศอะไร อายุเทาไหร เปนตน และสามารถนําเอาขอมูลของกลุมผูฟงมาใชประกอบไดอยางเหมาะสม

Page 29: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

29

- ผูผลิตรายการที่ดีตองมีความรู ความสามารถ ในการเลือกเนื้อหาสาระและเลือกรูปแบบของรายการ

- ผูผลิตรายการที่ดีตองสามารถอธิบาย และถายทอดความคิดของตนใหแกผูเขียนบทวิทยุ นําไปเขียนใหเปนเรื่องราวที่สมบูรณได (ในกรณีที่มีผูอื่นเขียนบทให)

- ผูผลิตรายการที่ดีตองเขาใจเทคนิค วิธีการ การใชเครื่องบันทึกเสียง การผลิตเสียงประกอบตางๆ การบันทึกเสียงการสัมภาษณทั้งในและนอกสถานที่ รวมถึงตองมีความสามารถในการเลือกเสียงประกอบและเพลงประกอบไดอยางเหมาะสม

- ผูผลิตรายการที่ ดีตองสามารถตัดตอเทปที่จะนํามาออกอากาศหรือประกอบในรายการได

ดานเทคนิค ผูผลิตรายการที่ดีตองมีความรูความเขาใจเครื่องมือและ

อุปกรณที่เก่ียวของกับการกระจายเสียง ทั้งในหองจัดรายการและในหองควบคุมเสียง เชน ในหองจัดรายการ ผูผลิตควรจะตองเขาใจเรื่องระบบเสียงและไมโครโฟน สวนในหองควบคุม

Page 30: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

30

เสียง ผูผลิตควรจะตองเขาใจปุมตางๆ บนแผงควบคุมเสียง รวมถึงการใชอุปกรณและเครื่องเสียงตางๆ

สรุปคุณสมบัติของผูผลิตรายการท่ีดี - มีความคิดริเริ่มสรางสรรค กระตือรือรน สนใจสิ่งรอบตัว

และใฝรูอยูเสมอ - มีความสามารถในการพูดอยางเปนกันเอง ออกเสียง

ภาษาไทย หรือภาษาถ่ินไดอยางคลองแคลว ถูกตอง และนาฟง - เขาใจในกระบวนการผลิตรายการวิทยุเปนอยางดี - มีความรูในเรื่องเพลงประกอบ เสียงประกอบ สามารถ

ตัดสินใจไดวา เนื้อหาสาระอยางไรเหมาะกับผูฟง และเพลงประกอบ เสียงประกอบ ประเภทไหนเหมาะกับเนื้อหาเรื่องราวแบบใด

- เขาใจวิธีใชอุปกรณตางๆ ไดเปนอยางดี - ตรงตอเวลา - มีการตัดสินใจที่ดี เม่ือเกิดปญหาตองสามารถแกไขได

อยางรอบคอบและทันทวงที

Page 31: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

31

บทท่ี 3 การจัดรายการ

หลักเบื้องตนในการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง การจะเปนนักจัดรายการวิทยุที่ดี มีขอพึงปฏิบัติเบ้ืองตน

ดังตอไปนี ้ การเตรียมบทวิทยุ (script) กอนจัดรายการวิทยุ ควรมีการเตรียมบทวิทยุแตละ

รายการและกําหนดประเด็นที่จะพูดคุยลงในบทวิทยุใหเรียบรอย เพราะการกําหนดประเด็นจะทําใหเราสามารถบริหารเวลา ในการจัดรายการได อาทิ ลํา ดับประเ ด็นที่จะพูดในแต ละชวงของรายการ จะทําใหการจัดรายการเปนระบบ ชัดเจน และจะทําใหเรารูวา เหลือเวลาในการพูดคุยในแตละชวงเปนเวลาก่ีนาที หรือเหลือเวลามากนอยแคไหนที่จะพูดเพ่ิมเติม

Page 32: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

32

ลักษณะของบทวิทยุท่ีด ีคือ - มีเนื้อหาที่ชัดเจน - ลําดับเนื้อเรื่องไดดี - หลีกเลี่ยงภาษาเขียน - ใชภาษาที่เขาใจงาย ชัดเจน สื่อความหมายไดตรง เพ่ือ

ชวยใหผูฟงจินตนาการภาพไดชัดเจนขึ้น ในบางกรณี หากผูจัดรายการเปนผูเตรียมบทวิทยุเอง

มักจะเกิดปญหานอย เพราะผูจัดรายการมีความเขาใจในบทวิทยุนั้นอยูแลว แตในกรณีที่ผูจัดรายการไมไดเปนผูเตรียมบทวิทยุเอง ควรอานและทําความเขาใจบทวิทยุนั้นเสียกอน ซึ่งการอานทําความเขาใจกับบทวิทยุนั้น ผูจัดรายการตองสามารถแยกแยะและสรุปความได เนื่ องจากการจัดรายการไมจําเปนตองพูดตามบทวิทยุทุกคําทุกประโยค เพราะจะไมเปนธรรมชาติ ใหใชการทําความเขาใจในประเด็นสําคัญ ตัดรายละเอียดบางเรื่อง หรือบางประโยคที่ไมมีประโยชนตอผูฟง

Page 33: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

33

ออกไปได แลวพูดออกมาตามธรรมชาติของเรา จะทําใหการจัดรายการมีชีวิตชีวามากขึ้น

การพูด ลักษณะการพูดของนักจัดรายการวิทยุที่ดี ตองออกเสียง

ใหชัดเจน สะกดคําใหถูกตอง ออกเสียง ร เรือ และ ล ลิง รวมถึงตัวควบกล้ําอื่นๆ ใหได เพราะหากพูดผิดไป ความหมายก็ผิดไปดวย ผูฟงอาจจําไปใชผิดๆ และระวังการใชศัพทแสลงบางคํา เพราะไมใชวาผูฟงทุกคนจะเขาใจ ทางที่ดีควรหลีกเลี่ยงศัพทแสลงเหลานี้ แตหากเผลอพูดไปแลว ก็ควรใหคําอธิบายที่ถูกตองแกผูฟง และตองพึงระลึกวา การพูดทางวิทยุเปนเสมือนครู ซึ่งมักจะมีผูเลียนแบบอยูเสมอ

นอกเหนือไปจากการพูดใหชัดเจนและถูกตองแลว ลีลา

การพูดของนักจัดรายการที่ดี ควรจะตองมีความเปนกันเองกับผูฟง มีความสุภาพ ตองไมกังวลกับการอานตามบทวิทยุทุกคําจนเกินไป เพราะจะทําใหความเปนกันเองลดลง ลีลาการพูดของ

Page 34: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

34

เราควรชวนใหติดตามหรือฟงแลวสนุก แตความสนุกนั้นไมใชอยูบนความทุกขของผูอื่น ควรต้ังอยูบนความเหมาะสม โดยเฉพาะอยางย่ิง ควรดูกลุมผูฟงของเราวามีการศึกษาระดับใด เปนผูใหญหรือเด็ก ถากลุมผูฟงเปนเด็กก็ควรพูดในภาษาที่เด็กเขาใจไดงายและนาติดตาม หากกลุมผูฟงเปนวัยรุนก็ควรพูดในแบบที่วัยรุนสนใจ หรือหากเปนผูใหญก็ควรพูดใหนาเชื่อถือและนาสนใจ แตไมควรพูดภาษาที่หยาบคาย สองแงสองงาม หรือแสดงความกาวราว อันเปนตัวอยางที่ไมดี เปนการปลูกฝงใหใชความรุนแรงแกปญหา หรือพูดโดยไมคํานึงถึงศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีงามของไทย ซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรทําอยางย่ิง

พึงระลึกเอาไววา วิทยุกระจายเสียงไมใชโทรทัศน ผูฟงได

ยินเฉพาะเสียงของเรา ไมอาจเห็นภาพปรากฏได ดังนั้น นักจัดรายการวิทยุที่ดี ตองพูดใหผูฟงเห็นภาพ ซึ่งขอแนะนําในการพูดเพ่ือใหเห็นภาพ คือ ควรใชคํากริยาวิเศษณอยางเหมาะสม เชน เดินอยางรวดเร็ว กาวชาๆ ย้ิมแหยๆ ลมพัดเบาๆ เคาะประตูดังๆ

Page 35: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

35

สองสามครั้ง มองเห็นอยูลิบๆ ฯลฯ คําเหลานี้จะชวยใหผูฟงเกิดจินตนาการ นึกเห็นภาพตามไปดวยได

โดยทั่วไป สําหรับรายการที่มีความยาวเกิน 2 นาที นักจัด

รายการควรพูดใหผูฟงจินตนาการภาพตามไปดวยไดอยางชัดเจน โดยเริ่มตนควรพูดใหนึกถึงบรรยากาศหรือภาพกวางๆ แกผูฟงกอน แลวคอยๆ พูดเนนโยงเขาสูประเด็นหลักหรือเรื่องราวที่ เราตองการนําเสนอ ไมใชเริ่มรายการก็พุงเขาสูประเด็นหลักเลย ถาทําเชนนั้น ผูฟงอาจตามเรื่องราวไมทัน และนึกภาพไมออก แตถาเปนรายการสั้นๆ เพียง 1 - 2 นาที ก็จําเปนตองเขาสูประเด็นหลักโดยเร็วเพ่ือใหทันภายในเวลาที่กําหนด

ขอพึงระวังในการจัดรายการวิทยุ - อยาพูดออกนอกประเด็นมากเกินไป - อยาพูดเพลินจนลืมดูเวลา

Page 36: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

36

การใชเสียง / เพลงประกอบ หลักการในการใชเสียงหรือเพลงประกอบในรายการ คือ

ควรเลือกเสียงหรือเพลงประกอบใหเหมาะสมกับเนื้อหาหรือบรรยากาศรายการและกลุมผูฟง ทั้งในแงของการเลือกเสียงประกอบหรือเพลงที่ชวยใหเกิดการสรางจินตนาการของผูฟง การใชเสียงประกอบหรือเพลงบอกเวลา การสรางบรรยากาศประกอบเรื่องที่กําลังพูด ฯลฯ ซึ่งทักษะสวนนี้ จําเปนตองอาศัยประสบการณและการฝกฝนเปนสําคัญ

อยางไรก็ดี ขอแนะนําสําหรับการใชเพลงประกอบใน

รายการอยางคราวๆ คือ เพลงที่จะใชเปด ค่ันสลับการพูดของเรา ควรใชเพลงบรรเลงจะดีกวา ในกรณีตองการใชเพลงเปนฉากหลัง (background) ในขณะพูด เพลงที่ใชก็ควรใชเพลงบรรเลงเชนกัน ทั้งนี้ เพราะเสียงนักรองจะไดไมมารบกวนการพูดของนักจัดรายการ และอีกนัยหนึ่ง ยังถือเปนมารยาทที่ไมดี ไมควรทํา หากนักจัดรายการวิทยุพูดทับเสียงรองของนักรองที่กําลังรองอยู เพราะถือเปนการทําลายชื่อเสียงของนักรองผูนั้นทางออม

Page 37: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

37

นอกจากนี้ ผูฟงที่ชอบเพลงนั้นอยู ก็อาจจะรูสึกไมพอใจนักจัดรายการคนนั้นได ดังนั้น เพลงที่จะใชเปดเพ่ือเปลี่ยนชวงเวลา เปลี่ยนฉาก เปลี่ยนประเด็นการพูด หรือใหผูฟงเปลี่ยนอิริยาบถ ควรใชเพลงบรรเลงจะเหมาะสมกวา ทั้งยังไมควรใชเพลงที่มีจังหวะชาหรือเร็วเกินไป เพราะจะเปนการหนวงหรือกระชากอารมณผูฟงมากเกินไป เราควรเลือกเพลงที่ใหความรูสึกกระฉับกระเฉง สนุกสนาน จะเหมาะสมกวา

ประเภทของเสียงประกอบในรายการ 1. เสียงท่ีเกิดข้ึนในสถานท่ีจริงหรือเหตุการณ ท่ี

เกิดข้ึนจริง มักใชเสียงประเภทนี้เปนฉากหลัง ในระหวางที่นักจดัรายการวิทยุกําลังพูดอยูในขณะนั้น ซึ่งแมจะไมใชรายการสดแตก็สามารถสรางอารมณและจินตนาการใหผูฟงรูสึกเสมือนไดฟงรายการสดและอยูในเหตุการณนั้นจริงๆ โดยการไดมาซึ่งเสียงประกอบประเภทนี้ เราตองมีเครื่อง บันทึกเสียงที่ ดี เพ่ือใหไดเสียงที่สมบูรณ และมีคุณภาพสูงสุด

Page 38: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

38

2. เสียงท่ีบันทึกเอาไวเรียบรอยแลว มักจะอยูในรูปแผนเสียงหรือ ซีดี(CD) เสียงประกอบประเภทนี้มักไมมีปญหา เพราะเสียงตางๆ ไดบันทึกเอาไวเรียบรอยแลว เราสามารถหาซื้อไดจากรานขายซีดีโดยทั่วไป

3. เสียงท่ีทําข้ึนเองในหองสง หองบันทึกเสียงหรือ

ในสตดูิโอ เชน เสียงเดินในแบบตางๆ เสียงด่ืมน้ํา เทน้ําใสแกว ฯลฯ และเสียงสังเคราะหตางๆ ที่ใชคอมพิวเตอรสรางขึ้น เสียงประกอบประเภทนี้ นักจัดรายการตองมีความรูความเขาใจและจินตนาการในการใช วาเสียงไหนจะใชเปนเสียงอะไร สื่อถึงอะไร และจะนํามาประกอบเรื่องราวอะไร

การมีสวนรวมของผูฟง รายการวิทยุที่ดีนั้น นอกจากการผลิตและจัดรายการใหดี

มีคุณภาพแลว การเปดโอกาสใหผูฟงเขามามีสวนรวมในรายการก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหรายการมีสีสัน นาสนใจ เปนการประเมินผลรายการไปในตัว และเหนืออื่นใด คือ เปนการ

Page 39: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

39

ย ก ร ะ ดั บ ก า ร สื่ อ ส า ร แ บ บ ท า ง เ ดี ย ว ห รื อ One-Way Communication ไปสูการสื่อสารสองทาง หรือ Two-Way Communication ใหเราในฐานะนักจัดรายการวิทยุ ไดมีโอกาสพบปะกับผูฟงไดดวย

ชองทางที่เปดใหผูฟงไดเขามามีสวนรวมในรายการวิทยุ

ในปจจุบันมีมากมายหลายชองทาง ทั้งทางโทรศัพท จดหมาย SMS หรือแมกระทั่งกระทูในอินเตอรเน็ต เฟซบุค ทวิตเตอร ฯลฯ ซึ่งขึ้นอยูกับความพรอมของผูจัดรายการ และกลุมผูฟง วาสะดวกในชองทางไหน

ทั้งนี้ หลักในการพบปะพูดคุยกับผูฟงผานชองทางที่

สามารถโตตอบกันไดโดยทันทีทันใด เชน พูดคุยทางโทรศัพท นักจัดรายการตองพยายามทําใหผูฟงรูสึกเปนกันเอง พยายามทําใหการพูดคุยนั้นๆ เปนไปโดยธรรมชาติ แตหากเปนชองทางที่ไมสามารถโตตอบไดทันทีทันใด เชน จดหมาย SMS หรือกระทูในอินเตอรเน็ต นอกจากพยายามตอบหรืออานทุกๆ ความ

Page 40: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

40

คิดเห็นที่ผูฟงสงเขามา เพ่ือเปนการใหเกียรติแกผูฟงแลว ควรพยายามยึดเนื้อความที่ผูฟงสงเขามาเปนหลัก อยาออกนอกเรื่องหรือบิดเบือนไปจากเนื้อหาเดิมที่ผูฟงสงเขามาจนเลยเถิดเกินไป

หลักการจัดรายการวิทยุแยกตามประเภทของรายการ ที่กลาวไปขางตน เปนหลักการจัดรายการวิทยุเบ้ืองตน

แตก็ดังที่ทราบกันวา รายการวิทยุนั้นมีหลากหลายประเภท และแตละประเภทก็มีลักษณะเฉพาะแตกตางกัน ในหัวขอตอไปนี้ จึงขอกลาวถึงหลักการจัดรายการวิทยุแยกตามประเภทตางๆ

1.รายการพูดคุย ในกรณีที่ เปนรายการพูดคุยกับผูฟงโดยตรง นักจัด

รายการวิทยุอาจมีคนเดียวหรือสองคนก็ได ซึ่งตางก็มีขอดีและขอเสียแตกตางกันไป ในกรณีที่มีนักจัดรายการเพียงคนเดียว หลักในการจัดรายการก็ไมมีอะไรมาก นอกจากพูดใหผูฟงรูสึก

Page 41: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

41

สนุกและเปนกันเอง โดยใชลีลาการพูดในแบบของเรา ใหผูฟงจับตองได ไมควรลอกเลียนแบบลีลาการพูดของคนอื่น

สวนใหญที่เกิดปญหา มักเปนรายการที่มีนักจัดรายการ

วิทยุสองคน หลายๆ ครั้งที่นักจัดรายการวิทยุสนุกกันเองจนลืมผูฟง บางก็พูดเร็วเกินไป แยงกันพูด หรือไมก็ใหคนใดคนหนึ่งพูดอยูคนเดียว ในขณะที่อีกคนเงียบเหมือนไมไดอยูในหองจัดรายการ ลักษณะเหลานี้ไมเปนผลดี สิ่งที่สําคัญสําหรับการจัดรายการสองคนจึงอยูที่การทําความเขาใจ นัดแนะวางแผน แบงจังหวะกันพูดใหสอดรับเหมาะสม รายการที่จัดจะไดมีชีวิตชีวาและนาสนใจ

ขอด/ีขอเสียของการจัดรายการคนเดียวและสองคน

การจัดคนเดียว - อาจรูสึกเหงา ขาดสีสัน - เปนอิสระกวาการจัดสองคน ไมตองกลัววา ใครจะมาแยงพูด - พูดเขาประเด็นไดเร็วกวา

Page 42: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

42

การจัดสองคน - มีปฏิกิริยาระหวางนักจัดรายการดวยกัน เพ่ือเพ่ิมสีสันใหรายการ และสรางความ เปนกันเองไดดีกวา - ผอนคลายกวาการจัดคนเดียว - พูดเขาประเด็นไดชา เพราะอาจเสียเวลาใน การแบงจังหวะการพูด

สวนใ นกรณีที่ เป นรายการสัมภาษณ รายการสนทนา หรือรายการอภิปราย ที่มีผูรวมรายการหรือแขกรับเชิญ นักจัดรายการตองทําการบานมาเปนอยางดี โดยเตรียมประ เ ด็น ที่ จ ะ พูด คุย ในร าย การ เปน ลํ า ดับอ ยา งชัด เจ น นอกจากนั้น ในขณะที่จัดรายการ นักจัดรายการจะตองเปนผูควบคุมเวลา เนื้อหา และผูรวมรายการ เชน ในกรณีที่หากผูรวมรายการพูดไมชัด ไมชัดเจน หรือพูดในประเด็นที่ยากแกการทําความเขาใจ นักจัดรายการจะตองเปนผูทําหนาที่ ซักถามหรือชวนคุย เพ่ือใหผูฟงเห็นภาพชัดขึ้น รวมถึงตองเปนผูคอยเรียบเรียงประเด็นจากที่ผูรวมรายการหรือแขกรับเชิญพูดไปแลว มา

Page 43: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

43

พูดสรุปใหผูฟงไดทราบ และที่สําคัญคือเม่ือจบรายการ ตองไมลืมขอบคุณผูรวมรายการหรือแขกรับเชิญ

2.รายการสารคด ีรายการสารคดีเปนรายการที่นําเสนอโดยวิธีเลาเรื่องที่

เปนจริง มีหลักฐานอางอิง พิสูจนได ตองไมใชเรื่องที่แตงขึ้น แบบนวนิยาย หรือบทละคร สวนลีลาการนําเสนอที่ผูจัดรายการตองคนหาลีลาเฉพาะของตัวเอง เพ่ือใหรายการมีความนาสนใจ หลักในการจัดรายการสารคดีคือ ควรนําเสนอเปนเรื่องเดียวทั้งรายการ หรือควรทําใหเนื้อหามีเอกภาพเปนแนวเดียวกัน เพ่ือที่ผูฟงจะไดไมสับสน ในกรณีที่เรื่องที่ตองการนําเสนอมีความยาวมากเกินไป ผูจัดควรจัดแบงออกอากาศเปนตอนๆ ไมควรยัดเยียดมารวมออกอากาศไวในตอนเดียว เพราะจะทําใหเนื้อหาหนักเกินไปจนไมนาฟง

ทั้งนี้ มีรายการสารคดีอีกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะ

แตกตางไปจากรายการสารคดีอื่นๆ คือ สารคดีทองเที่ยว ที่

Page 44: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

44

นอกเหนือจากเปนการบอกใหทราบแลว ยังมีอิทธิพลสงผลใหผูฟงอยากไปสัมผัสสถานที่ทองเที่ยวนั้นๆ ดวยตัวเอง ดังนั้น การจัดรายการสารคดีทองเที่ยว นอกจากบอกใหทราบถึงลักษณะทางกายภาพตางๆ ความประทับใจในการไปเที่ยวชมแลว นกัจัดรายการควรระบุรายละเอียดอื่นๆ ใหเปนพ้ืนฐานสําหรับผูฟงที่อยากไปสัมผัสสถานที่นั้นๆ ดวย เชน ควรบอกสถานที่ต้ังใหชัดเจน บอกระยะทางจากจุดเริ่มตนถึงจุดสิ้นสุดหรือสถานที่ตางๆ แจกแจงการเดินทาง ราคาคารถโดยสาร เสนทางการเดินทาง ใหขอมูลวาตองเตรียมอะไรไปบาง ตลอดจนคาใชจายในการทองเที่ยวและคาที่พัก ฯลฯ

3.รายการนิตยสารทางอากาศ แมโดยลักษณะของรายการ รายการนิตยสารทางอากาศ

จะเปนรายการที่มีความหลากหลายดานเนื้อหา มีหัวขอตางๆ มาผสมผสานกันไวในรายการเดียว แตนักจัดรายการจะตองคัดกรองเนื้อหาที่มีความแตกตางเหลานั้นใหมีจุดรวมเดียวกัน ซึ่งจุดรวมนั้นตองอยูภายใตเกณฑของกลุมผูฟง วากลุมผูฟงของเรา

Page 45: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

45

เปนกลุมใด เชน กลุมผูฟงของเราเปนแมบาน เราก็อาจเลือกเนื้อหาการทําอาหาร การเย็บปกถักรอย การเลี้ยงลูก ฯลฯ มานําเสนอในรายการได เพราะเนื้อหาทั้งหมดที่กลาวไป ลวนมีจุดรวมเดียวกันคือเปนการงานของแมบาน เชนเดียวกับการนําเสนอ นักจัดรายการจะตองเชื่อมโยงเนื้อหาที่ มีความหลากหลายนั้น ใหรวมเปนเนื้อเดียวกัน หรือมีการแบงอยางเปนสัดสวน เพ่ือผูฟงจะไดไมสับสน และไมเสียเอกภาพของรายการ

4.รายการขาว หลักในการจัดรายการขาว คือ การนําเสนอขอเท็จจริงที่

เกิดขึ้นในเวลาหนึ่งๆ โดยการเรียบเรียงขอมูลตางๆ เพ่ือใหผูฟงไดเห็น”ความจริง” บางอยาง เพราะธรรมชาติของขอเท็จจริง ไมไดมีแคมุมใดมุมหนึ่งหรือแงใดแงหนึ่งเทานั้น รายการขาวที่ดีจึงควรนําเสนอขอเท็จจริงในหลายๆ ดาน และนําเสนออยางตอเนื่อง เพราะเปนไปไดวา ขาวที่ออกมาในตอนแรกนั้น อาจไมใชขอเท็จจริงทั้งหมด แตอาจเปนเรื่องราวเพียงแงมุมใดแงมุมหนึ่งเทานั้น

Page 46: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

46

บทท่ี 4 อุปสรรค

ไมวากิจการงานใดก็ตาม ลวนแลวแตตองมีอุปสรรค

ทั้งสิ้น การจัดรายการวิทยุก็เชนเดียวกัน อุปสรรคในการจัดรายการวิทยุที่พบเห็นทั่วไปมีอยู 3 ประเด็นหลักๆ คือ

1.ขอจํากัดดานเวลา การมีเวลาที่จํากัดเปนอุปสรรคที่นักจัดรายการวิทยุสวน

ใหญประสบกัน เชน นั่งจัดรายการอยูดีๆ เหลือบมองอีกที เหลือเวลาไมพอที่จะพูดใหครบประเด็นที่ตองการนําเสนอ หรือไมก็เหลือเวลามากจนไมรูจะหาเรื่องอะไรมาพูดดี

อุป ส ร ร ค เรื่ อ ง เ ว ล านี้ แ ก ไ ข ได ด ว ย ก าร ว า ง แ ผ น

เตรียมพรอมกอนจัดรายการ ไมวาจะเปนการจัดสรรเนื้อหาใหพอเหมาะพอดีกับเวลาในการจัดรายการ การซักซอมการจัด

Page 47: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

47

รายการเพ่ือจับเวลาออกอากาศลวงหนา การเตรียมแผนสํารองไวในกรณีเกิดเหตุการณไมคาดคิดระหวางจัดรายการ เชน เตรียมเรื่องที่จะพูดในกรณีที่เวลาเหลือมากเกินไป ฯลฯ รวมไปถึงระหวางการจัดรายการ เราก็ตองมีสติ ควบคุมเนื้อหาใหอยูในประเด็นที่ตองการนําเสนอ และคอยดูเวลาอยูตลอด

2. การขาดความรูในเรื่องท่ีนําเสนอ หลายครั้งในการจัดรายการวิทยุ เราอาจตองพบกับเรื่อง

หรือคําศัพทที่เราไมมีความรู ย่ิงเม่ือถูกเวลาบีบบังคับ เราจะย่ิงลนลาน วิธีแกไข คือนักจัดรายการวิทยุที่ดี จะตองอานบทวิทยุลวงหนากอนการจัดรายการเสมอ และในกรณีที่พบวาเรื่องในบทวิทยุนั้นเปนเรื่องที่เราไมมีความรูมากอน ไมควรปลอยผานเลย แลวใชวิธีอานตามบทวิทยุตอนออกอากาศสด เพราะจะทําใหการจัดรายการไมเปนธรรมชาติ ขาดความนาสนใจ และความนาเชื่อถือ ในกรณีนี้ ควรอานแบบตีความ วาใจความหลักหรือเนื้อหาหลักของเรื่องนั้นพูดถึงอะไร แลวกําหนดประเด็นที่จะพูด โดยเราสามารถปรับเนื้อหาใหมใหเปนเนื้อหาของเราเองได จะ

Page 48: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

48

ทําใหพูดงายขึ้น แตก็ควรยึดเนื้อหาเดิมไวใหมากที่สุด ตัดบางอยางที่ไมจําเปนออกไป อยาไปยึดติดวาเราตองจดจํา ตองเขาใจทุกตัวอักษรในบทเดิมทั้งหมด ยกเวนบทวิทยุที่เขียนไวอยางละเอียดทุกขั้นตอน เพราะเราไมสามารถจดจําไดทุกอยางในเวลาที่จํากัด โดยเฉพาะอยางย่ิงในเรื่องที่เราไมมีความรู

สําหรับคําศัพทที่เราไมมีความรู ในสถานการณเฉพาะ

หนา เราอาจเลี่ยงคําคํานั้นไป หรือสารภาพวาไมมีความรู ขอเวลาผูฟงสักครู หรือบอกผูฟงวา คราวหนาจะหาคําตอบมาให หรือตอสายถึงผูรูทันที หรือหากมีเวลา ก็ควรออกไปหาขอมูลจากขางนอกโดยเร็ว อยาใชวิธีการเดา เพราะจะเปนการใหขอมูลผิดๆ แกผูฟง

วิธีแกปญหาในกรณีท่ีเจอกับเรื่องราว หรือคําศัพทท่ีเราไมมีความรู ขอแนะนําคือในหองจัดรายการควรมีพจนานุกรมหรือคอมพิวเตอรเพ่ือไวใชหาขอมูลโดยเฉพาะ

Page 49: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

49

3.ความไมสมบูรณของหองจัดรายการและอุปกรณตางๆ

นักจัดรายการมือใหมมักตองหงุดหงิดกับเครื่องไมเครื่องมือหรืออุปกรณตางๆ ในหองจัดรายการ ทําใหการจัดรายการนั้นๆ ติดขัด ไมประสบความสําเร็จ ซึ่งปญหาดังกลาว อาจเปนเพราะนักจัดรายการไมมีความรูดานเทคนิคและวิธีใชอุปกรณในหองออกอากาศหรือหองบันทึกเสียง หรืออาจเปนเพราะอุปกรณเครื่องไมเครื่องมือไมไดรับการดูแลรักษาที่ดี ทําใหเกิดอาการรวน หรือทํางานไมเปนปกติ และเสียหายจนสงผลกระทบตอการจัดรายการ

ดังนั้น นอกเหนือจากการเตรียมตัวใหพรอมของนักจัด

รายการเองแลว นักจัดรายการวิทยุที่ดีควรมีความพรอมในการใชอุปกรณและเครื่องมือตางๆ ในหองจัดรายการดวย ทั้งยังควรเรียนรูฝกฝนวิธีการใชอุปกรณตางๆ ใหช่ําชองเชี่ยวชาญ และหม่ันดูแลรักษาอุปกรณตางๆ ใหมีความพรอมสําหรับการจัดรายการอยูเสมอ

Page 50: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

50

บทท่ี 5 จริยธรรมวิชาชีพ

จรยิธรรมวิชาชีพนักจัดรายการวิทยุ การเปนนักจัดรายการวิทยุที่ ดีนั้น นอกเหนือจากจัด

รายการใหดีและมีคุณภาพแลว ยังตองมีจริยธรรมวิชาชีพดวย โดยผูจัดตองระลึกเสมอวา วิทยุกระจายเสียงเปนแบบฉบับอยางหนึ่งของภาษาที่ผูฟงอาจจะจําไปใชโดยไมรูตัว ผูจัดรายการจึงควรระมัดระวัง ไมทําใหภาษาวิบัติ ไมใชคําพูดสองแงสองงาม หรือคําหยาบคาย พรอมกันนั้น ตองมีความสํานึกของหนาที่ของสื่อมวลชนที่ดี คือ ความซื่อสัตยสุจริต ความจริงใจ ความออนนอมถอมตน ความมีจริยธรรม ความหวังดีตอประชาชน และความสํานึกในความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติ

จริยธรรมวิชาชีพนักจัดรายการขาว ในบรรดารายการวิทยุ รายการขาวจัดเปนรายการที่มี

ลักษณะเฉพาะตัว แตกตางไปจากรายการทั่วๆ ไป คือ ให

Page 51: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

51

ขอเท็จจริ ง เ ก่ียวกับสิ่ งที่ เ กิดขึ้น หรือสิ่ งที่พบเห็นแกผูฟ งอยางตรงไปตรงมาและมีความนาเชื่อถือ อางอิงได นักจัดรายการขาวจึงจําเปนตองมีจริยธรรมวิชาชีพเฉพาะ ดังตอไปนี้

- การรายงานขาวตองรายงานแบบเห็นอยางไรตอง

รายงานอยางนั้น ไมควรใสความคิดเห็นหรือความรูสึกของตัวเองเขาไปในเนื้อขาว

- ตองเคารพในเรื่องที่เก่ียวกับศีลธรรมและจริยธรรม ตองสืบสวนขอเท็จจริงใหมากที่สุดกอนนําเสนอขาวออกไป

- หากขาวนั้นเปนกรณีเก่ียวกับความขัดแยง ควรใหความเปนธรรมทั้งสองฝาย ไมเลือกนําเสนอขางใดขางหนึ่งโดยเฉพาะ

- อยางไรก็ตาม เรื่องบางเรื่องที่ไมเปนประโยชนแกสังคมก็ไมควรนําเสนอ ไมจําเปนวาสื่อสาธารณะ ตองนําเสนอทุกเรื่องตลอดเวลา

- เหนือสิ่งอื่นใด การทํางานดานขาว การแสวงหาขาวและการรายงานขาว ตองมีเสรีภาพ มีอิสระ ไมตกอยูใตอิทธิพลผูใด แตการใชเสรีภาพนั้นตองเปนไปอยางมีจริยธรรม ยึดถือ

Page 52: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

52

ความถูกตอง ยึดความเปนอิสระ ยึดถือความเปนธรรม มีมนุษยธรรม และศีลธรรมอันดีงาม ในการแสวงหาขอเท็จจริงและรายงานขาวสาร การมีจริยธรรม คือการประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ในการทําหนาที่ของสื่อมวลชนที่ดีมีคุณภาพ หากผูใดจงใจบิดเบือนขาวสาร บิดเบือนขอเท็จจริง หรือทําตัวตกอยูใตอิทธิพลของผูหนึ่งผูใด ขาดความเปนธรรมในการรายงานขาว หรือรับสินบน รับสิ่งของอยางใดอยางหนึ่ง เพ่ือครอบงําเสรีภาพในการแสวงหาขาว การรายงานขาว แปลวาผูนั้นไดทําผิดหลักการในการเปนนักสื่อสารมวลชนอยางรายแรง

Page 53: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

53

ภาคผนวก

Page 54: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

54

จริยธรรมวิชาชีพวิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว

ขอบังคับ วิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว วาดวยจริยธรรมในดานการผลิตและการเผยแพรรายการทางสถานีวิทยุกระจายเสียง พ.ศ.................

Page 55: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

55

คํานํา

ดวยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถ่ี และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. ๒๕๔๓ และพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. ๒๕๕๑ บัญญัติเรื่องหนาที่ที่องคกรกํากับดูแลจ ะ ต อ ง จั ด ทํ า ใ ห มี ม า ต ร ฐ า น ท า ง จ ริ ย ธ ร ร ม ข อ ง สื่ อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนขึ้นในอนาคต ประกอบกับคณะกรรมการชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว เม่ือวันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ไดกําหนดใหชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัวมีวิสัยทัศนในการ “เปนองคกรนําในการสรางการมีสวนรวม สรางสรรคนวัตกรรมการผลิตรายการวิทยุ เพ่ือใหเด็ก เยาวชน และครอบครัว เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงสูสังคมสุขภาวะ” ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว รวมกับโครงการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพรายการวิทยุเพ่ือเด็ก เยาวชน และครอบครั ว ส ถานีวิ ท ยุ ไท ยเ พ่ือ เ ด็กแ ละคร อบครั ว กร ม

Page 56: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

56

ประชาสัมพันธ ซึ่งสนับสนุนโดยแผนงานสื่อสรางสุขภาวะเยาวชน (สสย.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ไดตระหนักถึงหนาที่และความรับผิดชอบทางจริยธรรมของสื่อมวลชนที่จําเปนจะตองจัดใหมีการกําหนดจริยธรรมวิชาชีพที่ชัดเจนของตนเองขึ้น เพ่ือใชเปนหลักฐานอางอิงการปฏิบัติหนาที่สื่อมวลชนอยางมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับของสังคม เปนหลักในการเก้ือหนุนสังคมที่อุดมปญญา เก้ือหนุนสภาพสังคมที่เปนสุข ทั้งยังเปนเกราะแหงเสรีภาพของสื่อมวลชน ที่จะชวยปกปองคุมครองการทํางานของสื่อมวลชน และรองรับการสนับสนุนสงเสริมใหมีการจัดต้ังองคกรอิสระเพ่ือทํา ห น า ที่ ค ว บ คุม กั น เ อ ง ใ น ห มู ผู ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ ด า นวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนที่ระบุไวตามกฎหมาย

Page 57: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

57

ขอบังคับ วิทยุเพื่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว วาดวย จริยธรรมในดานการผลิตและการเผยแพรรายการทาง

สถานีวิทยุกระจายเสียง พ.ศ. ๒๕๕๓

เพ่ือใหผูผลิตและเผยแพรรายการวิทยุเพ่ือเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีแนวทางการปฏิบัติหนาที่โดยยึดหลักจริยธรรมแหงวิชาชีพอยางเครงครัด เพ่ือสรางมาตรฐานการยอมรับ ความนาเชื่อถือ และการเสริมสรางเนื้อหาและรูปแบบรายการที่เหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมาย เพ่ือสรางการมีสวนรวม และสรางสรรคนวัตกรรมการผลิตรายการวิทยุเพ่ือใหเด็ก เยาวชน และครอบครัว เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงสูสังคมสุขภาวะ จึงเห็นควรใหออกขอบังคับไวดังนี้คือ

ขอ ๑. ขอบังคับนี้ เรียกวา “ขอบังคับวิทยุเพื่อเด็ก

เยาวชน และครอบครัว วาดวยจริยธรรมในดานการผลิตและการเผยแพรรายการทางสถานีวิทยุกระจายเสียง พ.ศ..................”

Page 58: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

58

ขอ ๒. ขอบังคับนี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศ

เปนตนไป ขอ ๓. ในขอบังคับน้ี วิทยุเพื่อเด็ก หมายถึง รายการวิทยุกระจายเสียงที่

ออกอากาศโดยมีเนื้อหาเพ่ือกลุมเปาหมายที่มีอายุตํ่ากวา 18 ปบริบูรณ

วิทยุเพื่อเยาวชน หมายถึง รายการวิทยุกระจายเสียงที่

ออกอากาศโดยมีเนื้อหาเพ่ือกลุมเปาหมายที่มีอายุต้ังแต 18–25 ปบริบูรณ

วิทยุเพื่อครอบครัว หมายถึง รายการวิทยุกระจายเสียง

ที่ออกอากาศโดยมีเนื้อหาเพ่ือกลุมเปาหมายที่เปนสถาบันทางสังคมที่เล็กที่สุด ประกอบดวย สามี ภรรยา และบุตร และหมาย

Page 59: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

59

รวมถึงสมาชิกที่อยูรวมกันซึ่งยึดโยงเก่ียวพันกันทั้งในเชิงอารมณความรูสึก และความสัมพันธระหวางบุคคลทั้งในเชิงสายโลหิต และในเชิงกฎหมาย

รายการทางสถานีวิทยุกระจายเสียง หมายถึง เนื้อหา

หรือขอ มูลที่ปราก ฏในรูปแบบที่พรอ มออกอากาศทา งวิทยุกระจายเสียง ซึ่งครอบคลุมประเด็นสําคัญที่ผูฟงหรือกลุมเปาหมายใหความสนใจ โดยหมายรวมถึงเนื้อหาที่เปนขอมูลขาวสารหรือการรายงานสถานการณตางๆ ดวย

ผูผลิตรายการ หมายถึง ผูมีหนาที่สรางสรรครายการ

หรือควบคุมการสรางสรรครายการตามรูปแบบการเสนอโครงการ เพ่ือออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงที่นําเสนอเนื้อหาเพ่ือเด็ก เยาวชน และครอบครัว

Page 60: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

60

ผูเผยแพรรายการ หมายถึง ผูนําเสนอรายการ หรือผูจัดรายการ หรือผูรายงานขาว ดวยการกระจายเสียงผานคลื่นความถ่ีวิทยุที่นําเสนอเนื้อหาเพ่ือเด็ก เยาวชน และครอบครัว

จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติที่ผูผลิตรายการและ

ผูเผยแพรรายการตองยึดถือปฏิบัติเพ่ือรักษาศักด์ิศรี ความถูกตอง และความเหมาะสมของผูประกอบวิชาชีพผูผลิตรายการและผูเผยแพรรายการ และใชเปนหลักเกณฑเพ่ือกํากับดูแลผูผลิตรายการและผูเผยแพรรายการใหปฏิบัติตาม

ขอ ๔. จริยธรรมดานการเคารพสิทธิและเสรีภาพ

ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตอง ปฏิบัติหนาที่ดานการผลิตและเผยแพรรายการ โดยยึด

หลักการเคารพตอ หนาที่ สิทธิ เสรีภาพของตนเอง และผูอื่น ดวยความเคารพในหลักเกณทของกฎหมาย สิทธิมนุษยชน และการไมเลือกปฏิบัติ โดยตองตระหนักถึง ผลกระทบที่อาจมีตอสภาพจิตใจ สภาพสังคม สภาพแวดลอม และสภาพครอบครัว

Page 61: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

61

ของเด็ก เยาวชน และครอบครัว ซึ่งเปนกลุมที่มีลักษณะเฉพาะและมีความละเอียดออนกวากลุมผูฟงอื่น ๆ

ขอ ๕. จริยธรรมดานการคนหาและรายงาน

ขอเท็จจริงท่ีถูกตอง ผูผลิตและผูเผยแพร รายการ ตองปฏิบัติหนาที่ดานการผลิตและเผยแพร

รายการโดยยึดหลักความมุงม่ันในการคนหาและเผยแพรความจริง ที่มุงไปสูการรายงานขอมูลหรือขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นอยางถูกตอง ตรงไปตรงมาโดยปราศจากอคติ และคํานึงถึงสภาพจิตใจและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เยาวชน และครอบครัวเปนสําคัญ

ขอ ๖. จริยธรรมดานความเปนอิสระและการมีความ

เปนธรรม ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตอง ปฏิบัติหนาที่ดานการผลิตและเผยแพรรายการดวยความ

เปนอิสระ ปราศจากความเอนเอียงและดํารงไวซึ่งความเปนกลาง วางตนไมใหตกอยูภายใตอิทธิพลใดๆ ในทุกๆสถานการณ

Page 62: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

62

ดวยใจที่ต้ังม่ันอยูในความเปนธรรม โดยคํานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เยาวชน และครอบครัวเปนสําคัญ

ขอ ๗ หลักแหงศีลธรรม ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ

ตองต้ังม่ันที่จะพยายามดํารงตนอยูในหลักของศีลหรือขอที่หามไมใหปฏิบัติ ดวยการประพฤติปฏิบัติโดยมีธรรมเปนขอยึดปฏิบัติ เพ่ือที่จะสามารถเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิตใหแกผูอื่น เฉพาะอยางย่ิงแก เด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว

ขอ ๘ จริยธรรมดานความรับผิดชอบ ผูผลิตและผู

เผยแพรรายการ ตองปฏิบัติหนาที ่ผลิตและเผยแพรรายการ ดวยความรับผิดชอบตอเด็ก

เยาวชน และครอบครัวในระดับที่สูงกวาระดับมาตรฐานที่วิญูชน หรือผูผลิตและผูเผยแพรรายการทั่วไปพึงยึดถือปฏิบัติ และพรอมที่จะเยียวยาผูเสียหายที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติหนาที่สื่อมวลชนที่ผิดพลาดอยางเต็มที่ รวมถึงพรอมที่จะไดรับการตรวจสอบทั้งจากภายในและภายนอกองคกร หากใน

Page 63: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

63

กระบวนการผลิตและการเสนอรายการ เม่ือตองเชิญเด็ก เยาวชน หรือ บุคคลในครอบครัว มาเขารวมรายการ ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ จะตองชี้แจงใหเหตุผล การเชิญเขารวมรายการ ตลอดจนเนื้อหาและรูปแบบ ของรายการอยางชัดแจง

ขอ ๙. จริยธรรมดานการเปนสื่อท่ีสรางสุขภาวะ

ทางการสื่อสารท่ีด ี ดวยคุณธรรม จริยธรรมที่ดีของผูสงสาร ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ

ตองปฏิบัติหนาที่ในการผลิตและเผยแพรรายการ โดยใชการสื่อสารเพ่ือกอใหเกิดความสุขทั้งฝายผูสื่อสารและผูรับสาร จนนําไปสูการสรางทัศนคติและรสนิยมในการรับฟงที่ดี พรอมทั้งชี้แนะทางออกใหแกผูรับสารที่เปนเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัวอยางเหมาะสม

ขอ ๑๐. จริยธรรมดานการปกปองและคุมครองสิทธิ

เด็กและเยาวชน ผูผลิตและผูเผยแพรรายการตองปฏิบัติหนาที่ผลิตและเผยแพรรายการ ดวยความยึดม่ันในการเปนสื่อที่

Page 64: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

64

ทําหนาที่หลักในการปกปองและคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชนใหรอดพนจากการลวงละเมิด ละเลย การนําไปขาย การใชแรงงานเด็กและการแสวงประโยชนโดยมิชอบในรูปแบบอื่นๆ และเปดพ้ืนที่ในการคุมครองสิทธิในการมีสวนรวมของเด็กและเยาวชน โดยการแสดงความคิดเห็น แสดงออก การมีผูรับฟง และการมีสวนรวมในการตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบตอตนเอง โดยการนําเสนอรายการตองคํานึงถึงการสรางแบบอยางที่ถูกตอง ดีงาม ถูกกาลเทศะ หรือไมชี้นําใหมีการลอกเลียนแบบไปในทางที่ไมเหมาะสม

ขอ๑๑. จริยธรรมดานการปกปองและคุมครองสิทธิ

ครอบครัว ผูผลิตและผูเผยแพรรายการ ตองปฏิบัติหนาที่ผลิตและเผยแพรรายการ ดวยความยึดม่ันจะพัฒนาใหครอบครัวอบอุนเขมแข็ง มีการอบรมเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัวที่ดี และมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม ทั้งยังมุงสรางความความรูและความเขาใจรวมกันในการปกปองและคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชนในครอบครัว ใหรอดพนจากอันตรายและการแสวง

Page 65: Khuumuuekaarphlitraaykaarwithyu 1

65

ประโยชนโดยมิชอบในรูปแบบอื่นๆ และเปดพ้ืนที่ในการแสดงความคิดเห็นเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู สรางการมีสวนรวมในการตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบตอครอบครัว

ประกาศ ณ วันที.่..............................