IE2302 CH1 - rmutphysics · Title: Microsoft Word - IE2302_CH1.doc Author: Administrator Created...

14
บทที1 กลาวนํา ในบทนี้จะกลาวถึงเรื่อง ประวัติความเปนมาของวัสดุที่ใชในยุคตาง ของมนุษย ตั้งแตยุคหินจนถึงยุคปจจุบัน ความแตกตางของของวัสดุศาสตรและวัสดุวิศวกรรม การแบง ประเภทของวัสดุ วัสดุกาวหนาที่เกิดจากการคนควาวิจัย และวัสดุที่เปนความตองการของยุค ใหม 1.1 ประวัติความเปนมา ในยุคเริ่มตนของวัสดุศาสตร เรียกวายุคหินโดยยุคนี้เกิดเมื่อ ประมาณ สองลานปกอน ถึง หาพันปกอน โดยคนเริ่มทําเครื่องมือจากหิน และวัสดุที่ใชนอกจากหินแลวยังมี ไม ดิน เหนียว หนังสัตว เปนตน ยุคสําริต เปนยุคที่เกิดหลังยุคหินเมื่อประมาณหาพันปที่แลวและมีอายุระหวาง 5,000 – 3,000 ปกอน ซึ่งเกิดขึ้นครั้งแรกในตะวันออกกลางสําริตเปนโลหะผสม โดยมีโลหะมากกวา หนึ่งชนิดนํามาผสมกัน ซึ่งเปนการนําทองแดงผสมกับดีบุก(นอยกวา 25% )และโลหะอื่นๆ ซึ่ง นําสําริตไปใชทําฆอน หรือเครื่องมือไดหลากหลายรูปแบบ การผุกรอนจะเกิดไดเมื่อมีสนิมเกิด ที่ผิวหนา ยุคเหล็ก เกิดเมื่อประมาณ 3,000 ปที่แลวจนถึงปจจุบัน ซึ่งมีการนําเหล็กและเหล็กกลามา ใช โดยเปนวัสดุที่มีราคาถูกและสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบไดตลอดเวลาตามวิถีชีวิตของผูใช ยุคของวัสดุกาวหนาที่เกิดจากการคนควาวิจัย ซึ่งในยุคหินนี้มีวัสดุหลายชนิดที่มีการ นําเสนอ เชน เซรามิก สารกึ่งตัวนํา โพลิเมอร คอมโพสิท เปนตน โดยตองเขาใจเรื่องของ โครงสราง คุณสมบัติ กระบวนการและกรรมวิธีในการผลิตวัสดุ เพื่อการสรางวัสดุใหมขึ้นมา ดังนั้นเพื่อความเขาใจที่ดียิ่งขึ้นของความสัมพันธระหวางโครงสราง อัตราสวนที่มี ตอคุณสมบัติของวัสดุที่นําไปสูวัสดุใหม ที่เกิดขึ้น ตัวอยางงาย เชนอัตราสวนระหวาง ความแกรงตอความหนาแนนของวัสดุที่มีผลตอการสรางผลิตภัณฑใหม ดังภาพที1.1

Transcript of IE2302 CH1 - rmutphysics · Title: Microsoft Word - IE2302_CH1.doc Author: Administrator Created...

  • บทที่ 1 กลาวนํา

    ในบทนีจ้ะกลาวถึงเรื่อง ประวัติความเปนมาของวัสดทุี่ใชในยุคตาง ๆ ของมนุษยตั้งแตยุคหินจนถึงยุคปจจุบนั ความแตกตางของของวัสดุศาสตรและวัสดวุิศวกรรม การแบงประเภทของวสัดุ วัสดุกาวหนาที่เกดิจากการคนควาวิจยั และวัสดุทีเ่ปนความตองการของยุคใหม

    1.1 ประวัติความเปนมา ในยุคเริ่มตนของวัสดุศาสตร เรียกวายุคหนิโดยยุคนี้เกดิเมื่อ ประมาณ สองลานปกอน ถึง หาพันปกอน โดยคนเริม่ทําเครื่องมือจากหนิ และวสัดุที่ใชนอกจากหินแลวยังม ี ไม ดินเหนยีว หนังสตัว เปนตน ยุคสําริต เปนยุคที่เกิดหลังยคุหินเมื่อประมาณหาพนัปทีแ่ลวและมีอายรุะหวาง 5,000 – 3,000 ปกอน ซ่ึงเกิดขึ้นครั้งแรกในตะวันออกกลางสําริตเปนโลหะผสม โดยมีโลหะมากกวาหนึ่งชนดินํามาผสมกัน ซ่ึงเปนการนําทองแดงผสมกับดบีุก(นอยกวา 25% )และโลหะอื่นๆ ซ่ึงนําสําริตไปใชทําฆอน หรือเครื่องมือไดหลากหลายรูปแบบ การผุกรอนจะเกิดไดเมือ่มีสนิมเกิดที่ผิวหนา ยุคเหล็ก เกิดเมื่อประมาณ 3,000 ปที่แลวจนถึงปจจุบัน ซ่ึงมีการนําเหล็กและเหลก็กลามาใช โดยเปนวัสดุที่มีราคาถูกและสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบไดตลอดเวลาตามวิถีชีวติของผูใช ยุคของวัสดุกาวหนาทีเ่กิดจากการคนควาวจิัย ซ่ึงในยคุหินนี้มวีัสดหุลายชนิดที่มกีารนําเสนอ เชน เซรามิก สารกึ่งตัวนํา โพลิเมอร คอมโพสิท เปนตน โดยตองเขาใจเรื่องของโครงสราง คุณสมบัติ กระบวนการและกรรมวิธีในการผลิตวัสดุ เพื่อการสรางวสัดุใหมขึ้นมา ดังนั้นเพื่อความเขาใจที่ดยีิ่งขึน้ของความสัมพันธระหวางโครงสราง – อัตราสวนที่มีตอคุณสมบัติของวัสดุที่นําไปสูวัสดุใหม ๆ ที่เกิดขึ้น ตัวอยางงาย ๆ เชนอัตราสวนระหวางความแกรงตอความหนาแนนของวัสดุที่มผีลตอการสรางผลิตภัณฑใหม ๆ ดังภาพที่ 1.1

  • 2

    ภาพที่ 1.1 แสดงอัตราสวนระหวางความแกรงตอความหนาแนนทําใหเกิดผลิตภัณฑใหม ๆ

    1.2 วัสดุศาสตรและวัสดุวิศวกรรมคืออะไร วัสดุศาสตรเกดิจากการคนควาสิ่งที่สัมพันธกันระหวางกระบวนการผลิต โครงสราง คุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติในการใชงานของวัสด ุ

    ภาพที่ 1.2 ความสัมพันธของวัสดุศาสตร

    วงรอบที่สมบูรณสูงสุด ของวัสดุ

    กรรมวิธี

    การสังเกต

    คุณสมบัติ โครงสราง

  • 3

    โครงสราง ระดับเล็กกวาอะตอม(บทท่ี 2) เปนโครงสรางที่เล็กกวาอะตอมเปนเรื่องของ อิเลกตรอนและแรงที่เกดิขึ้นระหวางอะตอม ระดับอะตอม (บทท่ี 2 & 3) การจัดเรียงอะตอมในเนื้อวัสดุ (ซ่ึงการจัดเรียงอะตอม ของอะตอมชนิดเดยีวกันสามารถทําใหคุณสมบัติของ วัสดุเปลี่ยนแปลงได) เชน เพชร และคารบอน โครงสรางระดบัจุลภาค (บทท่ี 4 ) การจัดเรียงตัวของเกรนในเนื้อวัสดุโดยสามารถ ศึกษาไดจากโครงสรางจุลภาค โครงสรางมหาภาค เปนโครงสรางที่สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา หนวยความยาวที่ควรทราบในงานของวัสดุวิศวกรรม

    อังสตรอม = 1 A° = 1 / 10,000,000,000 = 10-10 ม. นาโนเมตร = 1 nm. = 1/100,000,000 = 10-9 ม.

    ไมโครเมตร = 1 μm = 1/100,000 = 10-6 ม. มิลลิเมตร = 1 mm. = 1/1,000 = 10-3 ม.

    ระยะหางระหวางอะตอมนอยกวา 1 A° เสนผานศูนยกลางของเสนผมของมนุษยประมาณ 50 μm

  • 4

    ภาพที่ 1.3 ความยาวและตารางเวลาเปรียบเทียบของโครงสรางรูปแบบตาง ๆ

  • 5

    ภาพที่ 1.4 เปรียบเทียบโครงสรางของสิ่งตาง ๆ

  • 6

    1.3 คุณสมบติั

    คุณสมบัติคือส่ิงที่วัสดุรับการกระทําตอสภาพแวดลอมและแรงจากภายนอก คุณสมบัติเชงิกล คือ การตอบสนองตอแรงเชิงกล ความแข็ง ความแกรง เปนตน คุณสมบัติทางไฟฟาและแมเหล็ก คือการตอบสนองตอสนามไฟฟาและแมเหล็กของ

    วัสดุ การเหนี่ยวนําเปนตน คุณสมบัติเชงิความรอน คือความสัมพันธในเชิงการนําและการเก็บความรอนของวัสดุ คุณสมบัติเชงิแสง คือการหกัเห การดูดซบั การสงผานของแสง คุณสมบัติเชงิความคงตัวทางเคมี คือการสัมผัสกับสภาพแวดลอม การตานทานการกดักรอน

    1.4 ชนิดของวัสดุ วัสดุสามารถแบงออกเปนประเภทตาง ๆ ตามชนิดของพันธะเคมีและการจัดเรียงตวัของอะตอม (บทที่ 2 ) โลหะ (Metal) วาเลนทอิเลกตรอนจะเปนอสิระจากอะตอมโดยเขาไปอยูในทะเลแหงอิเลกตรอนและรวมเขาเปนไอออน มีความแข็ง เหนียว นาํไฟฟาและความรอนไดเปนอยางดี มีความมันวาวเมื่อขัด สารกึ่งตัวนํา(Semiconductor) มีพันธะเคมแีบบโควาเลนท (การใชวาเลนทอิเลกตรอนรวมกัน) ซ่ึงการนําไฟฟาจะเปนไปตามการปรับเปลี่ยนองคประกอบ เชน Si, Ge, GaAs เซรามกิ (Ceramic) มีลักษณะเปนทั้งไอออนบวกและลบรวมกันอยูดวยแรงดึงดูดทางไฟฟา (Coulomb force) โดยสวนใหญประกอบดวยโลหะ สารกึ่งตัวนาํ และออกซิเจน ไนโตรเจน หรือคารบอน (ออกซิไดท ไนไตรท หรือคารไบด) มคีวามแข็ง เปราะ และ เปนฉนวน เชน แกวและกระเบื้อง เปนตน โพลีเมอร (Polymer) มีพันธะเคมีแบบโควาเลนทและมีแรงดึงดูดแบบวาลเดอรวาลซึ่งเปนแรงดึงดูดที่ไมแข็งแรงซึง่องคประกอบโดยสวนใหญเปน คารบอน(C) และ ไฮโดรเจน (H)

    ซ่ึงจะหลอมละลายและเปลี่ยนสภาพที่ ประมาณ 100 – 400°C และมีน้ําหนกัเบา ตัวอยางของโพลีเมอร เชน พลาสติก ยาง

  • 7

    โลหะ พวกโลหะเปนวัสดุที่มีคานาํความรอนสูง เพราะสามารถนําความรอนไดเร็วมาก และโลหะก็เปนวัสดุที่มีคานําไฟๆฟาสูงดวย โลหะจะทึบแสง เมื่อขัดผิวพวกโลหะเปนวัสดุที่มีคานําความรอนสงู เพราะสารมารถนําความรอนไดเร็ว แลวจะมีความวาวสูง ที่โลหะมีคุณสมบัติตาง ๆ ตามที่กลาวมานีก้็จะพบวาอิเล็กตรอนของโลหะมีการเคลื่อนที่อยางอิสระมากกวาในพวกโพลีเมอร และเซรามิก และคุณสมบตัิอ่ืน ๆ ที่พบก็คือ โลหะจะหนกัและสามารถเปลี่ยนรูปได แตงอยางไรก็ตามคณุสมบัติทั้งสองนี้ไมใชนยิามของโลหะ โลหะอาจจะแบงยอยออกเปน 2 กลุม คือ เหล็ก และเหล็กกลากลุมหนึ่งและโลหะอื่น ๆ ที่ไมใชเหล็ก เชน ทองแดง อลูมิเนียม ดีบุก สังกะสี และตะกั่ว เปนตน อีกกลุมหนึ่ง ในการนาํไปใชงานจริง ๆ โลหะอาจจะอยูในรูปของโลหะบริสุทธิ์ หรือโลหะผสม

    ภาพที่ 1.5 สิ่งประดิษฐหลายชนดิทํามาจาก โลหะและอลูมิเนียมกด

  • 8

    เซรามิก

    เซรามิกเปนสารประกอบของโลหะ และอโลหะ ตัวอยางเชน ฉนวนหวัเทียน (Al 2O3) อิฐทนความรอน (MgO) หรือ แกว (SiO2) วัสดุแตละอยางเหลานี้จะแขง็และเปราะ ซ่ึงความแข็งและเปราะ เปนคณุสมบัติที่เดนชัดของเซรามิกและดเูหมือนวาเซรามกิจะมีความทนทานตอความรอนสูง ๆ และตอส่ิงแวด-ลอม ที่เปนกรดและดางอยางแรงไดดกีวาโลหะและโพลีเมอรเพราะอะตอมของโลหะจะสละอิเล็กตรอนวงนอกสุดไปใหอะตอมของโลหะผลลัพธก็คือไมมีโมเลกุลที่เคลื่อนที่ดังนั้นเซรา-มิก จึงเปนฉนวนความรอนที่ดี

    ภาพที่ 1.6 ตัวอยางของเซรามิก

  • 9

    โพลีเมอร โพลีเมอรจะมคีวามหนาแนนต่ํา แอละจะใชเปนฉนวนความรอนและฉนวนไฟฟา วัสดุเหลานีจ้ะมีการเกาะกันของอะตอมแบบโควาเลนท ( Covalent Bonds) โครงสรางสวนใหญของโพลีเมอร ประกอบดวย คารบอน ไฮโดรเจน คลอไรด และ/หรือ ออกซิเจน และบางชนิดจะประกอบดวยไนโตรเจนซัลเฟอร และฟลูออรีน โพลีเมอรที่กลาวมาซึ่งประกอบดวยธาตุทีไ่มใชโลหะ โดยทัว่ไปจะมีโมเลกุลใหญ (Macromolecule) และโมเลกุลใหญที่เหมอืนกันหลาย ๆโมเลกุลมาตอกันเรียกวา เมอร (Mers) ซ่ึงไดมาจากคาํวาโพลีเมอร ยิ่งไปกวานั้นโครงสรางพวกนี้ปกติสามารถเปลี่ยนรูปได ดังนั้นจึงเรียกวา พลาสติก (Plastic)

    ภาพที่ 1.7 ตัวอยางของโพลีเมอร

  • 10

    วัสดุคอมโพสทิ วัสดุคอมโพสิทเปนสวนผสมของวัสดุสองชนิดหรือมากกวาทีพ่ิจารณาถึงการรวมในโครงสรางระดับอะตอมตวัอยางเชน โพลีเมอร ไดถูกอัดผสมเขากับแกว ไฟเบอร ในรูปเมตริกของโพลีเมอร ภาพที่ 1.8 วัสดุคอมโพสทิ

  • 11

    สารกึ่งตัวนํา สารกึ่งตัวนําเปนสารที่ไมใชวัสดุหลักในงานวิศวกรรมแตเปนวัสดุที่ใชอยางแพรหลายในงานของวิศวกรรมไฟฟาเชน แผนซิลิกอน (Si) สําหรับเสียบ CPU ของคอมพิวเตอร ภาพที่ 1.9 สารกึ่งตัวนาํ

    Micro – Electrical – Mechanical Systems (MEMS)

  • 12

    วัสดุศาสตรในอนาคต

    การออกแบบวสัดุในอนาคตจะเปนไปตามความตองการเฉพาะโดยอาศยัพื้นฐานความรูในเรื่องโครงสรางอะตอม โครงสรางใหม : วัสดุตามโครงสรางนาโนเทคโนโลยีซ่ึงพิจารณาโรงสรางจุลภาคระหวาง 1 – 100 นาโนเมตร กับคุณสมบตัิที่พิเศษ เชน ช้ินสวนอิเลกทรอนิกส วัสดุสําหรับการคํานวณในระดับควนัตัม วัสดุที่ฉลาด : ปกเครื่องบินที่สามารถปรับระดับตัวเองได หรือตกึทีส่ามารถปรับสมดุลตัวเองไดเมื่อเกดิแผนดินไหว วัสดุที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม : พลาสติกที่สามารถสลายตัวโดยไมทําลายส่ิงแวดลอม หรือเปนลักษณะชีวะภาพ เรียนรูจากธรรมชาติ : วัสดุที่เกดิจากการทดลองในหองปฏิบัติการสามารถมีความแข็งแรงเทียบเทากับวสัดุที่เกิดในธรรมชาติ

    ๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑

  • หนังสืออิเล็กทรอนิกส

    ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร( ฟสิกส 1 (ความรอน)

    ฟสิกส 2 กลศาสตรเวกเตอรโลหะวิทยาฟสิกส เอกสารคําสอนฟสิกส 1ฟสิกส 2 (บรรยาย( แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c ฟสิกสพิศวง สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ตทดสอบออนไลน วีดีโอการเรียนการสอน หนาแรกในอดีต แผนใสการเรียนการสอน

    เอกสารการสอน PDF กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตรแบบฝกหัดออนไลน สุดยอดสิ่งประดิษฐ

    การทดลองเสมือน

    บทความพิเศษ ตารางธาตุ)ไทย1) 2 (Eng)

    พจนานุกรมฟสิกส ลับสมองกับปญหาฟสิกส

    ธรรมชาติมหัศจรรย สูตรพื้นฐานฟสิกส

    การทดลองมหัศจรรย ดาราศาสตรราชมงคล แบบฝกหัดกลาง

    แบบฝกหัดโลหะวิทยา แบบทดสอบ

    ความรูรอบตัวท่ัวไป อะไรเอย ?

    ทดสอบ)เกมเศรษฐี( คดีปริศนา

    ขอสอบเอนทรานซ เฉลยกลศาสตรเวกเตอร

    คําศัพทประจําสัปดาห ความรูรอบตัว

    การประดิษฐแของโลก ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกสนักวิทยาศาสตรเทศ นักวิทยาศาสตรไทยดาราศาสตรพิศวง การทํางานของอุปกรณทางฟสิกสการทํางานของอุปกรณตางๆ

    http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/index/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics1/My%20Webs/content/content.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics1/My%20Webs/content/content.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics1/My%20Webs/content/content.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics1/physic1heat/index/content1.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics1/physic1heat/index/content1.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics1/physic1heat/index/content1.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics2/Physics2_Web/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics2/Physics2_Web/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/vector/content1/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/metal/metal.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics1-1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics1-1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/physics2-1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/physics2-1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/physics2-1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/physics2-1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/wach/c-language/C4Physics_Web/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/wach/c-language/C4Physics_Web/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/scibook/mythphysics/indexmythphysic/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/scibook/mythphysics/indexmythphysic/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/physic-for-internet/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/testonline/indextest.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/video/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/video/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/oldpage/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/transparency/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/science-work/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/exercise-online/http://www.rmutphysics.com/charud/invention/http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/periodic1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/periodic1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/periodic/Periodic_Table_2_Save.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/periodic/pereodic.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/dictionary/dicphysics/pic1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/brainphysic/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/formular1/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/experiment/index.htmhttp://203.158.100.140/astronomy-rmuthttp://www.rmutphysics.com/charud/exercise/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/exercise/metal/1-4-45/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/exercise/metal/1-4-45/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/test/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/knowledge/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/question/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/question/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/millionium/index.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/crime/crimepic1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/entrance/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/vectorsol/VECTOR.HTMhttp://www.rmutphysics.com/charud/weekdic/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/knowledge1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/nobelandinvention/invention.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/nobelandinvention/nobelphysics.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/scientist/index2.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/scientist/index1.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/astronomy/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/astronomy/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/physics2000/ritphysics/applets_ELthai.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/howstuffwork/index.htm

  • การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต

    1. การวัด 2. เวกเตอร3. การเคลื่อนท่ีแบบหนึ่งมิต ิ 4. การเคลื่อนท่ีบนระนาบ5. กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตัน 6. การประยุกตกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตัน7. งานและพลังงาน 8. การดลและโมเมนตัม9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง11. การเคลื่อนท่ีแบบคาบ 12. ความยืดหยุน13. กลศาสตรของไหล 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน15. กฎขอท่ีหน่ึงและสองของเทอรโมไดนามิก 16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร17. คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง

    การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต

    1. ไฟฟาสถิต 2. สนามไฟฟา3. ความกวางของสายฟา 4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน 5. ศักยไฟฟา 6. กระแสไฟฟา 7. สนามแมเหล็ก 8.การเหนี่ยวนํา9. ไฟฟากระแสสลับ 10. ทรานซิสเตอร 11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ 12. แสงและการมองเห็น13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 14. กลศาสตรควอนตัม 15. โครงสรางของอะตอม 16. นิวเคลียร

    การเรียนการสอนฟสิกสท่ัวไป ผานทางอินเตอรเน็ต

    1. จลศาสตร )kinematic) 2. จลพลศาสตร (kinetics) 3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง5. ของไหลกับความรอน 6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา 7. แมเหล็กไฟฟา 8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร

    ฟสิกสราชมงคล

    http://www.rmutphysics.com/http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/71/mesurment.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/72/vector.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/73/one-dimension-motion.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/74/projectile.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/75/newton1.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/76/newton2.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/77/energy.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/78/momentum.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/79/rotation.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/80/balance.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/81/harmonic.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/83/elastic.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/84/fluid.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/85/heat.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/85/heat.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/85/heat.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/85/heat.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/85/heat.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/86/thermodynamic.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/87/gas.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/88/wave.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.htmlhttp://www.rmutphysics.com/charud/knowledge1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/51/index51%20static%20electric.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/52/electric%20field.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/53/Laser-CD.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/54/capacitor.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/potential/potential.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/55/electric%20current.htmlhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/56/magnetic%20field.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/57/inductor%20faraday.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/58/inductor-faraday2.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/58/inductor-faraday2.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/60/transistor.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/61/electromagnetic-antenna.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/62/light1.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/64/relativity.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/quantum/quantum.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/quantum/quantum.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/electron-structure/electron-structure.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/65/nuclear.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/knowledge1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/knowledge1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/knowledge1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/charud/knowledge1/index.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/93/kinematics.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/93/kinematics.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/93/kinematics.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/93/kinetics.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/93/kinetics.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/93/kinetics.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/94/work-momentum.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/94/work-momentum.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/95/harmonic-sound.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/95/harmonic-sound.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/96/fluid-heat.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/97/static-electic2.htmhttp://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/97/static-electic2.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/98/magnetic.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/98/magnetic.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/98/magnetic.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/100/electromagnetic-wave2.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/102/nuclear.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/102/nuclear.htmhttp://www.rmutphysics.com/PHYSICS/oldfront/102/nuclear.htmhttp://www.rmutphysics.com/