Key of 5 การสถาปนาธนบุรี

3

Click here to load reader

Transcript of Key of 5 การสถาปนาธนบุรี

Page 1: Key of 5 การสถาปนาธนบุรี

1

เมืองธนบุรีเป็นเมืองหน้าด่านที่ส าคัญตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เนื่องจากตั้งอยู่ปากแม่น้ า

เจ้าพระยา เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ.2310 พระยาตาก (สิน) ได้รวบรวมก าลังไพร่พลคนไทยตีฝุาวงล้อมพม่า แล้วรวมตัวกันเพ่ือกอบกู้อิสรภาพของคนไทยแก่พม่าส าเร็จลงได้ในเวลาเพียง 7 เดือน

พระยาตาก ปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ พระนามว่า “สมเด็จพระบรมราชาที่ 4” ซึ่งคนไทยทั่วไปมักเรียกว่า “พระเจ้าตากสิน” จากนั้นได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเมืองธนบุรีให้เป็นราชธานี แห่งใหม่ของคนไทย นามว่า “เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร”

ราชธานีกรุงศรีอยุธยา ถูกกองทัพพม่าเผาท าลายจนไม่สามารถฟ้ืนฟูให้งดงามรุ่งเรืองดังเดิมได้ “พระเจ้าตากสิน” จึงทรงสถาปนาเมืองธนบุรี เป็นราชธานีแห่งใหม่ของคนไทย ท าให้กรุงธนบุรีเป็นช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์แห่งการกอบกู้บ้านเมือง ทั้งด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม พระราชกรณียกิจส่วนใหญ่ของสมเด็จพระเจ้าตากสินตลอดระยะเวลา 15 ปี จึงเป็นการท าสงครามเพ่ือรวบรวมชาติ ขยายอาณาเขต ปูองกันการรุกรานของข้าศึก รวมทั้งฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมให้คืนสู่สภาพปกติ รูปแบบการปกครองในสมัยธนบุรียังคงรักษาแบบแผนตามสมัยอยุธยาตอนปลาย ด้วยพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าตากสินและความสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันของคนไทย จึงทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามเป็น “มหาราช” ของชาติไทย ที่คนไทยรู้จักในพระนาม “สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” พระมหากษัตริย์พระองค์แรกและพระองค์เดียวของ “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร”

สาเหตุที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยาถูกพม่าเผาท าลายเสียหายทรุดโทรมมาก จนยากแก่การบูรณะ ก าลังไพร่พลในขณะนั้นมีไม่เพียงพอต่อการรักษากรุงศรีอยุธยา ข้าศึกโดยเฉพาะพม่าเข้าใจสภาพภูมิประเทศและจุดด้อยของกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างดี ท าให้เสียเปรียบในการปูองกันกรุงศรีอยุธยาได้ในอนาคต

ยุทธศาสตร์ด้านที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาไม่สะดวกต่อสถานการณ์การค้าขายในขณะนั้น สาเหตุทีส่มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงเลือกเมืองธนบุรีเป็นราชธานี

เป็นเมืองขนาดเล็กเหมาะแก่การปูองกันรักษา และเพียงพอกับจ านวนไพร่พลที่มีอยู่ขณะนั้น

ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี

ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี (พ.ศ. 2310 - พ.ศ. 2325)

5

ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนากรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร

Page 2: Key of 5 การสถาปนาธนบุรี

2

เมืองธนบุรีมีปูอมปราการที่สร้างมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา สามารถใช้ปูองกันข้าศึกษาได เป็นเมืองที่อยู่ใกล้ทะเลมากกว่ากรุงศรีอยุธยา เหมาะสมต่อการค้าขายกับต่างประเทศ กรุงธนบุรีเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ าอุดมสมบูรณ์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ าเจ้าพระยาและมีล าคลองหลายสาย สะดวกต่อการปูองกันข้าศึก การคมนาคมขนส่งและการท าการเกษตร

การกอบกู้อิสรภาพของพระยาตาก การปราบชุมนุมและการรวบรวมคนไทยให้เป็นปึกแผ่น การสถาปนาเมืองธนบุรีเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ของคนไทยนามว่า “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร” การฟ้ืนฟูบ้านเมืองของสมเด็จพระเจ้าตากสิน เหตุการณ์ปราบจลาจลในช่วงปลายกรุงธนบุรี การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

จดหมายเหตุความทรงจ ากรมหลวงนรินทรเทวี โครงยอพระเกียรติ์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จดหมายเหตุโหร หมายรับสั่ง จดหมายเหตุรายงานการเดินทัพ พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี เอกสารต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เอกสารจีน เอกสารประเทศเพ่ือน

บ้าน เอกสารตะวันตก โบราณสถาน โบราณวัตถุสมัยธนบุรี

1. กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร สถาปนาขึ้น ใน พ.ศ 2310-2325 2. เพราะเหตุใดจึงเกิดการสถาปนาเมืองธนบุรี เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ของคนไทย

อยุธยาล่มสลาย เสียหายจากสงครามยากแก่การฟ้ืนฟู พระยาตากเลือกเมืองธนบุรีเป็นเมืองหลวงใหม่

3. ให้นักเรียนอธิบายสภาพภูมิศาสตร์ของเมืองธนบุรี ที่ส่งผลให้สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ของคนไทย

กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้

หลักฐานส าคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยธนบุรี

แบบฝึกหัดทบทวน

เหตุการณ์ส าคัญทางประวัติศาสตร์สมัยธนบุรี

Page 3: Key of 5 การสถาปนาธนบุรี

3

ใกล้ปากแม่น้ าเจ้าพระยา มีแม่น้ าล าคลองหลายสาย เหมาะแก่การค้า เกษตรกรรม และปูองกันข้าศึก เป็นเมืองอกแตก (แม่น้ าผ่ากลางเมือง) เหมาะต่อการปูองกันข้าศึกขณะนั้น

4. กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา ส่งผลดีต่อความเจริญรุ่งเรืองของกรุงธนบุรีอย่างไร มีแม่น้ าล าคลองหลายสาย เหมาะแก่การค้า เกษตรกรรม และปูองกันข้าศึก

5. หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าเมืองธนบุรีมีความส าคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยา ปูอมปราการสมัยอยุธยา 2 แห่ง คือ ปูอมวิชัยประสิทธิ์ และปูอมวิไชเยนทร์ เป็นปูอมปราการ และเก็บภาษีผ่านด่านการค้า เรียกว่า ด่านขนอน

6. เพราะเหตุใดกรุงธนบุรีจึงด ารงความเป็นราชธานีแห่งใหม่ของไทยเพียง 15 ปี พระยาตากหมดอ านาจ เกิดการจลาจลโดยกบฏพระยาสรรค์ เมืองสรรคบุรี ชัยนาท เกิดการปราบจลาจลและสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์โดยสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (รัชกาล

ที๑่) 7. หลังเสียกรุงศรีอยุธยา มีการตั้งชุมนุมของผู้น าต่างๆ ถึง 5 ชุมนุม รวมทั้งชุมนุมเจ้าตาก แสดงให้เห็น

ว่าสถานการณ์ในช่วงเวลานั้นเป็นอย่างไร คนไทยแตกความสามัคคี แบ่งแยกกันเป็นก๊ก เป็นเหล่า แย่งชิงอ านาจซึ่งกันและกัน บ้านเมืองวุ่นวาย เพราะสงครามท้ังภายในและภายนอกอาณาจักร ชุมนุมต่างๆ ได้แก่ เจ้าพระฝาง ชุมนุมเจ้าพิมาย ชุมนุมเจ้าพิษณุโลก ชุมนุมเจ้านครศรีฯ ชุมนุม

เจ้าตาก 8. หากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงตัดสินพระทัยเลือกกรุงศรีอยุธยาให้เป็นเมืองหลวง

เหมือนเดิม นักเรียนคิดว่าอะไรบ้างที่จะเป็นปัญหาต่อการฟ้ืนฟูกรุงศรีอยุธยา พม่ารู้ยุทธศาสตร์ท าให้ง่ายต่อการโจมตี บูรณะยากเนื่องเป็นเมืองใหญ่ ก าลังไพร่พลพระยาตากมีน้อย ค้าขายล าบาก