Gnr12001...

16
Gnr1.doc page 1 GNR : episode 1 2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธของมนุษย ? สุรพล ศรีบุญทรง เมื่อเร็วๆ นีผูเขียนไดรับบทความชื่อ "Why the future dosen't need us" ของ บิลล จอย ซึ่งลง ตีพิมพเผยแพรอยูในนิตยสารไวรดฉบับเดือนเมษายนที่ผานมา 1 จากกองบรรณาธิการไอทีซอฟท อานแลวพบวามีเนื้อหาทีนาสนใจเปนอยางยิ่ง เพราะเปนการชี้ใหเห็นวาเทคโนโลยีใหมลาสุด 3 ประเภท (GNR) อันไดแก พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณเทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และ หุนยนตศาสตร (R: Robotics) นั้นอาจจะนํามหันต ภัยอะไรมาสูมวลมนุษยชาติไดบาง และหากมิไดมีการวางแผนควบคุมการพัฒนาไวใหดีแลว คริสตศตวรรษที่ 21 ที่กําลัง จะเริ่มนับหนึ่งกันในป ค.ศ. 2001 นี้ ก็อาจจะกลายเปนการนับถอยหลังสูการสูญสิ้นเผาพันธของมนุษยไดในที่สุด ความสําคัญของคําเตือนเรื่องมหันตภัยเทคโนโลยีจีเอ็นอารที่ปรากฏอยูในบทความ "Why the future dosen't need us" นั้น อยูตรงที่มันไมไดเปนแคคําทํานายจากบรรดาหมอดูลวงโลกที่มักจะอางเอาขอความคลุมเครือ จากบางสวนของคัมภีรทางศาสนามาใชหากิน แตมันเปนความกังวลของพหูสูตรอยาง "บิลล จอย" ผูไดรับการยอมรับใน หมูนักวิทยาศาสตรชั้นนําของโลกวาเปนอัจฉริยะคนหนึ่ง โดยเฉพาะในแวดวงคอมพิวเตอรดวยแลว บิลล จอย ก็ไดมีสวน รวมในการสรางสรรผลงานดีๆ ใหกับวงการไวอยางมากมาย ไมวาจะเปน เรื่องของซูเปอรคอมพิวเตอร โปรแกรมปาส กาล โปรแกรมประเภทยูทิลิตี้ที่ใชกับยูนิกซ การมีสวนรวมในการกอตั้งบริษัทซันส ไมโครซิสเต็มส งานวิจัยเกี่ยวกับ สารสนเทศแหงอนาคต ตลอดไปจนถึงงานสรางสรรคอยางภาษาจาวา (JAVA) และจินิ (Jini) ที่ผูใชอินเทอรเน็ตตางลวน คุนเคยกันเปนอยางดี กลาวโดยสรุปแลว นับไดวาบทความ "Why the future dosen't need us" นี้มีจุดเดนทั้งในแงที่เปน เรื่องราวของเทคโนโลยีสมัยใหมซึ่งเราๆ ทานๆ กําลังจะไดมี โอกาสสัมผัสดวยตนเองมากขึ้นเรื่อยๆ และทั้งในแงของการ แสดงทัศนะที่มีตอเทคโนโลยีสมัยใหมของของอัจฉริยะระดับ ตนๆ ของโลกอยาง บิลล จอย อยางไรก็ตาม เนื่องจากเนื้อหา ที่คอนขางหนัก และมีปริมาณมากทําใหมันไมเหมาะนักที่จะ นํามาเสนอเสียในตอนเดียว เพราะจะทําใหนิตยสารไอทีซอฟท ฉบับนี้มีความหนามากเกินเหตุ หรืออาจจะไปเบียดบังเนื้อที่ของ บทความอันทรงคุณคาของผูเขียนทานอื่นๆ ไป ดังนั้น ผูเขียน จึงขออนุญาตทยอยสรุปเนื้อหาเดนๆ ที่ปรากฏอยูในบทความ ของบิลล จอย เรื่องนี้นําเสนอสูทานผูอานเปนตอนๆ ไป สักสอง สามตอน

Transcript of Gnr12001...

Gnr1.doc page 1

GNR : episode 1

2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธของมนุษย ?

สุรพล ศรีบุญทรง

เม่ือเร็วๆ น้ี ผูเขียนไดรับบทความช่ือ "Why the future dosen't need us" ของ บิลล จอย ซึ่งลง

ตีพิมพเผยแพรอยูในนิตยสารไวรดฉบับเดือนเมษายนที่ผานมา1จากกองบรรณาธิการไอทีซอฟท อานแลวพบวามีเน้ือหาที่

นาสนใจเปนอยางย่ิง เพราะเปนการชี้ใหเห็นวาเทคโนโลยีใหมลาสุด 3 ประเภท (GNR) อันไดแก พันธุวิศวกรรม (G:

Genetic Engineering) จุณเทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และ หุนยนตศาสตร (R: Robotics) น้ันอาจจะนํามหันต

ภัยอะไรมาสูมวลมนุษยชาติไดบาง และหากมิไดมีการวางแผนควบคุมการพัฒนาไวใหดีแลว คริสตศตวรรษที่ 21 ที่กําลัง

จะเร่ิมนับหนึ่งกันในป ค.ศ. 2001 น้ี ก็อาจจะกลายเปนการนับถอยหลังสูการสูญสิ้นเผาพันธของมนุษยไดในที่สุด

ความสําคัญของคําเตือนเร่ืองมหันตภัยเทคโนโลยีจีเอ็นอารที่ปรากฏอยูในบทความ "Why the future

dosen't need us" น้ัน อยูตรงที่มันไมไดเปนแคคําทํานายจากบรรดาหมอดูลวงโลกที่มักจะอางเอาขอความคลุมเครือ

จากบางสวนของคัมภีรทางศาสนามาใชหากิน แตมันเปนความกังวลของพหูสูตรอยาง "บิลล จอย" ผูไดรับการยอมรับใน

หมูนักวิทยาศาสตรช้ันนําของโลกวาเปนอัจฉริยะคนหนึ่ง โดยเฉพาะในแวดวงคอมพิวเตอรดวยแลว บิลล จอย ก็ไดมีสวน

รวมในการสรางสรรผลงานดีๆ ใหกับวงการไวอยางมากมาย ไมวาจะเปน เร่ืองของซูเปอรคอมพิวเตอร โปรแกรมปาส

กาล โปรแกรมประเภทยูทิลิต้ีที่ใชกับยูนิกซ การมีสวนรวมในการกอต้ังบริษัทซันส ไมโครซิสเต็มส งานวิจัยเกี่ยวกับ

สารสนเทศแหงอนาคต ตลอดไปจนถึงงานสรางสรรคอยางภาษาจาวา (JAVA) และจินิ (Jini) ที่ผูใชอินเทอรเน็ตตางลวน

คุนเคยกันเปนอยางดี

กลาวโดยสรุปแลว นับไดวาบทความ "Why

the future dosen't need us" น้ีมีจุดเดนทั้งในแงที่เปน

เรื่องราวของเทคโนโลยีสมัยใหมซึ่งเราๆ ทานๆ กําลังจะไดมี

โอกาสสัมผัสดวยตนเองมากขึ้นเรื่อยๆ และทั้งในแงของการ

แสดงทัศนะที่มีตอเทคโนโลยีสมัยใหมของของอัจฉริยะระดับ

ตนๆ ของโลกอยาง บิลล จอย อยางไรก็ตาม เน่ืองจากเน้ือหา

ที่คอนขางหนัก และมีปริมาณมากทําใหมันไมเหมาะนักที่จะ

นํามาเสนอเสียในตอนเดียว เพราะจะทําใหนิตยสารไอทีซอฟท

ฉบับนี้มีความหนามากเกินเหตุ หรืออาจจะไปเบียดบังเน้ือที่ของ

บทความอันทรงคุณคาของผูเขียนทานอ่ืนๆ ไป ดังน้ัน ผูเขียน

จึงขออนุญาตทยอยสรุปเน้ือหาเดนๆ ที่ปรากฏอยูในบทความ

ของบิลล จอย เรื่องน้ีนําเสนอสูทานผูอานเปนตอนๆ ไป สักสอง

สามตอน

Gnr1.doc page 2

เทคโนโลยีจีเอ็นอาร คือ ?

กอนอ่ืน ผูเขียนอยากจะอธิบายใหทานผูอานเขาใจเสียกอนวา สิ่งที่เรียกวา เทคโนโลยีจีเอ็นอาร ในที่นี้

หมายถึงอะไร อักษร "G" ตัวแรกน้ันมาจากคําวา Genetic Engineering หรือมีช่ือเปนไทยวา พันธุวิศวกรรม ซึ่งเนนไปใน

เรื่องการดัดแปลงแกไขสารพันธุกรรม และผูคนทั่วไปก็เริ่มจะรูจักมักคุนกับคําคําน้ีมากข้ึนเร่ือยๆ เพราะมีทั้งภาพยนตเรื่อง

ดังอยางจูราสสิก พารก ชวยอธิบายสิ่งที่เปนความรูทางวิชาการเขาใจยากใหอยูรูปงายๆ สนุกสนาน และมีผลผลิตของจริง

ใหเห็นในขาวอยางเรื่องพืชตัดตอพันธุกรรม (GMOs) ใหไดรับฟงกันอยูเร่ือยๆ สวนเทคโนโลยีจีเอ็นอารตัวที่สามที่ใช

อักษร "R" เปนอักษรตัวแรกน้ันก็คือ Robotics หรือศาสตรที่วาดวยเรื่องหุนยนต อันน้ีก็แทบจะไมตองอธิบายอีกเชนกัน

เพราะรถยนตที่เราขับข่ีกันอยูทุกวันน้ี สวนใหญก็ใชระบบหุนยนตในการผลิต มีหุนยนตที่ใชขุดอุโมงใตดิน ตลอดจนมี

หุนยนตไซบอรกในภาพยนตหลายเรื่อง และมีใหเห็นในขาวบอยๆ

แตที่ตองอธิบายมากเปนพิเศษหนอยก็คือ เทคโนโลยีจีเอ็นอารตัวที่สอง คือคําวา Nanotechnology ที่ใช

อักษร "N" เปนตัวนํา เพราะศาสตรเรื่องนี้ยังคอนขางใหม ยังไมคอยรูจักแพรหลายโดยทั่วไป อยางในประเทศไทยน้ัน

เขาใจวาจะยังไมไดมีผูบัญญัติศัพทแทนชื่อของ Nanotechnology มากอน (หรือจะมีแลวก็ตองขออภัยในความดอย

สติปญญาของผูเขียน) ฉน้ันในที่น้ีผูเขียนจะขอเสนอใหใชช่ือเรียกวา "จุณเทคโนโลยี" ไปกอน ดวยเห็นวาเดิมทีเราเคยใช

คําวา "จุล" แทนคํา "ไมโคร (Micro)" ซ่ึงหมายถึงหนวยวัดที่มีขนาดหน่ึงในลานสวนตามความหมายในภาษาอังกฤษ (ราก

ศัพทมาจากภาษาละตินอีกที) ดังจะเห็นไดจากคําวา Microbiology ก็กลายมาเปนจุลชีววิทยา ในขณะที่

Microeconomics ก็กลายมาเปนเศรฐศาสตรจุลภาค โดยเฉพาะในสวนของจุลชีววิทยานั้นยังมีความพองระหวางคําวา

"จุล" กับ "ไมโคร" ในแงที่เนนการศึกษาสิ่งมีชิวิตที่มีขนาดเล็กระดับไมก่ีไมโครเมตร (หนึ่งในลานเมตร) อยางพวกแบคทีเรีย

หรือเช้ือรา ซึ่งตองใชกลองจุลทรรศนสองขยายจึงจะเห็น

Gnr1.doc page 3

ทีน้ี เม่ือนาโนเทคโนโลยีเปนเรื่องของเทคโนโลยีของการควบคุม ผลิตและพัฒนาสสารในระดับอะตอม

ระดับโมเลกุลที่มีขนาดเล็กลงไปจากพวกแบคทีเรียและเช้ือราอีกเปนพันเทา หรือที่นักวิทยาศาสตรเรียกกันวาเล็กระดับ

เปนนาโนเมตร (หน่ึงในพันลานเมตร) เล็กขนาดที่มองดวยกลองจุลทรรศนธรรมดาและกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนไมเห็น

(กลองจุลทรรศนธรรมดาน้ันไมมีทางมองเห็นอยูแลวเพราะลําพังแคคลื่นแสงที่ตามนุษยมองเห็นนั้นยังกวางรวมหารอยนา

โนเมตรเขาไปแลว สวนกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนนั้นอาจจะมองเห็นโมเลกุลไดบางหากวาโมเลกุลน้ันมีขนาดใหญมาก

จริงๆ อยางโมเลกุลของสารโปรตีนประเภทฮีโมโกลบิน หรือฮอรโมนอินสุลิน) สิ่งของที่มีขนาดระดับนาโนเมตรน้ันอาจะ

เทียบไดเหมือนกับวาเรานําเอาแบคทีเรียซึ่งเล็กอยูแลวมาบดใหละเอียดจนเปนจุณมหาจุณลงไป

และไหนๆเมื่อพูดเรื่องการบัญญัติศัพทแลว

ผูเขียนก็อยากจะต้ังขอสังเกตุไวในที่น้ีหนอยวา ปจจุบันน้ีความรูบน

โลกเราไดพัฒนาไปอยางมาก จนบางครั้งคอนขางยากที่สื่อใหเขาใจ

กันไดงายๆ ใหเห็นภาพ แถมการพัฒนาของความรูบนโลกน้ันก็มิได

เปนไปในทิศทางใดทิศทางหน่ึงแตเปนไปในทุกดาน มีทั้งที่ขยาย

ใหญข้ึนไปมากๆ จากที่เคยรูจักเงินลานก็ตองพูดถึงตัวหน้ีของ

ประเทศไทยที่มียอดเปนลานลาน เคยรูจักแคประเทศเพ่ือนบานก็

ตองรูจักกับแกแล็กซีที่หางออกไปเปนลานปแสง ซ่ึงถาหากถามวาจะเดินทางไปยังแกแล็กซ่ีที่วาจะตองใชเวลาเทาไร

นักวิทยาศาสตรก็คงพอจะคํานวนเวลาออกมาไดแตคงบอกกับชาวบานไดแควาช่ัวกัปช่ัวกัลป (มีปญหาอีกวากัปหน่ึงกัลป

หน่ึงมันนานเทาไรกันแน) ในทางกลับกัน ความรูก็ยังด้ันดนลงลึกลงไปในรายละเอียดที่สิ่งที่เล็กมากขึ้นเรื่อย จากเดิมที่

เคยพูดถึงการรักษาโรคโดยมองตัวคนทั้งตัว หรือระบบอวัยวะทั้งระบบ ก็เปลี่ยนไปเปนระดับอวัยวะ ระดับเซลล จน

ทายที่สุดก็เร่ิมจะมีผูพูดถึงการรักษาโรคระดับโมเลกุลกันบางแลว (เปนอีกเรื่องหนึ่งที่มีการพูดถึงกันในหมูผูสนใจในเรื่อง

จุณเทคโนโลยี)

ยอนกลับมาอธิบายเรื่องจุณเทคโนโลยีกันอีกครั้งวามีที่มาที่ไปอยางไร ที่มาของมันนั้นเริ่มมาจากที่มี

นักวิทยาศาสตรไดตั้งขอสังเกตุวา เทคโนโลยีคอมพิวเตอรน้ันไดนํามาซึ่งวิธีการผลิตแบบใหม การผลิตซึ่งมีตนทุนต่ํามาก

(ผลผลิตของคอมพิวเตอรคือขอมูล) และไมมีของเสียเกิดขึ้นเลยในกระบวนการผลิต เพราะใชวิธีเอาขอมูลแตละบิทมาเรียง

เขาดวยกัน อยากไดตัวอักษรก็เอาบิทมาเรียง อยากไดภาพกราฟฟกก็บิทมาเรียง อยากไดเสียงเพลงก็เอาบิทมาเรียง ฯลฯ

เรียกวาทุกอยางที่ไดมาจากคอมพิวเตอรน้ันลวนมาจากบิท แลวทําไมเราไมเอาแนวคิดของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาใชใน

กระบวนการผลิต ในกระบวนการอุตสาหกรรมทั้งหลายบางละ จะไดไมตองมาน่ังกังวลกับขยะหรือของเสียที่จะติดตามมา

นั่นคือ จะผลิตสิ่งของอะไรก็ใหมีแผนการไวเสร็จเลยวาสิ่งน้ันจะมีรูปลักษณอยางไร จากน้ันก็เริ่มสรางผลผลิตที่ตองการ

ขึ้นมาจากการเรียงอะตอมแตละอะตอม โมเลกุลแตละโมเลกุลเลย 2

ยกตัวอยางเชนโรงงานผลิตรองเทาน้ันแตกอนก็จะตองผลิตวัสดุสําหรับดานหนา ดานบน และพ้ืนรองเทา

ออกมาเปนผืนใหญๆ เวลาจะประกอบก็ตองตัดวัสดุเหลานั้นออกมาเปนชิ้นๆ ตามแนวที่ดีไซนเนอรพัฒนาไวเปนรองเทา

ตนแบบ ซ่ึงไมวาจะออกแบบมาดีเพียงไรก็จะมีเศษวัสดุเหลือใชตองทิ้งไปไมนอยกวา 5 เปอรเซนตเสมอ และขยะเหลานี้

ก็จะตองตกเปนภาระใหกับกระบวนการกําจัดขยะที่จะติดตามมา ฉน้ัน จะเปนการดีกวาไหมหากเราสามารถผลิตสสาร

ตางๆ ข้ึนมาใหมีรูปรางและลักษณะตางๆ ตามที่ตองการไดเลยดวยการเรียงอะตอมหรือเรียงโมเลกุลขึ้นมา ซ่ึงถาทําได

จริง สิ่งที่เปนความใฝฝนหลายอยางของมนุษยก็จะเกิดขึ้นไดดวยจุณเทคโนโลยี เชน อยากจะไดตัวยาที่ออกฤทธ์ิอยางไรก็

Gnr1.doc page 4

จุณเทคโนโลยี อยากใหเครื่องคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กแคไหน เร็วแคไหนก็จุณเทคโนโลยี อยากจะออกแบบยานอวกาศ

ขนาดสองที่นั่งสําหรับขับขึ้นไปด่ืมน้ําผึ้งใกลๆ พระจันทรจริงๆ ก็จุณเทคโนโลยี ฯลฯ

คําถามที่ตามมาคือ เราจะทําใหสิ่งที่ดูเหมือนความเพอฝนน้ีเปนจริงข้ึนมาไดอยางไร นักวิทยาศาสตรก็

บอกวาตองเอาความรูดานเคมี และวิศวกรรมเขามาผสมผสาน มาน่ังศึกษาวิธีการสังเคราะหสารเคมีแลวพัฒนาเครื่องจักร

ขนาดไมก่ีนาโนเมตรขึ้นมาทําหนาที่จัดเรียงอะตอม (assembler) หรือทําหนาที่แกะเอาอะตอมที่ไมตองการออกทิ้งไป

(Dissembler) และเน่ืองจากตัวเคร่ืองจักรนาโนเมตรพวกน้ีก็อาจถูกสรางข้ึนดวยกระบวนการจัดเรียงอะตอมเชนที่วาน้ีได

เชนกัน เทคโนโลยีที่วาน้ีจึงมีลักษณะเปนเทคโนโลยีที่สามารถพัฒนาและเพ่ิมปริมาณของมันข้ึนมาไดดวยตนเอง (Self-

assembling & Self replicating) ซึ่งเมื่อพูดถึงการเพ่ิมจํานวนตัวเองไดนี้หลายคนอาจจะประหลาดใจ แตถาคุนเคยกับ

กระบวนการเพ่ิมจํานวนของไวรัสแลว ก็ยอมจะเห็นถึงความเปนไปไดของ

เทคโนโลยีชนิดน้ี ชนิดที่เริ่มจะรูจักกันในช่ือ "จุณเทคโนโลยี" น่ีแหละ

แลว "บิลล จอย" ละคือใคร ?

เอาหละ กอนที่ทานผูอานจะหลงประเด็นนึกวาผูเขียนกําลัง

เขียนเรื่องจุณเทคโนโลยี ผูเขียนขอยอนกลับมาพูดถึงบิลล จอย ผูกลาวเตือนเรา

วาเทคโนโลยีจีเอ็นอารนั้นจะทําใหมนุษยเราตองสูญพันธคนนี้กันกอนดีกวา

ประวัติของบิลล จอย นั้นระบุวาเขามีแววฉลาดปรากฏมาตั้งแตเม่ือครั้งเขายังเปน

เด็กเล็กๆ เขาเลาอัตชีวประวัติตัวเองวาชางซักชางถามมาแตไหนแตไร ถามมาก

จนบางครั้งทําใหผูใหญรําคาญ จึงตองหันไปหาการศึกษาคนควาดวยตนเองจากหนังสือในระยะตอมา ซ่ึงเรื่องของการ

อานหนังสือน้ี เขามีพัฒนาการที่เร็วมากจนเริ่มอานหนังสือไดตั้งแตยังเปนเด็กเล็กๆ สงผลใหบิดาของเขาตองพาไปเขา

โรงเรียนตั้งแตอายุแค 3 ขวบ และตองน่ังบนตักอาจารยใหญเพื่อทดลองอานหนังสือใหฟง

ตอมา เม่ือยางเขาสูวัยรุน บิลล จอย ก็ใหความสนใจในเรื่องวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากเปนพิเศษ

โดยเฉพาะในเรื่องวิทยุสมัครเลนซึ่งอาจจะเปรียบไดกับอินเทอรเน็ตในยุคสมัยน้ี อยางไรก็ตาม เนื่องจากอุปกรณวิทยุ

สมัครเลนในยุคเม่ือสามสิบกวาปกอนน้ันยังมีราคาแพงมาก กอปรกับทางมารดาของเขาเองก็ไมสนับสนุนใหบุตรชายของ

ตนหมกมุนอยูกับอุปกรณสื่อสารพวกนั้น โดยเธอใหเหตุผลวาแคที่เปนอยูในขณะน้ัน เด็กชายบิลล จอย ก็เก็บตัวโดดเดี่ยว

มากเกินไปอยูแลว ฉน้ัน เม่ือตัวเองยังเด็กยังไมมีเงิน ทั้งยังถูกสั่งหามอยางเด็ดขาดจากแม บิลล จอย ก็เลยไดแตสราง

จินตนาการไปในโลกแหงนิยายวิทยาศาสตรที่เขาชื่นชอบ

เขาเลาวาชวงชีวิตวัยเด็กของเขาน้ัน ไมคอยจะมีเพ่ือนสนิทสักเทาใดนัก เวลาที่ใชในโรงเรียนมัธยมสวน

ใหญหมดไปกับการอานงานเขียนนิยายวิทยาศาสตรของนักเขียนชั้นนํา โดยเฉพาะกับนวนิยายเรื่อง Robot ของไอแซ็ค

อาซิมอฟ ซ่ึงเขาจดจํากฏสามขอของหุนยนตในเรื่องดังกลาวไดอยางขึ้นใจวา หนึ่ง หุนยนตจะตองไมทําอันตรายตอมนุษย

และตองไมปลอยใหมนุษยตองเปนอัตราย สอง หุนยนตจะตองเช่ือฟงคําสั่งของมนุษยเสมอ เวนเสียแตวาจะเปนคําสั่งซ่ึง

ขัดแยงกับกฎขอที่หน่ึง สาม หุนยนตจะตองปกปองตนเองจากภยันตรายทั้งปวง ตราบใดที่การปกปองตนเองน้ันจะไม

ขัดแยงกับกฏขอที่หน่ึงและสอง 3 นวนิยายวิทยาศาสตรยุคเกาที่มีผลอยางมากตอเด็กชายบิลล จอย อีกเร่ืองหน่ึง ก็คือ

"Have Spacesuit Will Travel ของไฮนเลียน ซึ่งพรรณาถึงฉากการเดินทางทองไปในอวกาศไดอยางนาตื่นเตนสมจริง

จนทําใหเขาน้ันอยากไดกลองโทรทรรศนไวสองดูดวงดาวบนทองฟาเปนอยางมาก แตติดขัดดวยฐานะทางบานที่ไม

Gnr1.doc page 5

เอื้ออํานวย ทําใหตองประดิษฐประดอยกลองโทรทรรศนข้ึนมาดวยตนเองโดยอาศัยความรูเก่ียวกับการประกอบกลอง

โทรทรรศนที่ไดจากหนังสือในหองสมุดของโรงเรียน แตดวยความยากลําบากในการเรียนรูก็ยิ่งสงผลใหจินตนาการดาน

วิทยาศาสตรของเขาเติบกลาขึ้นไปอีก

แมกระทั่งในคืนวันพฤหัสบดีอัน

เปนวันที่พอแมของเขาพากันไปพักผอนหยอนใจที่

สถานโบวลิ่ง เขากับพี่ๆ นองๆ ก็ยังปกหลักกันอยู

หนาจอโทรทัศนที่บานเพ่ือรอดูรายการภาพยนตซี

รี่สเร่ือง "สตารเทร็ค" ฉบับด้ังเดิมของ จีน รอดเดน

เบอรรี่ กันเปนประจําทุกคืนวันพฤหัสบดี และสิ่งหน่ึงที่ถูกประทับไวในความทรงจําของเขาเก่ียวกับภาพยนตรของร็อด

เดนเบอรร่ีเร่ืองน้ีก็คือแนวความคิดเก่ียวกับการผจญภัยในอวกาศของมนุษยผูเปยมไปดวยคุณธรรม ซ่ึงทําหนาที่พิทักษ

ปกปองคุมครองจักรวาลจากภยันตรายทั้งปวง ในขณะเดียวกันก็จะไมเขาไปรบกวนวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีระดับ

สติปญญาดอยกวา (ดวยแนวคิดปกปองจักรวาลน่ีแหละ ที่ทําให บิลล จอย อดใจไวไมไหวตองออกมาเขียนเตือนเพ่ือน

มนุษยถึงภยันตรายที่อาจจะมากับเทคโนโลยีสมัยใหม)

เบาหลอมนักวิทยาศาสตร

บิลล จอย เกงในเรื่องการคํานวนมาแตไหนแตไร ดังจะเห็นไดจากการที่เขาทําคะแนนวิชาคณิตศาสตรได

สูงมากมาตั้งแตสมัยเรียนมัธยม และเม่ือเขาศึกษาตอในระดับปริญญาตรีที่คณะวิศวกรรมของมหาวิทยาลัยมิชิแกน เขาก็

ยังเลือกเรียนคณิตศาสตรเปนวิชาเอก ดวยความคิดวาโจทยเลขย่ิงยากเทาไรก็ยิ่งเปนการทาทาย ย่ิงเปนความนาตื่นเตน

อยางไรก็ตาม เมื่อเขาเรียนรูมากขึ้นเรื่อยๆ กลับไดพบวามีอะไรทีนาตื่นเตนกวาโจทยเลขยากๆ เสียอีก สิ่งน้ันก็คือ

"คอมพิวเตอร" น่ันเอง เพราะมันสามารถคํานวนโจทยเลขทุกอยางออกมาไดในพริบตา (ขอใหมีการโปรแกรมไวเทาน้ัน)

ความนาลุมหลงของคอมพิวเตอรในสายตาของบิลล จอย อยูที่มันสามารถแยกแยะระหวางความถูกและ

ความผิดออกมาไดอยางขัดเจน อยากรูวาความคิดตัวเองถูกตองหรือไม ก็แคปอนคําสั่งเขาไป (อันที่จริง เทคโนโลยี

คอมพิวเตอรในยุคที่ บิลล จอย ยังเรียนอยูในระดับปริญญาตรีน้ัน ยังไมไดมีสมรรถนะที่สูงล้ําเลิศอะไรนัก แตเขาโชคดีตรง

ไดมีโอกาสทําหนาที่โปรแกรมขอมูลใหกับเครื่องซูเปอรคอมพิวเตอร ทําใหไดเรียนรูสัมผัสกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาด

ใหญที่มีสมรรถนะสูงมากจริงๆ ทั้งในแงของการคํานวน และในแงของการจําลองรูปแบบดีไซนใหมๆ ดวยสมการ

คณิตศาสตร)

หลังจากสําเร็จปริญญาตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมิชิแกน บิลล จอย ไดสมัครเขาเรียน

ตอในระดับบัณฑิตศึกษาที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย แหงเบิรกเลย และไดทุมเทเวลาศึกษาหาความรูเก่ียวกับ

คอมพิวเตอรอยางเอาจริงเอาจัง ทําใหตองคางคืนอยูในหองทดลองของมหาวิทยาลัยอยูบอยๆ จนสุดทายเขาก็มีความ

ชํานาญเปนพิเศษในการเขียนโปรแกรมคําสั่งใหมๆ ใหกับเครื่องคอมพิวเตอร โปรแกรมที่จะชวยไขปญหาทุกอยางออกมา

ได ไมวาปญหาน้ันจะแสนยากเพียงไร (มหาวิทยาลัย UC Berkley ในชวงกลางทศวรรษ 70 ที่ บิลล จอย เขาไปศึกษา ได

ชื่อวาเปนศูนยรวมของบรรดามือเซียนดานคอมพิวเตอรในยุคน้ัน)

โดยเขาเลาถึงความรูสึกในชวงขณะที่งานเขียนโปรแกรมสําเร็จลงในแตละคร้ังวาเปนความสุขสุดยอด

อยางเหลือเชิ่อ (Ecstasy) เขาจินตนาการวามันนาจะคลายกับชวงเวลาที่ศิลปนเอกของโลกไมเคิล แองเจโล สกัดเศษหิน

Gnr1.doc page 6

ออนกอนสุดทายออกจากงานแกะสลัก และทําใหกอนหินออนธรรมดากลายสภาพเปนงานศิลปะที่ออนชอยงดงามเกินกวา

จะบรรยายได ในขณะที่การสรางงานของเขาน้ันก็จะมีการรางแบบโปรแกรมไวกอนในสมอง กอนที่จะแกะเขาไปใน

เครื่องคอมพิวเตอรที่เปรียบเสมือนหินออนกอนโตมหึมารอใหมีศิลปนมาสลักโปรแกรมขึ้นเปนช้ินงาน ซ่ึงผลลัพธที่ได

ออกมาเปนโปรแกรมแตละชิ้นนั้นก็ทรงคุณคาเสียจนเวลาที่เขาตองอดหลับอดนอนเพ่ือสรางมันน้ันนับไดวาเปนตนทุนที่ต่ํา

มาก

ในชวงเวลาแคไมกี่ปในเบิรกเลย บิลล จอย ไดรังสรรโปรแกรมคอมพิวเตอรดีๆ ออกมาอยางมากมาย

ยกตัวอยางเชน โปรแกรมระบบคําสั่งปาสกาล, กลุมโปรแกรมยูทิลิต้ีของยูนิกซ, โปรแกรมแกไขขอความ vi (เขาออกจะ

ประหลาดใจระคนภาคภูมิใจเม่ือทราบวาโปรแกรม vi ตัวน้ียัคงไดรับความนิยมในหมูผูใชคอมพวิเตอรบางกลุม ทั้งๆ ที่

โปรแกรมตัวนี้มีอายุมากกวา 2 ทศวรรษมาแลว) ฯลฯ โดยบรรดาโปรแกรมซอฟทแวรที่เขาไดพัฒนาข้ึนน้ีไดรับความนิยม

ในหมูผูใชเครื่องคอมพิวเตอร PDP 11 และเครื่องมินิคอมพิวเตอร VAX เปนอยางมาก จนในที่สุดก็ไดรับการพัฒนาตอไป

เปนโปรแกรมระบบปฏิบัติการยูนิกซ (เวอรช่ันเบิรกเลย) ในทายที่สุด

ความสําเร็จในผลงานและการยอมรับจากสังคมเซียนคอมพิวเตอรกลับนําผลเสียอยางหน่ึงกลับมาสูบิลล

จอย เพราะแทนที่จะไดเรียนในเบิรกเลยจนจบดอกเตอร เขากลับตองเขารวมโครงการดารปา (Darpa) ในการประยุกต

ระบบปฏิบัติการยูนิกซของเบิรกเลยเขากับเครือขายอินเทอรเน็ต ตลอดจนทําหนาที่ปรับแตงใหการทํางานของ

ระบบปฏิบัติการยูนิกซบนอินเทอรเน็ตสามารถทํางานไดอยางม่ันคงมีประสิทธิภาพเช่ือเถือได จนเหมาะที่ใชสําหรับ

งานวิจัยขนาดใหญ อยางไรก็ดี ดูเขาจะไมไดเสียดายโอกาสที่จะมีปริญญาเอกจากเบิรกเลยพวงทายชื่อไปสักเทาใดนัก

เพราะเขาระบุวาการไดรวมงานกับโครงการดารปานั้นนับไดวาชวงเวลาที่คุมคาอันนาประทับใจมาก (เขาไดตั้งขอสังเกตุ

ดวยวา ในชวงขณะน้ันเขาไมเคยไดเห็นหุนยนตแมสักตัวเดียวในโครงการดารปา)

แมวาบิลล จอย จะเพลิดเพลินใจกับโครงการดารปาเปนอยางดี แตเขาก็ออกจะอึดอัดกับความคับแคบ

ในหองทดลองของเบิรกเลย (เขาเลาวาเบิรกเลยน้ันไมเคยขาดแคลนเร่ืองงบประมาณ หรือกําลังคน แตจะมีปญหาเอา

มากๆ กับเรื่องพ้ืนที่ใชสอย) ฉน้ัน เม่ือมีโอกาสเขารวมกอตั้งบริษัทคอมพิวเตอร "ซัน ไมโครซิสเต็มส" เขาจึงไมรีรอที่จะ

โจนเขารวมงานทันทีที่ถูกชวนในชวงตนคริสตทศวรรษที่ 80 และไดมีสวนรวมเปนอยางมากในการวางรากฐานระบบ

คอมพิวเตอรพีซี และเวิรกสเตช่ัน การออกแบบชิปไมโครโพรเซสเซอร ตลอดไปจนถึงมาตรฐานทางอินเทอรเน็ตอยาง

Java และ Jini ที่ผูคนทั่วโลกคุนเคยกันเปนอยางดีในปจจุบัน

ความกังวลเร่ิมกอตัว

บิลล จอย ยืนยันวาตัวเขานั้นยึดม่ันหลักศีลธรรมจรรยามาตลอดชั่วอายุที่ไดมีสวนเก่ียวของกับ

กระบวนการสรางสรรเทคโนโลยีใหมๆ ใหกับสังคม แลวก็มองเรื่องความกาวหนาทางวิทยาศาตรวาจะนํามาซึ่งสังคมที่

สมบูรณและมีความสุข แตที่ตองออกมาเตือนผูคนใหระมัดระวังอันตรายจากเทคโนโลยีใหมๆ อยางพันธุวิศวกรรม จุณ

เทคโนโลยี และหุนยนต ก็เพราะเขาไดเริ่มสังเกตุเห็นโอกาสความเปนไปไดที่มนุษยเราอาจจะเลนสนุกกับเทคโนโลยี จน

ประมาทเลินเลอไป และกอใหเกิดผลลัพธที่ยากจะควบคุม หรือแกไขไดในทายที่สุด

เขาเลาวาความกังวลของเขานั้นเพ่ิงเริ่มกอตัวขึ้นในชวงฤดูใบไมผลิของป 1998 น้ีเอง เม่ือเขาไดมีโอกาส

รูจักพูดคุยกับ เรย เคิรซเวล นักประดิษฐผูยิ่งใหญซ่ึงมีเครื่องชวยอานอัตโนมัติสําหรับคนตาบอดเครื่องแรกของโลก และ

สิ่งประดิษฐอีกนับไมถวนเปนหลักประกันความเปนอัจฉริยะ โดยที่ทั้ง บิลล จอย และ เรย เคิรซเวล ตางลวนไดรับเชิญให

Gnr1.doc page 7

เปนองคปาฐกในงานประชุมประจําปวาดวยเร่ือง Telecosm ซ่ึงจัดโดย จอรจ กิลเดอร ทําใหทั้งสองไดมีโอกาสมาพบปะ

สนทนากันโดยบังเอิญระหวางพักผอนอริยาบทอยูในบารภายในโรงแรมที่จัดงานประชุม

การสนทนาครั้งนั้น เริ่มขึ้นระหวางที่ บิลล จอย และเพ่ือนนักปรัชญาชาวเบิรกเลยชื่อ จอหน เซิรล

กําลังน่ังคุยกันอยูในบาร พอดี เรย เคิรซเวล ผานมาพบเขาก็เลยถือโอกาสเขามารวมวงดวย (จอหน กับ เรย นั้นเคยรูจัก

วิสาสะกันมากอน เพราะไดมีโอกาสเขาสัมนากลุมยอยมาดวยกัน) จอหน น้ันแมวาจะเปนนักปรัชญา แตก็สนใจในเรื่อง

ระบบประสาทของมนุษยเพราะกําลังทํางานวิจัยเก่ียวกับเรื่องจิตสํานึกของมนุษย (Consciousness) เม่ือไดมีโอกาส

สนทนากับนักประดิษฐผูเชี่ยวชาญดานหุนยนตและระบบการควบคุมอัตโนมัติอยางเรย และโปรแกรมเมอรมือหนึ่งอยาง

บิลล ก็เลยถกกันสนุกไป

เรย เคิรซเวล เปดประเด็นข้ึนมากอนวา พัฒนาการดานเทคโนโลยีน้ันกําลังกาวกระโดดไปอยางรวดเร็ว

และมนุษยเราก็กําลังพัฒนาตัวเองไปสูการเปนหุนยนต หรือกําลังผสานรางกายของตนเขากับเคร่ืองจักรเคร่ืองกลจนมี

สภาพเปนก่ึงๆ หุนยนต (ยกตัวอยางเชน กรณีการฝงไมโครชิปเขาไวในรางกายของ เควิน วอรวิค เพ่ือใหระบบ

คอมพิวเตอรสามารถรับสัญญาณประสาทจากรางกายของเขาโดยตรงได4) จอหน นักปรัชญาก็รีบแยงข้ึนมาทันทีวาเปนไป

ไมได เพราะหุนยนตน้ันไมมีทางจะมีจิตสํานึกได

บิลลเลาวาตัวเขาน้ันไดแตนั่งฟงเพื่อนสองคนถก

กัน เพราะแตไหนแตไรมาเขาเองก็มีความเชื่อวาเรื่อง "หุนยนตที่

มีจิตสํานึก (Sentient Robot)" น้ันมีอยูแคในนิยายวิทยาศาสตร

เทาน้ัน อยางถาบอกวาพันธุวิศวกรรม และจุณเทคโนโลยี จะ

กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขนานใหญใหกับโลก บิลลวาพอรับฟง

ได แตถาบอกวาหุนยนตจะฉลาดและมีจิตสํานึกเหมือนมนุษย เขาบอกวาทําใจยอมรับไดลําบาก อยางไรก็ตามเมื่อคําพูด

ดังกลาวมาจากปากของเรย เคิรซเวล ซ่ึงเขาออกจะศรัทธาอยูก็เลยอยากจะฟงใหชัดถึงเหตุผลและคําอธิบายเบื้องหลัง

ความคิดเห็นดังกลาว และหลังจากฟงอรรถาธิบายของเรยแลว บิลลก็เริ่มโนมเอียงไปในทางที่จะเช่ือวามนุษยเราอาจจะ

ผนึกรางกายรวมกับหุนยนตไดในอนาคต เพียงแตตัวของบิลล จอย น้ัน ออกจะมีทัศนะเรื่องเทคโนโลยีหุนยนตใน

อนาคตที่แตกตางออกไปจากแนวความเชื่อของเรย เคิรซเวล อยูสักหนอย เพราะในขณะที่เรยเช่ือวามนุษยจะไดรับแต

ประโยชนจากเทคโนโลยีหุนยนต เชน อาจจะทําใหมนุษยมีอายุยืนยาวจนเกือบจะเหมือนเปนอมตะ และมองโลกใน

อนาคตวามีลักษณะเหมือนโลกพระศรีอาริย (Utopia) แตบิลลกลับมองเห็นอีกดานหน่ึงของการพัฒนาเทคโนโลยีหุนยนต

เขามองเห็นโอกาสความเปนไปไดที่มนุษยจะพลาดทาใหกับ "หุนยนต" อันเปนเทคโนโลยีที่ตนเองสรางขึ้น และก็อาจจะ

นําพาสังคมโลกโดยรวมใหตกสูหวงเหวนรกบนดิน (Dystopia)

"ผมไมใชพวกลัดไดท" บิลล จอย

ประโยคหนึ่งที่บิลล จอย มักจะออกตัวอยูเสมอภายในบทความของเขาก็คือ "เขาไมใชพวกลัดไดท"

เพราะถาเขาเปนพวกรังเกียจเทคโนโลยีสมัยใหมอยางพวกลัดไดทจริงๆ เขาคงไมเปลืองสมองประดิษฐคิดคนเทคโนโลยี

ใหมๆ ใหกับวงการคอมพิวเตอรอยางมากมายตลอดชวงระยะเวลากวาย่ีสิบป แตเพราะเขามีความเชื่อมั่นอยางเต็มเปยม

ในคุณคาของการคนควาทางวิทยาศาสตรวาจะนํามาซ่ึงการคนพบความจริง และศรัทธาในศักยภาพของวิศวกรรมศาสตร

วาจะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพสรรพสิ่งบนพ้ืนโลก ตลอดทั้งยังมีทัศนะวาการปฏิวัติอุตสาหกรรมน้ันไดนํามาซ่ึงคุณภาพ

Gnr1.doc page 8

ชีวิตที่ดีข้ึนเปนอยางมากของมวลมนุษยชาติในชวงระยะเวลาสองทศวรรษที่ผานมา เขาจึงต้ังปณิธานไววาจะดําเนินอาชีพ

ไปในทางที่สรางสรรใหกับวงการศึกษาของโลก แมวาตนเองจะมีความสามารถเพียงแคการแกปญหาใหลุลวงไปไดทีละ

ประเด็นเทาน้ัน

(ลัดไดท เปนคําใชเรียกกลุมคนงานอังกฤษในชวงป ค.ศ. 1811 ถึง 1816 ซ่ึงไดกอการจราจล และยกพวก

เขาเผาทําลายเครื่องจักรทอผา ดวยความเช่ือวาเทคโนโลยีสมัยใหมเหลาน้ันเปนสิ่งชั่วรายที่เขามาแยงงานมนุษย และจะ

ทําใหมีการจางงานนอยลง)

นอกจากนั้น บิลล จอย ยังไดรับ

ความสําเร็จและคําช่ืนชมจากสังคมมาโดยตลอดจนยากที่เขา

จะมองเห็นเทคโนโลยีสมัยใหมเปนสิ่งเลวรายไปได วากัน

ตามจริง เขารูสึกวาผลงานของตัวเองน้ันไดออกจะมี

ผลกระทบตอสังคมคอนขางมาก และกวางขวางกวาที่

คาดการณไวเสียอีก ทําใหรูสึกเหมือนเปนภาระหนาที่ที่

จะตองทุมเทเวลา (ตลอด 20 ป) ไปกับการพยายามพัฒนา

ใหเครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องกลที่แมนยําเช่ือถือไดมาก

ที่สุด ในขณะเดียวกันก็ควรจะเปนอุปกรณอะไรที่ใชงานได

งายๆ อยางไรก็ตาม เขาถอมตัววางานที่ทํามานั้นยังไดผลที่

ไมดีนักเพราะเครื่องคอมพิวเตอรสมัยใหมก็ยังมีความ

ผิดพลาดมากเกินกวาที่มันควรจะเปนอยูดี โดยเฉพาะเรื่องความงายในการใชงานดวยแลว ยิ่งดูเหมือนวาจะไมไดรับการ

แกไขใหดีข้ึนกวาเดิมเลย ปญหาทั้งสองประการน้ียังคงเปนเรื่องทาทายนักประดิษฐในวงการคอมพิวเตอรมาโดยตลอด

แมวาตัวเครื่องคอมพิวเตอรจะไดรับการพัฒนาสมรรถนะใหสูงข้ึนไปจากเดิมเปนอยางมาก

อยางไรก็ตาม ดวยมุมมองที่ช่ืนชมในเทคโนโลยีน่ีแหละ บิลล จอย เร่ิมตระหนักวาอันตรายจาก

เทคโนโลยีนั้นมันอยูใกลตัวเราเพียงไร โดยเฉพาะเมื่อเขาอานพบบทความวาดวย สภาพอันไมพึงปรารถนา (Dystopia

scenario) ที่ปรากฏอยูในหนังสือ The Age of Spiritual Machines ของเรย เคิรซเวล ซ่ึงมีเนื้อหาสรุปไดดังนี้ :-

เร่ิมดวยการใหลองสมมติวานักวิทยาศาสตรดานคอมพิวเตอรสามารถพัฒนาเครื่องจักรที่มีความชาญ

ฉลาดสูง สามารถทํางานทุกสิ่งทุกอยางไดดีกวามนุษยขึ้นมาไดจริงๆ ในอนาคต งานทั้งหลายทั้งปวงบนโลกยอมจะถูก

สงผานไปใหสูกระบวนการของเครื่องจักรกลลวนๆ โดยไมจําเปนตองมีมนุษยเขาไปเก่ียวของ และอาจจะนํามาซึ่งผลลัพธ

2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือ การที่เคร่ืองจักรสามารถครอบครองอํานาจการตัดสินใจทุกอยางไวไดหมด ไมจําเปนตองไดรับ

การดูแลควบคุมใดๆ จากมนุษย ลักษณะที่สอง คือ มนุษยยังคงมีอํานาจตัดสินใจอยูบางในกระบวนการ แตนอยมาก และ

อยูในขอบเขตที่จํากัด แตไมวาผลลัพธจะออกมาในลักษณะใด มันคงเปนเรื่องที่โงมากสําหรับมนุษย เพราะเราจะไมมี

ทางคาดเดาไดเลยวาผลลัพธที่ไดจากการคํานวนการคาดคะเนของเครื่องจักรสมองกลน้ันจะออกมาเปนเชนไร คงไดแต

ปลอยใหชตากรรมของตนน้ันขึ้นอยูกับความเมตตา (ซึ่งอาจจะไมมี) ของเครื่องจักร

ตรงนี้ หลายคนอาจจะแยงวามนุษยเราคงไมโงพอที่จะปลอยใหอํานาจตัดสินใจทั้งหมดไปตกอยูในมอ

ของเคร่ืองจักรกล แตการสูญเสียอํานาจตัดสินใจของมนุษยใหกับเครื่องจักรน้ันอาจจะไมไดอยูที่โงหรือไมโง และนาจะ

Gnr1.doc page 9

ไมเกิดข้ึนงายๆ เหมือนในภาพยนตที่มนุษยเต็มใจยกภาระการตัดสินใจในบางเรื่องใหกับเครื่องจักรสมองกล หรือไมไดเกิด

จากการที่อยูๆ มีเครื่องจักรสมองกลฉลาดๆ ลุกขึ้นมายึดอํานาจไปเสียจากมนุษย แตนาจะเปนผลมาจากการที่เผาพันธุ

ของมนุษยเองคอยๆ ปรับตัวไปอาศัยพ่ึงพิงตนเองกับวัตถุและเครื่องจักรมากข้ึนเร่ือยๆ (ตัวอยางเรื่องการพ่ึงพา

เครื่องจักรมากเกินไปที่ผูเขียนพบกับตัวเอง คือ ระยะหลังๆ น้ี ผูเขียนพบวากระดาษคําตอบของนักศึกษามักจะมีผลการ

คํานวนที่ผิดพลาดอยางไมนาเช่ือ เชน 6 หาร 1 ได 0.5 ซ่ึงนาจะเปนผลมาจากการกดเคร่ืองคิดเลขผิด แลวตัวนักศึกษา

เองก็ไมมีสามัญสํานึกพอที่จะเตือนตัวเองไดวาผลลัพธนั้นไมถูกตอง)

จนในที่สุด แมมนุษยจะไมเต็มใจพ่ึงพาเคร่ืองจักรในการตัดสินใจก็ไมสามารถกระทําได เพราะสังคม

มนุษยจะมีความสลับซับซอนมากขึ้น ปญหาตางๆ ที่มนุษยตองเผชิญก็จะย่ิงซับซอนมากข้ึน ในขณะเดียวกันบรรดา

เครื่องจักรสมองกลทั้งหลายก็จะไดรับการพัฒนาใหมีความฉลาดมากข้ึนทุกปๆ ในอัตราที่กาวกระโดด สุดทาย เม่ือ

ปญหาที่มนุษยเผชิญน้ันซับซอนมากๆ เขา มนุษยก็ตองปลอยใหเครื่องจักรสมองกลเปนตัวแกไขและตัดสินปญหาแทนตน

ในที่สุดดวยเหตุผลงายๆ วาเครื่องจักรสมองกลสามารถตัดสินใจไดดีกวามนุษย และหลังจากน้ันไปอีกสักพัก ความ

ซับซอนของปญหาก็จะไปไกลถึงขนาดวาการตัดสินใจใหระบบคอมพิวเตอรดําเนินการหรือไมดําเนินการก็ยากเกินกวา

สติปญญาของมนุษยจะเขาไปจัดการได ตองอาศัยผลการตัดสินใจของเครื่องจักรสมองกลอีกทีหน่ึง ตรงนี้แหละที่จะนํา

ปญหามาสูมนุษย เพราะมนุษยจะเขาสูภาวะไรอํานาจการควบคุมเครื่องจักรอยางสิ้นเชิง แมแตจะสั่งใหเคร่ืองจักรปด

กระแสไฟฟาที่เขาไปเลี้ยงเคร่ืองก็ยังกระทําไมไดเพราะน่ันเทากับเปนการสั่งใหมันฆาตัวตาย (ทุกวันนี้ เราก็เริ่มมีปญหา

ในการลบโปรแกรมบางโปรแกรมออกจากเคร่ืองคอมพิวเตอรแลว)

หรือในกรณีที่มนุษยอาจจะยังคงกุมอํานาจในการตัดสินใจบางอยางไวได มันก็มีความเปนไปไดวาอํานาจ

เชนวาน้ันจะตกอยูในมือของคนกลุมเล็กๆ เฉพาะชนชั้นสูง ชนช้ันปกครอง ชาวบานสามัญธรรมดาสวนใหญอาจจะมี

โอกาสควบคุมเครื่องจักรเครื่องกลไดเฉพาะพวกเคร่ืองเล็กนอย และเครื่องจักรกลที่ไมมีความสลักสําคัญใดๆ ในสังคม

อยางรถยนตสวนบุคคล เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล หรืออุปกรณสื่อสารมือถือ ในขณะที่ธุรกิจเครือขายคอมพิวเตอร

เครือขายการสื่อสาร และเครือขายสาธารณูปโภคที่จะรองรับรถยนต และอุปกรณสื่อสารตกอยูภายใตการควบคุมของ

เจาของธุรกิจไมกี่คนที่ชนะการแขงขันแบบเสรี

ที่อาจจะเลวรายย่ิงไปกวานั้นก็คือ เม่ือเจาของทุน

เจาของธุรกิจไดครอบครองอํานาจจากการควบคุมระบบคอมพิวเตอร

ขนาดใหญไวเรียบรอยแลว สิ่งจะติดตามมาก็คือการนําเอาเครื่องจักรกล

เขามาแทนที่แรงงานมนุษยครั้งมโหฬาร และนั่นแหละคือสิ่งที่พวกลัด

ไดทเกรงกลัวก็จะเกิดขึ้นมาอยางแทจริง น่ันคือ ภาวะที่แรงงานมนุษย

กลายเปนสิ่งเหลือเฟอที่ไรประโยชน เมื่อผนวกเขากับแนวคิดรังเกียจคน

จนของคนรวยบางประเภท วันหน่ึงก็อาจจะมีคนรวยสติเฟองบางคนลุก

ขึ้นมาเสนอไอเดียใหกําจัดสิ่งเหลือเฟอไรประโยชนเหลาน้ีไปเสีย หรือ

อยางเบาะๆ ก็อาจจะหาทางควบคุมไมใหมีจํานวนประชากรระดับลาง

มากเกินไป โดยอาจจะใชวิธีโหมโฆษณาชวนเชื่อ ลอลวงใหเชื่อดวยกลไก

ทางจิตวิทยา หรือแมกระทั่งการสังเคราะหเชื้อโรค หรือสารเคมีชีวภาพ

ขึ้นมาเพื่อควบคุมอัตราการเกิดของประชากรใหเหลือนอยที่สุดเทาที่จะนอยได และหนักเขาหนักเขา ตัวมนุษยก็เลยเสี่ยง

Gnr1.doc page 10

กับภาวะสูญพันธในยามที่มีโรคระบาดรายแรง ทุกภิขภัย หรือสงครามโลกข้ึนมาอีกสักคร้ังหน่ึง จนในที่สุดก็อาจจะเหลือ

มนุษยอยูแคเพียงพวกที่มีทุนทรัพยเหลือเฟอเพียงพอที่จะปกปองตนเองจากทุพพิขภัยเหลาน้ันได เรียกวาสมใจของพวก

คนรวยไรศีลธรรมเหลาน้ันไปจนได

หรือหากจะมองโลกในแงดีกวาน้ันขึ้นมาสักนิด คนรวยที่มีทั้ง

เงินทุน อํานาจปกครอง และเทคโนโลยี อาจจะเปนพวกเสรีนิยมจิตใจออนโยน มี

เมตตาตอประชากรสวนใหญที่ดอยฐานะดอยโอกาสกวาตน และพยายามทุก

วิถีทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูคนในสังคม ทําใหชีวิตของประชาชนเต็ม

ไปดวยความสุข ความสะดวกสบาย ปลอดจากความทุกขหรือขอยุงยากในการ

ดํารงชีวิต และหากมีใครยังมีขอคับของใจอยูอีกก็ใชวิธีสงเขาคอรสบําบัดเปน

รายๆ ไป ฟงเผินๆ เหมือนกับวาน่ีแหละคือโลกพระศรีอาริยในอุดมคติ (แต

คําถามที่ตามมาวามนุษยสามารถกําจัดกิเลศความยากมีอยากไดที่ไมรูจักพอของ

ตนไดจริงๆ ละหรือ โดยเฉพาะกิเลศในเรื่อง "อํานาจ" ที่ทําใหโลกวุนวายมา

โดยตลอดชั่วประวัติศาสตรของมนุษย)

แนนอน ชีวิตที่อยูสบายไปวันๆ นั้นดูจะไรความหมายจนอาจตองใชเทคนิคชีววิศวกรรม (Biological

engineer) หรือจิตวิศวกรรม (Psychological engineer) มาบําบัดใหมนุษยไมมีความปรารถนาในอํานาจอีกตอไป

(อาจจะใชวิธีเปลี่ยนอารมณรุนแรงไปเปนการระบายออกที่สังคมยอมรับ อยางการเลนกีฬา หรือดนตรี ฯลฯ อยางที่บาน

เรานิยมกัน) ซ่ึงก็จะเกิดคําถามตอไปอยางไมสิ้นสุข เชนวาชีวิตแบบนั้นจะมีความหมายอะไร ? ภาวะเชนนั้นเปนความสุข

เปนความเสรีจริงหรือ ? ถาจริง ทําไมมนุษยตองถูกบังคับใหอยูแตในกรอบใหมีความคิดไดแตเฉพาะที่ผูบริหารตองการ ?

และคําถามที่หนักหนวงมากๆ ก็คือ ภาวะเชนน้ัน มนุษยจะมีความแตกตางอะไรกับสัตวเลี้ยงในฟารมของคนรวย ?

(หมายเหตุ บท Dystopia Scenario น้ี เรย เคิรซเวล ไมไดเขียนเอง แตใชวิธีคัดจากคําแถลงการณที่

ถูกตีพิมพอยูในหนังสือพิมพ นิวยอรคไทม และ วอชิงตันโพสต ของ ธีโอดอร คาซินสก้ี นักขูวางระเบิดชื่อดังของโลก โดย

แถลงการณนี้ไดรับการตีพิมพพรอมกันในหนังสือพิมพยักษใหญสองฉบับดังกลาวเพ่ือแลกกับเง่ือนไขวาคาซินสกี้จะหยุด

การวางระเบิดของตนลง ซึ่งตอมาตัวคาซินสก้ีเองไดสารภาพไวในหนังสือ "Drawing Life : Suviving the Unabomber"

วาเขาเองน้ันเกือบจะเปลี่ยนใจยกเลิกการตีพิมพแถลงการณอ้ือฉาวทางหนังสือพิมพคร้ังนั้นแลว ดีวาทางหนังสือพิมพไมได

ถามยํ้ากลับมา5

ขอคิดจากคําเตือนของอัจฉริยะโรคจิต

ความนาสนใจของเน้ือหาในบท Dystopia Scenario ของหนังสือ

The Age of Spiritual Machines ไมไดอยูตรงที่มันเตือนสติมนุษยใหระแวงถึง

อันตรายจากเคร่ืองจักรสมองกลเทานั้น แตยังสืบเน่ืองมาจากตัวเจาของทัศนะ "ธี

โอดอร คาซินสกี้" ผูซ่ึงทั่วโลกรูจักกันในฐานะอัจฉริยะโรคจิต ศิษยเกาของ

มหาวิทยาลัยฮารวาดที่ไดชื่อวาดีที่สุดแหงหน่ึงของโลก มหาวิทยาลัยแหงน้ีไดชื่อวา

พิถีพิถันอยางมากในการคัดเลือกนิสิตเขาไปเรียน แตศิษยเกาไอคิวสูงจนเพ้ียน

อยางธีโอดอร หรือเธ็ด คาซินสก้ี กลับสรางช่ือเสียงในทางรายดวยการขูวางระเบิด

Gnr1.doc page 11

ตามสถานที่สาธารณะไปทั่ว (Unabomber) มีทั้งขูจริงและขูหลอกตลอดระยะเวลา 17 ป กอนที่จะถูกจับตัวได ที่ขูจริง

นั้นทําใหมีคนตาย 3 คน และบาดเจ็บอีกมากมาย สวนที่ขูหลอกและทําใหผูคนตองเสียขวัญอีกนับไมถวน

หน่ึงในผูพิการจากการวางระเบิดคือ เดวิด เกเลินเทอร นักวิทยาศาสตรผูเช่ียวชาญดานคอมพิวเตอรซ่ึงได

ชื่อวามีความเฉลียวฉลาดและวิสัยทัศนล้ําหนาที่สุดคนหนึ่งในยุคน้ัน และดวยความที่เดวิด เกเลินเทอรคือหนึ่งในเพ่ือน

สนิทของบิลล จอย จึงทําใหบิลลเองอดกังวลวาตัวเองอาจจะกลายเปนเหย่ือระเบิดเขาสักวันหน่ึงจนไดในชวงเวลาขณะนั้น

และถึงแมกระทั่งปจจุบันนี้ที่ เธ็ด คาซินสกี้ ประกาศวางมือจากพฤติกรรมโฉดที่วาไปแลว บิลลก็ยังยากที่จะทําใจใหอภัย

ได อยางไรก็ตาม ไมวา เธ็ด คาซินสกี้ จะมีความไรมนุษยธรรม หรือแสดงทัศนคติแบบพวกลัดไดทออกมาอยางชัดเจน

เพียงไร บิลล จอย ก็ยังเชื่อวาเราไมควรจะปฏิเสธไมรับฟงความคิดเห็นใดๆ จากคาซินสก้ี โดยเฉพาะในเร่ืองภาวะ

คุกคามจากเครื่องจักรสมองกล

โดย บิลล จอย ยังมีความรูสึกวาทัศนคติในเรื่อง Dystopia ของคาซินสก้ีออกจะเปนการมองโลกในแงดี

เกินไปเสียดวยซ้ํา ที่คาดการณวาความผิดพลาดของมนุษยเปนผลมาจากความไมต้ังใจ การคาดการณไมถึง และเหตุ

บังเอิญเหลานี้ก็เกิดตอเนื่องกันไปเรื่อยจนนําไปสูสภาพการณที่เลวรายที่สุดตามกฏของเมอรฟ ที่บอกวา "อะไรก็ตามที่มี

โอกาสผิดพลาด มันยอมจะเกิดผิดพลาดข้ึนมาจนได" (อันที่จริง ประโยค "Anything that can go wrong, will" ที่ผูคน

สวนใหญเชื่อวาเปนกฏของเมอรฟ และมักจะนํามาอางกันอยูเรื่อยน้ัน เปนกฏของฟนนาเก้ิลตางหาก) ตัวอยางของ

ขอผิดพลาดอันไมตั้งใจของมนุษยน้ันไดแก การโหมใชยาปฏิชีวนะกันอยางบาคลั่งไรการควบคุม จนสุดทายไดกอใหเกิด

ปญหาที่หนักนากวาปญหาโรคติดตอเดิมๆ ที่มนุษยตองเผชิญ น่ันคือ การด้ือยาอยางมโหฬารของประดาเช้ือโรค และการ

กอกําเนิดของเชื้อโรคชนิดใหมที่อันตรายย่ิงข้ึนกวาเดิม หรืออยางการโหมใชดีดีทีเพ่ือกําจังยุงที่เปนพาหะของเช้ือ

มาเลเรียนั้นก็นํามาซ่ึงยุงที่เด้ือตอดีดีที และตัวเชื้อมาเลเรียที่เด้ือตอยาฆาเชื้อสารพัดชนิด

บิลล จอย ยืนยันวาประสบการณ

ของมนุษยชาติคือสิ่งที่บอกใหเรารูไดอยางชัดเจนวา

ผลลัพธอันไมพึงประสงคซ่ึงมนุษยเองไมเคยได

คาดการณไปถึงเหลานั้น (เช้ือดื้อยา ยุงดื้อดีดีที มี

เช้ือโรคใหมๆ อันตรายมากกวาเดิม) มีสาเหตุมา

จากกลไกทางธรรมชาติอันสลับซับซอน เกี่ยวพันถึง

ปฏิกิริยาระหวางองคประกอบตางๆ จํานวนมาก

เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงข้ึนกับสวนใดสวนหน่ึงของ

กระบวนการมันยอมสงผลกระทบ และมี

ผลตอบสนองมาจากองคประกอบอ่ืนๆ ติดตาม ย่ิง

กลไกลมีความสลับซับซอนมากข้ึนเทาไร เราก็ย่ิง

จะคาดการณถึงผลลัพธของการเปลี่ยนแปลงได

ยากเย็นมากข้ึนเทานั้น และจะย่ิงคาดเดาผลลัพธแทบไมไดเลยหากในกระบวนการเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีมนุษยเขาไป

เกี่ยวของดวย (พูดงายๆ วาเม่ือไรมีคนเขายุงดวย มันก็จะคนกันจนยุง จนไมรูวาจะไดผลออกมายังไงนั่นแหละ)

ทั้งหมดน้ีคือ ขอสรุปที่บิลล จอย ได หลังจากการอานหนังสือของเรย เคิรซเวล และพินิจพิจารณา

เนื้อหาในสวนของ Dystopia scenario ของเธ็ด คาซินสก้ี แตน่ันก็ย่ิงทําใหเขาจบไมลง เขาเที่ยวตระเวณพูดคุยกับ

Gnr1.doc page 12

เพื่อนวิทยาศาสตรดวยกัน โดยเปดประเด็นดวยเน้ือหาในหนังสือของเรย เคิรซเวล แลวเฝาดูปฏิกิริยาตอบสนองหลังจาก

เพื่อนๆ ไดรับทราบวาเจาของไอเดียเร่ืองการสูญพันธของมนุษยน้ันมาจากทัศนะของอัจฉริยะโรคจิตอยางเธ็ด คาซินสกี้

ปรากฏวา ปฏิกิริยาจากบรรดาเพ่ือนๆ นักวิทยาศาสตรนั้นออกจะสรางความพิศวงกับตัวเขาไมใชนอย เพราะ

นักวิทยาศาสตรสวนใหญมักจะแสดงความคิดเห็นไปในทางสนับสนุนแนวคิดของเธ็ด คาซินสก้ี !!!

มนุษย vs หุนยนต

ตัวอยางหนึ่งที่บิลล จอย เห็นวาสนับสนุนทัศนะเรื่อง Dystopia ของเธ็ด คาซินสกี้ คือหนังสือช่ือ

"Robot : Mere Machine to Transcendent Mind" ของ ฮาน มอราเว็ก นักวิจัยมือหน่ึงดานหุนยนต และเปนหน่ึงในผู

รวมกอต้ังโครงการวิจัยหุนยนตที่ใหญที่สุดในโลกที่มหาวิทยาลัยคารเนกี เมลอน โดยมอราเว็กไดจุดประเด็นเก่ียวกับการ

แขงขันกันระหวางมนุษยกับหุนยนตซึ่งนาคิดวาความรูดานวิวัฒนาการไดสอนใหเราไดรับรูถึงกฏธรรมชาติอยางหน่ึง นั่นคือ

"สิ่งมีชีวิตสายพันธที่ออนแอน้ันแทบจะไมเคยดํารงเผาพันธุของตนเองไวไดในสภาพที่มีตองมีการแขงขันกับสิ่งมีชีวิต

ประเภทอ่ืนที่แข็งแกรงกวาไดเลย"

เชน ทวีปอเมริกาเหนือและใตที่เคยถูกแบงแยกออกจากกันดวยทะเลทางแถบชองแคบปานามา เคยมี

หลักฐานวาทางแถบอเมริกาใตน้ันมีสิ่งมีชีวิตประเภทมาซูเพียล (สัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม มีกระเปาหนาทองคลายจิงโจ)อยู

ชุกชุมมาก แตหลังจากเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลง ผืนพิภพใตสมุทรถูกดันข้ึนเหนือนํ้าจนทําใหทวีปอเมริกาเหนือและ

ใตถูกเช่ือมเขาดวย ผลกลับกลายเปนวาพวกมาซูเพียลทางใตตองสูญพันธไปจนหมดสิ้น เพราะไมสามารถหากินแขงกับ

บรรดาเสือ สิงห กระทิง แรด จากภาคเหนือที่มีความวองไวกวา มีระบบประสาทที่เจริญกวา และมีความสามารถในการ

สืบพันธุที่ดีกวาได

กระนั้น กฏแหงวิวัฒนาการและการอยูรอดตามธรรมชาติน้ีมักจะบิดผันไปบางเมื่อมีมนุษยเขาไป

เกี่ยวของ เพราะมนุษยมักจะคัดเลือกสายพันธุที่ตนเองนิยมชมชอบมากกวาสายพันธุที่ดีกวาตามธรรมชาติ ยกตัวอยางเชน

สุนัขพันธุปกกิ่งที่รวบรวมเอาความดอยทุกอยางเขามาไวในตัว ไมวาจะเปนตาปูดโปนที่ชิดจนมองอะไรไมคอยชัด จมูกที่สั้น

จนนาเปนหวงวาอาจจะเสียความสามารถในการดมกลิ่นอันเปนคุณสมบัติเดนของสุนัขไป นอกจากน้ัน โพรงจมูกที่สั้น

เตอยังสงผลใหมันติดเข้ือหวัดไดคอนขางงาย เม่ือผนวกเขากับการที่มันมีขนยาวและข้ีรอนก็ยิ่งเอ้ือใหติดหวัดไดงายข้ึนไป

อีก ที่สําคัญ หลายคนที่เคยเลี้ยงเจาอัปลักษณพวกน้ีมากอนยังยืนยันวามันมีอุปนิสัยที่ไมนารักเอามากๆ อีกดวย คือ

จองหอง ไมรูจักประจบเอาใจเจานาย และเอาใจยาก ซ่ึงเทาที่ผานมาน้ัน มนุษยไมคอยจะใหความสนใจเกี่ยวกับกฏการ

แขงขันตามธรรมชาติกันสักเทาใดนัก เพราะถึงยังไงมนุษยก็ยังคงเปนสิ่งมีชีวิตที่ฉลาดเหนือกวาบรรดาสรรพสัตวทั้งปวง

แตเมื่อเคร่ืองจักรสมองกลที่มนุษยประดิษฐข้ึนมาเริ่มจะมีความฉลาดแซงหนามนุษยไปบางนี่แหละ ที่ทําใหมนุษยหลายๆ

คนเริ่มกลับมากังวลสนใจวาตัวเองกําลังจะเปนเหมือนมาซูเพียลในทวีปอเมริกาใตที่ตองสูญพันธุไปเพราะแขงขันกับ

หุนยนตไมไดหรือเปลา ?

คําถามที่มนุษยเราควรจะถามตัวเองก็คือ ทุกวันน้ีใครมีความสามารถในการตอสูแขงขันมากกวากัน

ระหวางหุนยนตกับมนุษย หากคําตอบคือมนุษยก็อาจจะตองถามตัวเองตอไปวา ที่วาเหนือกวานั้นเปนเพราะสภาพ

กติกาการแขงขันที่มนุษยเปนกําหนดหรือเปลา หากแมนวาคําตอบคือการแขงขันนั้นเสรีจริงๆก็พอจะใจชื้นไดบางวา

มนุษยยังคงเหนือกวาหุนยนตเคร่ืองจักรจริงๆ แตมันก็เปนความช้ืนใจระยะสั้นๆ เทาน้ัน เพราะตองไมลืมวากวามนุษย

จะวิวัฒนาการมาไดถึงขนาดนี้ตองอาศัยเวลารวมหมื่นป ในขณะที่หุนยนตซ่ึงเริ่มจะขึ้นมาแขงกับเรานั้น เพ่ิงมีวิวัฒนาการ

Gnr1.doc page 13

มาไดไมถึงศตวรรษเลย (หมายเหตุ เม่ือบิลล จอย พูดถึงการแขงขันเสรีกับการสูญพันธุ ทําใหผูเขียนอดนึกเปรียบเทียบ

กับสภาพเศรษฐกิจของไทยไมได มันเหมือนกันกับตลาดการคาเสรีที่ไทยเราชื่นชมกันนักหนาในชวงทศวรรษที่ผานมา แลว

ก็ทําใหธุรกิจการคาในมือคนไทยพากันสูญพันธุไปตามๆ กัน)

ดังน้ัน หากเราใชสมการทางคณิตศาสตรงายๆ คํานวนเปรียบเทียบอัตราเร็วในการพัฒนาคุณภาพ

ระหวางมนุษยกับหุนยนต เราก็จะพบวามนุษยเรานาจะถูกแซงไปโดยหุนยนตไดในช่ัวระยะเวลาอีกไมนานนัก ย่ิงเม่ือ

พิจารณาจากสภาพการแขงขันระหวางบรรดาอุตสาหกรรมหุนยนตดวยแลว เราก็จะพบวาวิวัฒนาการของหุนยนตนั้น

เปนไปอยางรวดเร็วพอๆ กับวิวัฒนาการในแวดวงอุตสหากรรมคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกสเลย เพราะยิ่งหุนยนตไดรับ

การพัฒนามาขึ้นเทาไร มันก็หมายถึงตนทุนดําเนินการของธุรกิจที่ลดลง ทั้งในแงวัตถุดิบ พลังงาน และพ้ืนที่ประกอบการ

ซึ่งเม่ือไรที่หุนยนตไดรับการพัฒนาไปจนถึงขั้นทํางานแทนมนุษยไดทีละมากๆ และในทุกสายงาน วันนั้น ก็อาจจะมี

นายทุนบางคนลุกข้ึนมาบอกวาจะจางคนไปทําไมในเมื่อจางหุนยนตประหยัดกวาต้ังไมรูก่ีเทา (วากันตามจริง ทุกวันน้ีก็มี

สภาพเชนน้ีอยูแลวเพียงแตหุนยนตยังคงถูกจํากัดใหทํางานแทนมนุษยไดเฉพาะบางงาน และมนุษยก็ยังคงไดรับประโยชน

จากสมรรถนะที่เพ่ิมข้ึนของหุนยนต จนอาจเรียกวามนุษยเสวยสุขจากแรงงานสวนเกินของหุนยนตก็วาได)

สําหรับคําถามที่หลายคนสนใจใครรูวา มนุษยเราจะถูกหุนยนตวิวัฒนาการแซงหนาไปเม่ือไรแน ? น้ัน

ฮาน มอราเว็ก ไมไดคาดการณออกมาเปนตัวป ค.ศ. ที่ชัดเจน เขาเพียงแตบอกวาในคริสตศตวรรษที่ 21 น้ัน งานหลักๆ

ของมนุษยจะยังไดรับความรวมมือชวยเหลือเปนอยางดีจากหุนยนต เพียงแตอาจจะตองมีกฏบัตรกฏหมายออกมาเปน

ลายลักษณอักษรที่ชัดเจนวาหุนยนตทําอะไรได และทําอะไรไมไดบาง คลายๆ กับกฏของหุนยนต 3 ขอ ที่เคยปรากฏอยู

ในงานเขียนของ ไอแซ็ค อาซิมอฟ มากอน ตลอดจนตองมีการ

กําหนดออกมาดวยวาการทําอันตรายแกมนุษยน้ันหมายถึงการ

กระทําลักษณะใดบาง สิ่งที่นาเปนหวงที่สุดคือจุดที่หุนยนตมีการ

พัฒนาไปสูภาวะ "หุนยนตฉลาดล้ําซึ่งไมอยูภายใตการควบคุม

(Unbounded superintelligent Robot)" เพราะเม่ือไรที่ถึงจุดน้ัน

มนุษยก็เตรียมเผชิญหนากับการสูญพันธุไดเลย

ทําไมคนเราถึงไมกลัวเทคโนโลยีใหมๆ

ในหนังสือ The Age of Spiritual Machines น้ัน

ยังมีการกลาวอางถึงคําพูดของแดนนี่ ฮิลลิส ปรมาจารยคอมพิวเตอร

ผูเช่ียวชาญดานวิทยาศาสตรกายภาพ สารสนเทศ และการคาดคะเน

อนาคตซ่ึงระบุวา ตัวเขาเองนั้นแมวาจะพึงพอใจกับรางกายตาม

ธรรมชาติของตนเชนเดียวกับผูคนทั่วไป แตถาหากการผนวกรางกาย

ของตนเขากับช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสแลวสามารถทําใหมีอายุยืนถึง

200 ป ได เขาก็ยินดีทดลองทํา และดูเหมือนวาตัวแดนน่ี อิลลิส จะ

เห็นดีเห็นงามไปกับทิศทางการพัฒนาดานเทคโนโลยีหุนยนตอยาง

Gnr1.doc page 14

เต็มที่ แมวามันอาจจะมีความเสี่ยงบางอยางติดตามมา และตรงน้ีเองที่ทําให บิลล จอย เกิดความสนอกสนใจขึ้นมาวา

ทําไม แดนน่ี อิลลิส ผูซึ่งเขาใหความนับถือมานานจึงมีมุมมองที่ตางออกไปเชนน้ัน จนตองขอนัดเพ่ือพบปะสนทนา

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันสักที

(วงการคอมพิวเตอรตางลวนรูจักชื่อของ แดนน่ี ฮิลลิส กันเปนอยางดี ในฐานะของหน่ึงในผูรวมกอต้ัง

บริษัท Thinking Machine Corporation และเปนผูประดิษฐเคร่ืองซูเปอรคอมพิวเตอร paraellel supercompter ซ่ึง

ทํางานดวยระบบขนานจึงมีสมรรถนะในการประมวลผลสูงมาก นอกจากน้ัน ยังมักออกมาเตือนใหผูคนมองอนาคต

ออกไปในระยะยาวบาง เชน เมื่อสี่ปที่แลว เขาไดกอตั้งสถาบัน Long Now Foundation ซ่ึงเปนเจาของประดิษฐกรรม

"นาฬิกา" ที่มีอายุการทํางานถึง 100 ศตวรรษ เพ่ือเปนสัญญลักษณเตือนใหผูคนในสังคมมองไกลออกไปถึงอนาคต

ขางหนา)

หลังจากนัดหมายดินเนอรกันเสร็จสรรพ บิลล จอย ก็รีบจับเครื่องบินไปยังลอสแองเจลิสเพ่ือพบกับสอง

สามีภรรยา แดนน่ี-พาติ และก็เชนเดียวกับที่เคยทําในการสนทนาเพ่ือนนักวิทยาศาสตรรายอื่นๆ บิลล จอย เปดประเด็น

เขาเรื่องดวยเนื้อหาในหนังสือ The Age of Spiritual Machines ของเรย เคิรซเวล ซ่ึงก็ไดรับคําตอบจากแดนนีกลับมา

ในแทบจะทันทีวา มนุษยจะปรับตัวยอมรับเทคโนโลยีหุนยนตไดอยางไมมีปญหา เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหลายจะ

เปนไปในลักษณะคอยเปนคอยไป ทําใหมนุษยเกิดความคุนเคยกับตัวเทคโนโลยี

การสนทนานั้นเลื่อนไหลจากเรื่องหนังสือของเรย เคิรซเวล, เธ็ด คาซินสกี้, และ ฮาน มอราเว็ก ซึ่งตัว

บิลล จอย บอกวาพอคุยเรื่องพวกนี้มากๆ เขาทําใหเขาประหวัดไปถึงเร่ืองราวของนิยายวิทยาศาสตรเกาๆ ที่เขาเคยอาน

สมัยเด็กๆ อยาง เรื่อง "เชื้อโรคสีขาว (The White Plaque)" ของแฟรง เฮอรเบิรต และตัวหุนยนตไซบอรก (Borg) ใน

ภาพยนตโทรทัศนสตารเทร็ค ฯลฯ แลวก็เลยอดสงสัยไมไดวา แดนน่ี ฮิลลิส น้ันไมเคยดูหนังหรืออานหนังสือประเภทน้ี

มาบางหรืออยางไร ถึงดูเหมือนจะไมมีความวิตกกังวลเก่ียวกับผลดานลบอันสืบเน่ืองมาจากเทคโนโลยีเลย

อยางในเร่ือง "เช้ือโรคสีขาว" น้ัน ตัวเอกของเรื่องเปนนักชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular Biologist)

ผูซ่ึงเปนบาไปจากการสูญเสียครอบครัวไปโดยเหตุฆาตกรรมซึ่งเกิดข้ึนอยางไรเหตุผล ทําใหเขาถือโกรธผูคนทั้งโลก แลวก็

เลยคิดคนและพัฒนาเช้ือโรคติดตอประเภทหน่ึงขึ้น เชื้อโรคที่กอใหเกิดพยาธิสภาพรายแรงถึงตาย ติดตอและแพรกระจาย

ไดงาย แตในทางกลับกันมันก็เปนเชื้อพิเศษที่จะเกิดโรคกับเฉพาะหมูชนบางกลุม

บางเชื้อชาติเทาน้ัน (โชคดีที่ เธ็ด คาซินสก้ี เรียนมาทางดานคณิตศาสตร ไมใช

ทางชีววิทยา ไมงั้นโลกเราอาจจะไดเผชิญหนากับเช้ือโรค White Plaque ของ

จริงก็ได แทนที่จะเปนการขูวางระเบิดที่มีระเบิดจริงบางเกบาง) ในขณะที่ตัว

หุนยนต Borg ในภาพยนตสตารเทร็คน้ันก็เปนหุนก่ึงเครื่องจักรก่ึงมีชีวิต มี

อุปนิสัยนิยมการทําลายลาง

คําตอบที่ บิลล จอย พอจะนึกไดวาทําไมผูคนถึงไมคอยวิตกกังวล

ถึงผลดานลบของเทคโนโลยี ก็คือ ทัศนคติที่มีมนุษยมีกับสิ่งของที่เรียกวาของใหม (New) เดี๋ยวน้ีคนเรามักทัศนคติเชิง

บวกกับอะไรที่เปนของใหม ยอมรับเขามาเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจําวันไดอยางงายๆ โดยการยอมรับนั้นก็ไมคอยจะมี

การตั้งคําถามกับตัวเองเสียดวยวาทําไมถึงตองใชไอของใหมๆ เหลาน้ี (เรียกวารูสึกโกเกหากจะมีใครปอยอวาเปนคนรุน

ใหมจนกลัวจะเสียหนาถาตองถามถึงเหตุผล)

Gnr1.doc page 15

"เทคโนโลยีจีเอ็นอาร" มหันตภัยศตวรรษท่ี 21

บิลล จอย สรุปวาเทคโนโลยีที่อันตรายที่สุดในยุคปจจุบัน คือ เทคโนโลยีจีเอ็นอาร อันประกอบไปดวย

พันธุวิศกรรม (G) จุณเทคโนโลยี (N) และหุนยนต (R) เพราะทั้งสามอยางน้ีมีแนวโนมที่จะพัฒนาขึ้นอยางรวดเร็ว

(Amplifying factor) มีโอกาสที่อาจจะเติบโตขยายปริมาณขึ้นมาไดดวยตัวของมันเอง (Self-replicate) และถาไม

ระมัดระวังใหดี ผลผลิตจากเทคโนโลยีเหลานั้นอาจจะเติบโตข้ึนมากจนเกินกวากําลังความสามารถของมนุษยที่จะควบคุม

มัน (Out of control) ไดอยางงายดาย

เทคโนโลยีสมัยใหมอ่ืนๆ อยางเทคโนโลยีคอมพิวเตอรนั้น แมวาจะมีคุณสมบัติที่นากลัวสามอยางคลายๆ

กับเทคโนโลยีจีเอ็นอาร แตสิ่งที่เกิดขึ้นและเพ่ิมปริมาณไดเองจนยากจะควบคุมภายในเครือขายคอมพิวเตอรน้ันอยางมาก

ก็เปนแคการรับ/สงขอมูลไปมาระหวางเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งนาจะกอใหเกิดความวิตกรําคาญเฉยๆ อยางการสง อีเมล

ขยะ การทําใหการสื่อสารของเซิรฟเวอรเกิดคับค่ังจนกระทั่งทําใหเครื่องดาวน การแฮ็คขอมูลบัตรเครดิต หรือการวางยา

ดวยไวรัส ฯลฯ ไมใชภยันตรายที่รายกาจรุนแรงถึงขนาดที่จะทําใหมนุษยสูญพันธุ

ความนากลัวอีกอยางของเทคโนโลยีจีเอ็นอาร อยูตรงที่มันใชหนทางในการบรรลุเปาหมายชีวิตในเชิง

อุดมคติของมนุษยชาติมาเปนตัวลอ ไมวาจะเปนการมีอายุยืนยาวจนเขาใกลอมตะเพราะอาศัยช้ินสวนอวัยวะเทียมจาก

เทคโนโลยีหุนยนตและจุณเทคโนโลยี หรือการตัดแตงเอาพันธุกรรมแยๆ ทิ้งไป , การปลอดจากการติดเชื้อโรคติดตอใดๆ

เพราะมีเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมมาผลิตยาสําหรับกําจัดเช้ือโรคไดทุกชนิด, การมีแหลงอาหารอุดมสมบูรณเพียงพอที่จะ

เลี้ยงดูมนุษยไดทั้งโลกโดยเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ซึ่งเลือกคัดเฉพาะสายพันธของธัญพืชที่เติบโตไดดีในทุกภาวะอากาศ

และทนตอแมลงมาปลูก หรือการใชชีวิตในโลกพระศรีอาริยที่เต็มไปดวยอุดมสุขตามคตินิยมทางศาสนาดวยสิ่งประดิษฐ

จากเทคโนโลยีทั้งสามน้ี ฯลฯ โดยลืมไปวาเทคโนโลยีทุกอยางน้ันเหมือนดาบสองคม

อยางในศตวรรษที่แลวนั้น (คริสตศวรรษที่ 20) มนุษยเองก็เคยตองวิตกกังวลกับภาวะดาบสองคมอัน

สืบเน่ืองจากการประดิษฐคิดคนทางวิทยาศาสตรมาแลว อันไดแก ประดาอาวุธยุทธภัณฑที่มีขีดความสามารถในการ

ทําลายชีวิตมนุษยทีละมากๆ (WMD: Weapons of Mass Destructive) อยางเทคโนโลยีนิวเคลียร อาวุธชีวภาพ และ

อาวุธเคมี ซ่ึงในตอนแรกผูประดิษฐมักจะอางวาพัฒนาข้ึนมาเพ่ือวัตถุประสงคอยางอ่ืน ตอมาเมื่อตองประดิษฐข้ึนมาใน

รูปอาวุธก็อางวามีเจตนาเพื่อขูและปองกันไมใหเกิดสงครามมากกวาจะหวังใชงานจริงๆ แตในที่สุดก็มีการใชระเบิด

ปรมาณูของจริงที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ สวนอาวุธเคมีและชีวภาพนั้นก็มีขาวที่ไมยืนยันวาถูกนํามาใชจริงในหลายๆ

สมรภูมิ (เร่ืองฮิโรชิมา และนางาวากิน้ีติดใจผูเขียนมานาน ดวยเคยสงสัยวาหากสหรัฐอเมริกาจะใชวิธีทิ้งระเบิดลงไปบน

เกาะรางขางญี่ปุนเพ่ือขูจะไดผลเหมือนกันไหม หรือถา

คิดวาจําเปนตองทิ้งใสผูคนจริงๆ ทําไมแคฮิโรชิมาไมพอ

ทําไมตองเอาชีวิตผูคนตาดําๆ ในนางาซากิมาสังเวยดวย

และถาเปลี่ยนจากเทคโนโลยีนิวเคลียรไปเปน

เทคโนโลยีชีวภาพที่ฆาคนผิวเหลืองตาตี่ๆ อยางญี่ปุนไดทั้ง

โลก ทีมงานวิจัยของสหรัฐฯ จะนําออกมาใชไหม ?)

อยางไรก็ตาม ความกังวลของในเรื่องสงครามเย็น อาวุธนิวเคลียร อาวุธชีวภาพ และอาวุธเคมีน้ันยัง

เปนเรื่องที่คอนขางไกลตัว และมีโอกาสเกิดขึ้นไดยาก เนื่องจากตองใชทุนทรัพยสูง ตองใชวัตถุดิบเฉพาะซ่ีงอยูภายใตการ

ควบคุมหลายชั้นไมใชใครตอใครจะมีไวครอบครองไดโดยงาย เพราะมีทั้งรัฐบาลทองถิ่น รัฐบาลประเทศ (หรือรัฐบาล

Gnr1.doc page 16

สหพันธรัฐ) และตํารวจโลกคอยถือไมเรียวกําชับอยูถึงสามช้ัน อีกทั้งยังตองใชแรงงานเขามาขวยในกระบวนการผลิต

จํานวนมากอีกดวย จนอาจกลาวไดวามหันตภัยแหงศตวรรษที่ 20 (WMD) นั้นเปนเร่ืองของรัฐตอรัฐ หากจะมีการ

นํามาใชจริงก็จะตองเปนขอผิดพลาดที่คอนขางวิกฤตจริงๆ (อยางกรณีอินเดีย-ปากีสถานน้ันเขาใจวาคงจะยังไมวิกฤตจริง

เพราะไดแตฮ่ึมๆ ขูกันไปขูกันมา )

ผิดกับมหันตภัยยุคใหมอยางเทคโนโลยีจีเอ็นอาร ซ่ึงหองแล็บดีๆ

สักหองก็อาจจะมีไวครอบครองไดในอนาคต เพราะของพวกน้ีอาศัยการขวนขวายหา

ความรูเปนกระบวนการผลิต ไมจําเปนตองไปสั่งซื้อหรือนําเขาวัตถุอันตรายอะไรมา

ใหเปนที่ผิดสังเกตุของรัฐ เผลอแผล็บเดียวโลกเราก็อาจจะมีสิ่งประดิษฐจาก

เทคโนโลยีจีเอ็นอารอยูทั่วไปในทุกหองแล็บ และเม่ือวันนั้นมาถึง ใครจะเช่ือไดวาไม

มีคนสัพเพรา หรืออัจฉริยะเพ้ียนอยูในหองแล็บใดหองแล็บหนึ่งทําการพัฒนาผลิตผล

ที่สามารถพัฒนาตัวเอง (self-assembling) เพ่ิมปริมาณไดเอง (Self Replicating)

จนกระทั่งกลายมาเปนอาวุธมหาประลัยที่พรอมจะลางมนุษยใหสิ้นเผานพันธุลงไปได

เสียในทีเดียว อาวุธประลัยกัลปที่เกิดมาจากความแสนรู (KMD : Knowledge-

enabled mass destruction) แตไมเปนผูรูของมนุษยเอง

(โปรดติดตามตอนหนา GNR : episode II, “จีเอ็นอาร : ภัยแฝงเรน”

เอกสารอางอิง

1. Bill Joy “Why the future doesn’t need us.” WIRED, APRIL 2000, 238 – 262

2. Tom Craver ([email protected]) “what is NanoTechnology” http://nanozine.com/WHATNANO.HTM

3. Isaac Asimov “Robot” 1950

4. สุรพล ศรีบุญทรง “เควิน วอรวิค มนุษยคอมพิวเตอรป 2000” IT Soft Vol 8, No 98, 145 – 153

5. Theodore kaczynski “Drawing Life : Surviving the Unabomber” FreePress, 1997: 120