First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

283

description

 

Transcript of First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

Page 1: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
Page 2: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอนแลวศึกษาและสอนใหไดผล

พระพรหมคณุาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติทุนพิมพหนังสือวัดญาณเวศกวัน

มกราคม ๒๕๔๗

Page 3: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล© พระพรหมคณุาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)ISBN

พิมพรวมเลมครั้งแรก - มกราคม ๒๕๔๗ ๓,๕๐๐ เลม- มงคลวารคลายวันเกิด ของ คุณอาภรณ สุวรรณเทน ๑,๐๐๐ เลม- อนสุรณงานอุปสมบทของคณุคชาพล แสงจันทมณี ๑,๐๐๐ เลม- ทนุพิมพหนังสือวัดญาณเวศกวัน ๑,๐๐๐ เลม- แด พอ แม และนอง ๕๐๐ เลม

ภาพปก: พระพุทธประธานญาณเวศกวโนดมแบบปก: ศันสิธร อารยางกูร (ตอง)

และสมภพ

พิมพที่

Page 4: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สารบัญ

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ...................................๑ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘ ...................................................................๒ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๗ ...................................................................๔มองกวางๆ กับวิเคราะหเน้ือใน...............................................................๔

ลักษณะที่ ๑: คํ าสอนเปนกลาง ปฏิบัติสายกลาง...........................................๗ลักษณะที่ ๒: มีหลักการเปนสากล .............................................................๑๔ลกัษณะที่ ๓: ถือสํ าคัญทั้งสาระและรูปแบบ ..............................................๑๗ลักษณะที่ ๔: เปนกรรมวาท กิริยวาท วิริยวาท ..........................................๒๔ลักษณะที่ ๕: เปนวิภัชชวาท .....................................................................๒๙ลักษณะที่ ๖: มุงอิสรภาพ .........................................................................๓๓ลักษณะที่ ๗: เปนศาสนาแหงปญญา ........................................................๓๗ลักษณะที่ ๘: สอนหลักอนัตตา................................................................. ๔๔ลักษณะที่ ๙: มองตามเหตุปจจัย ..............................................................๔๗ลักษณะที่ ๑๐: เชื่อวามนุษยประเสริฐ ดวยการฝกฝนพัฒนา ..................... ๔๙ลักษณะที่ ๑๑: เปนศาสนาแหงการศึกษา ...................................................๕๔ลกัษณะที่ ๑๒: ใหความสํ าคัญทั้งแกปจจัยภายในและปจจัยภายนอก ........ ๕๘ลักษณะที่ ๑๓: ใหต่ืนตัวดวยความไมประมาท ...........................................๖๑ลักษณะที่ ๑๔: เห็นทุกข แตเปนสุข หรือ ทุกขเพื่อเห็น แตสุขเพื่อเปน ........๖๓ลักษณะที่ ๑๕: มุงประโยชนสุขเพื่อมวลชน ................................................๖๖สรุป..........................................................................................................๖๘การศึกษา ฉบับงาย Education Made Easy ...........๗๕วันครู.......................................................................................................๗๕

Page 5: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

งานของครู-งานของพระพุทธเจา ...............................................................๗๖หลักการศึกษา..........................................................................................๗๘หลักการสอน ........................................................................................... ๘๐ไตรสิกขา เดินหนาไปกับชีวิตทั้งสามดาน...................................................๘๓สอนเด็กใหไดครบไตรสิกขา ......................................................................๘๖สกิขาขอศีลมี ๒ ดาน ...............................................................................๘๘กนิอยางไรใหเปนไตรสิกขา .......................................................................๘๙เอาปญญากับจิตใจมาชวยในการฝกศีล......................................................๙๑พอกินอยูเปน…ก็คิดเปนเอง......................................................................๙๓วนัิย คือ จัดต้ังวิถีชีวิตแหงไตรสิกขา......................................................... ๙๔ถามองเห็นความสํ าคัญของความเคยชิน ก็รูความสํ าคัญของวินัย ................๙๖วนัิยเปนรูปแบบ ตองรักษาสาระไว และสื่อสาระได....................................๙๘รูจักศีลครบ ๔ หมวด จึงจะเขาใจคํ าวา "ศีล".......................................... ๑๐๐ทํ าไม ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทานเริ่มตนโดยเอาศีล เปนท่ีบูรณาการไตรสิกขา .................................๑๐๓ไดแคศีล เพียงขั้นกินอยูดูฟงเปนเทาน้ัน เด็กไทย สังคมไทย มีหรือจะไมพัฒนา................................................๑๐๕อาชีวะเปนแดนใหญ ท้ังโดยกิจกรรม และโดยกาลเวลา ในการที่จะเอาไตรสิกขามาพัฒนาชีวิตคน ............................................๑๐๗ถามีวินัยชาวพุทธ ก็มีวิถีชีวิตที่เอื้อตอการศึกษา.......................................๑๐๙การศึกษา ออกผลมาเปนชีวิตที่เปนอยูอยางดี มีวิถีชีวิตดีงามที่พัฒนาไปในมรรค จนเปนภาวิต ๔..............................๑๑๐มอง Child-Centered Education อยางไร จึงจะเอามาใชหรือไมใช อยางเทาทัน ...................................................๑๑๓ของที่นํ าเขา ตองรูใหเต็มเทาท่ีเขาเขาใจ ของเขาพรองตรงไหน ก็ตองรูและเติมใหเต็มจริงๆ ได ......................... ๑๑๖

Page 6: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สูการศึกษาแนวพุทธ ...........................................๑๒๑ท่ีเรียกวา “การศึกษาแนวพุทธ” คือรูความจริง ของธรรมดา แลวพัฒนาคนบนฐานของธรรมชาติ ............................... ๑๒๒วฒันธรรมสวนที่ตัวมีอยู ก็ควรจะรูเขาใจใหถึงรากถึงฐาน ........................๑๒๕สามแดนของชีวิต ก็เปนสามดานของการศึกษา........................................๑๓๐พอเริ่มการศึกษาเพียงแคขั้นศีล ชีวิตและสังคมก็มีหลักประกันความม่ันคงขึ้นมาทันที...........................๑๓๓ศึกษาไปพรอมดวยกันท้ัง ๓ ดาน แลววัดผลโดยดูพัฒนาการที่แยกเปน ๔ .............................................๑๓๖ถาไมระวังไว ศีลก็จะไมครบ สมาธิก็จะไดแครูปแบบ...............................๑๔๑ใจที่สงบมั่นมุงแนวไปในการสรางสรรคทํ าความดี น้ีคือสมาธิท่ีชีวิตและสังคมกํ าลังตองการ .............................................๑๔๕สมาธิแบบของพุทธศาสนา เปนสมาธิในระบบแหงไตรสิกขา จึงตองใหชัดวาอิงอาศัยไปดวยกันกับพฤติกรรมและปญญา ................๑๔๙สังคมไทยมีดีคือวัฒนธรรมแหงเมตตา แตตองกาวไปในวัฒนธรรมแสวงปญญา .............................................๑๕๑การนํ าสังคมเปนงานหลักของการศึกษา แตมิใชไมนํ าพางานรองที่ตามสนองสังคม............................................๑๕๔การศึกษาเริ่มตนต้ังแตการกินอยูท่ีบาน ร.ร.ตองประสานกับอาจารยคนแรก คือ พอแม ................................... ๑๕๖เม่ือการศึกษาไดผล ในตัวคนก็มีใจราเริงเบิกบาน และประสานกับคนอื่นโดยแผขยายความรักใครไมตรี ......................... ๑๖๐พุทธศาสนา คือคํ าสอนวาดวยการพัฒนาความสุข การศึกษา คือการพัฒนาความสุข .......................................................๑๖๓ภาคผนวก..............................................................................................๑๖๙

Page 7: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน .............................................๑๗๗๑. ปรชัญาพื้นฐาน ............................................................๑๗๙๒. คุณสมบัติของผูสอน......................................................๑๘๖

ก. บุคลิกภาพ..............................................................................๑๘๖ข. คุณธรรม.................................................................................๑๘๙ พระปญญาคุณ .......................................................................๑๘๙ พระวิสุทธิคุณ ..........................................................................๑๙๙ พระกรุณาคุณ .........................................................................๒๐๑

๓. หลักทั่วไปในการสอน ....................................................๒๐๙ก. เกี่ยวกับเนื้อหาหรือเรื่องที่สอน..................................................๒๐๙ข. เกี่ยวกับตัวผูเรียน ....................................................................๒๑๑ค. เกี่ยวกับตัวการสอน.................................................................๒๑๗

๔. ลีลาการสอน ................................................................๒๒๒๕. วิธีสอนแบบตางๆ ....................................................... ๒๒๓

แบบสากัจฉา หรือสนทนา...................................................๒๒๓แบบบรรยาย .....................................................................๒๒๓แบบตอบปญหา.................................................................๒๒๔แบบวางกฎขอบังคับ ..........................................................๒๒๗

๖. กลวิธีและอุบายประกอบการสอน .....................................๒๒๘การยกอุทาหรณและการเลานิทานประกอบ ..........................๒๒๘การเปรียบเทียบดวยขออุปมา .............................................๒๒๘การใชอุปกรณการสอน .......................................................๒๒๙การทํ าเปนตัวอยาง ............................................................ ๒๓๑การเลนภาษา เลนคํ า และใชคํ าในความหมายใหม ...............๒๓๒อบุายเลือกคน และการปฏิบัติรายบุคคล ..............................๒๓๓การรูจักจังหวะและโอกาส ...................................................๒๓๕

Page 8: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ความยืดหยุนในการใชวิธีการ .............................................. ๒๓๖การลงโทษและใหรางวัล .....................................................๒๓๘กลวิธีแกปญหาเฉพาะหนา.................................................. ๒๔๐

นิเทศอาทิตตปริยายสูตร ................................................๒๔๙ตอน ๑ เน้ือเรื่อง..............................................................................๒๔๙

ที่มา..................................................................................๒๔๙ความยอ............................................................................ ๒๕๐การบูชาไฟ ........................................................................ ๒๕๑ใจความของพระสูตร ..........................................................๒๕๔

ตอน ๒ คํ าอธิบายเชิงวิจารณ ...........................................................๒๕๗ในแงวิธีสอน ......................................................................๒๕๗ในแงสาระสํ าคัญหรือหลักธรรม ........................................... ๒๖๕ส่ิงสํ าคัญที่พึงระลึก ............................................................ ๒๗๖

Page 9: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
Page 10: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา∗

ขออํ านวยพร ทานอาจารยผูเปนประธานองคการพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก และทานสาธุชนผูสนใจใฝธรรม ทุกทาน

วันนี้ รายการแสดงธรรม จะเปนธรรมกถาหรือปาฐกถาก็ตาม ไดกํ าหนดชื่อไววา “ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา”

ความจริง ลักษณะแหงพระพุทธศาสนานี้เปนเรื่องที่คอนขางจะสามัญ คือเปนเรื่องของสิ่งที่เรารูจักกันดีอยูแลว อยูๆ เราก็มาพิจารณากันวา สิ่งที่เรารูจักดีอยูแลว ซ่ึงรูจักกันดีมาก รูจักตั้งแตเกิดกันมานี้ มีลักษณะเปนอยางไร เหมือนอยางคนที่คุนเคยกันดี รูจักตัวกันอยางใกลชิด แลวอยูมาวันหนึ่ง ก็มาถามวา คนที่เรารูจักดีน้ัน มีรูปรางเปนอยางไร คลายๆ อยางนั้น มันนาจะเปนเรื่องธรรมดาเหลือเกิน

แตทีน้ี วันนี้การประชุมมีลักษณะพิเศษ คือเปนเรื่องของทานที่มีความรูอยูแลว เพราะบอกวาเปนการประชุมทางวิชาการเพราะฉะนั้น วันนี้อาตมภาพจะพูดในเชิงวิชาการหนอย คลายๆกับวามาพูดกันในฐานะผูท่ีมีความรูอยูแลว ก็จะรวบรัดตัดความ

∗ ปาฐกถาธรรม ณ สํ านักงานองคการพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก (พสล.) วันอาทิตยที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๓๒ (การพิมพครั้งที่ ๑๐ ณ ๕ ม.ค. ๒๕๔๗ เปนครั้งแรกที่ปรับขนาดจาก ๑๖ หนายก เปน ๑๖ หนายกพิเศษ)

Page 11: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๒

โดยเฉพาะเวลาก็คอนขางจํ ากัด จึงจะพูดในแบบสิ่งละอันพันละนอย เพราะวา เมื่อเราพรรณนาถึงลักษณะของสิ่งที่เรารูจักอยางใดอยางหนึ่งนั้น ก็อาจจะมีลักษณะหลายอยาง จะพูดถึงลักษณะแตละอยางไดก็คงไมมาก และทานยังไดบอกไวดวยวาเมื่อจบปาฐกถาแลว ก็จะใหมีเวลาตอบคํ าถาม

ในเรื่องนี้อาตมภาพก็ขอโอกาสไวกอน ถาเกิดวาเวลาไมพอจริงๆ ก็อาจจะตองขออภัยวาเปนการพูดใหฟงฝายเดียวไปเลย

ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘พอพูดถึงลักษณะของพระพุทธศาสนา ซ่ึงดังไดบอกเมื่อกี้

วาเปนสิ่งที่เรารูจักกันดีอยูแลว หรือไมวาจะรูจักดีหรือไมดีก็ตามแตเราถือวาเรารูจักดีอยูแลวนี้ ก็มีหลักธรรมอยูหมวดหนึ่งที่พูดกันวา เปนลักษณะของพระพุทธศาสนา อยูในหนังสือเบื้องตนแมแตนวโกวาท แบบเรียนนักธรรมตรี ซ่ึงเปนหนังสือเรียนชั้นแรกของพระ ท่ีเขามาบวชในพระพุทธศาสนา ท่ีเปนพระนวกะ

หลักธรรมหมวดนั้น ทานเรียกวา ลักษณะตัดสินธรรมวินัย๘ ประการ

พระพุทธศาสนานั้น มีช่ืออยางหนึ่งวา พระธรรมวินัย ถาจะพูดกันแบบรวบรัด ก็อาจจะเอาหลักนี้มาพูด บอกวา ลักษณะของพระพุทธศาสนา ก็คือ ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัย ๘ประการนี้เอง ถาอยางนี้ปาฐกถาก็จบไดในเวลาเพียง ๒-๓ นาทีเทานั้นเอง

Page 12: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๓

ลักษณะตัดสินธรรมวินัยนี้ เปนหลักธรรมที่พระพุทธเจาเองไดตรัสไวแก พระนางมหาปชาบดีโคตมี มีอยู ๘ ประการดวยกัน ทานบอกวา หลักที่ใชตัดสินวา ธรรมหรือคํ าสอนอันใด เปนคํ าสอนของพระพุทธเจาหรือไม ก็คือใหดูวา ธรรมที่เขายกมาอางหรือกลาวหรือประพฤติปฏิบัติน้ัน เปนไปตามลักษณะ ๘ ประการตอไปน้ี หรือไม คือ

๑. เปนไปเพื่อวิราคะ คือ ความคลายหายติด (สํ านวนเกาวาคลายกํ าหนัด)

๒. เปนไปเพื่อวิสังโยค เพื่อความคลาย การหลุดจากความทุกข ไมประกอบดวยความทุกข

๓. เปนไปเพื่ออปจยะ ความไมพอกพูนกิเลส๔. เปนไปเพื่ออัปปจฉตา ความมักนอย๕. เปนไปเพื่อสันตุฏฐี ความสันโดษ๖. เปนไปเพื่อปวิเวก ความสงัด๗. เปนไปเพื่อวิริยารัมภะ การระดมความเพียร๘. เปนไปเพื่อสุภรตา ความเลี้ยงงายถาไมเปนไปตามหลัก ๘ ประการนี้ ก็ถือวาไมใชธรรมไมใช

วินัย ไมใชสัตถุสาสน ไมใชคํ าสอนของพระพุทธเจา แตถาเปนไปตามหลักนี้ เขากันไดกับความที่กลาวมา ๘ ประการ ก็เปนธรรมเปนวินัย เปนคํ าสอนของพระพุทธเจา

Page 13: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๔

ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๗ยังมีหลักธรรมคลายๆ กันนี้ อีกหมวดหนึ่ง ท่ีพระพุทธเจา

ตรัสไวแกพระอุบาลี ซ่ึงเปนพระเถระผูใหญ ท่ีไดรับยกยองเปนเอตทัคคะมีความเปนเลิศทางพระวินัย หรือเปนพระวินัยธร ก็เรียกช่ือทํ านองเดยีวกนัวาเปนลกัษณะตดัสนิธรรมวนัิย แตม ี ๗ ประการและกลาวความทํ านองเดียวกันวา ธรรมเหลาใดเปนไปเพื่อ

๑. เอกันตนิพพิทา เพื่อความหนายสิ้นเชิง๒. เปนไปเพื่อวิราคะ การคลายความยึดติด๓. เปนไปเพื่อนิโรธ ความดับทุกข๔. เปนไปเพื่ออุปสมะ ความเขาไปสงบระงับ๕. เปนไปเพื่ออภิญญา ความรูยิ่งเฉพาะ๖. เปนไปเพื่อสัมโพธะ ความตรัสรู๗. เปนไปเพื่อนิพพานรวม ๗ ประการ ถาเขากับหลักนี้ ก็เรียกวาเปนธรรมเปน

วินัย เปนคํ าสอนของพระพุทธเจา ถาไมเขากับหลักนี้ ก็ไมใชถาเอาหลักที่วาสองหมวดนี้มาตอบ ก็สามารถจบปาฐกถา

ครั้งนี้ไดอยางรวดเร็ว

มองกวางๆ กับวิเคราะหเนื้อในอยางไรก็ตาม ยังมีแงท่ีควรพิจารณา คือหลักที่วามาทั้ง

สองหมวดนี้ อาจจะพูดไดวาเปนลักษณะชั้นใน หรือเปนเนื้อในของพระพุทธศาสนา สํ าหรับวินิจฉัยวาเปนคํ าสอนที่แทจริงที่ควรจะนํ า

Page 14: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๕

ไปใชหรือไม แตยังมีลักษณะชั้นนอก หรือลักษณะทั่วๆ ไป ท่ีเราควรจะพูดถึงอีก

ถาจะอุปมาก็คงเหมือนกับวา เราสงสัยเกี่ยวกับเรื่องคนคือเราไปไดช้ินเนื้อมาชิ้นหนึ่ง หรือพบเลือดสองสามหยด แลวจะวินิจฉัยวา เปนเนื้อหนังของคนหรือไม เปนรอยเลือดของคนหรือไมเราอาจจะนํ าไปตรวจสอบวิเคราะหดูเซลล ดูองคประกอบ ดูอะไรตาง ๆ แลวก็บอกไดวา เออ! อันนี้เปนเนื้อหนังของคน เปนหยดเลือดของคน หรือวาไมใช แตเปนของสัตวอื่น อันนั้นเปนการวิเคราะหช้ันในละเอียดขึ้นไปอีก

แตถาเราไมไปถึงขั้นนั้น ก็เอาเพียงวา นํ าคนคนหนึ่งมา ใหยืนหางจากเราสักสิบเมตรก็ได เทียบกันกับสัตวอื่นเชนชางหรือมาเปนตน แลวก็พรรณนาลักษณะวา คนนั้นตางจากมา ตางจากชางอยางไร หรือมีลักษณะเฉพาะตัวอยางไร ในชั้นนี้ ก็จะมีการบรรยายไปไดอีกระดับหนึ่ง

อาจจะเปรียบเทียบอีกอยางหนึ่ง เหมือนกับดูตัวยาสมุนไพรอยางหนึ่งใน ๒ ระดับ คือ ช้ันใน ดูลักษณะการออกฤทธิ์ของยาวากินเขาไปแลวจะมีอาการของความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมาและกาวตอไปอยางนั้นๆ และชั้นนอก ดูวาใบ กิ่ง ดอก เปลือกมีรูปรางสีสันอยางไร เปนตน

ท่ีพูดถึงลักษณะของพระพุทธศาสนาในวันนี้ เราจะพูดกันถึงลักษณะทั่วไป คลายๆ กับท่ีเอาคนมายืนหางจากเราสักสิบเมตรแลวก็บรรยายลักษณะ ไมเขาไปถึงเนื้อในทีเดียว เปนการทํ าความเขาใจกันในขั้นตน

Page 15: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๖

ทีน้ี ลักษณะของพระพุทธศาสนาที่มองแบบทั่วๆ ไปน้ี ก็มีมากมายหลายประการ พูดกันไดแทบจะไมรูจักจบ คือจะแยกออกไปเปน ๑๐ ขอ ๒๐ ขอ ก็คงพูดไปไดเรื่อยๆ เพราะฉะนั้น เวลามีเทาไรก็พูดกันไปไดเทานั้น

นอกจากนั้น ดังที่ไดบอกแตตนแลววา ลักษณะของพระพุทธศาสนานั้น เปนลักษณะของสิ่งที่ถือวาเรารูกันดีอยูแลว เพราะฉะนั้น เรื่องที่อาตมภาพจะยกขึ้นมาพูดก็เปนเรื่องธรรมดา ท่ีทานรูอยูแลว เทากับวาเอาเรื่องที่รูกันอยูแลวนั่นเอง มาทบทวนกับทานอีกครั้งหนึ่ง ทีน้ี จะขอพูดไปเปนขอๆ

Page 16: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๑คํ าสอนเปนกลาง ปฏิบัติสายกลาง

ลักษณะที่ ๑ ของพระพุทธศาสนา เมื่อพูดอยางทั่วๆ ไป ก็คือ ลักษณะที่เปนสายกลาง ลักษณะนี้พอพูดขึ้นมาทุกทานก็นึกออก ออ! ใชสิ พระพุทธศาสนานั้น สอนเรื่องทางสายกลาง

ตองทํ าความเขาใจกันกอนวา มนุษยเรานั้นมักมีความโนมเอียงที่จะไปสุดโตง ความสุดโตงมอียูสองอยาง คือ สุดโตงในทางความคิดอยางหนึ่ง และสุดโตงในทางการปฏิบัติอยางหนึ่ง

มนุษยมักจะหันไปหาความสุดโตงในการปฏิบัติ เชนสมัยหนึ่งคนทั้งหลายพากันเพลิดเพลินมัวเมา ในการหาความสุขทางเนื้อหนัง ใหความสํ าคัญแกการบํ ารุงบํ าเรอรางกายมาก และในยุคน้ันคนก็ไมเห็นความสํ าคัญของจิตใจเลย ซ่ึงทางพระพุทธศาสนาเรียกวาเปน กามสุขัลลิกานุโยค

แตพอเปลี่ยนไปอีกยุคสมัยหนึ่ง คนบางพวกก็มีความรูสึกเบื่อหนาย รังเกียจความสุขทางรางกายทางเนื้อหนัง แลวก็เอียงไปทางดานจิตใจอยางเต็มท่ี บางทีถึงกับทรมานรางกาย ยอมสละความสุขทางรางกายโดยสิ้นเชิง เพื่อจะประสบผลสํ าเร็จในทางจิตใจ แลวก็กลายเปนการเสพติดทางจิตไปอีก พวกนี้อาจจะถึงกับทํ าการทรมานรางกาย บํ าเพ็ญทุกรกิริยา อยางที่เรียกวา อัตต-กิลมถานุโยค

Page 17: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๘

เรื่องนี้เราจะเห็นตัวอยางแมแตในสังคมปจจุบัน คือในยุคเดียวสมัยเดียวก็อาจจะมีความสุดโตงทั้งสองอยางนี้ แยกกันออกไปเปนคนละขั้ว น้ีเปนการเอียงสุดในดานปฏิบัติ

พระพุทธศาสนานั้นถือวา การเอียงสุดทั้งทางรางกาย เห็นแกรางกาย บํ ารุงบํ าเรอรางกายอยางเดียว ก็ไมถูกตอง การเสพติดทางจิตใจ ไมเห็นความสํ าคัญของรางกายเลยโดยสิ้นเชิง จนกลายเปนการทรมานรางกายไป ก็ไมถูกตองเหมือนกัน

พระพุทธศาสนาจึงวางขอปฏิบัติ ท่ีเรียกวามัชฌิมา-ปฏิปทา แปลวาทางสายกลาง หรือขอปฏิบัติท่ีเปนสายกลาง คือความพอดี น้ีก็เปนแงหนึ่ง

อีกดานหนึ่งคือ การสุดโตงทางความคิด ซ่ึงคนทั่วไปมักจะมีความโนมเอียงที่จะเปนเชนนั้น เชนอยางงายๆ ก็คือ เรื่องวัตถุ กับจิต วาอะไรมีจริง พวกหนึ่งจะเอียงสุดวาวัตถุเทานั้นมีจริง อีกพวกหนึ่งก็เอียงสุดวาจิตเทานั้นมีจริง จนกระทั่งในปรัชญาตะวันตกไดมีการบัญญัติกันวา เปนพวกวัตถุนิยม กับพวกจิตนิยม

แตในพระพุทธศาสนานั้นเราจะเห็นวา ทานไมไดบัญญัติอยางนั้น คือ มิใชเปนจิตนิยม หรือเปนวัตถุนิยม ไปสุดทางแตอยางเดียว แตในพระพุทธศาสนามีท้ังนามและรูป ซ่ึงเรียกรวมเขาดวยกันเปนคํ าเดียววา นามรูป

ทานเห็นความสํ าคัญของทั้งจิต และทั้งวัตถุ ทานวามีท้ังสองอยาง แตมีอยางอิงอาศัยเนื่องเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

อีกตัวอยางหนึ่ง คนพวกหนึ่งมีความเห็นวา สิ่งทั้งหลายเทีย่งแท มอีตัตาที่คงอยตูลอดไป กลายเปนทฏิฐท่ีิเรยีกวา สสัตทฏิฐิ

Page 18: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๙

สวนอีกพวกหนึ่ง ก็มีความเห็นเอียงไปสุดทางตรงขาม บอกวาอยางนั้นไมใช ทุกอยางขาดสูญหมด คนเราเกิดมาเปนเพียงประชุมธาตุสี่ ตายแลวก็ขาดสูญไป พวกนี้ก็เปน อุจเฉททิฏฐิ

บางพวกบัญญัติวาทุกสิ่งมีท้ังนั้น อีกพวกหนึ่งวาไมมีอะไรมีจริงเลย พวกที่วามีท้ังหมด เรียกวา สัพพัตถิกทิฏฐิ พวกที่วาไมมีอะไรสักอยางก็เปน นัตถิกทิฏฐิ น้ีเปนตัวอยาง

คนเรานี้มีความโนมเอียง ท่ีจะคิดเห็นเอียงสุด หรือไปสุดโตงในแนวความคิดเกี่ยวกับสัจธรรมอยางที่กลาวมานี้ แตพระพุทธศาสนาสอนวา ความจริงหรือสัจธรรมนี้ มิใชจะเปนไปตามความโนมเอียงแหงความพอใจของมนุษย ท่ีมองอะไรไปสุดทางโนนสุดทางนี้ ความจริงนั้นเปนกลางๆ หรือวาใหถูกก็คือตองสอนตองพูดใหพอดีกับความจริง

เพราะฉะนั้น การสอนความจริงแตพอดีๆ ใหตรงตามความจริงนั้น หรือสอนใหพอดีกับความจริง ก็เลยกลายเปนคํ าสอนที่เปนกลาง

พระพุทธศาสนาสอนความเปนกลางในทางปฏิบัติ ท่ีเรียกวามัชฌิมาปฏิปทา สวนในแงของความจริง หรือทัศนะเกี่ยวกับสัจธรรมก็เปนกลางอีกเหมือนกัน พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมเปนกลางๆ เรียกวามัชเฌนธรรมเทศนา หรือ มัชเฌนเทศนา

ตกลงวา ในพระพุทธศาสนานี้ ไมวาจะในแงของการปฏิบัติ หรือในแงของความคิดเกี่ยวกับสัจธรรมก็ตาม เปนสายกลางทั้งหมด คือ เปนมัชฌิมาปฏิปทาอยางหนึ่ง และเปนมัชเฌนธรรมเทศนาอยางหนึ่ง

Page 19: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๑๐

หลักนี้อาจเปรียบกับการยิงลูกศร ลูกศรที่ยิงไปไมถูกเปา ก็จะอยูขางๆ ขางโนนบาง ขางนี้บาง คือมันไมพอดี ไมตรงกลางสวนลูกที่ยิงตรงกับจุดเปาพอดีน้ัน ก็เปนอันกลาง จึงเรียกวาสายกลาง สายกลางก็คือพอดี ตรงความจริงที่จะใหเขาถึงจุดหมายและเทากันพอดีกับความจริงที่เปนสัจธรรม

พระพุทธเจานั้น กอนตรัสรู ไดทรงไปศึกษาในสํ านักความคิดเห็นเกี่ยวกับสัจธรรม และทดลองขอปฏิบัติตางๆ เพื่อจะใหเขาถึงจุดหมาย พระองคใชเวลาไปในการทดลองนี้นานถึง ๖ ป แลวก็ไดเห็นวา ท่ีปฏิบัติกันอยูน้ันมักจะไปเอียงสุดเสียทั้งสิ้น

ในที่สุดพระองคจึงทรงคนพบทางสายกลางขึ้นมา เปนมัชฌิมาปฏิปทา และทรงแสดงหลักธรรมที่เปนกลาง คือ มัชเฌน-ธรรมเทศนา

มัชฌิมาปฏิปทา ไดแก มรรคมีองค ๘ ซ่ึงเปนขอปฏิบัติกลางๆ ไมตึงเกินไป ไมหยอนเกินไป ไมเอียงออกไปขางโนน ไมเอยีงออกไปขางนี ้พอดท่ีีจะน ําไปสจุูดหมายแหงความมชีีวติทีด่งีาม

สวนมัชเฌนธรรมเทศนา ก็ไดแก หลักธรรมที่เรียกวาปฏิจจสมุปบาท หรือเรียกเต็มวา อทิัปปจจยตาปฏิจจสมุปบาท ซ่ึงเปนหลักธรรมที่แสดงความจริงเปนกลางๆ ตามเหตุปจจัย หรือเปนกลางอยูตามสภาวะของมัน ไมเอาใจใคร ไมข้ึนกับใคร ไมเปนไปตามความปรารถนาของใครๆ แตพอดีกับความเปนจริงที่วา สิ่งท้ังหลายนั้นอิงอาศัยซึ่งกันและกัน เปนไปตามเหตุปจจัย เหตุปจจัยทํ าใหผลเกิดขึ้น ผลจะเปนอยางไรก็เปนไปตามเหตุปจจัยนั้น

Page 20: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๑๑

สิ่งทั้งหลายมีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน มิใชดํ ารงอยูโดยลํ าพังตัวมันเอง อยางนี้เปนตน เรียกวาเปนหลักสายกลาง

เปนอันวา หลักพระพุทธศาสนานั้น เปนสายกลางทั้งในทางปฏิบัติ และในทางความคิด มีมัชฌิมาปฏิปทา และมัชเฌน-ธรรมเทศนา

อีกอยางหนึ่ง สายกลางนั้น มีความหมายวา พอดีน่ันเองตรงกับท่ีเรานิยมใชกันในปจจุบันวา ดุลยภาพ หรือสมดุล ในพระพุทธศาสนานั้น ขอปฏิบัติตางๆ มักจะมีลักษณะอยางนี้ คือมีความพอดีหรือความสมดุล

ระบบที่กลาวถึงเมื่อกี้ ซ่ึงเปนขอปฏิบัติท้ังหมดในพระพุทธศาสนา เราเรียกวามัชฌิมาปฏิปทา แปลวา ขอปฏิบัติท่ีพอดี ก็เปนลักษณะที่มีดุลยภาพหรือสมดุลอยางหนึ่ง แตเปนความพอดีของระบบท้ังหมด หรือความพอดีในองครวม

ทีน้ีในการปฏิบัติแมแตท่ีเปนรายละเอียดปลีกยอยลงมา ก็มีความสมดุลหรือดุลยภาพนี้อยูเรื่อยเหมือนกัน เชน ในการที่จะเขาถึงจุดหมายของพระพุทธศาสนา เราจะตองปฏิบัติหลักธรรมยอยๆ หลายอยาง หลักธรรมหรือขอปฏิบัติตางๆ เหลานี้ จะตองกลมกลืนพอดีกัน จึงจะไดผลสํ าเร็จ ถาขอปฏิบัติเล็กๆ นอยๆ น้ันไมสมดุลกัน ไมพอดีกัน ก็จะเกิดความขัดแยงหรือความบกพรองความขาดความเกิน ความเขวออกนอกทาง แลวก็จะปฏิบัติไมสํ าเร็จ

เรื่องที่ทานเนนบอยๆ ก็คือ อินทรีย ๕ ซ่ึงสํ าหรับผูปฏิบัติธรรมจะมีการเนนวาตองมีสมตา

Page 21: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๑๒

สมตา ก็คือสมดุลหรือความพอดีกันระหวางองคประกอบท่ีเรียกวาอินทรียท้ัง ๕ คือ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา ธรรม๕ อยางนี้ตองมีสมตา มีความสมดุลพอดีกัน

ศรัทธาตองพอดีกับปญญา ถาศรัทธาแรงไปก็เชื่องาย งมงาย ปญญามากไป ไมมีศรัทธามาชวยดุลให ก็อาจจะเปนคนที่รูจับจด หรือไมก็ข้ีสงสัยคิดฟุงไปหมด เห็นอะไรก็ชิงปฏิเสธเสียกอนไมรูจักจับอะไรใหลึกลงไป

ระหวางวิริยะกับสมาธิ ถาวิริยะคือความเพียรมากไปสมาธินอย ก็จะกลายเปนเครียด พลุงพลาน หรือฟุงซาน ถาความเพียรนอย สมาธิมาก เพลินสบาย ก็ติดในสมาธิ อาจจะทํ าใหเกียจครานไปก็ได

เพราะฉะนั้น จึงตองมีความพอดี ระหวางวิริยะกับสมาธิและมีความพอดีระหวางศรัทธากับปญญา โดยมีสติเปนเครื่องควบคุม อยางนี้เรียกวาสมตา

ขอปฏิบัติตางๆ ในพระพุทธศาสนา จะตองมีสมตาคือความสมดุลอันนี้ ซ่ึงเปนความพอดีชนิดหนึ่ง และอยางนี้ก็เปนสายกลางชนิดหนึ่งเหมือนกัน ซ่ึงเปนความประสานสอดคลองกันระหวางขอปฏิบัติปลีกยอยตางๆ ท่ีมาประชุมกันรวมกันทํ างาน

ทีน้ี แมแตขอปฏิบัติแตละอยาง ก็จะตองมีความพอดีเหมือนกัน คือมีความพอดีในการปฏิบัติแตละอยางๆ เชน จะรับประทานอาหาร ก็ตองมีความรูจักประมาณ รูจักพอดีในอาหาร ถารับประทานอาหารไมพอดีก็เกิดโทษแกรางกาย แทนที่จะไดสุขภาพ แทนที่จะไดกํ าลัง ก็อาจจะเสียสุขภาพ และอาจจะทอนกํ าลัง

Page 22: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๑๓

ทํ าใหออนแอลงไป หรือเกิดโรค เพราะฉะนั้น ทานจึงสอนใหมีความรูจักประมาณในการบริโภค เรียกวา โภชเนมัตตัญุตา

ตัวความรูจักประมาณ หรือรูจักพอดีท่ีเปนหลักกลางๆเรียกวา มัตตัญุตา คือความรูจักประมาณ หรือรูจักพอดีในการปฏิบัติตางๆ โดยทั่วไป

จะเห็นวา หลักพระพุทธศาสนาในทุกระดับมีเรื่องของความพอดี หรือความเปนสายกลางนี้

ฉะนั้น ความเปนสายกลาง คือ ความพอดีท่ีจะใหถึงจุดหมาย และที่จะใหตรงกับความจริง ไมใหไปสุดโตง เอียงสุด ซ่ึงจะพลาดจากตัวความจริงไปนั้น จึงเปนลักษณะทั่วไปอยางหนึ่งของพระพุทธศาสนา

Page 23: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๒มีหลักการเปนสากล

ลักษณะที่ ๒ ท่ีควรจะยกมาพูดในที่น้ี ก็คือเรื่องของความเปนสากล

พระพุทธศาสนามีลักษณะสํ าคัญอยางหนึ่ง คือความเปนสากล เปนสากลทั้งความคิด และการปฏิบัติ เหมือนอยางที่เปนสายกลางทั้งความคิด และการปฏิบัติ

ในแงความคิด ในที่น้ี หมายถึงเรื่องสัจธรรม หรือคํ าสอนเกี่ยวกับสัจธรรม พระพุทธศาสนาสอนความจริงเปนกลางๆ ไมข้ึนตอบุคคล กลุม เหลา พรรคพวก แมแตตัวพระพุทธศาสนาเอง

ตัวอยางเชน ทานสอนวา การฆาสัตวเปนบาป การทํ าปาณาติปาต เริ่มแตฆาคนเปนตนไปเปนบาป ก็สอนเปนกลางๆวา ไมวาฆาคนไหนก็ตามก็เปนบาปทั้งนั้น ไมไดจํ ากัดวานับถือศาสนาไหน ไมมีการแบงพรรคแบงกลุมแบงประเภทวา ถานับถือศาสนาอื่น เปนพวกของมารราย แลวก็ฆาไดไมบาป แตถาเปนพวกชาวพุทธดวยกัน ฆาไมไดเปนบาป อยางนี้ไมมี

อีกตัวอยางหนึ่ง มองกวางออกไปอีก ก็คือ พระพุทธศาสนาสอนหลักความจริงที่เปนสากล พระพุทธศาสนาสอนวาความจริงเปนสิ่งที่มีอยูตามธรรมดา คือธรรมดาของสิ่งทั้งหลายเปนอยางนั้นเอง เรียกงายๆ วาเปนกฎธรรมชาติ

Page 24: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๑๕

ธรรมดาของสิ่งทั้งหลายนั้น ก็เชนความเปนไปตามเหตุปจจัย เมื่อใครทํ าเหตุปจจัยอยางไร ผลก็เกิดขึ้นตามเหตุปจจัยนั้นคนไหน คนพวกไหน คนที่ไหนทํ าดี ก็ไปสวรรค คนไหน คนพวกไหน คนที่ไหนทํ าชั่ว ก็ไปนรก ไมมีการแบงแยกวาตองเปนคนพวกน้ีมาทํ าอยางนี้จึงไปสวรรคได คนพวกนั้นถึงทํ าอยางนั้นก็ตองไปนรก ฯลฯ คือกฎเกณฑกติกาเปนธรรมดาเปนสากล

ทานสอนความจริงเปนสากลเปนกลางๆ อันนี้เปนลักษณะท่ีชัดเจน คือการสอนความจริงเปนกลางๆ และสอนอยางเปนกลาง คือสัจธรรมเปนความจริงอยางไรก็ตองเปนความจริงอยางน้ัน ไมสามารถแบงเปนพวกเปนประเภทเปนหมูเปนเหลาได

ในทางปฏิบัติก็เหมือนกัน เชนสอนใหคนมีเมตตากรุณาอยางเปนสากล เมื่อสอนวาการทํ าปาณาติบาตเปนสิ่งที่ไมดี เปนโทษ เพราะมีความจริงอันเปนสากลวาสัตวท้ังหลายรักสุขเกลียดทุกขดวยกันทั้งหมดแลว ก็สอนใหเผื่อแผเมตตากรุณาแกสัตวท้ังหลายทั่วกันหมด

ชาวพุทธจะตองมีเมตตากรุณาตอสรรพสัตว ตั้งตนแตมนุษย ก็ตองมีเมตตากรุณาตอมนุษยทุกคนเหมือนกัน ไมไดมีการแบงพรรคแบงพวกแบงเหลา แบงชาติช้ัน แบงศาสนา และในแงสัตวโลกดวยกัน ก็ใหเผื่อแผความเมตตากรุณานี้แกสัตวทุกประเภท ไมใชเฉพาะมนุษยดวยกันเทานั้น อันนี้ก็เปนเรื่องของความเปนสากลอยางหนึ่ง

นอกจากนั้น พระพุทธศาสนาแสดงธรรมเหลานี้เปนกลางๆไมบังคับใหทํ า และไมขูดวยการลงโทษ ใครจะเชื่อหรือไมเชื่อก็ไม

Page 25: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๑๖

บังคับใคร สอนใหรูวา ความจริงเปนอยางนั้น เมื่อกระทํ าแลวเกิดผลดีหรือผลเสีย ก็เปนไปตามธรรมดาของมันเอง เปนเรื่องที่ทุกคนสามารถพิจารณาดวยสติปญญาของตนเอง

ความเปนสากลนี้ วาที่จริงก็เปนสายกลางอยางหนึ่ง คือสอนเปนกลางๆ ตามความเปนจริง

Page 26: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๓ถอืส ําคัญทั้งสาระและรูปแบบ

ลักษณะที่ ๓ พระพุทธศาสนาประกอบดวยองค ๒ อยางท่ีสมพอดีกัน คือประกอบดวยธรรมกับวินัย

หลักธรรมกับวินัยนี้ ไดบอกแตตนแลววา เปนชื่อหนึ่งของพระพุทธศาสนา บางครั้งเราเรียกพระพุทธศาสนาวา ธรรมวินัย ซ่ึงตองมีท้ังสองอยางจึงจะเปนพระพุทธศาสนาโดยสมบูรณ ถามีอยางเดียว ก็ยังไมครบ

ในโลกปจจุบันนี้ หรือในโลกที่ผานมาก็ตาม มักจะมีการถกเถียงกันอยูเสมอวา บุคคลกับระบบ อยางไหนสํ าคัญกวากัน บางคนบอกวาบุคคลสํ าคัญ ระบบไมสํ าคัญ บางคนบอกวาระบบสิสํ าคัญ บุคคลไมสํ าคัญ ระบบเปนอยางไร คนก็เปนไปตามนั้น

คนพวกหนึ่งบอกวา ปจเจกชนสํ าคัญ สังคมเกิดจากปจเจกชน สังคมจะเปนอยางไรก็แลวแตปจเจกชน ถาทํ าปจเจกชนใหดี สังคมก็ดีไปเอง อีกพวกหนึ่งบอกวา สังคมสิสํ าคัญ ปจเจกชนถูกหลอหลอมโดยสังคม ทํ าสังคมใหดีแลวปจเจกชนก็ดีไปตาม

ในแงสาระกับรูปแบบ พวกหนึ่งบอกวาสาระสํ าคัญ รูปแบบไมสํ าคัญหรอก เนื้อหาสํ าคัญกวา รูปแบบเปนเพียงเปลือกนอก บางพวกบอกวารูปแบบสิสํ าคัญ รูปแบบเปนเครื่องกํ าหนดเนื้อหา เถียงกันอยูน่ีไมรูจักจบ

Page 27: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๑๘

ในการฝกการปฏิบัติก็เหมือนกัน พวกหนึ่งบอกวาดานในจิตใจสํ าคัญ ตองฝกจิตใจ ฝกจิตใจไดแลวทุกอยางก็ดีไปเอง รางกายภายนอกไมสํ าคัญ อีกพวกหนึ่งบอกวา สํ าคัญที่วัตถุภายนอกเพราะจิตใจเปนสิ่งที่อาศัยวัตถุ เกิดจากวัตถุ ถาทํ าภายนอกดีสภาพแวดลอมวัตถุดี มีความเจริญทางวัตถุพรั่งพรอม เศรษฐกิจดีแลว จิตใจก็ดีเอง

คนจํ านวนมากเถียงกัน แมแตในเรื่องสมัครใจกับบังคับ วาอยางไหนดี พวกหนึ่งบอกวาตองสมัครใจหมดทุกอยาง ตองเปนไปตามเสรีภาพ สมัครใจจึงจะถูกตอง อีกพวกหนึ่งวาไมไดหรอก คนเรานี้กิเลสมันมาก ตองบังคับมัน บังคับแลวจึงจะไดผล

น้ีก็เปนเรื่องของการเอียงสุดอยางหนึ่งเหมือนกัน มนุษยมักจะโนมเอียงไปในทางเอียงสุด หรือสุดโตงไปขางหนึ่ง

แตพระพุทธศาสนาไมเอียงสุดไปขางไหน เพราะยอมรับความสํ าคัญของแตละเรื่องแตละอยาง ตามความเปนจริงของมันหรือตามคุณคาที่มันมีอยู โดยมองตามเปนจริง หรือตามที่มันเปนและพอดีกับท่ีมันเปน วาสิ่งทั้งหลายแตละอยางมีความสํ าคัญตามสวนของมัน

อันนี้จะเรียกวาเปนความเปนกลาง หรือความเปนสายกลางอีกอยางหนึ่งของพระพุทธศาสนาก็ได

ในเรื่องสาระกับรูปแบบเปนตนที่วามานี้ พระพุทธเจาทรงบัญญัติหลักคํ าสอนของพระองค ใหมีองคประกอบทั้งสองอยางคือ ธรรมกับวินัย คุมท้ังคูเลย

Page 28: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๑๙

ธรรม เปนหลักความจริง ซ่ึงมีอยูตามธรรมดาของมัน และเปนสิ่งที่บุคคลจะเขาถึงได ธรรมนั้นสังคมไมสามารถมีปญญารูไดบุคคลแตละคนเทานั้นที่จะมีปญญารูแจงเขาถึงสัจธรรม

แตในเวลาเดียวกัน พระพุทธศาสนาก็มีอีกดานหนึ่ง คือหลักเกณฑท่ีเรียกวาวินัย

วินัย เปนการจัดตั้งและจัดการ เปนรูปแบบ เปนระบบ เปนกติกา เปนกฎเกณฑ เปนสิ่งที่มนุษยบัญญัติหรือกํ าหนดวางขึ้นเปนเรื่องของการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพ ท่ีเนนทางวัตถุและเปนเรื่องของสังคม บัญญัติข้ึนเพื่อจัดสรรสังคมใหดํ ารงอยูดวยดีในภาวะที่จะเกื้อกูลตอชีวิตของบุคคลทั้งหลาย ท่ีมาอยูรวมกันเปนสังคมนั้น ใหบุคคลเหลานั้นมีชีวิตอยูกับธรรมไดอยางดีท่ีสุด และไดประโยชนมากที่สุดจากธรรม

จะเห็นวา ธรรมและวินัยสองอยางนี้ก็มาสัมพันธกัน พระพุทธศาสนาใหความสํ าคัญทั้งแกธรรมและวินัย

พูดเปนภาษาปจจุบันวา ใหความสํ าคัญทั้งแกบุคคลและระบบ ใหความสํ าคัญทั้งแกปจเจกชนและสังคม ใหความสํ าคัญท้ังแกสาระและรูปแบบ ใหความสํ าคัญทั้งแกการปฏิบัติทางดานในจิตใจ และการปฏิบัติดานนอกที่เนนวัตถุ กาย วาจา และใหมีท้ังการสมัครใจและการบังคับ (หมายถึงการฝกดวยกฎกติกา) อยางมีสมดุล พอดี ท่ีจะเกื้อกูลหนุนกันใหเกิดผลดีท่ีมุงหมาย

น้ีคือลักษณะของพระพุทธศาสนาอยางหนึ่ง ท่ีเขากับขอแรกดวย แตแยกใหเห็นเปนพิเศษตางหาก

Page 29: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๒๐

จะเห็นวา ในพระพุทธศาสนานี้ ทานให ธรรม เปนเรื่องของการสมัครใจ เราแตละคนเกี่ยวของกับธรรมดวยสติปญญาของตนเอง จะตองรูเขาใจเห็นแจงสัจธรรมดวยปญญาของตนเอง เฉพาะบุคคล

แตในเวลาเดียวกันนั้น ก็มี วินัย เปนเรื่องของสังคม เปนเรื่องของรูปแบบ เปนเรื่องของการปฏิบัติดานกายวาจา เปนแบบแผนที่บังคับแกทุกคนเสมอกัน สํ าหรับใหเปนเครื่องตะลอมและหลอหลอม เปนเครื่องสรางสภาพแวดลอมท่ีจะชักจูงบุคคลเขาหาธรรม และเปนเครื่องสรางสภาพชีวิตและสภาพสังคมที่เอื้อตอการท่ีจะนํ าธรรมมาใชปฏิบัติ หรือเอาธรรมมาใชประโยชน ตลอดจนการที่จะเจริญงอกงามยิ่งขึ้นไปในธรรม และเขาถึงธรรม

ธรรมและวินัย สองอยางนี้ ถาจัดใหพอดีก็จะไดความสมดุลเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน ประสานสัมพันธกัน

ธรรมเปนฐานรองรับและเปนที่อิงอาศัยของวินัย วินัยคือกฎเกณฑขอบังคับแบบแผนของสังคม เปนการจัดตั้ง ถาไมอิงธรรมก็เหลวไหลใชไมได ถาไมตั้งอยูบนฐานของธรรมก็กลายเปนการไมถูกตอง เพราะฉะนั้น วินัยตองอิงอยูบนฐานของธรรม

อีกดานหนึ่ง เรามีวินัยเพื่ออะไร ก็เพื่อใหคนเราแตละคนนี้ไดมีสภาพแวดลอมท่ีเกื้อกูลในการที่จะเขาถึงธรรม ธรรมจึงเปนจุดหมายของวินัยดวย วินัยนั้นอิงอาศัยธรรม แลวก็เปนไปเพื่อใหคนเขาถึงจุดหมายคือธรรมนั่นเอง

วินัยเปนเปลือกนอก ชวยหอหุมเนื้อในคือธรรมไว ถาไมมีเปลือกนอกหอหุมไว ตอไปไมนานเนื้อในก็จะหายสูญ หรือลบ

Page 30: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๒๑

เลือนไป เพราะฉะนั้น เราจึงตองเห็นความสํ าคัญของทั้งเปลือกนอกและเนื้อใน

ถามะมวงไมมีเปลือก หรือมะพราวไมมีกะลา มันจะอยูไดไหม เราอาจจะบอกวากะลาไมสํ าคัญ เพราะกินไมได แตถาไมมีกะลาเราก็ไมไดกินเนื้อและนํ้ ามะพราว

ในทางกลับกัน ถามีแตเปลือกมะมวงและกะลามะพราวไมมีเนื้อมะมวง ไมมีเนื้อและนํ้ ามะพราว ก็ไมรูจะมีเปลือกมะมวงและกะลามะพราวไวทํ าไม เปลือกและกะลานั้นก็อาจจะกลายเปนขยะ ไมมีประโยชนอะไร

ถากะลาจะมีประโยชนอะไรตอไปโดยไมมีเนื้อมะพราว ก็ไมใชมีประโยชนในฐานะกะลามะพราว แตอาจจะกลายเปนกระบวยตักนํ้ า เปนภาชนะใสขาวกิน หรือเปนเครื่องมือขอทานเปนตน คือ กลายเปนของอยางอื่นไป

เพราะฉะนั้น เราจึงตองเห็นความสํ าคัญของทั้งกะลา และเห็นความสํ าคัญของเนื้อมะพราว

พระพุทธศาสนานั้นมีท้ังธรรมและวินัย และจากหลักธรรมและวินัยนี้ก็จึงมีสงฆ ซ่ึงแบงเปนสมมติสงฆ และอริยสงฆ

ผูเขาถึงเนื้อในคือธรรมแลวก็เปน อริยสงฆ แตถาอยูแคช้ันนอก อยูแควินัย ก็เปนสมมติสงฆ

แตสมมติสงฆน้ันตั้งขึ้นเพื่ออะไร ก็เพื่อความมุงหมายใหมีสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมและเกื้อกูล ในการที่บุคคลทั้งหลายจะปฏิบัติธรรม เพื่อจะไดรวมเปนอริยสงฆ และสมมติสงฆน้ีแหละจะรักษาพระธรรมวินัยไว เปนผูท่ีคอยเผยแพรประกาศธรรมไว เพื่อ

Page 31: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๒๒

จะใหมีคนไดมาเขารวมเปนอริยสงฆไดตอๆ นานๆ เรื่อยๆ ไปเพราะฉะนั้น สมมติสงฆก็มีความสํ าคัญ

แตอริยสงฆก็มีความสํ าคัญ ถาไมมีอริยสงฆจะมีสมมติสงฆไวทํ าไม ก็ไมมีความหมาย เพราะสิ่งที่ใหความหมายแกสมมติสงฆ ก็คือความเปนอริยสงฆ แตสิ่งที่เอื้อตอการเกิดมีและคงอยูของอริยสงฆ ก็คือสมมติสงฆ

สิ่งที่ใหความหมายแกวินัยก็คือธรรม แตสิ่งที่จะรักษาธรรมไวก็คือวินัย เพราะฉะนั้น พระพุทธศาสนาจึงมีสวนประกอบทั้งสองอยาง

ธรรมกับวินัย อิงอาศัยและประสานสัมพันธกัน และรวมเขาดวยกันเปนอันหนึ่งอันเดียว ดังที่ทานเรียกเปนคํ าศัพทคํ าเดียวเปนเอกพจนวา ธรรมวินัย เมื่อรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงเปนพระพุทธศาสนา

คลายกับท่ีนามและรูป ประกอบกันเขาเปนชีวิต นามและรูป อิงอาศัยและประสานสัมพันธกัน และรวมเขาดวยกันเปนอันหนึ่งอันเดียว ดังที่ทานเรียกเปนคํ าศัพทคํ าเดียวเปนเอกพจนวานามรูป เมื่อรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันจึงเปนชีวิต ถาขาดอยางหนึ่งอยางใดก็เปนชีวิตไมได

สํ าหรับพระสงฆน้ัน เราจะเห็นวามีธรรมและวินัยควบคูกันอยู

แตสํ าหรับฝายคฤหัสถในประเทศไทยปจจุบันนี้ ควรจะตองมีการเตือนกันวา เราอาจจะมีการเนนเอียงสุดไปขางใดขางหนึ่งมากเกินไป

Page 32: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๒๓

บางทีเรามานึกกันแตในแงธรรม จนกระทั่งสังคมพุทธไทยไมมีวินัยเปนของตนเอง ชาวพุทธไทยไมรูจักวาอะไรเปนวินัยของตน ถาเปนอยางนั้น สังคมพุทธจะดํ ารงอยูไดอยางไรในระยะยาวและถาสังคมรักษารูปแบบอยูไมได ตอไปเนื้อในคือธรรมก็จะอยูไมไดเชนเดียวกัน

ในทํ านองเดียวกัน พระสงฆถามีแตวินัยรักษารูปแบบไวแตไมอาศัยวินัยนั้นชวยใหรูเขาใจและกาวไปในธรรม ก็จะไมสามารถเปนพระสงฆท่ีแทจริง

ปจจุบันนี้เปนที่นาสงสัยวา การใหความสํ าคัญอยางพอดีระหวางองคประกอบสองอยางนี้ ในพุทธศาสนายังเปนไปดวยดีหรือไม ขอฝากไวพิจารณาดวย

Page 33: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๔เปนกรรมวาท กิริยวาท วิริยวาท

ลักษณะที่ ๔ พระพุทธศาสนานั้นมีช่ืออยางหนึ่งวา เปนกัมมวาท หรือกรรมวาที

พระพุทธเจาเคยตรัสวา พระพุทธเจาทั้งหลาย ทานใชคํ าวาทั้งหลาย คือไมเฉพาะพระพุทธเจาองคเดียวเทานั้น แตทุกองคท้ังหมด ไมวาจะเปนพระพุทธเจาทั้งหลายในอดีตก็ตาม ในอนาคตก็ตาม แมองคท่ีอยูในยุคปจจุบันก็ตาม ลวนเปนกรรมวาทะ เปนกิริยวาทะ และเปนวิริยวาทะ หรือเปนกรรมวาที และกิริยวาที(เวลาใชวาที ทานมีแคสอง คือ กรรมวาทีและกิริยวาที แตเมื่อเปนวาทะมีสาม คือเปนกรรมวาทะ กิริยวาทะ และวิริยวาทะ)

หมายความวา พระพุทธศาสนานั้นสอนหลักกรรม สอนวาการกระทํ ามีจริง เปนกรรมวาทะ สอนวาทํ าแลวเปนอันทํ า เปนกิริยวาทะ สอนวาความเพียรพยายามมีผลจริง ใหทํ าการดวยความเพียรพยายาม เปนวิริยวาทะ ใหความสํ าคัญแกความเพียรเปนศาสนาแหงการกระทํ า เปนศาสนาแหงการเพียรพยายาม ไมใชศาสนาแหงการหยุดนิ่งเฉยหรือเฉื่อยชาเกียจคราน

ลักษณะของหลักกรรมนี้ เปนเรื่องที่นาพิจารณา เพราะกรรมเปนหลักใหญในพระพุทธศาสนา จะตองมีการเนนอยูเสมอ

หลักการของศาสนานั้น ก็เหมือนกับหลักการปฏิบัติท่ัวไปในหมูมนุษย เมื่อเผยแพรไปในหมูมนุษยวงกวาง ซ่ึงมีระดับสติ

Page 34: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๒๕

ปญญาตางกัน มีความเอาใจใสตางกัน มีพื้นเพภูมิหลังตางๆ กันนานๆ เขาก็มีการคลาดเคลื่อนเลือนลางไปได จึงจะตองมีการทํ าความเขาใจกันอยูอยางสมํ่ าเสมอ

เฉพาะอยางยิ่ง สํ าหรับพระพุทธศาสนา ซ่ึงเปนศาสนาที่ไมบังคับความเชื่อ ไมเอาศรัทธาเปนใหญ ใหเสรีภาพทางปญญาหลักคํ าสอนและหลักการปฏิบัติตองขึ้นตอการศึกษา ถาการศึกษาหยอนลงไป พระพุทธศาสนาก็เลือนลางและเพี้ยนไดงาย

เรื่องกรรมนี้ก็เปนตัวอยางสํ าคัญ เมื่อเผยแพรไปในหมูชนจํ านวนมากเขา ก็มีอาการที่เรียกวาเกิดความคลาดเคลื่อน มีการเฉไฉ ไขวเขวไป ท้ังในการปฏิบัติ และความเขาใจ

หลักกรรมในพระพุทธศาสนานี้ ทานสอนไวเพื่ออะไร ท่ีเห็นชัดก็คือ เพื่อไมใหแบงคนโดยชาติกํ าเนิด แตใหแบงดวยการกระทํ าความประพฤติ น่ีเปนประการแรก

ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา กมฺมุนา วสโล โหติ กมฺมุนา โหติพฺราหฺมโณ คนไมใชตํ่ าทรามเพราะชาติกํ าเนิด แตจะเปนคนตํ่ าทราม ก็เพราะกรรมคือการกระทํ า คนมิใชจะเปนพราหมณเพราะชาติกํ าเนิด แตเปนพราหมณ คือผูบริสุทธิ์ เปนคนดีคนประเสริฐ ก็เพราะกรรมคือการกระทํ า (ทางกาย วาจา และความคิด)

ตามหลักการนี้ พระพุทธศาสนายึดเอาการกระทํ าหรือความประพฤติ มาเปนเครื่องจํ าแนกมนุษย ในแงของความประเสริฐ หรือความเลวทราม ไมใหแบงแยกโดยชาติกํ าเนิด

ความมุงหมายในการเขาใจหลักกรรม ประการที่สอง ท่ีทานเนน ก็คือการรับผิดชอบตอตนเอง

Page 35: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๒๖

คนเรานั้นมักจะซัดทอดสิ่งภายนอก ซัดทอดปจจัยภายนอก ไมรับผิดชอบตอการกระทํ าของตนเอง เวลามองหาความผิดตองมองไปที่ผูอื่นกอน มองที่สิ่งภายนอกกอน

แมแตเดนิเตะกระโถน กต็องบอกวาใครเอากระโถนมาวางซุมซาม ไมวาตนเดนิซมุซาม เพราะฉะนัน้ จึงเปนลกัษณะของคน ท่ีชอบซัดทอดปจจัยภายนอก

แตพระพทุธศาสนาสอนใหรับผดิชอบการกระทํ าของตนเอง ใหมีการสํ ารวจตนเองเปนเบื้องแรกกอน

ประการตอไป ทานสอนหลักกรรมเพื่อใหรูจักพึ่งตนเอง ไมฝากโชคชะตาไวกับปจจัยภายนอก ไมใหหวังผลจากการออนวอนนอนคอยโชค ใหหวังผลจากการกระทํ า ทานจึงสอนเรื่องกรรมคูกับความเพียร เหมือนอยางหลักที่ยกมาใหดูตั้งแตตนที่วา พระพุทธศาสนาเปนกรรมวาที และเปนวิริยวาที

หลักกรรมในพระพุทธศาสนาสอนวา ความสํ าเร็จเกิดขึ้นจากการกระทํ าตามทางของเหตุและผล คือผลจะเกิดขึ้นตามเหตุปจจัย เทาที่เรามีเรี่ยวแรงเพียรพยายามทํ าได

อน่ึง หลักกรรมของเรานี้ ตองแยกใหดีจากลัทธิ ๓ ลัทธิ ในพระไตรปฎกทานกลาวไวหลายแหงเกี่ยวกับลัทธิท่ีผิด ซ่ึงตองถือวาเปนเรื่องละเอียดออน เพราะเมื่อพูดไปไมชัดเจนพอ ก็อาจจะทํ าใหเกิดความเขาใจผิด

ลัทธิท่ีพระพุทธเจาตรัสไว วาผิดหลักกรรม มีอยู ๓ ลัทธิลัทธิท่ี ๑ คือ ปุพเพกตวาท ลัทธิกรรมเกา เอาแลว พุทธ-

ศาสนิกชนไดฟง ชักยุงแลว

Page 36: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๒๗

ลัทธิท่ี ๒ คือ อิศวรนิรมิตวาท ลัทธิท่ีถือวาพระผูเปนเจาเนรมิต หรือเทพเจาผูยิ่งใหญบันดาล

ลัทธิท่ี ๓ คือ อเหตุวาท ลัทธิท่ีถือวาความเปนไปตาง ๆ ไมมีเหตุปจจัย แลวแตโชคชะตา

๓ ลัทธิน้ีพระพุทธศาสนาถือวา ไมทํ าใหคนมีความเพียรพยายามในการที่จะทํ า เพราะถาทุกสิ่งทุกอยางที่คนเราไดรับ หรือสุขและทุกขท้ังหลายที่เราไดประสบ เปนเพราะกรรมเกาบันดาลแลว เราก็ตองนอนรอแตกรรมเกา เพราะจะทํ าอะไรไปก็ไมไดผลจะแกไขอะไรไปก็ไมมีประโยชน

ในทํ านองเดียวกัน ถาเชื่อวาเปนเพราะอิศวร คือเทพเจาผูยิ่งใหญบันดาล ก็ออนวอนเอาสิ ไมตองทํ าอะไร

แมแตถาถือวาไมมีเหตุปจจัย มันบังเอิญเปนไปเองแลวแตโชคชะตา เราก็ทํ าอะไรไมมีผลเหมือนกัน เพราะตองแลวแตโชคชะตา

ผลท่ีสุด สามหลักสามลัทธิน้ี ไมทํ าใหคนมีการกระทํ า ไมทํ าใหคนมีฉันทะ หรือมีความเพียรพยายามในการกระทํ าเหตุตางๆ พระพุทธเจาตรัสวาเปนลัทธิท่ีผิด

โดยเฉพาะลัทธิท่ีหนึ่ง คือปุพเพกตวาท ลัทธิกรรมเกานั้นเปนลัทธิของนิครนถ มีพระสูตรหนึ่งที่พูดถึงเรื่องนี้ไวยาวหนอย คือเทวทหสูตร ในพระไตรปฎกเลม ๑๔ พูดถึงเรื่องกรรมเกา ซ่ึงเปนลัทธิของนิครนถ

พุทธศาสนาก็สอนเรื่องกรรมเหมือนกัน แตมีท้ังกรรมเกากรรมปจจุบัน และกรรมที่จะทํ าตอไปในอนาคต กับท้ังถือวากรรม

Page 37: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๒๘

น้ันเปนเพียงกระบวนการแหงเหตุผลท่ีเกี่ยวกับการกระทํ าของมนุษย เปนสวนหนึ่งของกฎเกณฑแหงความเปนไปตามเหตุปจจัย

กระบวนการแหงปจจัยนั้นสืบเนื่องดํ าเนินอยูเสมอตลอดเวลา โดยเปนไปตามปจจัยที่เกี่ยวของหลายอยาง ไมใชวาเปนไปเพราะกรรมเกาอยางเดียว

เพราะฉะนั้น จะตองระวังใหดี ตองแยกหลักกรรมของพระพทุธศาสนาออกจากลทัธกิรรมเกาใหได นอกจากลทัธกิรรมเกาแลวกต็องระวงัไมใหไปตกไปตดิในอศิวรนริมติวาท และอเหตอุปจจัยวาทดวย

ท่ีพูดมานี้โดยสาระสํ าคัญก็มุงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาน้ันเปนกรรมวาทะ แตหลักกรรมของพระพุทธศาสนาเปนอยางไรน้ัน ในฐานะที่เปนพุทธศาสนิกชน เมื่อกรรมเปนหลักธรรมสํ าคัญในพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนก็จะตองระวังตั้งใจคอยศึกษาใหแมนยํ าชัดเจนอยูเสมอ เพื่อใหรูวาหลักกรรมในพระพุทธศาสนาน้ันอยางไรแน

อยาใหไขวเขวผิดไปนับถือเอาลัทธิกรรมเกาของนิครนถเขาเดี๋ยวเราจะกลายเปนนิครนถไปโดยไมรูตัว ท้ังๆ ท่ีรูปแบบของเรายังเปนพุทธ แตเนื้อตัวที่แทของเราอาจจะกลายเปนนิครนถไปก็ได

Page 38: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๕เปนวิภัชชวาท

ลักษณะที่ ๕ พระพุทธศาสนาเปนวิภัชชวาท ดังที่ไดเปนคํ าสํ าคัญในการสังคายนาครั้งที่ ๓ ซ่ึงพระโมคคัลลีบุตรติสเถระเปนประธาน

ครั้งนั้นพระเจาอโศกมหาราช เปนพระเจาแผนดินผูอุปถัมภการสังคายนา เรียกวาเอกอัครศาสนูปถัมภก พระเจาอโศกมหาราช ไดตรัสถามพระโมคคัลลีบุตรติสเถระวา พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงมีวาทะอยางไร สอนอยางไร พระโมคคัลลีบุตร-ติสสเถระทูลตอบวา พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงเปน วิภัชชวาที

วิภัชชวาทเปนลักษณะอยางหนึ่งของคํ าสอนในพระพุทธศาสนา ท่ีวาพระพุทธเจาเปนวิภัชชวาที หรือเปนวิภัชชวาทะนั้นวิภัชชวาท คืออะไร คือการแสดงความจริงหรือการสอนโดยแยกแยะจํ าแนก หมายความวา ไมมองความจริงเพียงดานเดียว แตมองความจริงแบบแยกแยะจํ าแนกครบทุกแงดาน ไมดิ่งไปอยางใดอยางหนึ่ง หลักการแสดงความจริงดวยวิธีจํ าแนกแยกแยะอยางน้ัน เรียกวา วิภัชชวาท

เปนความโนมเอียงของมนุษย ท่ีจะมองอะไรขางเดียวดานเดียว พอเจออะไรอยางหนึ่ง เพียงไดเห็นดานเดียว ก็เหมาสรุปวาน่ันคือสิ่งนั้น ความจริงคืออยางนั้น แตความจริงที่แทของสิ่งทั้งหลายมีหลายดาน จึงตองมองใหครบทุกแงทุกดาน

Page 39: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๓๐

พระพุทธศาสนา มีลักษณะจํ าแนกแยกแยะ ดังที่เรียกวาวิภัชชวาท คํ าวา “วิภัชช” แปลวา จํ าแนกแยกแยะ

การจํ าแนกแยกแยะที่สํ าคัญ คือในดานความจริง เชน เมื่อพูดถึงชีวิตคน ทานจํ าแนกออกไปเปนขันธ ๕ โดยแยกออกเปนรูปธรรมและนามธรรมกอน แลวแยกนามธรรมออกไปอีกเปน ๔ขันธ แมแต ๔ ขันธน้ัน แตละขันธยังแยกแยะจํ าแนกยอยออกไปอีก คือแยกแยะความจริงใหเห็นทุกแงทุกดาน ไมตีคลุมไปอยางเดียว ตางจากคนจํ านวนมากที่มีลักษณะตีขลมุ และจบัเอาแงเดยีวไปเหมาคลมุเปนทัง้หมด ทํ าใหมกีารผกูขาดความจรงิโดยงาย

แมแตในการตอบคํ าถามบางประเภท ก็ตองมีลักษณะของการจํ าแนกแยกแยะ ไมตอบตีขลุมลงไปอยางเดียว ยกตัวอยางเชน มีผูมาทูลถามพระพุทธเจาวา คฤหัสถคือชาวบานนั้น เปนผูท่ีจะยังขอปฏิบัติท่ีเปนกุศลใหสํ าเร็จ แตบรรพชิตไมสามารถทํ าอยางน้ันได ใชหรือไม

น่ีถาตอบแบบลงความเห็นขางเดียว ท่ีเรียกวาเอกังสวาทก็ตองตอบดิ่งไปขางหนึ่ง โดยตองปฏิเสธ หรือวารับ ถายอมรับก็บอกวาใชแลว คฤหัสถเทานั้นทํ าสํ าเร็จ บรรพชิตไมสํ าเร็จ ถาปฏิเสธก็บอกวาไมใช คฤหัสถไมสํ าเร็จ บรรพชิตจึงจะสํ าเร็จ

แตพระพุทธเจาไมตรัสอยางนั้น พระพุทธเจาตรัสแบบวิภัชชวาท ทรงชี้แจงวาพระองคไมตรัสเอียงไปขางเดียวอยางนั้นพระองคตรัสวา คฤหัสถก็ตาม บรรพชิตก็ตาม ถามีสัมมาปฏิบัติแลว ก็ทํ ากุศลธรรมใหสํ าเร็จท้ังสิ้น แตไมวาจะเปนบรรพชิตก็ตามเปนคฤหัสถก็ตาม ถามีมิจฉาปฏิบัติ คือปฏิบัติผิดแลว ก็ทํ ากุศล

Page 40: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๓๑

ธรรมใหสํ าเร็จไมไดดวยกันทั้งสองฝาย ลักษณะอยางนี้เรียกวาวิภัชชวาท

อีกตัวอยางหนึ่ง เชนมีคนมากราบทูลถามพระพุทธเจาวาวาจาที่ไมเปนที่ชอบใจของคนอื่น พระองคตรัสไหม ถาเปนเรา เราจะตอบวาอยางไร ถาเขามาถามวา คํ าพูดที่คนอื่นไมชอบใจ ไมเปนที่รักของเขา ทานพูดไหม ทานจะตอบวาอยางไร ถาตอบวาพูดหรือตอบวาไมพูด ก็เรียกวาตอบดิ่งไปขางเดียว

แตพระพุทธเจาไมตรัสอยางนั้น พระองคตรัสวา ในขอน้ีเราไมตอบดิ่งไปขางเดียว แลวพระองคก็ตรัสแยกแยะใหฟงวาวาจาใดไมจริง ไมเปนประโยชน ไมถูกใจผูฟง พระองคไมตรัสวาจาใดเปนคํ าจริง ไมเปนประโยชน ไมถูกใจผูฟง พระองคไมตรัสวาจาใดเปนค ําจรงิ เปนประโยชน ไมถกูใจผฟูง พระองคเลือกกาลทีจ่ะตรสัวาจาใดไมจริง ไมเปนประโยชน ถูกใจผูฟง พระองคไมตรัสวาจาใดจริง ไมเปนประโยชน ถูกใจผูฟง พระองคก็ไมตรัสวาจาใดเปนคํ าจริง เปนประโยชน ถูกใจผฟูง พระองคเลือกกาลที่จะตรัส

เขาถามเพียงคํ าถามเดียว พระองคตรัสแยก ๖ อยาง ขอใหพิจารณาดู อยางนี้เรียกวาวิภัชชวาท

น่ีเปนตัวอยางที่แสดงถึงลักษณะทาทีของการสนองตอบ หรือปฏิกิริยาตอสิ่งทั้งหลายแบบชาวพุทธ ซ่ึงมีการมองอยางวิเคราะหและแยกแยะจํ าแนกแจกแจง เพื่อใหเห็นความจริงครบทุกแงดาน

อีกตัวอยางหนึ่งคือ ในการแยกประเภทคฤหัสถ พระพุทธเจาตรัสกามโภคี ๑๐ ประเภท แสดงหลักการวินิจฉัยคฤหัสถโดย

Page 41: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๓๒

การแสวงหาทรัพย โดยการใชจายทรัพย และโดยทาทีของจิตใจตอทรัพยเปนตน แลวแยกประเภทคฤหัสถไปตามหลักการเหลานี้

หลักการตางๆ ในพระพุทธศาสนาเปนอยางนี้มาก เพราะฉะนั้นเราจะเห็นวา ธรรมในพระพุทธศาสนามีลักษณะพิเศษที่มักจะมีเปนขอๆ โดยรวมเปนชุดๆ ดังที่จัดเปนหมวดธรรมตางๆ เชนหมวดสอง หมวดสาม หมวดสี่ หมวดหา หมวดหก ฯลฯ

พระพุทธเจาทรงเปนนักจํ าแนกธรรม จึงไดรับการเฉลิมพระนามอยางหนึ่งวา ภควา

ภควานั้น แปลไดสองอยาง คือ แปลวาผูมีโชคก็ได แปลวาผูจํ าแนกแจกธรรมก็ได

น้ีเปนลักษณะที่เรียกวาวิภัชชวาท คือเปนนักวิเคราะหจํ าแนกแจกธรรม หรือแยกแยะใหเห็นครบแงดานของความจริง

Page 42: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๖มุงอิสรภาพ

ลักษณะที่ ๖ พระพุทธศาสนา มีวิมุตติ หรือความมีอิสร-ภาพเปนจุดหมายสํ าคัญ และไมใชเปนเพียงจุดหมายเทานั้น แตมีอิสรภาพเปนหลักการสํ าคัญทั่วไปทีเดียว

ในทางธรรมทานใชคํ าวา วิมุตติรส กับ วิมุตติสาระสํ าหรับวิมุตติรสน้ัน พระพุทธเจาตรัสเปนคํ าอุปมาวา

มหาสมุทรแมจะกวางใหญเพียงใดก็ตาม แตน้ํ าในมหาสมุทรที่มากมายทั้งหมดนั้น มีรสเดียว คือรสเค็ม ฉันใด ธรรมวินัยของพระองคท่ีสอนไวมากมาย ท้ังหมดก็มีรสเดียวคือวิมุตติรส ไดแกความหลุดพนจากทุกขและปวงกิเลส ฉันนั้น

ภาษาสมัยใหมเรียกความหลุดพนวา อิสรภาพ เดี๋ยวนี้เราไมใชค ําวาวมิตุต ิเราตดิค ําวาอสิรภาพ แตท่ีจริงเราใชค ําวา อสิรภาพในความหมายของวิมุตติน่ันเอง

เวลาแปลเปนภาษาอังกฤษจะเห็นชัด ฝร่ังแปลวิมุตติวาfreedom เราแปลอิสรภาพ ก็วา freedom ตรงกัน แตในภาษาไทยคนไทยแทนที่จะใชคํ าวาวิมุตติ กลับไปใชคํ าวาอิสรภาพ

ท่ีจริง ในภาษาบาลีเดิม อิสรภาพไมไดแปลวา freedomอิสรภาพนั้นแปลวาความเปนใหญ ตรงกับ sovereignty หรือแมแต domination หรือ dominion คือความมีอํ านาจเหนือหรือเปน

Page 43: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๓๔

ใหญ แตเราใชอิสรภาพในความหมายของ freedom เพราะฉะนั้นอิสรภาพที่ใชกันในภาษาไทยจึงไปตรงกับคํ าวาวิมุตติ

พระพุทธศาสนานั้น มีลักษณะของความหลุดพน หรือความเปนอิสระอยูโดยตลอด จุดหมายของพระพุทธศาสนา ก็ไดแกวิมุตติ

พระพุทธเจาตรัสอีกแหงหนึ่งวา วมิตุตฺสิารา สพเฺพ ธมมฺาธรรมทั้งหลายทั้งปวงมีวิมุตติเปนสาระ คือมีวิมุตติเปนแกนสาร ซ่ึงก็มีความหมายอันเดียวกัน

รวมความวา ลักษณะนี้บอกใหทราบวา พระพุทธศาสนาถือเอาวิมุตติหรืออิสรภาพนี้ เปนจุดหมาย เปนหลักการสํ าคัญและใหความสํ าคัญแกอิสรภาพทุกขั้นตอน ไมเฉพาะในขั้นสุดทายท่ีวาตองการใหคนเขาถึงความหลุดพนเทานั้น แตมีลักษณะของการไมยึดติดถือมั่น ไมมีอุปาทานในสิ่งตาง ๆ อยูโดยตลอด

จะเห็นวา หลักการของพระพุทธศาสนานี้บางครั้งก็สรุปดวยคํ าวา สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย คือใหรูเขาใจความจริงถึงขั้นที่วา ธรรมทั้งหลายทั้งปวงนั้นไมอาจเขาไปยึดมั่นถือมั่นได

ไมอาจ-ไมนา-ไมควรยึดติดถือมั่น เพราะอะไร เพราะวาสิ่งท้ังหลายนั้นไมไดเปนไปตามความปรารถนา หรือตามความยึดมั่นของเรา แตมันเปนไปตามธรรมดาแหงเหตุปจจัยของมัน ถึงเราจะไปยึดมั่น ก็ไมมีผลอะไรตอตัวความจริง มีแตจะกระทบกระเทือนตอตัวเราเอง ทํ าใหเราแยเอง คือ เดือดรอนเปนทุกข

วิธีปฏิบัติท่ีถูกตองคือ เราจะตองรูความจริงของเหตุปจจัยแลวไปทํ าที่เหตุปจจัย

Page 44: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๓๕

เพราะฉะนั้น เราจะตองรูเทาทันความจริงวา สิ่งทั้งหลายเปนไปตามเหตุปจจัย ไมเปนไปตามความปรารถนาของเรา การเขาไปยึดมั่นถือมั่น ไมเปนประโยชน และเปนสิ่งที่เปนไปไมได แลวก็ไมทํ าใหมีผลเปนจริงขึ้นมาได

พระพุทธศาสนาจึงสอนใหเรามีอิสรภาพ โดยฝกตนใหรูจักท่ีจะไมยึดติดถือมั่นในสิ่งทั้งหลาย จนกระทั่งเมื่อรูความจริง รูเทาทันชัดแจงทั่วตลอดแลว ก็จะมีจิตหลุดพนเปนอิสระ

แมแตในขั้นตนๆ สํ าหรับการปฏิบัติท่ียังไมถึงขั้นเปนวิมุตติก็จะมีลักษณะของการไมยึดติดอยูเสมอ เชน พระพุทธศาสนาไมใหความสํ าคัญสูงสุดแกศรัทธา การบรรลุจุดหมายของพระพุทธศาสนา หรือการเขาถึงอิสรภาพ ไมข้ึนตอศรัทธาหรือความเชื่อ แตจะหลุดพนไดเพราะรูเห็นแจงดวยตนเอง อันนี้เปนลักษณะของการไมยึดติด

เริ่มตั้งแตไมใหยึดติดในบุคคล แตใหรูจักพึ่งพาบุคคลในทางที่ถูกตอง เอาเขาเปนสื่อในการที่จะนํ าเราใหเขาไปหาสัจธรรมดวยการเปนกัลยาณมิตร

หลายทานคงเคยไดยินเรื่องพระวักกลิ ซ่ึงบวชเขามาแลว ก็พอใจในพระรูปพระโฉมของพระพุทธเจามาก ชอบติดตามพระองคไปในที่ตางๆ เรื่อยไป

พระพุทธเจาทรงคอยมองดู และทรงรอใหอินทรียของพระวักกลิแกกลา จนถึงคราวหนึ่งก็ไดตรัสวา “ดูกอนวักกลิ เธอจะตามดูทํ าไมรางกายที่เปอยเนาไดน้ี” แลวก็ตรัสวา “ผูใดเห็นธรรม ผูน้ัน

Page 45: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๓๖

เห็นเรา ผูใดเห็นเรา ผูน้ันเห็นธรรม” คือ ใหยายความสนใจ และความติดใจ ออกจากตัวบุคคล ไปหาตัวธรรมหรือสัจธรรม

อันนี้เปนลักษณะของการที่ไมใหติด ไมใหยึด ในสิ่งทั้งหลาย แมแตในระดับของการปฏิบัติข้ันตนๆ จนถึงขั้นสุดทายก็ใหมีอิสรภาพโดยสมบูรณ เรื่องนี้ขอผานไปกอน พูดกันเพียงพอไดเคาความ

Page 46: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๗เปนศาสนาแหงปญญา

ลักษณะที่ ๗ พระพุทธศาสนาถือปญญาเปนยอดธรรมหรือเปนธรรมแกนกลาง ดังพุทธพจนวา ปฺุตฺตรา สพฺเพ ธมฺมาธรรมทั้งหลายทั้งปวงมีปญญาเปนยอดยิ่ง

พระพุทธศาสนาถือวาปญญาเปนธรรมสูงสุด เปนตัวตัดสินขั้นสุดทายในการที่จะเขาถึงจุดหมายของพระพุทธศาสนา แมแตพระนามที่เรียกวาพระพุทธเจา คือ “พุทธะ” ก็หมายถึงตรัสรูดวยปญญา หรือมีปญญาตรัสรูธรรม

อยางที่ไดบอกเมื่อกี้น้ีวา พระพุทธศาสนาไมใชศาสนาแหงศรัทธา แตเปนศาสนาแหงปญญา ซ่ึงบางทีก็เปนจุดออน และหลายคนก็ถือวา เปนจุดออนของพระพุทธศาสนา เพราะเหตุท่ีใหอิสรภาพทางปญญาแกคนมาก เมื่อไมมีการศึกษากันจริงจัง ก็ทํ าใหชาวพุทธเปนคนที่ไมคอยเอาเรื่องเอาราว

ดูงายๆ ในดานขอปฏิบัติ ในหมูชาวพุทธในเมืองไทยปจจุบันนี้ จับไมคอยไดวา ชาวพุทธถือขอปฏิบัติอะไรกันบาง จะเอาอะไรเปนเครื่องกํ าหนดวาเปนชาวพุทธ จะมองเปนรูปธรรมก็หาไมเห็น เพราะไปเอาแตปญญา แลวแตใครมีปญญาพิจารณาจะเลือกปฏิบัติเทาไหนก็ไดตามสมัครใจ

Page 47: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๓๘

เรื่องนี้ตางจากในศาสนาอื่น ซ่ึงสวนมากเปนศาสนาแหงศรัทธา เขาจะบังคับกันเลย หามสงสัย ไมตองถาม ฉันบอกอยางนี้เธอทํ าไปก็แลวกัน เขามีแบบแผนที่กํ าหนดไวชัดเจน และมีขอปฏิบัติท่ีตายตัววา ถาเปนศาสนิกของศาสนานั้นจะตองเชื่อและตองปฏิบัติอยางนั้น ๆ

อยางไรก็ตาม วาที่จริง พระพุทธเจาไดตรัสวางแบบแผนไวใหแลว คือใหเรามีหลัก ๒ อยาง ไดแก ธรรมวินัย อยางที่ไดพูดไวในขอท่ี ๓ วา พระพุทธศาสนาประกอบดวยธรรมกับวินัย

ถาปฏิบัติตามหลักพระพุทธศาสนากันอยางแทจริง ชาวพุทธก็จะไมเปนคนเลื่อนลอย แตจะมีแบบแผนเปนของตนเอง แตเรามองขามเรื่องวินัยไปเสีย จึงขาดลักษณะอันนี้ เพราะมัวเที่ยวหาธรรม แตไมนํ าพาเรื่องวินัย

สวนที่มีหลักวาปญญาเปนสํ าคัญนั้น ก็เพราะวา ปญญาเปนตัวตัดสินในการเขาถึงจุดหมายของพระพุทธศาสนา

มนุษยเรานี้มีประสบการณในเรื่องศาสนากันมาเปนเวลายาวนาน มีนักคิดมากมายเกิดขึ้น แลวก็คนควาหาหลักความจริงมาสอนมนุษย เกิดเปนลัทธิศาสนาตางๆ มากมาย ซ่ึงอาจแยกประเภทไดดังนี้

ศาสนาประเภทหนึ่ง ยํ้ าเรื่อง ศรัทธา เขาบอกวา ใหฝากชีวิต มอบจิตมอบใจไวในองคเทพสูงสุด แลวทํ าตามคํ าสั่งสอนไปไมตองสงสัยอะไรทั้งสิ้น อยางนี้เปนศาสนาที่ใชศรัทธาเปนเครื่องตัดสิน ศรัทธาเทานั้นจะใหทานเขาถึงจุดหมายของศาสนา

Page 48: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๓๙

ศาสนาประเภทที่สอง คือพวกที่ถือ ศีลวัตร เปนตัวตัดสินพวกนี้จะถือระเบียบแบบแผนกฎเกณฑท่ีวางไวให แลวประพฤติปฏิบัติตามนั้น ถือวาจะบริสุทธิ์หลุดพนเขาถึงจุดหมายของศาสนาดวยศีลวัตร ดังมีคํ าในคัมภีรเรียกวา สีเลน สุทฺธิ แปลวา การบริสุทธดวยศีล คือเพียงวายึดถือศีล ขอบังคับ ระเบียบ กฎเกณฑอยางเดียวเทานั้นใหเครงครัดเขมงวด เมื่อปฏิบัติไปตามนั้นไดจริงแลว ก็จะหลุดพนถึงจุดหมายของศาสนาไดเอง อันนี้พระพุทธศาสนาเรียกวา สีลัพพตปรามาส ก็เปนหลักการของศาสนาประเภทหนึ่ง

ศาสนาประเภทที่สาม ไดแกพวกที่ยึดเอา สมาธิ เปนตัวตัดสิน คือบํ าเพ็ญขอปฏิบัติทางจิตใจ ใหจิตดื่มดํ่ า จนกระทั่งในขั้นสุดทาย จิตจะเขารวมกลืนหายกลายเปนหนึ่งเดียวกับภาวะสูงสุดซ่ึงอาจจะเปนเทพสูงสุดหรือเปนปรมาตมันอะไรก็ตาม ศาสนาประเภทนี้มีอยูไมนอย เปนศาสนาขั้นที่ประณีตมาก

รวมแลวก็มี ๓ ประเภทดวยกัน คือ๑. พวกปลงศรัทธา มอบจิตฝากใจใหไปเลย๒. พวกถือศีลวัตร ตัดสินดวยความเครงครัดเขมงวด๓. พวกถือสมาธิ มุงใหจิตดื่มดํ่ าเขารวมกับภาวะสูงสุดแตพระพุทธศาสนา ไมไดถืออยางนั้น พระพุทธศาสนาให

ความสํ าคัญทั้งแกศรัทธา ท้ังแกศีลวัตร และแกสมาธิ ถือวาเปนปจจัยที่ขาดไมได ในการเขาถึงจุดหมาย แตไมใชตัวตัดสิน

Page 49: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๔๐

อันนี้เปนขอท่ีควรตองระวัง ไมใชวา พระพุทธศาสนาจะไมใหความสํ าคัญแกสิ่งเหลานั้น ท้ังศรัทธา ศีลวัตร และสมาธิ เปนบาทเปนฐาน และเปนสิ่งที่ขาดไมได

สํ าหรับศรัทธาน้ัน พระพุทธเจายังเคยตรัสวา สทฺธาย ตรติโอฆํ แปลวาบุคคลยอมขามโอฆะไดดวยศรัทธา ขามโอฆะอะไรขามโอฆสงสารก็คือขามวัฏฏสงสาร หมายความวาพนจากการเวียนวายในความทุกข แสดงวาพระพุทธเจายอมรับวาเราจะพนทุกขไดดวยศรัทธา น่ีถามองเผิน ๆ เราก็บอกวา เอาแคศรัทธาก็พอ

ในกรณีของศีล ก็สามารถอางคํ าบาลีอีกแหงหนึ่ง เวลาพระใหศีลจบทานก็สรุปทุกครั้งวา สีเลน สุคตึ ยนฺติ สีเลน โภค-สมฺปทา สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ บอกวา บุคคลยอมไปนิพพาน คือนิพฺพุตึ ดวยศีล อาว! ถึงนิพพานไดดวยศีลแลวนี่ ก็แสดงวา ยอมรับวาศีลทํ าใหไปนิพพานได พอแลว

สํ าหรับสมาธิก็มีตัวอยางคํ าสอนมากมาย ท่ีจะยกมาอางถาจะอางกันแบบงายๆ วาสมาธิก็พอที่จะถึงนิพพาน ก็สามารถยกตัวอยางนิพพานขั้นตนๆ อยางที่เรียกวา นิโรธ

ในนิโรธ ๕ มีวิกขัมภนนิโรธเปนขอแรก ไดฌานสมาบัติก็ถือวาถึงวิกขัมภนนิโรธ หรือในพระไตรปฎก ท่ีพระพุทธเจาตรัสเรื่องตทังคนิพพาน และทิฏฐธัมมนิพพาน พระพุทธเจายังตรัสวาปฐมฌานก็ตาม ทุติยฌานก็ตาม จนกระทั่งถึงเนวสัญญานา-สัญญายตนะ ซ่ึงเปนสมาธิในระดับประณีต สูงขึ้นไปโดยลํ าดับน้ีแตละอยางเปนนิพพานไดโดยปริยาย พระองคตรัสไวอยางนั้น แตยังไมใชตัวแทตัวจริง

Page 50: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๔๑

พระพุทธศาสนาใหความสํ าคัญแกหลักธรรมเหลานั้น แตพระองคยํ้ าวาปญญานี่แหละเปนตัวตัดสิน ศรัทธาก็เพื่อปญญาศีลวัตรก็เพื่อประคับประคองจนกระทั่งเกิดปญญา โดยเฉพาะศีลวัตรนั้นชวยใหเกิดสมาธิ สมาธิก็ตองนํ าไปสูปญญา ถาไมอยางน้ัน ก็เปนเพียงสมาธิท่ีนํ าไปสูภาวะดื่มดํ่ าทางจิตเทานั้น เปนเรื่องของสมถะ ไมถึงนิพพาน

ตกลงวา จะตองใหถึงขั้นสูงสุดคือปญญา มอีปุมาเหมอืนอยางจะตดัตนไม เราตองมอีะไรบาง ขอใหคดิดู

๑. เราจะตองโนมจิตใจโนมตัวเขาไปหาการตัดตนไมน้ัน ใจเอาดวยกับการที่จะตัดตนไม แลวมุงเขาไปที่ตนไม

๒. ตองมีท่ีเหยียบยัน ถาตัวเราไมมีท่ียัน ไมมีท่ียืนตั้งตัวไว เราก็ทํ าอะไรไมได

๓. ตองมีกํ าลัง ในการที่จะยกมีดขวานขึ้นตัด๔. ตองมีมีดขวานที่คม หรืออุปกรณท่ีใชตัดไดในอุปมานี้ การหันหนามุงเขาไปหาสิ่งนั้น ก็คือ ศรัทธา พื้น

ดินที่เหยียบยันก็ตรงกับท่ีพระพุทธเจาตรัสไวเสมอวา ศีล เปรียบเหมือนพื้นดินเปนที่เหยียบยัน ทํ าใหเราทํ างานการได ประการที่ ๓เรี่ยวแรงกํ าลังของเราในการหยิบยกมีดขวานขึ้นมาตัด น่ันก็คือสมาธิ แลวสุดทายตัวมีด หรือขวานที่คมนั้นก็คือ ปญญา

ตัวที่ตัด ท่ีทํ าใหขาดทํ าใหหลุด ทํ าใหสํ าเร็จกิจ คืออะไร คือมีดหรือขวาน มีดขวานนั้นเปนตัวตัด ทํ าใหงานสํ าเร็จบรรลุจุดหมาย แตถาเราไมมีสามอยางแรก ท้ังที่มีมีดมีขวานเราก็ตัดไมได

Page 51: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๔๒

เพราะฉะนั้น สามอยางแรกก็ขาดไมได แตตัวตัดสินคืออันที่สี่ ไดแกตัวปญญา

พระพุทธศาสนาสอนวา ปญญาเปนตัวตัดสิน จึงถือวาปญญาเปนคุณธรรมสํ าคัญ เปนเอก ปญญาในขั้นสูงสุดคือปญญาในขั้นที่จะทํ างานรูเทาทันสัจธรรม ท่ีจะตัดสังโยชนเครื่องผูกมัดตัวไวกับวัฏฏสงสาร ไวกับความทุกข ไดแกปญญาที่มีช่ือเรียกเฉพาะวา วิปสสนา

วิปสสนาก็คือปญญานั่นแหละ แตเปนปญญาในระดับหนึ่งประเภทหนึ่ง ทํ าหนาที่อยางหนึ่ง ซ่ึงเราเรียกชื่อเฉพาะวาเปนวิปสสนา

วิปสสนานี้เปนขอปฏิบัติจํ าเพาะในพระพุทธศาสนา เพราะฉะนั้น จึงบอกวา ปญญา โดยเฉพาะที่เรียกชื่อวา วิปสสนานี้ เปนลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนา มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา

ปญญานี้เปนแกนกลางที่รอยประสานอยูในหลักพระพุทธศาสนา ท่ีพระพุทธเจาตรัสไวในที่ตางๆ อยางเชนหลักการทั่วไปที่ตรัสไวในคาถาวา พหุํ เว สรณํ ยนฺติ ปพฺพตานิ วนานิ จ เปนตน

คาถานี้มีใจความวา คนทั้งหลายถูกภัยคือความกลัวคุกคามแลว ยอมยึดถือสิ่งทั้งหลายมากมายเปนสรณะ เชนยึดเอาเจาปาเจาเขาตนไมศักดิ์สิทธิ์ เปนที่พึ่ง แตสิ่งเหลานั้น ไมใชสรณะอันเกษม คนยึดเอาสิ่งเหลานั้นเปนสรณะแลว ไมสามารถพนจากทุกขท้ังปวงได

สวนผูใดถึงพระรัตนตรัย ยึดเอาพระพุทธเจา พระธรรมพระสงฆเปนสรณะแลว มองเห็นอริยสัจจ ๔ คือพิจารณาดวย

Page 52: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๔๓

ปญญารูเขาใจสัจธรรม รูจักทุกข รูตัวปญหา รูเหตุของปญหา รูจักจุดหมายของตนเองที่เปนความดับทุกขแลว ปฏิบัติตามมรรคาที่ถูกตอง ซ่ึงเปนทางสายกลาง ดับทุกขได อันนั้นจึงจะเปนสรณะที่แทจริง อันเกษม

เรื่องพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ หรือสรณะ ๓ น้ีมีความหมายอยางไร เปนเรื่องที่จะตองทํ าความเขาใจกันตอไปใหชัดเจนอยางนอยจะตองเขาใจวาการยึดถือพระรัตนตรัยเปนสรณะ จะนํ าไปสูการมองเห็นอริยสัจจ ๔ อยางไร

แตในที่น้ีตองการพูดแคใหเห็นวาทานเนนความสํ าคัญของปญญา และปญญาโดยเฉพาะขั้นที่ทํ าลายกิเลส คือ วิปสสนา

Page 53: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๘สอนหลักอนัตตา

ลักษณะที่ ๘ พระพุทธศาสนาประกาศหลักสํ าคัญเกี่ยวกับความจริงของสิ่งทั้งหลาย หรือของสภาวธรรมตางๆ เรียกวาหลักอนัตตา

หลักอนัตตานี้เปนหลักที่ใหม ไมเคยมีผูคนพบมากอนความยึดติดในอัตตาหรือตัวตน เปนสิ่งที่ฝงลึกแนบแนนในจิตใจมนุษยเปนอยางมาก มนุษยจะรักษา หวงแหนความรูสึกผูกพันในอัตตานี้ไว อยางเหนียวแนนที่สุดเทาที่จะทํ าได

แมแตเมื่อหันมาคนควาสัจธรรมในทางศาสนา เขาก็จะตองเพียรพยายามที่จะรักษาอัตตานี้ไวใหได เพราะฉะนั้น นักคิดท้ังหลายจึงพัฒนาภาพอัตตาที่ยึดไวน้ันใหประณีตยิ่งขึ้นไปโดยลํ าดับ

จะเห็นวา ในศาสนาตางๆ มีแตคํ าสอนที่ใหพยายามเขาหาอัตตา เขาถึงอัตตา ปรากฏวามีศาสนาเดียวคือพระพุทธศาสนาเทานั้น ท่ีสอนหลักอนัตตา ท่ีประกาศวาในที่สุดแลวสิ่งทั้งหลายไมใชอัตตา ไมสามารถยึดถือเปนอัตตาได

พระอรรถกถาจารยบอกวา ศาสดาตางๆ ในหลายศาสนารูหลักอนิจจังแลว รูหลักทุกขังแลว เพราะฉะนั้น หลักอนิจจัง และทุกขังจึงมีในศาสนาอื่นที่มีความกาวหนาในทางสติปญญาดวย แตไมมีศาสนาใดอื่นที่ประกาศหลักอนัตตา ฉะนั้น พระพุทธ

Page 54: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๔๕

ศาสนาจึงเปนหลักคํ าสอนเดียว ท่ีทวนกระแส ยอนทางของจิตใจสลายความยึดติดหวงแหนของมนุษย

การที่จะมองเห็นสภาวะที่เปนอนัตตานี้ บงบอกถึงการที่ตองมีปญญา คือการมีปญญารูเทาทันคติธรรมดา เห็นแจงความจริงของสิ่งทั้งหลายที่ดํ ารงอยูและเปนไปตามธรรมดาของมัน อันมีอยูตามสภาวะ ไมมีใครที่จะไปเปนเจาของ สั่งบังคับใหเปนไปตามใจปรารถนาได ไมวาจะเปนรูปธรรมหรือนามธรรม แมกระทั่งนิพพาน

ท่ีเห็นไดงายก็คือ สิ่งทั้งหลายทั่วๆ ไป ท่ีเรียกวาสังขาร หรือเอาคํ าคุนๆ คือขันธ ๕ สิ่งเหลานี้ก็เปนไปตามธรรมดาของมัน คือมันไมเปนไปตามใจชอบหรือตามใจอยากของใคร แตมันเปนไปตามเหตุปจจัย

ในขันธ ๕ น้ัน ไมมีตัวคงที่ ท่ีเปนตัวบันดาลเปนตัวบังคับสิ่งทั้งหลายใหเปนไปอยางใดอยางหนึ่ง แตมันประกอบขึ้นจากปจจัยยอยๆ มาประมวลกันเขา และปจจัยตางๆ แตละอยางนั้นอาศัยสัมพันธซ่ึงกันและกัน แลวก็เปนไปตามเหตุปจจัย

ในความสัมพันธซ่ึงกันและกันนั้น ไมมีสิ่งโดยลํ าพังตัวของมันเอง ไมมีใครหรืออะไรจะเปนเจาของครอบครองหรือสั่งบังคับบัญชามันได น้ีคือหลักความจริงที่เรียกวาอนัตตา ในระดับของสังขารทั่วไป

การไมยึดติดในอัตตา จะไปสัมพันธกับหลักที่ไมใหยึดติดถือมั่นดวยความปรารถนาของตัวตน แตใหรูเทาทันวา สิ่งทั้งหลายน้ัน เราจะใหเปนอยางนั้นอยางนี้ตามความปรารถนาไมได คือเรา

Page 55: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๔๖

จะเอาความปรารถนาของตัวตนนี้ ไปบังคับสิ่งทั้งหลายใหเปนไปตามที่เราตองการไมได เพราะวาสิ่งทั้งหลายดํ ารงอยูและเปนไปตามธรรมดาของมัน คือดํ ารงอยูตามสภาวะอยางนั้นๆ หรือไมก็เปนไปตามเหตุปจจัยของมัน ซ่ึงเราจะตองเรียนรูเหตุปจจัยของมันแลวไปทํ าไปแกท่ีเหตุปจจัย

อนัตตานี้จะโยงไปหาหลักสํ าคัญของพระพุทธศาสนาในขอตอไปดวย

พึงสังเกตวา ในพระพุทธศาสนา ทานสอนเรื่องการทํ าลายความเห็นผิดเกี่ยวกับอัตตานี้มากมาย จะเปนพระโสดาบัน ก็ตองทํ าลายสักกายทิฏฐิ คือความเห็นวาเปนตัวของตนได ตองถอนอัตตานุทิฏฐิคือความตามเห็นวาเปนตัวเปนตนได ตองถอนอัตต-วาทุปาทานคือการยึดมั่นในความถือตัวตนได

อันนี้แสดงวาหลักอนัตตามีความสํ าคัญเปนอยางมาก เปนหลักการที่จะนํ าใหเขาถึงจุดหมายของพระพุทธศาสนา ผูท่ีจะเขาถึงจุดหมายของพระพุทธศาสนา จะตองมีปญญาถึงขั้นเห็นความเปนอนัตตานี้

Page 56: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๙มองตามเหตุปจจัย

ลักษณะที่ ๙ พระพุทธศาสนามีลักษณะขอตอไปที่คลายกับหลักอนัตตา คือการมีทัศนคติท่ีมองสิ่งทั้งหลายตามความสัมพันธแหงเหตุปจจัย

ไดพูดแลววา หลักอนัตตานั้น ในระดับของสังขตธรรม โยงมาหาหลักความเปนไปตามเหตุปจจัย ซ่ึงบงชี้วา สิ่งทั้งหลายไมมีอยูโดยลํ าพังตน แตอิงอาศัยซึ่งกันและกัน เปนไปตามเหตุปจจัยคลายๆ กับหลักสัมพัทธภาพ (relativity) ในพระพุทธศาสนาหลักนี้ก็คืออิทัปปจจยตา ท่ีนิยมเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท

ความสัมพันธหรือความเปนไปตามเหตุปจจัยนี้ เปนหลักสํ าคัญของวิปสสนาดวย การปฏิบัติใหปญญาเห็นแจงเกิดเปนวิปสสนานั้น จะทํ าใหมองเห็นความเปนไปตามเหตุปจจัยนี้และหลักปฏิจจสมุปบาท หรืออิทัปปจจยตานี้ ก็เปนภูมิธรรมของวิปสสนา เรียกวาวิปสสนาภูมิอยางหนึ่ง

ธรรมทั้งหลายนั้น สัมพันธซ่ึงกันและกัน เชนขันธ ๕ เมื่อวิเคราะหแยกแยะองคประกอบออกไป ก็ทํ าใหเห็นความเปนไปตามเหตุปจจัย และรูวา ขันธ ๕ น้ันก็เปนไปตามหลักอิทัปปจจยตาน้ีเอง

Page 57: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๔๘

หลักความสัมพันธท่ีเปนไปตามเหตุปจจัยนี้แหละ เปนหลักที่แสดงลักษณะสํ าคัญอยางหนึ่งของพระพุทธศาสนา ถึงขั้นที่พระพุทธเจาเคยตรัสวา การเห็นปฏิจจสมุปบาทนั้นแหละคือการเห็นธรรม ตามพุทธพจนท่ีวา “ผูใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผูน้ันเห็นธรรม ผูใดเห็นธรรม ผูน้ันเห็นปฏิจจสมุปบาท”

อยางนอยชาวพุทธจะตองมีทัศนคติ ท่ีมองสิ่งทั้งหลายตามเหตุปจจัย แมแตเรื่องกรรม ก็สอนใหเรามีทัศนคติหรือทาทีน้ี

กรรมนั้นก็คือหลักของความเปนไปตามเหตุปจจัย ในแงท่ีเกี่ยวกับการกระทํ าของมนุษย การกระทํ าของมนุษย ก็เปนไปตามกฎเกณฑแหงความเปนเหตุเปนผลเหมือนกัน คือกระทํ าเหตุอยางน้ี เมื่อปจจัยพรั่งพรอม ก็เกิดผลอยางนี้ แตจํ ากัดเฉพาะในแงการกระทํ าของมนุษย เรียกวาหลักกรรม หรือกรรมนิยาม

ถาเปนหลักเหตุปจจัยทั่วไป เรียกวาธรรมนิยาม หลักเรื่องปฏิจจสมุปบาทก็ตาม เรื่องไตรลักษณก็ตาม พระพุทธเจาตรัสเรียกวาเปนธรรมนิยาม คือเปนกฎเกณฑแหงธรรม โดยเฉพาะความเปนไปตามธรรมดาแหงเหตุปจจัยนั้นเอง

Page 58: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๑๐เชื่อวามนุษยประเสริฐดวยการฝกฝนพัฒนา

ลักษณะที่ ๑๐ พระพุทธศาสนามีลักษณะสํ าคัญอยางหนึ่งคือ ยืนยันในศักยภาพสูงสุดของมนุษย

“ศักยภาพ” เปนศัพทสมัยใหม ท่ียืมมาใช เดิมน้ันเราพูดวามนุษยเปนสัตวท่ีฝกได

พระพุทธศาสนายอมรับความสํ าคัญของมนุษยวามีภาวะเปนสัตวท่ีฝกได และฝกไดจนถึงขั้นเปนสัตวประเสริฐ

มองอีกแงหนึ่ง ก็วา มนุษยเปนสัตวท่ีตองฝก และจะประเสริฐสุดไดดวยการฝก มนุษยจึงมีศักยภาพสูงสุดในการฝก ซ่ึงหมายถึงการพัฒนาตน

ถามนุษยไมพัฒนาตน หรือไมฝกตนแลว ก็จะเปนสัตวท่ีตํ่ าทรามที่สุด มนุษยแพสัตวดิรัจฉานในดานสัญชาตญาณ สัตวดิรัจฉานทั้งหลายสวนมาก พอเกิดมาก็ดํ ารงชีวิตไดดวยสัญชาต-ญาณ มันอยูกับพอแมนิดเดียว ก็รูจักเปนอยู รูจักหากิน ดํ ารงชีวิตไดเลย

สวนมนุษยน้ันไมไดเรื่อง ทํ าไมไดสักอยาง ถาปลอยก็แทบจะตายทันที ตองเอาใจใสเลี้ยงดู ฝกสอน จึงอยูรอดและเจริญเติบโตได นับวาตรงกันขาม

Page 59: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๕๐

แตมนุษยมีศักยภาพที่พัฒนาตนได เมื่อพัฒนาแลวก็เปนสัตวท่ีประเสริฐสุด สัตวอื่นนั้นพัฒนาได อยางเกงแคเปนละครสัตวหรือเอามาใหมนุษยใชงาน เปนไดสองอยาง

แตวาที่จริง ถึงเปนละครสัตวก็คือใหมนุษยเอามาใชงานน่ันแหละ ไดอยางดีก็ใหมนุษยใชงาน เอามาเปนลิงขึ้นตนมะพราวบาง เอามาเปนชางลากซุงบาง เปนมาลากรถ หรือข่ีเดินทางไกลบาง เปนสุนัขตํ ารวจบาง ฯลฯ และที่ฝกใหทํ าอยางนั้นได ก็ตองอาศัยมนุษยฝกให

แตมนุษยน้ันฝกตนเองได และฝกแลวประเสริฐสุด ดังพุทธพจนวา ทนฺโต เสฏโ มนุสฺเสสุ ผูท่ีฝกแลว เปนผูประเสริฐสุดในหมูมนุษย และ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏโ เทวมานุเส ผูท่ีถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ คือฝกดีแลวนี้ ประเสริฐสุดทั้งในหมูเทพ และบรรดามนุษย คือ ไมเฉพาะระหวางมนุษยเทานั้น แมแตกับเทพทั้งหลาย มนุษยท่ีฝกดีแลวก็ยังสูงกวา

อกีแหงหนึง่ทีน่าจดจ ํามากวา มนุสสฺภตู ํ สมพฺทฺุธ ํ อตตฺทนตฺํสมาหิตํ . . . เทวาป นมสฺสนฺติ บอกวา พระสัมมาสัมพุทธเจา ท้ังที่เปนมนุษยน้ี แตฝกพระองคดีแลว แมเทพทั้งหลายก็นอมนมัสการ

มีคาถาพุทธภาษิตมากมายที่ตรัสยํ้ าวา บุคคลที่ฝกตนดีแลว พัฒนาศักยภาพดีแลว แมแตเทวดาและพรหมก็เคารพบูชา

พระพุทธเจาไดทรงทํ ากิจสํ าคัญอยางหนึ่ง คือ การประกาศอิสรภาพใหแกมนุษย

ในสมัยพุทธกาลนั้น มนุษยพากันฝากชีวิตจิตใจ มอบชะตากรรมของตนใหแกเทพทั้งหลาย ถือวาเทพเจาทั้งหลายเปนผู

Page 60: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๕๑

บันดาลชะตากรรมของมนุษย มนุษยมีหนาที่บวงสรวงออนวอนทํ าการสังเวยตางๆ ขอรองเทพเจาใหยกเวนปลดเปลื้อง ใหพนจากโทษเคราะหตางๆ และขอใหอํ านวยลาภผล ประทานรางวัลสิ่งที่ตองการ จนถึงกับมีการบูชายัญ เอามนุษยเอาสัตวมาฆาบูชาเทพเจา

พอพระพุทธเจาประสูติ พระองคก็ทรงประกาศอิสรภาพใหแกมนุษยทันที ทรงเปลงอาสภิวาจาวา อคฺโคหมสฺมิ โลกสฺสเชฏโหมสฺมิ โลกสฺส เสฏโหมสฺมิ โลกสฺส เราเปนพี่ใหญ เปนผูประเสริฐ เปนผูเลิศแหงโลก

น่ีคือวาจาประกาศอิสรภาพของมนุษย ท่ีพระพุทธเจาประกาศแทนมนุษยท้ังหลาย บอกใหรูวา ตอไปนี้มนุษยมีอิสรภาพแลว เราเปนสัตวท่ีฝกได พัฒนาได ไมตองฝากชะตากรรมไวกับเทพเจา ไมตองบวงสรวงออนวอนรอใหเทวดาโปรดปราน

ถาเราฝกตนเอง แมแตเทวฤทธิ์ มนุษยก็มีได มนุษยท่ีฝกแลว มีมนุษยฤทธิ์ท่ีประเสริฐ เหนือกวาเทวฤทธิ์ เพราะฉะนั้น อยาไดประมาทศักยภาพของตนเอง

มนุษยน้ันมีความโนมเอียงอยางหนึ่ง คือ คอยจะประมาทในศักยภาพของตนเอง จึงมัวหวังพึ่งปจจัยภายนอก

พระพุทธเจาทรงนํ าทางไวแลวใหเรานับถือตนเอง แตอยาหยิ่งลํ าพอง อยานึกวาเราเปนมนุษยประเสริฐแลว แตตองระลึกที่จะฝกฝนตองพัฒนาตนอยูเสมอ การที่ถือวาตนเองเปนสัตวท่ีจะตองฝกฝนพัฒนา จะทํ าใหเราเปนคนออนนอมถอมตน พระพุทธ

Page 61: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๕๒

เจาสอนใหเราทุกคนออนนอมถอมตน เพราะเราเปนสัตวท่ีจะตองฝกตองพัฒนา

แตในเวลาเดียวกันนั้น พรอมกับความออนนอมถอมตน ก็จะมีความมั่นใจในตนเองดวยวา เรามีศักยภาพที่พัฒนาได

น้ีคือหลักของพระพุทธศาสนา ท่ีพระพุทธองคไดประทานไวแลว อันเปนไปตามสัจธรรม เราจะตองยึดหลักการนี้ไวเปนสํ าคัญ

พระพุทธศาสนาสอนวา มนุษยพอเริ่มตนเปนชาวพุทธ ก็ตองมีโพธิสัทธา (เรียกเต็มวา ตถาคตโพธิสัทธา) เชื่อในปญญาตรัสรูของพระตถาคต คือเชื่อในปญญาที่ทํ าใหมนุษยกลายเปนพระพุทธเจา เราก็ตองพัฒนาปญญาของเราสิ

ถาเราพัฒนาปญญาแลว เราก็เปนพระพุทธเจาไดถาเปนพระพุทธเจากอนคนอื่น แลวบํ าเพ็ญพุทธกิจ

ประกาศพระศาสนาดวย ก็เปนพระสัมมาสัมพุทธะถาเปนพระพุทธเจาดวยปญญาคนพบธรรมดวยตนเอง แต

ไมประกาศธรรมทั่วไป ก็เปนพระปจเจกพุทธะถาเปนพระพุทธเจาตามอยางพระสัมมาสัมพุทธเจา ก็เปน

อนุพุทธะแมแตยังไมเปนพระพุทธเจาที่ตัดกิเลสไดสิ้นเชิง แตมี

ความรูดี ทานยังยกยองใหเปนสุตพุทธะเราทุกคนสามารถเปนพุทธะได แตข้ันแรกจะตองมีตถาคต

โพธิสัทธา เชื่อในปญญาตรัสรูท่ีทํ าใหมนุษยกลายเปนพุทธะนั้น

Page 62: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๕๓

พระพุทธเจาตรัสวานี้เปนศรัทธาเบื้องแรกที่ชาวพุทธจะตองม ี เพราะฉะนัน้ ชาวพทุธจะตองเริม่ตนดวยการเชือ่ในศกัยภาพของมนุษยท่ีพัฒนาได

สาระสํ าคัญของศักยภาพก็คือปญญา ดังที่วามีปญญาซึ่งสามารถพัฒนา จนกระทั่งตรัสรูเปนพุทธะได ซ่ึงเปนสัตวประเสริฐท่ีแมแตทวยเทพและประดามนุษยท้ังหลายตองบูชา เปน สตฺถาเทวมนุสฺสานํ คือพระพุทธเจานั้น ท้ังที่เปนมนุษย แตทรงเปนศาสดาทั้งของหมูมนุษย และของเหลาเทวดา

ชาวพุทธทั้งหลายจะตองจํ าหลักการนี้ไว และระลึกตระหนักวา มนุษยอยาดูถูกตนเอง ตองมั่นใจในตนเอง ตองนับถือตนเองอยางมีความออนนอมถอมตน

อันนี้คือลักษณะของพระพทุธศาสนาทีว่า เชือ่ในศกัยภาพสงูสดุของมนษุยผูเปนสตัวท่ีฝกได

Page 63: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๑๑เปนศาสนาแหงการศึกษา

ลักษณะที่ ๑๑ พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงการศึกษาท่ีนํ าเอาการศึกษาเขามาเปนสาระสํ าคัญ เปนเนื้อแทของการดํ าเนินชีวิต และทํ าใหการดํ าเนินชีวิตของมนุษยเปนการศึกษา

หลักการปฏิบัติในพระพุทธศาสนาทั้งหมดนั้น เรียกวาอะไร เรียกวามรรค

มรรค แปลวาอะไร มรรคแปลวาทาง ทางคือทางอะไร คือทางดํ าเนินชีวิต ซ่ึงไมใชทางเดินที่เปนรูปธรรมอยางถนนเทานั้น

พระพทุธเจาตรสัเรยีกมรรคนีอ้ยางหนึง่วาเปน พรฺหฺมจริยหรือ พรหมจริยะ บางทีเราใชคํ าวาพรหมจรรย พรหมจริย=จริย คือจริยธรรม+พรหม แปลวาอันประเสริฐ มรรคหรือทางดํ าเนินชีวิตนี้เปนพรหมจริยะ คือเปนจริยธรรมอันประเสริฐ

จริยธรรม แปลวาอะไร จริย มาจาก จร ซ่ึงแปลวาเดิน เชนจราจร=เดินไปเดินมา พเนจร=เดินไปในปา จรไปโนนจรไปนี่เรียกวา เดินทาง เพราะฉะนั้น จร ก็คือเดินทาง

จริย แปลวาการเดินทาง การเดินทางที่เปนรูปธรรม ไดแกเดินทางที่เปนถนนเปนตน แตถาเดินทางที่เปนนามธรรม ก็คือเดินทางชีวิต จริย ก็คือการเดินทางชีวิต หรือการดํ าเนินชีวิต

Page 64: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๕๕

เพราะฉะนั้น จริยธรรมก็คือหลักการดํ าเนินชีวิต พรหมแปลวาที่ประเสริฐ รวมกันเปน พรหมจริย คือหลักการดํ าเนินชีวิตที่ประเสริฐ ซ่ึงไดแกมรรคมีองค ๘ ประการอันประเสริฐ มีสัมมาทิฏฐิเปนตน มีสัมมาสมาธิเปนปริโยสาน

ทีน้ี สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ จัดเปนพวกหนึ่งเรียกวาปญญา

สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเปนประเภทหนึ่งเรียกวาศีล

แลวก็สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเปนหมวดหนึ่งเรียกวาสมาธิ

เปนอันวา มรรคมีองค ๘ ประการนี้จัดเปนประเภทไดสามเรียกวา ศีล สมาธิ ปญญา ซ่ึงเรียกชื่ออยางหนึ่งวา ไตรสิกขา

สกิขา น้ันแปลวาศกึษา สกิขฺา เปนบาล ีสนัสกฤตเปน ศกิษฺาเปนไทยวา ศึกษา สิกขา หรือ ศึกษา เปนคํ าๆ เดียวกัน ฉะนั้นหลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา จึงเรียกชื่ออยางหนึ่งวาการศึกษา

การศึกษา น้ีมีองคประกอบ ๓ สวน คือ ศีล สมาธิ ปญญาซ่ึงก็คือการประมวลองคประกอบของมรรคมีองค ๘

ตกลงวา การดํ าเนินชีวิต หรือหลักการดํ าเนินชีวิตอันประเสริฐ ก็เปนอันเดียวกับการศึกษา พูดงายๆ วา ชีวิตที่ดีงาม คือชีวิตแหงการศึกษา

เปนอันวา การศึกษา ก็คือการฝกฝนใหมีการดํ าเนินชีวิตที่ถูกตอง ไดแกไตรสิกขา และไตรสิกขา ก็คือการฝกใหเรามีการดํ าเนินชีวิตตามมรรค คือใหเรามีพรหมจริยะ พรอมกันนั้น การที่

Page 65: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๕๖

เราฝกตนใหดํ าเนินในพรหมจริยะหรือดํ าเนินตามมรรค ก็คือเราบํ าเพ็ญไตรสิกขา

เพราะฉะนั้น การฝกฝนพัฒนาตนในการดํ าเนินชีวิตที่ถูกตอง ก็คือการศึกษา และการศึกษาก็คือการฝกตนใหดํ าเนินในทางชีวิตที่ถูกตอง มรรคก็เปนสิกขา สิกขาก็เปนมรรค

สิกขาก็คือการฝกฝนพัฒนาตนใหดํ าเนินตามมรรค การฝกตนใหดํ าเนินตามมรรคก็คือสิกขา

มรรค คือ วิถีชีวิตอันประเสริฐ ถาจะแปลใหสมสมัย ก็คือการดํ าเนินชีวิตที่ดีงาม ดังนั้น สิกขา หรือการศึกษา จึงแปลวา การพัฒนาตนในการดํ าเนินชีวิตที่ดีงาม เพราะฉะนั้น การดํ าเนินชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา ก็ตองดํ าเนินใหถูกตอง โดยปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา การศึกษาจึงเปนเรื่องของการดํ าเนินชีวิตทั้งหมดและการดํ าเนินชีวิตทั้งหมดของเราก็อยูในเรื่องของการศึกษา

การศึกษาตลอดชีวิต จึงมีในพระพุทธศาสนาตั้งแตไหนแตไรมาแลว ถาพูดใหกระชับก็วา ชีวิตคือการศึกษา

ตราบใดที่ยังไมเปน อเสขะ คือยังไมเปนพระอรหันต ก็ตองดํ าเนินชีวิตใหถูกตอง โดยปฏิบัติตามไตรสิกขาเพื่อฝกตนใหดํ าเนินชีวิตตามมรรค ดังไดกลาวมานี้

เพราะฉะนั้น ลักษณะอยางหนึ่งของพระพุทธศาสนา ก็คือเปนศาสนาแหงการศึกษาดังไดกลาวมา

อน่ึง ลักษณะที่ ๑๑ น้ี โยงกับลักษณะที่ ๑๐ ดวย กลาวคือสิกขาหรือการศึกษา แปลวา การฝกฝนพัฒนา และการฝกฝน

Page 66: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๕๗

พัฒนาตนนั้น อิงอาศัยความเชื่อท่ีวา มนุษยมีศักยภาพที่พัฒนาไดหรือวามนุษยเปนสัตวท่ีประเสริฐไดดวยการฝกฝนพัฒนา

เมื่อฝกฝนพัฒนาดวยไตรสิกขา ใหชีวิตดํ าเนินตามวิถีแหงมรรค ในที่สุดก็จะบรรลุจุดหมายแหงชีวิตที่ดีงาม เปนสัตวประเสริฐ มีคุณสมบัติบริบูรณ มีท้ังปญญาที่หยั่งรูสัจธรรม เปนอิสระ ดํ าเนินชีวิตดวยสนัตสิขุ และนอมชีวติของตนออกไปดวยกรณุาเพือ่ประโยชนสขุและอสิรภาพของเพื่อนรวมโลก

Page 67: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๑๒ใหความสํ าคัญทั้งแกปจจัยภายใน

และปจจัยภายนอก

ลักษณะที่ ๑๒ พระพุทธศาสนาใหความสํ าคัญ ท้ังแกปจจัยภายใน และปจจัยภายนอก

ลักษณะนี้ก็เปนอีกเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา เปนหลักที่เนื่องกันกับการศึกษานั้น

ในการพัฒนาตน และในการดํ าเนินชีวิตของคนนั้น พระพุทธศาสนาเนนหนักในหลักการที่คลายกับหลักขางตน ท่ีใหมีดุลยภาพ คือความสมดุลหรือความพอดี โดยใหความสํ าคัญทั้งแกธรรมและแกวินัย ในที่น้ี ก็เชนเดียวกัน พระพุทธศาสนาใหความสํ าคัญทั้งแกปจจัยภายใน และปจจัยภายนอก ในการฝกคนขั้นกอนมรรค คือในขั้นตนที่จะนํ าเขาสูมรรค

กลาวคือ ในการที่จะมีสัมมาทิฏฐิ ซ่ึงเปนองคแรกของมรรคมีปจจัย ๒ ประการ ท่ีจะชวยใหคนมีสัมมาทิฏฐิ คือ

๑. ปรโตโฆสะ แปลวา อิทธิพลหรือเสียงจากภายนอก๒. โยนิโสมนสิการ แปลวา การทํ าในใจโดยแยบคาย

การพิจารณาโดยแยบคาย รูจักคิด คิดเปนน้ีเปนปจจัย ๒ อยางที่ทํ าใหเกิดสัมมาทิฏฐิ ซ่ึงเปนองค

ประกอบเริ่มแรกของมรรค และเปนจุดเริ่มของการศึกษาที่ถูกตอง

Page 68: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๕๙

พระพุทธศาสนาใหความสํ าคัญแกปจจัยทั้งภายในและภายนอก ไมดิ่งไปขางเดียว

เรามักมีการโตเถียงกันในเรื่องนี้วา สภาพแวดลอมสํ าคัญหรือตัวบุคคลสํ าคัญ ภายในหรือภายนอกสํ าคัญ แตการเถียงกันในเรื่องนี้ไมรูจักสิ้นสุด เพราะจะเอาอยางใดอยางหนึ่ง ก็ขัดหลักความจริง เปนไปไมได พระพุทธศาสนาใหความสํ าคัญทั้ง ๒ อยาง

อน่ึง พระพุทธเจาตรัสถึงธรรมที่เปนบุพนิมิต หรือรุงอรุณของการดํ าเนินตามอริยมรรค มี ๗ ประการ ใน ๗ ประการนี้ทรงเนน ๒ อยางที่สํ าคัญมาก ซ่ึงเปนปจจัยภายในอยางหนึ่ง ปจจัยภายนอกอยางหนึ่ง

ปจจัยภายนอก กค็ือการมีปรโตโฆสะท่ีดี ไดแก การมีกัลยาณมิตร มีมิตรที่ดี มีครูอาจารยท่ีดี มีพอแมท่ีดี ซ่ึงใหความรูท่ีถูกตอง เปนตัวอยางที่ดี มีแหลงความรู มีสื่อมวลชนที่ใหสติปญญา เปนสื่อสารซึ่งใหขอมูลท่ีเปนประโยชน

ตลอดจนในการเจริญสมาธิ ก็มีครูอาจารยสอนกรรมฐานซ่ึงเปนผูรูหลักปฏิบัติท่ีถูกตอง เปนผูรูจักนิสัยใจคอของผูปฏิบัติ มีอุบายในการที่จะแนะนํ า น้ีเรียกวามีปจจัยภายนอกที่ดี

นอกจากปจจัยภายนอกแลว ก็ตองมีปจจัยภายในดวย คือในสวนของตัวเองก็ตองมีโยนิโสมนสิการ รูจักคิด คิดเปน ถาคิดไมเปน ไมรูจักคิด ก็ไมสามารถเอาสิ่งที่กัลยาณมิตรแนะนํ าไปใชประโยชน ถึงจะไดรับฟงคํ าแนะนํ าสั่งสอน ก็ไมรูจักนํ าไปใชประโยชนเพราะไมมีโยนิโสมนสิการ

Page 69: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๖๐

พระพุทธเจาไมไดอาศัยกัลยาณมิตร แตมีโยนิโสมนสิการก็สามารถเขาถึงสัจธรรมได แตน่ันเปนความสามารถพิเศษ

วาโดยทั่วไป ตองเนนความสํ าคัญทั้งปจจัยภายในและปจจัยภายนอก ปจจัยภายนอกก็คือ ตองมีกัลยาณมิตร ปจจัยภายในก็มีโยนิโสมนสิการ

อีกประการหนึ่ง วาโดยความสัมพันธกับหลักที่ไดเนนมาแลว วินัยเปนการสรางสภาพแวดลอมใหเรามีกัลยาณมิตร คือวาโดยวัตถุประสงคในแงน้ี วินัยนั้นตองการสรางสภาพแวดลอมใหมีกัลยาณมิตร ท่ีจะมาชวยเปนผูชักจูงเราใหเขาหาธรรมได

สวนโยนิโสมนสิการน้ัน เปนตัวเจาะใหเขาถึงเนื้อแทคือธรรมเลยทีเดียว

เปนอันวา วินัยจัดสภาพแวดลอมใหมีกัลยาณมิตร และเมื่อมีโยนิโสมนสิการก็เขาถึงธรรมไดเลย

หลักการสํ าคัญในเรื่องนี้ก็คือ ลักษณะที่ใหความสํ าคัญทั้งแกปจจัยภายในและปจจัยภายนอก ไมใชเนนดิ่งอยูขางเดียว

Page 70: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๑๓ใหตื่นตัวดวยความไมประมาท

ลักษณะที่ ๑๓ ธรรมที่ใหชีวิตชีวาแกการปฏิบัติท้ังหมด ถือเปนตัวกระตุนใหมีการปฏิบัติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ก็คือ อัปปมาทธรรม หรือความไมประมาท

อัปปมาทธรรมนี้ พระพุทธเจาทรงเนนยํ้ าไวมาก ถึงกับตรัสเปนปจฉิมวาจา คือพระดํ ารัสสุดทายกอนจะปรินิพพาน ซ่ึงถาพูดเปนภาษาชาวบานก็เรียกวาคํ าสั่งเสีย

คํ าสั่งเสียของพระพุทธเจาแกพุทธศาสนิกชนคืออะไร คือความไมประมาท พระองคตรัสวา วยธมมฺา สงขฺารา อปฺปมาเทนสมปฺาเทถ สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมสลายไปเปนธรรมดา เธอท้ังหลายจงยังความไมประมาทใหถึงพรอม

หลกัธรรมในคมัภรีท้ังหมด ถาไมมใีครน ําเอามาใชประโยชนก็เหมือนกับหลับหรือนอนตายอยู ธรรมเหลานั้น จะมีประโยชนเกิดมชีีวติชวีาขึน้ได กเ็พราะมอีปัปมาทธรรม เพราะฉะนัน้ พระพทุธเจาจึงตรสัอปัปมาทธรรมเปนธรรมทีค่รอบคลมุธรรมอืน่ๆ ดจุรอยเทาชางและตรัสเปนปจฉิมวาจาดวย

พระพุทธศาสนาสอนใหเราเปนคนไมประมาท ไมผัดเพี้ยนไมละเลย ไมน่ิงเฉย ไมเฉื่อยชา แตใหมีความกระตือรือรนเรงรัดตนในการบํ าเพ็ญกิจหนาที่ และโดยเฉพาะคือใหมีสติระลึกรูตื่นตัว

Page 71: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๖๒

เทาทัน แลวรีบหลีกละปองกันกํ าจัดแกไขเหตุแหงความเสื่อม และเรงสงเสริมสรางสรรคเหตุแหงความเจริญงอกงาม

อันนี้ก็เปนลักษณะสํ าคัญอยางหนึ่งที่จะตองเนนตองยํ้ าไว

Page 72: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๑๔เห็นทุกข แตเปนสุข

หรือ ทุกขเพื่อเห็น แตสุขเพื่อเปน

ลักษณะที่ ๑๔ พระพุทธศาสนาสอนใหมองเห็นความทุกขแตใหปฏิบัติดวยความสุข

หลักการของพระพุทธศาสนานั้น ชัดเจนวาทานมุงสอนใหรูจักโลกและชีวิตตามความเปนจริงวา เกิดจากองคประกอบตางๆซ่ึงลวนแต ไมเที่ยง คือไมคงที่ เกิดขึ้นแลวก็ดับไปๆ สืบเนื่องไปเรื่อยๆ คงอยูในสภาพเดิมไมได คือ ถูกปจจัยตางๆ ท่ีขัดแยงบีบคั้นใหแปรปรวนไปตลอดเวลา และไมใชตัวตน คือเปนไปตามเหตุปจจัย โดยไมมีตวัตนทีเ่ปนเจาของ หรอืผท่ีูจะบงการใหเปนไปตามความปรารถนา

เรียกตามแบบวาเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซ่ึงรูจักกันดีในช่ือรวมวาไตรลักษณ

คํ าเดนที่สะดุดความรูสึกของคนจํ านวนมาก คือคํ าวาทุกขัง ซ่ึงแปลงายๆ วาเปนทุกข

คํ าวา “ทุกข” น้ี นอกจากเปนหลักหนึ่งในไตรลักษณน้ีแลวยังปรากฏในหลักธรรมที่สํ าคัญยิ่ง ซ่ึงเปนหัวใจหรือหลักการใหญของพระพุทธศาสนา คือเปนขอแรกในอริยสัจจ ๔

Page 73: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๖๔

หลายคนมองเห็นหลักธรรมเหลานี้แลว ไมไดศึกษาใหลึกซ้ึงลงไป ก็เกิดความรูสึกวา พระพุทธศาสนามองโลกในแงราย เห็นโลกและชีวิตเปนทุกข

แตเมื่อมองดูหลักการปฏิบัติในพระพุทธศาสนา กลับมองเหน็แตการด ําเนนิกาวหนาไปดวยความสขุ สจุูดหมายทีเ่ปนบรมสขุ

ตั้งตนแตหลักทั่วไปของการปฏิบัติ พระพุทธศาสนาก็ถือวาความสุขสามารถเขาถึงไดดวยความสุข คือคนสามารถบรรลุถึงความสุขดวยวิธีปฏิบัติท่ีเปนสุข อันตางจากลัทธิศาสนาบางพวกที่ถือวา ความสุขจะบรรลุถึงไดดวยความทุกข

เครื่องทดสอบความถูกตองอยางหนึ่ง ของการปฏิบัติธรรมก็คือ การไดความสุขที่เกิดขึ้นในระหวางการปฏิบัติน้ัน

ไมเฉพาะในฌานตางๆ เทานั้น ท่ีมีความสุขเปนองคประกอบสํ าคัญ ในการปฏิบัติท่ัวไป ตัวตัดสินความถูกตองก็มีความสุขเปนองคธรรมสํ าคัญ ท่ีจะตองเกิดขึ้นดวย

กลาวคือ ในกระบวนการปฏิบัติท่ีถูกตอง ไดผลกาวหนาไปสูจุดหมายนั้น ทานจะกลาวอยูเสมอถึงองคธรรมตางๆ ท่ีจะเกิดตามกันมาเปนชุด ไดแก เกิดความแชมช่ืนเบิกบาน (ปราโมทย)แลวก็เอิบอิ่มใจ (ปติ) จากนั้นกายใจก็ผอนคลาย (ปสสัทธิ) ความสุขก็เกิดตามมา (สุข) แลวจิตก็ตั้งมั่นเปนหนึ่งเดียว (สมาธิ) ตอแตน้ันก็สามารถเกิดญาณทัสนะ ตลอดไปจนถึงวิมุตติ คือความหลุดพนในที่สุด

พระเจาปเสนทิโกศลเคยกราบทูลพระพุทธเจา แสดงความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยวา พระองคเสด็จไปในที่ตางๆ เห็นนักบวช

Page 74: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๖๕

บางพวกซูบผอม เศราหมอง มีผิวพรรณไมผองใส ผอมเหลือง ตามตัวสะพรั่งดวยเสนเอ็น ไมชวนตาใหอยากมอง แตพระภิกษุท้ังหลายในพระพุทธศาสนานี้ สดชื่น ราเริง มีใจเบิกบาน มีอากัปกิริยานายินดี มีอินทรียเอิบอิ่ม ไมวุนวาย มีลักษณะของความสงบจิตมั่นใจ

ขอความสองตอนขางตนดูคลายขัดกัน เปนทํ านองวาทฤษฎีวาทุกข แตปฏิบัติเปนสุข แตความจริงไมขัดกันเลย หากสอดคลองกันดี และเสริมกันดวยซํ้ า

พูดตามหลักอริยสัจจวา มองอริยสัจจขอ ๑ เห็นทุกข ทํ าตามอริยสัจจขอ ๔ เปนสุข

พระพุทธศาสนามิใชมองโลกและชีวิตในแงราย แตมองโลกและชีวิตตามความเปนจริง เมื่อความทุกขมีอยูจริง พระพุทธศาสนาก็สอนใหเผชิญหนาความทุกขน้ัน ไมเลี่ยงหนี แตใหมองดูทุกขน้ันดวยความรูเทาทัน และดวยความรูเทาทันความทุกขน้ันเอง จึงทํ าใหมีจิตใจปลอดโปรงเปนอิสระดวยปญญา ไมถูกทุกขบีบคั้น

เขาทํ านองวา “รูวาชีวิตเปนทุกข แตมีชีวิตเปนสุข” หรือถาจะพูดใหถูกตองกวานั้น ก็วา “รูเทาทันความทุกข จึงมีความสุขที่สมบูรณ”

Page 75: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะที่ ๑๕มุงประโยชนสุขเพื่อมวลชน

ลักษณะที่ ๑๕ ประการสุดทาย ลักษณะของพระพุทธศาสนาที่จะขอกลาวในที่น้ีก็คือ เปนศาสนาที่เนน พหุชนหิตายพหุชนสุขาย คือ ความมุงหมายเพื่อประโยชนสุขของพหูชน

พระพุทธเจาตรัสหลักนี้เปนประจํ า เมื่อเริ่มประกาศพระศาสนา พระองคทรงสงพระสาวกออกประกาศพระศาสนาดวยคํ าวา จรถ ภกิขฺเว จารกิ ํพหุชนหติาย พหชุนสขุาย โลกานกุมปฺายแปลวา ภิกษุท้ังหลาย เธอทั้งหลายจงจาริกไป เพื่อประโยชนเกื้อกูลแกพหูชน เพื่อความสุขแกพหูชน เพื่ออนุเคราะหชาวโลก

ตอมาหลังจากนั้นก็ตรัสหลักธรรมมากมายโดยเนนหลักการขอน้ี แมแตในการแนะนํ าใหทํ าสังคายนาก็ยํ้ าวา เพื่อจะใหพรหมจรรย คือพระศาสนานี้ ดํ ารงอยูมั่นคงยั่งยืน เพื่อประโยชนเกื้อกูล และความสุขแกพหูชน คือชนจํ านวนมาก ท่ีเราเรียกกันเดี๋ยวนี้วามวลชนนั่นเอง

ในทางตรงขาม พระเถระที่มีมิจฉาทิฏฐิก็เปนไปเพื่อไมใชประโยชน ไมใชความสุข เพื่อความทุกขแกชนจํ านวนมาก สวนพระเถระที่มีสัมมาทิฏฐิ ก็เปนไปเพื่อประโยชนสุขแกพหูชน อะไรทํ านองนี้

Page 76: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๖๗

หลักธรรมตางๆ อยางนี้ตรัสไวมากมาย ในที่น้ีเพียงยกมาเปนตัวอยาง แสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาเนนยํ้ ามากในเรื่องการปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขของพหูชน

Page 77: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สรุป

ไดยกเอาหลักธรรมตางๆ มาแสดงใหเห็นลักษณะสํ าคัญของพระพุทธศาสนา ในที่น้ี ๑๕ ลักษณะ ท่ีจริงยังมีมากกวานี้ แตเพียงเทานี้ก็เลยเวลาไปมากแลว ขอท่ีจะขอกลาวเนนในตอนสุดทายก็คือ

ลักษณะตางๆ ท่ีกลาวมานี้ เราถือกันวาเปนลักษณะที่ดีแตขอสํ าคัญ ชาวพุทธอยามัวเมาวา เรามีพระพุทธศาสนาซึ่งมีลักษณะที่ดี เสร็จแลว เพราะมัวเมาวาพระพุทธศาสนามีลักษณะดีก็เลยไดแตช่ืนชม แลวไมนํ าเอามาประพฤติปฏิบัติ

เมื่อไมเอามาประพฤติปฏิบัติ ก็ไมเปนประโยชนอะไร ไดแตช่ืนชมหลงมัวเมาไปอยางนั้นเอง วาศาสนาของเราดีอยางนี้ มีลักษณะที่ดีอยางนั้น ก็ไมเกิดประโยชนแกชีวิตที่แทจริง

เพราะฉะนั้น จะตองนํ าเอามาประพฤติปฏิบัติ และขอสํ าคัญก็คือการปฏิบัติใหครบทุกแงดาน เพราะการปฏิบัติท่ีคลาดเคลื่อนผิดเพี้ยนไปนั้น สาเหตุอยางหนึ่งก็เกิดจากการประพฤติปฏิบัติไมครบถวน ไมครบถวนอยางไร ขอใหดูหลักอนิจจังเปนตัวอยาง

หลักอนิจจังนี้ เปนตัวอยางหนึ่งที่สะทอนภาพการปฏิบัติธรรมของชาวพุทธไทย วาเขาใจอนิจจัง คือความไมเที่ยงนั้นแคไหนอยางไร

Page 78: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๖๙

ชาวพุทธเวลามีเหตุพลัดพราก แมแตของพลัดตกจากมือ ก็จะอุทานวา “อนิจจัง ไมเที่ยง” แลวเราก็รูเทาทันธรรมดาวา เออสังขารทั้งหลายมีการเสื่อมสลายไปเปนธรรมดา เปนสิ่งไมเที่ยงเกิดขึ้นแลวก็ยอมดับไปเปนธรรมดา แลวเราก็ปลงใจได ปลงตก ก็มีความสุข สบายใจ ไมมีความโศกเศรา เขาลักษณะคํ าบาลีท่ีพระทานเอามาพิจารณาผาบังสุกุลวา

“อนิจฺจา วต สงฺขารา อุปฺปาทวยธมฺมิโนอุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌนฺติ เตสํ วูปสโม สุโข”บอกวา สังขารทั้งหลายไมเที่ยงหนอ มีความเกิดขึ้นแลว

เสื่อมสลายไป เปนธรรมดา เกิดขึ้นแลวยอมดับไป ความสงบวางแหงสังขารทั้งหลายเหลานั้น เปนสุข

ปลงอยางนี้แลว เราก็สบายใจ ชาวพุทธเรา โดยเฉพาะในเมืองไทยนี้ มีช่ือเสียงวาไดประโยชนจากหลักอนิจจังนี้มาก ทํ าใหเปนคนมีจิตใจสบาย ไมคอยมีความทุกข

แตพรอมกันนั้น มีหลักหนึ่งที่เราไมคอยปฏิบัติ ก็คือ โอวาทท่ีพระพุทธเจาตรัสสอนวา วยธมมฺา สงขฺารา อปฺปมาเทน สมปฺาเทถวาสังขารทั้งหลายมีความเสื่อมสลายไปเปนธรรมดา เธอทั้งหลายจงยังความไมประมาทใหถึงพรอม

ความหมายของอนิจจังในแงหลังนี้ไมคอยใชกันเลย คือใชแตตอนปลงตกใหสบายใจ แตตอนที่พระพุทธเจาเตือนไมเอามาใชท้ังๆ ท่ีเปนปจฉิมวาจาซึ่งสํ าคัญอยางยิ่ง น่ีแหละคือหลักความไมประมาท

Page 79: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาและการสอนที่ไดผล๗๐

พระพุทธเจาตรัสอนิจจังไมเที่ยงนั้น โยงกับหลักความไมประมาท ใหเราไมประมาท ไมใชมัวแตน่ังนอนสบาย เพราะฉะนั้นถามัวเอาแต วูปสโม สุโข แลว สบายอยางเดียว นอนแองแมง ก็เรียกวา ปฏิบัติธรรมไมครบถวน

พวกเราในเมืองไทยนี้ อาตมภาพสังเกตวาใช อนิจจัง ตามหลัก วูปสโม สุโข น้ีมาก คือเอามาใชปลงใหมคีวามสขุสบายใจ แตในแง อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ คืออนิจจังที่จะใหไมประมาทนั้น ไมคอยใชเลย

ตกลงวาจะตองใชใหครบ ถาปฏิบัติตามหลักอนิจจัง ตองไดท้ัง วปูสโม สโุข มคีวามสขุใจดวย แลวตอง อปฺปมาเทน สมปฺาเทถทํ าความไมประมาทใหถึงพรอมดวย ตองเรงรัดกระตือรือรน ในการบํ าเพ็ญกิจหนาที่ของตนเองเปนตน แลวลักษณะของพระพุทธศาสนาที่อาตมภาพกลาวมาก็จะเกิดประโยชน มีชีวิตชีวาขึ้นมาอยางแทจริง ดวยหลักความไมประมาท ท่ีเปนปจฉิมวาจาของพระพุทธเจานั้นเอง

อาตมภาพไดกลาวมาในเรือ่ง ลกัษณะแหงพระพทุธศาสนาก็นับวาเกินเวลาไปแลว ขออนุโมทนาทานสาธุชนทุกทานที่มีความสนใจใฝธรรม ขอกุศลเจตนาของทานทั้งหลายที่มีความตั้งใจด ีเริม่แตมศีรทัธาในพระธรรมค ําสัง่สอนของพระสมัมาสมัพทุธเจานี้ จงเปนปจจัยนํ าทานไปสูความเขาใจในหลักธรรมวินัย คือคํ าสั่งสอนของพระพุทธเจา เพื่อนํ ามาใชปฏิบัติใหถูกตองตอไป

ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย เปนเครื่องอวยชัยใหพรแกทานทั้งหลาย ขออานุภาพคุณพระรัตนตรัยนั้น แลกุศลเจตนา

Page 80: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา ๗๑

อันเปนบุญกุศลในจิตของทาน จงเปนปจจัยอันมีกํ าลังอภิบาลรักษาใหทุกทานพรั่งพรอมดวยจตุรพิธพรชัย มีกํ าลังกาย กํ าลังใจกํ าลังสติปญญา ในการที่จะเลาเรียนธรรม ปฏิบัติธรรม และในการท่ีจะแนะนํ าสั่งสอนซึ่งกันและกัน ใหเขาถึงคํ าสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อใหความรมเย็นเปนสุขแผกระจายไปในสังคม และใหทุกคนไดรับประโยชน มีความงอกงามในพระธรรมคํ าสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยทั่วกัน ตลอดกาลนาน เทอญ

Page 81: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
Page 82: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงายEducation Made Easy∗

วันครูวนันีเ้ปนวนัคร ูทางโรงเรยีนอนบุาลหนนูอย และโรงเรยีนทอสี

มาที่วัดวันนี้ก็เนื่องในวันครู ซ่ึงเปนเหมือนชวยเตือนเราใหมีสติระลึกถึงการศึกษา ระลึกถึงความหมายที่แทจริงของการศึกษาระลึกถึงเด็ก ระลึกถึงอนาคตของประเทศชาติ ฯลฯ ระลึกถึงอะไรก็ได ท่ีจะทํ าใหดีข้ึน

เราพูดกันบอยวาเด็กเปนอนาคตของชาติ พอดีวาวันเด็กก็ใกลกับวันครู วันเด็กใกลกับวันครูก็ดี เพราะวาเริ่มจากใกลชิดที่สุดคือเด็กกับผูปกครอง วันเด็กทํ าใหเด็กกับพอแมเชื่อมประสานกันแลว พอถึงวันครูก็มาเชื่อมประสานเด็กกับคุณครูอีก

เมื่อมองในแงท่ีวาเด็กเปนอนาคตของชาติครูก็นับวาเปนผูสรางอนาคตของชาติ

∗ ธรรมเทศนา แสดงแกคณะครูและผูบริหาร ของโรงเรียนอนุบาลหนูนอย และโรงเรียนทอสีทีม่าถวายรายงานการจัดการศึกษาแนวพุทธ และรับฟงโอวาท เนื่องในวันครู ๑๖ มกราคม ๒๕๔๕ ณ อุโบสถ วัดญาณเวศกวัน

Page 83: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๗๖

พอดีสมเดจ็พระสงัฆราชประทานพระคตมิาปนี ้เทาทีจ่ ําไดวา… “เด็กคืออนาคตของชาติ ผูใหญเปนอนาคตของเด็ก”อันนี้เปนเรื่องสํ าคัญมาก ผูใหญท่ีสํ าคัญมาก คือพอแม กับ

ครู ครูน้ันแนนอน โดยตรงเลย เพราะงานการศึกษาเปนงานเพื่ออนาคตของเด็ก เมื่อพูดวาเด็กเปนอนาคตของชาติ ก็เหมือนกับพูดวา อนาคตของชาติอยูในกํ ามือของคุณครู คุณครูเปนผูสรางอนาคตของชาติ

ท้ังหมดนี้เปนเรื่องที่เตือนสติใหพยายามทํ าหนาที่ของเราใหดีท่ีสุด วันนี้ก็ถือวาเปนวันที่ประสานกัน วันเด็กมากอน แลวมาถึงวันครู ก็มาครบถวนสมบูรณท่ีวันนี้ ไดครบทั้งเด็ก คุณพอคุณแมและคุณครู มาประสานกัน เพื่อทํ าใหเด็กมีชีวิตที่เจริญงอกงาม

งานของครู-งานของพระพุทธเจาตอนนี้เรามาทํ างานอยางมีชีวิตรวมกัน ท่ีงดงามอยางดี ทาง

ผูบริหารและคุณครูไดเลาความเปนมาของโรงเรียน สํ าหรับโรงเรียนอนุบาลหนูนอยเทาที่ฟงมาเริ่มตั้งแตป ๒๕๒๓ ก็ ๒๒ ปแลวสวนของโรงเรียนทอสีเริ่ม ๒๕๓๓ ก็ ๑๒ ปแลว ตอนนี้โรงเรียนไดมาเขาสูแนวทางของพระพุทธศาสนากันอยางจริงๆ จังๆ ท่ีบอกเมื่อกี้ ตั้งแต ๒๕๔๑ น่ีก็ ๔ ป

ขออนุโมทนาผูทํ ากิจหนาที่ดวยคุณธรรม คือความเมตตากรุณา หลักธรรมชุดนี้คือพรหมวิหาร มี ๔ แตเราพูดกันไปกันมาบางทีเหมือนกับวามีแค ๒ คือ เมตตา กรุณา ท่ีจริงตองใหครบ

Page 84: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๗๗

ท้ัง ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขานอกจากอนุโมทนาในแงท่ีเปนครู อาจารย ทํ างานเพื่อเด็กๆ

แลว ก็อนุโมทนาในแงท่ีนํ าเอาธรรมะหรือหลักพระพุทธศาสนา ไปสูการปฏิบัติอยางเปนจริงเปนจัง อันนี้เปนเรื่องสํ าคัญ

หลักคํ าสอนของพระพุทธเจานั้นเปนความจริงตามธรรมชาติ หรือความจริงตามธรรมดา ท่ีเรารูแลวจึงนํ ามาใชใหเปนประโยชนแกชีวิตและสังคมทั้งหมดนี้

ธรรมะนั้นพระพุทธเจาไดทรงสอนไว แตบางครั้งก็เลือนลางจางหายไป เพราะผูคนเหินหาง ไมไดเรียนรู ไมไดศึกษา การที่จะนํ ามาใชปฏิบัติก็เลยไมคอยจะมี มิหนํ าซํ้ า บางทีปฏิบัติ แตไขวเขวคลาดเคลื่อน เพี้ยนไปเลย กลายเปนวา แทนที่จะดี ก็เสีย

ทางโรงเรียนมีความสนใจ และเอาจริงเอาจัง เมื่อไดศึกษาเรียนรูแลวก็นํ าไปใชประโยชนดวยการปฏิบัติ โดยเฉพาะก็คือ ในเรื่องการใหการศึกษา หรือชวยเด็กใหศึกษา ซ่ึงเปนเรื่องใหญในการที่จะทํ าใหสํ าเร็จ

พระพุทธศาสนาก็ทํ าหนาที่ของงานนี้โดยตรง และทํ าเพื่อประโยชนแกชีวิต แกชาวโลก ตามจุดมุงหมายที่พระพุทธเจาไดทรงประกาศไววา พระพุทธศาสนามีอยูเพื่อประโยชนสุขแกพหูชนเพื่อเกื้อกูลแกชาวโลก ดวยเมตตาการุณยแกโลกทั้งหมด

การที่พระพุทธเจาไดเสด็จจาริกไปตลอด ๔๕ พรรษา เพื่อบํ าเพ็ญพุทธกิจน้ัน สิ่งที่พระองคทรงทํ าไวจะเกิดผล ก็เมื่อพวกเรานํ ามาสบืตอ ดวยการปฏบัิตเิอามาใชกนัจรงิๆ จึงเปนทีน่าอนโุมทนาท่ีโรงเรียนทั้งสองไดตั้งใจนํ าธรรมะมาใชกับเด็ก ตอนนี้ก็อยูท่ีวาใน

Page 85: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๗๘

การที่จะเอามาใชปฏิบัติ เราไดศึกษากันใหรูใหเขาใจลึกซึ้งชัดเจนแคไหน ซ่ึงเปนเรื่องที่สํ าคัญ แตเทาที่ฟงก็คือจับหลักสํ าคัญๆ

หลักการศึกษาหลักที่พระพุทธศาสนาสอนไว ซ่ึงเปนหลักปลีกยอยตางๆ ท่ี

เราเรียกวา หลักธรรมทั้งหลาย มีมากมายเหลือเกิน การที่จะใชใหไดผลจริงก็ตองจับหลักใหญใหได

ธรรมซึ่งเปนหลักทั่วไป ท่ีทางครูอาจารย-ผูบริหารไดพูดมาเปนหลักใหญๆ อยางที่พูดถึงเรื่อง สิกขา ๓ ก็ดี ภาวนา ๔ ก็ดี เปนหลักสํ าคัญ โดยเฉพาะก็เกี่ยวของโดยตรงกับการศึกษา แตท่ีจริงก็คือ เกี่ยวของกับพุทธศาสนาทั้งหมด เพราะการพูดถึงเรื่องของพุทธศาสนาก็คือการที่จะนํ าเอาไตรสิกขาเขามาสู ชีวิตของคน เพราะวาในความหมายของพระพุทธศาสนา ไตรสิกขาเปนเรื่องของชีวิต คือการที่จะทํ าใหชีวิตอยูดีมีสุข

คนเราพอเกิดมาแลวก็ตองพยายามเปนอยูใหดี เริ่มตั้งแตเปนอยูใหรอด คือใหมีชีวิตรอด แตแครอดคงไมพอ ตองพยายามเปนอยูใหดี จะเปนอยูใหดีไดอยางไร การที่จะเปนอยูใหดีก็ตองศึกษานั่นเอง ตรงกับท่ีเราใชปจจุบันก็คือเรียนรู

เรียนรูเปนความหมายหนึ่งของการศึกษา คือการที่จะฝกตัวเอง พัฒนาชีวิตของตัวเอง ใหมีความสามารถที่จะเปนอยูไดอยางดี การศึกษาก็คือการที่จะทํ าใหชีวิตเปนอยูไดอยางดี ซ่ึงเราตองพยายามอยูตลอดเวลา

Page 86: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๗๙

ชีวิตนี่แนนอนวา จะอยูไดดวยการศึกษา เพราะวาเราตองเจอสถานการณใหม พบคนใหม หรือพบคนเกาในสถานการณใหม ซ่ึงจะตองมีการปฏิบัติ การแสดงออก การตอบสนองอะไรอยางใดอยางหนึ่ง ตั้งแตการคิด การรับรู การที่เราพยายามจะเปนอยู หรือเรียกวาดํ าเนินชีวิตของเราใหเปนไปดวยดี ก็คือการตองพยายาม ตองฝกตัวเอง ตองรับรูประสบการณ และหาทางที่จะปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมใหดี หรือแกปญหาใหได อันนี้แหละเรียกวาการศึกษา

ถาชีวิตใดไมพยายามที่จะปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมใหถูกตองหรือใหไดผล ชีวิตนั้นก็จะเปนอยูดีไมได เมื่อไมพยายามเปนอยูใหดี เราก็เรียกวาไมมีการศึกษา พระพุทธเจาเรียกคนอยางนี้วาคนพาล คํ าวา “พาล” แปลวา ออนปญญา หรือเขลา เปนอยูสักแตวามีลมหายใจ หรือมีชีวิตอยูสักแตวาลมหายใจ

ถาคนจะมีชีวิตที่ดีก็ตองพยายามเปนอยูใหดี คือตองศึกษาการศึกษาจึงเปนเรื่องตลอดชีวิต และตลอดเวลา ไมใชวาจะมีตอเมื่อเขาโรงเรียน

เมื่อเราพยายามเปนอยูหรือทํ าชีวิตใหดี เราก็ตองปฏิบัติตอสถานการณตางๆ ใหไดผลดีท่ีสุด ใครที่สามารถปฏิบัติตอประสบการณ หรือปฏิบัติตอสิ่งที่เกี่ยวของไดผลดีท่ีสุด ก็เจริญพัฒนาเรียกวามีการศึกษาที่ดี

น่ีเปนเรื่องที่แสดงความสัมพันธระหวางชีวิตกับการศึกษา ไปๆ มาๆ การศึกษากับการมีชีวิตที่ดีก็เปนเรื่องเดียวกัน และการศึกษาก็เปนกิจกรรมของชีวิตนั่นเอง

Page 87: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๘๐

ฉะนั้น เมื่อพูดดวยภาษาของพระพุทธศาสนา การศึกษาจึงเขามาอยูในชีวิตของคน เหมือนกับวาเอาไตรสิกขามาฝกคนหรือเอามาจัดเขาในชีวิตของคน ใหเกิดเปนวิถีชีวิตที่มีองคประกอบ ๘ประการ ท่ีเรียกวา “มรรคมีองคแปด”

สิกขา แปลวา ศึกษา มรรคก็แปลวา ทางชีวิต เราสิกขาอยางไร เราก็มีมรรคคือวิถีชีวิตที่ดีงามขึ้นอยางนั้น เมื่อสิกขามากข้ึน วิถีชีวิตของเราก็กลายเปนมรรคมากขึ้น คือกาวไปในมรรคมากข้ึน เรายิ่งทํ าไตรสิกขาใหเจริญมากขึ้น เราก็ยิ่งกาวไปในมรรคมากข้ึน ฉะนั้น มรรคก็เปนเรื่องเดียวกับไตรสิกขา หรือเปนอีกดานหนึ่งของไตรสิกขา

ตามที่พูดมานี้ ความหมายของการศึกษาจึงสามารถใหไดหลายอยาง จะพูดแงไหนก็ได เชนวาเปนเรื่องของการพัฒนาความสามารถที่จะเปนอยูใหดีท่ีสุด หรือการทํ าชีวิตใหงอกงามไปในมรรค ดังที่กลาวมาแลว

หลักการสอนการศกึษานัน้เปนงานของชวีติ หรอืเปนหนาทีข่องทกุคนทกุ

ชีวติ พอพดูอยางนีก้อ็าจจะรูสกึวาหนกัหรอืนาเหนือ่ย หลายคนหลายชวีติยงัศกึษาไมเปน กศ็กึษาไมไดผลด ี หรอืบางทแีทบไมรูจักศกึษาเลย ถงึตอนนีก้ม็คีณุครเูขามา คณุครกูม็าชวยเราใหศกึษา คอืชวยเราใหศกึษาอยางไดผล การชวยใหศกึษานัน้เรยีกวา "การสอน"จะพดูวาชวยใหเรยีน หรอืชวยใหเรยีนรู กไ็ด

Page 88: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๘๑

พอเดก็เริม่ด ําเนนิชวีติ คอืเริม่เปนอยู เขากเ็ริม่ศกึษา คอืพยายามใหชีวติของเขาเปนอยูไดและเปนอยูด ี ถงึตอนนีค้ณุครกูเ็ขามา เชน เดก็ยงัเดนิไมเปน กม็าสอนเดนิ คอืชวยใหเดก็ฝกเดนิ ศกึษาการเดนิ หรอืเรยีนรูท่ีจะเดนิใหเปน คนทีจ่ะชวยใหเดก็ศกึษาหรอืฝก-เรยีนรูการเปนอยูพืน้ฐานอยางนี ้ กค็อื พอแม ซ่ึงอยูกบัเดก็ ใกลชิดเด็กที่สุด เพราะฉะนั้น ทางพระจึงเรียกพอแมวาเปนครูคนแรก คือ"ครตูน" หรอืบูรพาจารย

ทีน้ี ท่ีวาครเูปนผูท่ีชวยใหศกึษา เรยีกวา "สอน" จนกระทัง่เมือ่วาโดยสาระ เรือ่งของครกูเ็ปนเรือ่งของการสอนนัน้ ตองถามวา ครูสอนอะไร เราลองมาดวูาครใูหญสงูสดุ คอืพระพทุธเจาทรงสอนอะไร

เมือ่กีไ้ดบอกแลววา พระพุทธศาสนานั้น ท่ีเรียกวาธรรมก็คือความจริงของธรรมดา หรือธรรมชาติ ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา …ตถาคตจะเกิดขึ้นหรือไมก็ตาม ความจริงก็มีอยูตามธรรมดาของมันอยางนั้น… พระพุทธเจาทรงคนพบแลวนํ ามาแสดง มาบอกมากลาวใหเขาใจงายวาเปนอยางนี้ๆ น่ีก็คือบอกวา พระพุทธเจาทรงสอนความจริงที่มีอยูตามธรรมดา

ความจริงของธรรมดานั้นเราจะรูไปทํ าไม เราตองรูก็เพราะวา เมื่อชีวิตของเราและทุกสิ่งทุกอยางเปนไปตามธรรมดาหรือตามกฎธรรมชาติน้ี ถาเราไมรูธรรมดานั้น ไมรูความเปนไปของมัน ไมรูกฎธรรมชาติ เชนความเปนไปตามเหตุปจจัย หรือความสัมพันธระหวางเหตุกับผล เปนตน เราก็ปฏิบัติอะไรไมถูก แมแตชีวิตของเรา ตั้งแตรางกายของเราก็เปนไปตามกฎธรรมชาติ เมื่อเราจะดํ าเนินชีวิตใหถูกตอง เราก็ตองรูจักวามันเปนอยางไร ดังเชนแพทย

Page 89: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๘๒

จะรักษาคนไข ก็ตองเรียนเรื่องความจริงของชีวิตดานรางกายกันตั้งมากมาย การรูความจริงตามธรรมดานี้เปนเรื่องใหญท่ีสุด

ธรรมดานี่แหละยากที่สุด พุทธศาสนาเปนเรื่องของธรรมดาและใหเขาถึงธรรมดาเทานั้นเอง แตใครเขาถึงธรรมดานี่แหละคือสํ าเร็จ ไมมีอะไรยากไปกวาเรื่องธรรมดา ใครถึงธรรมดาคนนั้นก็สมบูรณเลย

เราตองรูธรรมดา เพราะวาเมื่อเรารูความจริงที่เปนธรรมดาน้ันแลวเราจะไดปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลายใหถูกตอง เหมือนรูความจริงของไฟแลว ก็ปฏิบัติตอไฟไดถูกตอง และเอาไฟมาใชประโยชนได

การที่พระพุทธเจาตรัสคํ าสอนตางๆ น้ัน พระองคก็เอาความจริงของธรรมดามาเปนฐาน ถาใชศัพทสมัยใหมก็คือเอาสัจธรรมมาเปนฐาน คือสอนวา ความจริงเปนอยางนี้นะ เมื่อความจริงเปนอยางนี้ ถามวาเราจะมีชีวิตที่ดีไดอยางไร ตอนนี้แหละธรรมดาคือความจริงหรือสัจธรรมก็เรียกรองหรือบังคับเราอยูในตัววา ถาคุณจะเปนอยูใหดีจริง คุณจะตองดํ าเนินชีวิตอยางนี้ คุณตองทํ าอยางน้ี คุณตองทํ าเหตุปจจัยอยางนี้

ถึงตอนนี้ คํ าสอนประเภทที่ ๒ ก็จึงเกิดขึ้น คือคํ าสอนประเภทที่เราเรียกสมัยนี้วา “จริยธรรม” จริยธรรมก็คือขอเรียกรองของสัจธรรม หรือขอเรียกรองของธรรมดาตอมนุษย วาถาคุณตองการอยูดีคุณตองทํ าอยางนี้ คุณตองปฏิบัติอยางนี้ จริยธรรมก็จึงเปนเรื่องของความจริงภาคปฏิบัติการที่สืบเนื่องจากธรรมดานั้น ไมใชวาพระพุทธเจาจะทรงแตงขึ้นมา และไมใชคํ าสั่งของพระองคพระองคมาสอนโดยอาศัยความรูในความจริงนั่นเอง

Page 90: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๘๓

ดวยเหตุน้ี ถาไมรูความจริงถึงที่สุดแลว การที่จะมาสอนหลักจริยธรรมก็ไมสามารถสมบูรณได อันนี้เปนเรื่องที่สัมพันธกันคํ าสอนที่เปนเรื่องขอปฏิบัติ หรือธรรมะดานที่เรานํ ามาใช อยางเรื่องไตรสิกขา และเรื่องมรรคก็อยูในประเภทนี้

ท่ีพูดเมื่อกี้หมายความวา การที่พระพุทธเจาตรัสสอนเรื่องสิกขา และเรื่องมรรค ก็เพราะวาทรงไดตรัสรูสัจธรรม หรือความจริงตามธรรมดานั้นแลว จึงมาตรัสบอกมนุษยท้ังหลายวาธรรมดาเปนอยางนี้นะ ถาคุณปฏิบัติถูกตองตามธรรมดาแลวชีวิตของคุณก็จะเปนอยูดี และสังคมของคุณก็จะอยูดี เพราะฉะนั้นถาตกลงคุณก็ทํ าใหสอดคลองกับธรรมดา หรือเอาความรูตอธรรมดานั้นมาใชใหเปนประโยชน อยางนี้นะ เราจึงไดมีการศึกษากัน

ความจริงเราก็ตองศึกษาอยูแลว แตเราศึกษาไมเปน คนจํ านวนมากศึกษาไมเปน ก็เลยทํ าใหเสียเวลากับชีวิต และผิดพลาด ไมเจริญกาวหนา บางทีก็พลาดพลั้งไปในทางเสียหายกลายเปนความเสื่อมของชีวิตไป

ไตรสิกขา เดินหนาไปกับชีวิตทั้งสามดานในเมือ่การศกึษาเปนเรือ่งของชีวติ คอืการทีชี่วติตองพยายาม

เปนอยูใหดี และชีวิตก็ตองเปนอยูตลอดเวลาอยางที่วามานั้นมันก็เลยเปนเรื่องของชีวิตทั้งกระบวนที่เปนอยู ซ่ึงเราจะแยกกระจัดกระจายออกไปไมได

Page 91: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๘๔

เพราะฉะนั้นเวลานี้จึงตองยํ้ าบอยวา ไตรสิกขาก็อยูท่ีชีวิตของเราทั้งหมดนี่แหละ การที่ไตรสิกขามี ๓ อยาง ก็เพราะตรัสไปตาม ๓ ดานของชีวิต ท่ีเรียกงายๆ โดยใชศัพทสมัยปจจุบันมาเทียบ วาเปนเรื่องของ พฤติกรรม จิตใจ ปญญา

แตในเรื่องพฤติกรรม ขอยํ้ าวา ความจริงมันเปนศัพทท่ีอาจจะเขาใจไมถึงกับตรงกันทีเดียว เพราะเปนการเอาคํ าสมัยใหมมาเทียบเทานั้น

ท่ีวาพฤติกรรมนั้น ของพระหมายถึงการที่เราสัมพันธกับสิ่งแวดลอม หรือสิ่งรอบตัวทั้งหมด ซ่ึงบางอยางเราอาจจะใชศัพทปจจุบันวาพฤติกรรมไมถนัด เชนการใช ตา หู จมูก ลิ้น คือใชตาดู– หูฟง เปนตนนี้ เราจะเรียกวาพฤติกรรมก็คงไมถนัด แตท้ังหมดนี้ก็เปนเรื่องของการสัมพันธกับโลก ถาใชภาษาแบบพระก็วาสัมพันธกับโลก แตเดี๋ยวนี้เขาใชคํ าวา “สิ่งแวดลอม”

โลกก็คือทุกอยางรอบชีวิต เดี๋ยวนี้โลกนั้นเรามาเรียกเปนสิ่งแวดลอม แยกเปนสิ่งแวดลอมทางวัตถุอยางหนึ่ง และสิ่งแวดลอมทางสังคมอยางหนึ่ง แตภาษาพระเรียกวาโลกหมดเลย

ชีวิตของเราสัมพันธกับโลก เราใชตา หู จมูก ลิ้น กายและใจและใชกายกับวาจาสัมพันธกับโลกนั้น ดานนี้เราเรียกไปพลางกอนวา พฤติกรรม

เรื่องของสิ่งแวดลอมหรือโลกทั้งหมดนี่ เราจะตองสัมพันธใหดีใหไดผล เปนดานที่ ๑ ของชีวิต แนนอนวาชีวิตของเราดานที่ ๑คือการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม หรือโลก หรือสิ่งภายนอก ท้ังมนุษยท้ังวัตถุสิ่งของเครื่องใชและธรรมชาติตางๆ เราตองสัมพันธแนนอน

Page 92: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๘๕

จึงตองสัมพันธอยางดี อยางไดผลลึกลงไป การที่เราจะมีความสัมพันธกับสิ่งเหลานี้และจะ

สัมพันธอยางไรก็ข้ึนตอเจตนา คือเจตจํ านงของเรา ซ่ึงประกอบดวยแรงจูงใจ คุณภาพของจิตใจ และสภาพจิตใจที่มีความสุข-ความทุกขเปนตน โดยเฉพาะความสุข และความทุกขจะเปนจุดหมายหลักในความสัมพันธของเรา

การที่เรามีพฤติกรรม ทางกาย หรือทางวาจาก็ตาม การที่เราใชตาดู - หูฟงก็ตาม ลึกลงไปเรามักจะมุงเพื่อสนองความตองการในแงของการหนีทุกขและหาสุข ภาวะดานจิตใจจึงมีอิทธิพลตอการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมตลอดเวลา คือเรามีเจตนาอยางใดอยางหนึ่ง โดยมีแรงจูงใจอยางใดอยางหนึ่ง รวมความวา จิตใจมีบทบาทตลอดเวลาที่เรามีความสัมพันธกับโลกภายนอกดวยพฤติ-กรรมและอินทรีย

ตอไปอีกดานหนึ่ง คือ พรอมกันนั้นเอง เราจะมีความสัมพันธไดแคไหน ก็อยูในขอบเขตที่เรามีความรู คือ ปญญาของเรารูเขาใจเทาไรอยางไร และเรามีความเห็นอยางไร เราก็สัมพันธไปตามนั้นแคน้ัน เราเขาใจวาถาเราทํ าอยางนี้จะเกิดผลดีแกชีวิตของเรา จะชวยใหเราหนีทุกข หรือไดรับความสุข แลวเราก็มีพฤติกรรมไปอยางนั้นหรือสัมพันธอยางนั้น เชน เราคิดเห็นเขาใจวา ดูสิ่งนี้แลวเราจะมีความสุข เราก็มีพฤติกรรมและใชอินทรียท่ีจะดูสิ่งนั้นอยางนี้เปนตน

Page 93: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๘๖

สอนเด็กใหไดครบไตรสิกขาฉะนั้นในเวลาที่เราเกี่ยวของสัมพันธกับสิ่งทั้งหลายนั้น จึงมี

ท้ังศีล สมาธิ ปญญา ครบหมด คือ๑) มีดานพฤติกรรม ซ่ึงถาจะพูดใหเต็มความหมายยังไมรู

จะใชศัพทอะไรดี เคยลองใชคํ าหนึ่งไปพลางกอนวา “พฤติสัมพันธ” ซ่ึงไมใชแคพฤติกรรม แตกวางกวานั้น ซ่ึงจะตองหาดูวาใชศัพทอะไรจึงจะดี ดานนี้เรียกเปนภาษาพระวา “ศีล” คือสัมพันธกับโลกภายนอกทั้งหมด

๒) เบื้องหลังศีลก็มี “จิตใจ” คือมีสภาพจิตใจ ซ่ึงมีเจตนาหรือเจตจํ านงเปนตัวนํ าที่จะกํ าหนดใหเราสัมพันธอยางไร

๓) แลวอีกดานหนึ่งเหนือข้ึนไป เราจะสัมพันธไดแคไหนอยางไร ก็ตองเปนไปตาม “ปญญา” เริ่มจากความคิดเห็น ความรูความเขาใจเทาที่มีและยึดถือไว

สามอยางนี้มีตลอดเวลาแยกกันไมได การพูดแยกกันเปนการพูดในขั้นหยาบๆ เทานั้น เพราะฉะนั้นจึงบอกวา เมื่อเราทํ ากิจกรรมอะไรก็ตามสักอยางหนึ่ง แตละคนสามารถพิจารณา หรือถาทํ ากันเปนกลุมท้ังกลุมก็สามารถพิจารณากอนทํ าก็ได หรือตรวจสอบหลังทํ าก็ได วาการศึกษา ๓ ดานของเราเปนอยางไร

กอนทํ า ก็คิดดู หรือตรวจดู วากิจกรรมที่เรากํ าลังจะทํ าอยูน้ี• ดานที่ ๑ คือ ดานความสัมพันธกับโลกภายนอก ไดแก

ดานศีล ดูวากิจกรรมการกระทํ าหรือพฤติกรรมของเราน้ีจะเปนการเบียดเบียน กอความเดือดรอนแกใคร ทํ า

Page 94: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๘๗

อะไรใหเสียหายหรือเปลา หรือเปนไปในทางสงเสริมเกื้อกูล ชวยเหลือกัน อยางนอยก็ไมกอใหเกิดโทษ ไมทํ าใหใครเดือดรอน หรือทํ าอะไรใหเสียหาย

• ดานที่ ๒ คือ ดานจิตใจ ก็ดูวา สภาพจิตของเรา ท่ีกํ าลังทํ าอยูหรือกํ าลังจะทํ ากิจกรรมอันนี้ เราทํ าดวยเจตนาอยางไร มีความมุงหมายอยางไร มีแรงจูงใจอะไร มีความหวังดี ปรารถนาดี อยากจะชวยเหลือเกื้อกูลหรือคิดราย มีจิตใจที่ช่ืนบานแจมใสหรือขุนมัว มีความสุขหรือความทุกข เปนตน

• ดานที่ ๓ คือ ดานปญญา หรือดานความรูความเขาใจก็ตรวจดูวา เรารูเขาใจสิ่งที่เรากระทํ านี้ชัดเจนดีหรือไมเปนการกระทํ าที่ตรงตามเหตุปจจัย จะกอใหเกิดผลที่เราตองการไดครบถวนกระบวนการหรอืไม ทํ าไปแลวจะเกิดผลดี – ผลเสียอะไรบาง เปนตน

ทุกกิจกรรมเราสามารถพิจารณาทั้ง ๓ ดานครบเลย อยางนักเรียนจะทํ าอะไรสักอยาง คุณครูหรือหัวหนาก็บอกวา เออ ! เรายอมเสียเวลานิดหนึ่ง มาชวยกันคิดวาสิ่งที่เรากํ าลังจะทํ านี่ เอามาตรวจดูกับชีวิตของเรา ๓ ดาน วาเปนไปดวยดีไหม วาในดานความสัมพันธก็ดีนะ ไมเบียดเบียนใคร ไมกอความเดือดรอน ไมเปนโทษ แตกอใหเกิดประโยชนเกื้อกูล ดานจิตใจของเราก็ดี ดานปญญาเราก็ทํ าดวยความรูความเขาใจและคิดพิจารณา พอตรวจสอบชัดเจนแลว สิกขาครบสามดาน…ก็ทํ าดวยความมั่นใจเลย

Page 95: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๘๘

สกิขาขอศีลมี ๒ ดานเมื่อทํ าไปแลวก็ตรวจสอบไดอีก คราวนี้วัดผลดวยภาวนา ๔

เลย แตเรื่องภาวนา ๔ น้ี ตองโยงกับสิกขา ๓ หรือไตรสิกขาใหดีตองชัดวา เราใชภาวนา ๔ วัดผลของสิกขา ๓

อีกอยางหนึ่ง ตองชัดวา สิกขา ๓ กลายเปนภาวนา ๔ เพราะเรื่องสิกขา ๓ เปนการดูการทํ างานแบบองครวมขององครวม ๓(เรียกรวมเปนคํ าเดียววา “ไตรสิกขา”) แตเรื่องภาวนา ๔ เปนการจํ าแนกแยกแยะออกดูแตละดานใหชัดไปทีละอยาง

ภาวนา ๔ ครูอาจารยท่ีน่ีทุกทานคงทราบดีอยูแลว คือกายภาวนา ศีลภาวนา จิตตภาวนา และ ปญญาภาวนา

เมื่อเทียบกับสิกขา ๓ ก็จะเห็นวา ภาวนา ๓ ขอหลัง ตรงกับสิกขา ๓ เลย แตเพิ่มขอแรกคือกายภาวนาเขามา จึงตองทํ าความเขาใจนิดหนอยวา สิกขาขอแรก คือศีลน่ันแหละแยกออกเปน ๒อยาง เปนกาย กับศีล

ทํ าไมในภาวนา ๔ น้ัน แยกศีลเปน ๒ อยาง ก็อธิบายวา ศีลท่ีวาสัมพันธกับสิ่งแวดลอมน้ันแยกยอยออกไปเปน ๒ ดาน คือสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพดานหนึ่ง และสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางสังคมดานหนึ่ง ในเรื่องภาวนานี้ตองการดูทีละอยางใหละเอียด จึงแยกศีลซอยออกไปเปน ๒ ดาน

แตในไตรสิกขา ทํ าไมศีลจึงรวมหมด ท้ังความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดานวัตถุ และสัมพันธกับบุคคลและสังคม ก็เพราะวาในไตรสิกขานั้น ศีล-สมาธิ-ปญญา ตองเปนไปพรอมดวยกันทั้ง ๓

Page 96: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๘๙

อยางตลอดเวลา ศีลจึงตองรวมเปนขอเดียว เพราะในครั้งหนึ่งๆเราสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางใดอยางหนึ่งอยางเดียว

เปนอันวา การศึกษาก็อยูในกิจกรรมทุกอยางของชีวิตนี่เองจึงบอกวาตั้งแตเกิดมาเราก็ตองเริ่มการศึกษาแลว เพื่อจะใหชีวิตเปนอยูดวยดี เพราะฉะนั้นพระพุทธศาสนาจึงเริ่มฝกคนใหศึกษาตั้งแตในการเปนอยูประจํ าวัน วาการกินการอยูน่ีแหละ เราตองมีการศึกษา ถากินไมเปน ไมรูจักใชไตรสิกขาในการกิน การกินก็ไมไดผลดี

กนิอยางไรใหเปนไตรสิกขากินอยางไรใหเปนไตรสิกขา การกินก็เปนความสัมพันธกับ

สิ่งแวดลอมใชไหม คือเปนการสัมพันธกับวัตถุขางนอก เพราะในการกิน หรือรับประทานนั้น เราใชลิ้น ใชปาก สัมพันธกับสิ่งแวดลอมภายนอก จึงเปนดานศีล ถาใชคือสัมพันธแลวเปนประโยชนเกื้อกูล ก็เปนศีล แตถาใชแลวเกิดโทษกอความเดือดรอน ก็เสียศีล

พรอมกันนั้น ในขณะที่กิน ดานจิตใจเราก็มีความพอใจไมพอใจ มีความสุขหรือความทุกข ใจช่ืนบานหรือขุนมัวเศราหมองตื่นตัวหรือมัวเมา

นอกจากนั้นอีกดานหนึ่ง การที่จะพอใจไมพอใจ จะเปนสุขหรือเปนทุกขอยางไร ก็ข้ึนอยูกับปญญาดวย ถามองเห็นวา ท่ีเรากินนี่มีความมุงหมายเพื่อใหสุขภาพดี ความพอใจก็เกิดขึ้นอยางหนึ่ง ถาไมไดคิด ไมไดพิจารณา มุงสนองความตองการของลิ้น

Page 97: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๙๐

ตองการรสอรอย ความพอใจและความสุขก็จะไปอีกอยางหนึ่งตัวปญญาความรูก็มาเปนปจจัย หรือนํ าทางใหแกความสุข

ความทุกขดวย และปรุงแตงสภาพจิตใจ เชน ความพอใจ หรือไมพอใจ ทานจึงสอนวาใหเอาปญญามาใชพิจารณาวาที่เรากินนี้ เรากินเพื่ออะไร

ดวยเหตุน้ีแหละ เมื่อพระบวชใหม เราจึงมีประเพณีมาแตโบราณวา กอนบวชตองไปอยูวัด ทองบทสวดมนตและฝกฝนเตรียมตัวตางๆ บรรดาบทสวดมนตท้ังหลายนั้น บทที่ใหทองบทหนึ่ง ซ่ึงเดี๋ยวนี้บางทีไมรูจักแลว แตเขาใจวาครูอาจารยสวนใหญท่ีมานี่คงรูจัก เรียกกันวาบทปฏิสังขาโย ซ่ึงเริ่มตนวา ปฏิสังขาโยนิโส ปณฑะปาตัง ปฏิเสวามิ เปนตน ซ่ึงเปนบทพิจารณาอาหารบทนี้รูจักกันมากที่สุด ท่ีจริงทานใหพิจารณาหมดทุกอยาง มีบทเฉพาะสํ าหรับแตละอยางๆ

บทพิจารณาอาหารมีใจความวา ขาพเจาพิจารณาแลวโดยแยบคาย จึงบริโภคหรือฉันภัตตาหารนี้โดยมองเห็นวา มิใชบริโภคเพียงเพื่อเอร็ดอรอย เพื่อโกเกอะไรตางๆ แตบริโภคเพื่อหลอเลี้ยงรางกายใหชีวิตเปนอยูได เพื่อเกื้อหนุนแกชีวิตประเสริฐหรือการดํ าเนินชีวิตที่ดีงาม คือ นํ ารางกายไปใชทํ าประโยชน

น่ีเปนการที่เรานํ าเอาปญญามาพิจารณา เมื่อเอาปญญามาพิจารณาเกิดความเขาใจถูกตองแลว จิตใจก็เกิดความพอใจที่เปลี่ยนไป คือถาหากวาแตกอนนี้มองเห็นอาหารไมถูกปากหรือไมไดอยางใจหนอยก็โกรธ ไมยอมรับประทานแลว แตตอนนี้พอพิจารณาวาประโยชนอยูท่ีคุณคาที่จะหลอเลี้ยงชีวิต ใหมีสุขภาพ

Page 98: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๙๑

แข็งแรง เราก็รับประทานไดงายขึ้น ทํ าใหมีพฤติกรรมในการรับประทานที่ดีงามถูกตอง

ไมใชเพียงแคมีความพอใจที่จะรับประทานงายขึ้นเทานั้น แมแตปริมาณอาหารก็จะรับประทานไมเกินควร ไมใชวาเห็นแกอรอยก็กินเรื่อยไป แตจะกินพอดี อยางที่เรียกวา “โภชเน-มตัตัญุตา” แปลวา รูจักประมาณในการบริโภค

การฝกระดับน้ี ถาเปนศีลของพระ จะมีช่ือเฉพาะเรียกวาปจจัยสันนิสสิตสีล คือศีลท่ีอิงอาศัยปจจัย ๔ แตมีอีกชื่อหนึ่งวาปจจัยปฏิเสวนา คือศีลท่ีเกี่ยวกับการเสพปจจัย ศีลประเภทนี้อยูกับชีวิตประจํ าวัน แตหางเหินไปจากคนไทยเรา จนเราแทบจะไมรูจัก ท่ีจริงศีลอยางนี้สํ าคัญมากในครอบครัว ตั้งแตในบาน มาที่โรงเรียนก็สํ าคัญ

เอาปญญากับจิตใจมาชวยในการฝกศีลจะเห็นวาศีลอยางนี้เกี่ยวของกับปจจัย ๔ คือ สิ่งของที่กินที่

ใช แตศีลน้ันก็สํ าเร็จดวยปญญา เราใชปญญามาชวยฝกศีล แลวก็เลยกลายเปนวาเราใชศีลเปนแดนฝกปญญาไปดวย แตตัวเดนในกรณีน้ีเปนเรื่องพฤติกรรมที่สัมพันธกับสิ่งภายนอก จึงเรียกวา ศีลไมเรียกวา ปญญา

แตในการที่ศีลจะเปนไปไดน้ัน ก็เห็นชัดเลยวาตองอาศัยปญญา ท่ีรูจักคิดพิจารณาและกินใชดวยความรูความเขาใจพรอมท้ังดานจิตใจก็มีความตั้งใจและพอใจเปนตนตามปญญานั้น

Page 99: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๙๒

การที่เราเรียกวา ศีล สมาธิ ปญญา จึงไมไดแยกออกจากกันเด็ดขาด เปนแตเพียงวา ในตอนนั้นๆ จะเอาตัวไหนเปนตัวเดน

ข้ันศีลน้ีเปนการฝกในชีวิตประจํ าวัน เกี่ยวของกับโลกภายนอก คือเกี่ยวของกับวัตถุ และเกี่ยวของกับเพื่อนมนุษย เปนดานที่งายๆ หรือหยาบหนอย มองเห็นชัด และในการฝกดานนี้เราก็เอาดานจิตใจคือเรื่องสมาธิ และการคิดพิจารณาดานปญญาเขามาชวย จึงเปนการบูรณาการอยูในตัวเลย

จะเห็นวา ในชีวิตที่เปนจริงเราไมสามารถจะไมบูรณาการถาเราไมบูรณาการมันก็ไมสามารถจะเกิดผลดีข้ึนมาได ท้ังหมดนี้เมื่อมีการศึกษาถูกทางมันก็เปนไปเอง แคฝกศีลเทานั้น สมาธิและปญญาก็มาเอง แตตองใชใหเปน มันจึงเปนเรื่องของไตรสิกขาที่เปนไปตลอดเวลา

ทีน้ี มองดูในแงมรรคก็ชัดวา วิถีชีวิตที่ดีก็เกิดขึ้น เชนในการท่ีเราจะรับประทานอาหาร เมื่อรับประทานดวยความเขาใจถูกตองวาออ…ท่ีจริงคุณคาและความมุงหมายที่แทของการกินก็เพื่อหลอเลี้ยงรางกายใหชีวิตเปนอยูดี พอเรามองเห็นและเขาใจอยางนี้ มันก็เขาสูแนวที่เรียกวาเกิดสัมมาทิฏฐิใชไหม น่ีคือเปนมรรคแลว น่ีแหละมาดวยกัน

ในเวลาที่เราพิจารณาไป ความเห็นที่ถูกตองก็กอตัวขึ้นมาจากการรูจักคิดพิจารณาถูกตอง พอสัมมาทิฏฐิเกิด มันก็จะไปเปนตัวตั้งตนใหแกวิถีชีวิตที่เรียกวามรรค ใหดํ าเนินชีวิตไปในทางที่ถูกตอง กระบวนการศึกษาและพัฒนาชีวิตก็ดํ าเนินไปอยางนี้ เปนเรื่องของไตรสิกขากับมรรคมีองค ๘ ประสานไปดวยกัน เราจึงบอก

Page 100: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๙๓

วาเอาไตรสิกขามาบูรณาการใหเรามีวิถีชีวิตที่เปนมรรค ซ่ึงเปนวิถีชีวิตที่มีองคประกอบ ๘ ประการ เปนอันวาการศึกษามีตลอดเวลา

พอกินอยูเปน…ก็คิดเปนเองในการศึกษานี้เราเริ่มท่ีศีล และเริ่มงายๆ ท่ีการเปนอยูใน

ชีวิตประจํ าวัน เชนการกินอาหาร การใชสอยบริโภคสิ่งตางๆตลอดจนเทคโนโลยีทุกอยาง คือ ใหรูจักถามตัวเองวา ท่ีเราใชมันนี้เพื่ออะไร? คุณคาที่แทของมันอยูตรงไหน? ถาเด็กรูจักหัดพิจารณาเขาก็เกิดการรูจักคิดใชไหม ?

บางครั้งเราบอกกันวาการศึกษาคือการคิดเปน แตท่ีวาคิดเปนนั้น บางทีก็น่ิงอั้นกันไป ไมรูจะไปคิดตรงไหน ท่ีจริงนั้นคิดเปนก็เริ่มตรงนี้แหละ คือเริ่มท่ีการกินอยูในชีวิตประจํ าวันนี่แหละ พอเรากินอยูเปน มันก็คิดเปนเอง ถาเราคิดไมเปน มันก็กินอยูไมเปนเพราะฉะนั้น ใหชีวิตประจํ าวันเปนแดนเริ่มเองเลย พระพุทธเจาก็ใหปญญามาอยูท่ีศีลน่ันแหละ และปญญากับจิตใจก็มาชวยพัฒนาศีลข้ึนไป มาฝกกันตั้งแตน่ีเลย

อยางเชนอยูบาน ลูกจะรับประทานอาหาร พอถึงวันดีคืนดีคุณแมก็อาจจะถามวา หนูลองคิดซิวา “ท่ีเรากินนี่…ประโยชนของอาหารมันอยูท่ีไหนแน” หรือ “เรากินเพื่ออะไรกันแน” อยางนี้เด็กก็ตองคิดแลวใชไหม? น่ีก็คือใชความคิดกับเรื่องที่เกี่ยวของสัมพันธกับชีวิตประจํ าวันนั่นแหละ แลวการคิดเปนมันก็มาเอง

Page 101: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๙๔

พอคิดเปน ก็ตองคิดถูกใชไหม ? ถาคิดไมถูก มันไมเกิดผลดีแลวจะเรียกวาคิดเปนไดอยางไร คิดเปน คือคิดถูกตอง ท่ีจะทํ าใหเกิดผลดี ถาคิดถูกตองแลว ก็เปนการคิดเปน และคิดเปนนั้นก็มาดูตั้งแตชีวิตประจํ าวัน เชนมาดูท่ีกินอยูเปน ซ่ึงเปนเรื่องทางปฏิบัติท่ีชัดเจนกวาจะมาพูดวา “คิดเปนๆ” แตไมรูจะไปคิดที่ไหน

เปนอันวา คิดเปนก็อยูในชีวิตประจํ าวันนี่แหละ ทุกอยางที่จะใหไดผลดีก็ตองมีการคิดเปนทั้งนั้น และมันก็บูรณาการเอาปญญาพรอมท้ังจิตใจเขามาสูกระบวนการหมดเลย คือกระบวนการของชีวิตประจํ าวัน ตั้งแตการกินอาหารเปนตนไป

จะใชเสื้อผาละ…หนูก็ลองคิดดูซิ ท่ีเรานุงหมเสื้อผานี่เพื่ออะไร ? ประโยชนของเสื้อผามันอยูท่ีตรงไหนแน ? บางคนใชเสื้อผามาเปนสิบๆ ปก็ไมเคยคิดเลยวานุงหมเพื่ออะไร ? บางทีก็หลงไปตามคานิยม หลงไปตามกัน ทํ าตามๆ กันไป ถาตามๆ กันไปในทางที่ดี ไดความเคยชินที่ดี กลายเปนแบบแผนที่ดี…ก็ดีไป แตเมื่อไมใชปญญาพิจารณา ไมมีการคิดเปน ก็เสี่ยงอันตราย ตามกันไปกันมาแบบลุมหลงเปนโมหะ ชีวิตก็เสื่อม สังคมก็โทรม

วนิยั คือ จัดตั้งวิถีชีวิตแหงไตรสิกขาในหลักการฝกที่พระพุทธเจาทรงสอนไว เมื่อพูดถึงวินัย

เรามักไปนึกถึงแตศีลของพระ แลวเราก็ไมไดเอาไปใชในวิถีชีวิตของญาติโยม ก็เลยเสียประโยชนท่ีควรจะได สํ าหรับพระนี่มีดีอยางหนึ่ง คือมีวินัยชัดเจน

Page 102: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๙๕

วินัยนี้เปนเครื่องมือท่ีจะสรางวิถีชีวิต และเปนตัวกํ ากับชวยใหเรานํ าเอา “ระบบไตรสิกขา” มาใชได พูดงายๆ วินัยเปนการจัดต้ังของมนุษย เพ่ือใหเปาหมายทางธรรมชาติเกิดผลขึ้นมา

เรารูความจริงแลววา ธรรมดาเปนอยางนี้ เราตองการจะมีชีวิตที่ดีงาม ธรรมชาติหรือธรรมดามันเรียกรองใหเราทํ าอยางนี้เอ! ท่ีวาตองทํ าอยางนี้พูดสั้นๆ วาตองไตรสิกขา แลวจะมีวิธีอยางไรใหคนทํ าอยางนั้นหรือมีชีวิตอยางนั้นละ เราก็จัดตั้งวิถีชีวิตแบบนั้นขึ้นมา เรียกวา “วินัย”

วินัย คือ การจัดสรร หรือจัดตั้งระบบวิถีชีวิต ที่จะทํ าใหคนตองดํ าเนินชีวิต และทํ ากิจกรรมตางๆ อยูในแนวทางที่เราตองการใหเปนไปตาม “หลักไตรสิกขา” เพราะฉะนั้น วินัยจึงมาเปนตัวสัมพันธใกลชิดที่สุดกับศีล คือจัดตั้งใหเกิดเปนศีลหรือจัดตั้งวิถีชีวิตที่จะใหมีสิกขาขั้นศีล เพราะศีลเปนเรื่องของพฤติกรรม ซ่ึงแสดงออกทางกาย และวาจา ชัดเจนออกมา การจัดตั้งที่เปนรูปธรรม ซ่ึงอยูในสังคม ก็ออกมาในรูปของศีล

ท่ีจริงวินัยไมใชแคฝกศีลหรอก ก็จัดตั้งใหเกิดโอกาสที่จะฝกไตรสิกขาทั้งหมดนั่นแหละ แตมันปรากฏชัดที่ศีล พอฝกตามวินัยมีชีวิตตามวินัย ตามรูปแบบที่วางไวน้ี มันก็เกิดเปนศีลข้ึนมา คือเปนการดํ าเนินชีวิตดานพฤติกรรม ทางกาย และวาจา เปนตน ท่ีเปนปกติอยางนั้น ศีลก็คือพฤติกรรมดีงามที่เปนปกติอยางนั้นแลวอยูตัวแลว หรือจะเรียกเปนความเคยชินเลยก็ได แตหมายถึงความเคยชินในทางที่ดี

Page 103: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๙๖

ถามองเห็นความสํ าคัญของความเคยชินก็รูความสํ าคัญของวินัย

คนเรานี้อยูดวยความเคยชินเปนสํ าคัญ ใครจะปฏิเสธได…ท่ีเราอยูกันนี้ เราทํ าไปตามความเคยชินแทบทั้งนั้น เราจะชอบอะไร เราจะหันไปหาอะไร เราจะพูดคํ าไหนอยางไร แมแตจะเดินแบบไหน ก็มักทํ าไปตามความเคยชิน

ความเคยชินนี้มีท้ังทางกาย ทางวาจา และทางใจ ความเคยชินทางใจ ก็คือใจจะชอบอะไร เคยยกตัวอยางบอยๆ เชน คนที่ชอบไปเที่ยวหางสรรพสินคา ความเคยชินจะออกมาเลย คนหนึ่งก็ไปเขารานหนังสือ อีกคนหนึ่งก็ไปรานขายเครื่องใชของใชในบานอีกคนหนึ่งไปรานเครื่องบันเทิง หรือสิ่งบํ ารุงบํ าเรอความสุข น่ีเปนไปตามการสั่งสมสภาพจิตใจที่เคยชิน คนเราก็ทํ าไปตามความเคยชินนั้น

พระพุทธเจาทรงเนนความสํ าคัญของความเคยชิน คนเรามีท้ังความเคยชินที่ดี และความเคยชินที่ไมดี ถาเคยชินไมดีก็เสียหาย ซ่ึงอาจจะทํ าใหเสื่อมไดมาก

ถาไมมีคนอยางพอแมหรือคุณครู ท่ีเปนกัลยาณมิตรมาชวยนํ า เด็กก็อาจจะจับพลัดจับผลูไปสรางความเคยชินที่ไมดีข้ึนมาเชน เด็กเกิดนึกสนุกขึ้นมา ถือไมติดมือ เดินไป พอเห็นตนไมดอกไม ก็หวดซายหวดขวา ใบไมดอกไมขาดกระจุย ตอมาอีกวันพอเดินไป แกก็มีความโนมเอียงจะทํ าอยางนั้นอีก ทํ าไปทํ ามาก็เคยชินติดนิสัยกระทั่งไปเปนผูใหญ ท่ีน้ีก็แกยากแลวซิ

Page 104: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๙๗

เพราะเหตุน้ีเราก็เลยตองพยายามเขาชิงเสียกอน ชิงกันระหวางความเคยชินที่ดี กับไมดี โดยที่เราชิงใหความเคยชินที่ดีเริ่มตนไดกอน พอเคยชินดีแลวเราก็สบายใจได ฉะนั้น ศีลนี้เปนเรื่องสํ าคัญในแงหนึ่งก็คือ การฝกความเคยชินที่ดีนั่นเอง และความเคยชินที่ดีนี้ก็เกิดขึ้นดวยวินัย คือ การจัดตั้งระบบ การวางระเบียบแบบแผนอะไรตางๆ ใหมีการทํ าพฤติกรรมที่ดีกันจนเคยชินอยูตัว

วินัยแปลวาอะไร? ทานแปลวา “การนํ าไปใหวิเศษ” ภาษาของพระแปลไดอยางนี้ ซ่ึงในภาษาทางปฏิบัติก็แปลวา “การฝก”น่ันเอง แตหามแปลวา “ขอบังคับ” ไมรูวาทํ าไมคนไทยไปแปลวาขอบังคับ ยํ้ าอีกทีวา วินัย แปลวา การนํ าไปใหวิเศษ หมายความวา ชีวิตมนุษยเรานี้จะดี จะวิเศษ จะประเสริฐไดก็ดวยการนํ าไปใหถูกทาง

ถามีผูนํ าที่ดี มีประสบการณ รูเขาใจ เห็นทางถูกตอง มีสัมมาทิฏฐิอยูแลว จะนํ าไปในทางที่ถูกตอง ก็มาจัดตั้งวางระบบข้ึนเปนวินัย

ระบบการจัดตั้งนี่สํ าคัญมาก วินัยเปนรูปแบบที่วา บางทีโดยที่ยังไมทันรูตัว เราก็ไดความเคยชินที่ดีแลว เปนธรรมดาวาเราจะหวังใหทุกคนทํ าอะไรโดยตองคิดพิจารณาทุกอยางนี่ยาก แตโดยมากคนจะทํ าตามกันไป ใชไหม เราไมทันดู ไมทันชวยเลย แกตามไปซะแลว แกตามคนอื่น ถาตามอยางที่ไมดีไป เกิดเปนความเคยชินที่ไมดีเสียแลว คราวนี้ก็เปนปญหาที่ยาก

เพราะฉะนั้น เราก็เลยหาทางใหมีวัฒนธรรม ซ่ึงเปนความ

Page 105: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๙๘

เคยชินที่ดีรวมกันที่ถายทอดตอมา เอามาชวย ซ่ึงก็อยูในเรื่องวินัยน่ีแหละ เปนระเบียบ แบบแผน ธรรมเนียม จารีต ประเพณี อะไรตางๆ ซ่ึงในที่สุดก็เปนวิถีชีวิตขึ้นมา

วินัยเปนรูปแบบตองรักษาสาระไว และสื่อสาระได

ในเรื่องการจัดตั้งที่เปนวินัยนั้น เราก็ตองการจัดตั้งวิถีชีวิตและแบบแผนของสังคม ใหมันอยูตัวเปนศีลใหได พอเรามีวิถีชีวิตอยางนั้นอยูตัวแลว มันก็กลายเปนศีลข้ึนมา เพราะฉะนั้นวินัยจึงเปนจุดเริ่มตน

แตเวลาพูดกับญาติโยม เราไมไดใสใจพิจารณา เราไมนึกวาญาติโยมก็ตองมีวินัย เดี๋ยวนี้จึงตองยํ้ ากันเรื่อย วา “น่ี ท่ีจริงญาติโยมคฤหัสถก็มีวินัยนะ ไมใชมีแตพระ” เวลาพูดถึงวินัยก็นึกถึงแตวินัยพระ ถาไมงั้นก็นึกถึงวินัยทหาร และวินัยอะไรตออะไร แตแทจริงที่สํ าคัญอยางยิ่ง คือวินัยชาวพุทธ วินัยชาวบาน ซ่ึงทุกคนตองมี

พอนึกถึงวินัยของพระ ก็จะเห็นวา พระพุทธเจาทรงฝกใหพระมีวิถีชีวิตที่ดี ดวยอาศัยวินัย จึงจัดตั้งขึ้นมาเปนรูปแบบ ซ่ึงถารูปแบบนี้คนปฏิบัติโดยมีความเขาใจ ใชปญญา และไดจิตใจมารวมดวย เชน พอใจ สมัครใจ เต็มใจ ตั้งใจอยากฝกใหเปนดวย ก็ไปไดด ีแตถาไมมดีานปญญาและจติใจเขามา มนักเ็หลอืแตรูปแบบ

แตก็ยังดีนะที่วินัยภายนอกชวยรักษารูปไว ตราบใดที่ยังมี

Page 106: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๙๙

ขวด ก็ยังมีทางที่จะกรอกนํ้ าใส ถายังมีแกว ก็ยังมีทางไปตักนํ้ ามาดื่ม ถาตอนนั้นนํ้ าไมมีแลว เนื้อไมมี มีแตแกว มันก็ใชประโยชนไมได แตถาเรายังมีแกว ก็ยังดีกวาไมมีเลยใชไหม ? วันดีคืนดีเรารูวา เอะ ! แกวนี่มันไมใชของที่จะทิ้งไวเฉยๆ นะ มันตองเอามาใชประโยชน ใสน้ํ าดื่มหรืออะไรเปนตน เออ ! เราก็เอามาใชประโยชน

เหมือนวินัย แบบแผนที่เปนรูปแบบนี่ นานๆ ไป สาระ และความเขาใจความหมาย เปนตน มันหายไป เหลือแครูปแบบ แตรูปแบบนี่ก็รักษาไว เชน สังฆกรรมหลายอยางของพระเวลานี้เหลือเพียงพิธีกรรม พอเหลือเปนพิธีกรรม ก็เหลือแตรูปแบบ ทํ ากันไปโดยไมเขาใจความหมาย คิดไปอีกทีวา เออ ! ก็ยังดียังรักษารูปแบบไว ก็ไดข้ันหนึ่ง พอจะไดความเคยชินที่ดี แตไปๆ มาๆเหลือเปนเพียงความศักดิ์สิทธิ์ เหลือเปนความไมรูอะไรเลย ไปๆมาๆ บางทีเขวเถลไถลไปไหนไมรู

เหมือนที่ยกตัวอยางเมื่อกี้วา ในศีลของพระ มีเรื่องการปฏิบัติตอปจจัย ๔ เรียกวา ปจจยปฏิเสวนา เปนศีลชนิดหนึ่งเพราะฉะนั้นเวลาจะบวชพระนี่ สมัยอดีตตองมาอยูวัดกอนและทานก็จะใหทองบทสวดมนตตางๆ ซ่ึงมีบทสวดปฏิสังขาโย คือบทพิจารณาปจจัย ๔ น่ีดวย ตองทองหมด เรียกวา “ปจจัย-ปจจเวกขณ” แลวก็มีท้ังบทสวดพิจารณาปจจุบัน และบทสวดพิจารณาอดีต หมายความวา ถาเผลอไปไมไดพิจารณาตอนรับประทาน หรือตอนใชปจจัย ๔ ก็เอาไวตอนผานไปแลว โดยเฉพาะตอนทํ าวัตรคํ่ า ก็มาสวดกันเพื่อตรวจสอบทวนตัวเอง จะไดสอนใจและไดวัดผลไปดวย

Page 107: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๐๐

ท่ีน้ีก็กลายเปนประเพณีของพระที่จะตองทองเขาไว พอถึงเวลาฉันก็ เอา ! พิจารณานะ แตไปๆ มาๆ สวดกันไปๆ กลายเปนเสกอาหาร เวลานี้ตอนวาปฏิสังขาโย บางทีเรียกกันวา “เสกอาหาร” หรือ “เสกขาว” เลยนึกวา เวลาจะฉันเราสวดบทนี้เพื่อจะใหอาหารมันศักดิ์สิทธิ์ หรืออะไรทํ านองนั้น เรียกกันมาอยางนี้กลายเปนคํ าที่ชาวบานเขาเรียกกัน

แตเดี๋ยวนี้เลือนไปเลือนมา ก็เลิกสวดเลย เดี๋ยวนี้ไมคอยมีแลว ยิ่งบวชกันสั้นๆ ก็เลยไมรูจัก บางแหงไมรูจักเลย ปฏิสังขาโยอันนี้ก็เปนตัวอยางของความคลาดเคลื่อนผิดเพี้ยนและเลือนลางตางๆ ท่ีเปนไปได และเปนไปแลว

รูจักศีลครบ ๔ หมวด จึงจะเขาใจคํ าวา "ศีล"วินัยมีประโยชนอยางที่วามานี้ แตถาใชไมเปนมันก็คลาด

เคลื่อนเลือนลาง จนกระทั่งเนื้อหาสาระหมดไป ก็อาจจะเขวกลายความหมายเปนอยางอื่น จนถึงขั้นใชผิดวัตถุประสงคไปก็ไดแตน่ีคือใหเห็นวา การฝก หรือการศึกษาตามหลักพุทธศาสนาเปนอยางนี้

การฝกตนและฝกคนเริ่มตั้งแตชีวิตประจํ าวันซึ่งเราอาจจะมองขามไป ตั้งแตเรื่องการกินการอยูธรรมดานี่แหละ เพราะอยางท่ีบอกแลววา การทํ าใหชีวิตเปนอยูไดดีเปนสิกขา และชีวิตที่เปนอยูไดดี ก็เปนมรรค เพราะฉะนั้น การศึกษาก็คือการทํ าใหชีวิตสามารถเปนอยูไดอยางดี และ การศึกษาก็เริ่มตนเมื่อคนกิน

Page 108: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๐๑

อยูเปนเมื่อกินอยูเปนการศึกษาก็เริ่มทันทีเลย ก็เลยอยากจะเนน

ทุกคนในครอบครัว ตั้งแตคุณพอคุณแมก็ตองใชศีลประเภทนี้ดวยตองมีศีลใหครบ อยาไปเอาเฉพาะศีล ๕ ก็เลยตองถือโอกาสพูดเรื่องศีล น่ีเวลาก็เกินแลว เรื่องศีลน่ีขอพูดอีกนิดหนึ่ง

ศีลของพระนี่ทานจัดเปน ๔ หมวด๑. ปาฏิโมกขสังวรศีล ศีลคือความสํ ารวมในปาฏิโมกข

อันนี้คือศีลแมบท หรือศีลท่ีเกิดจากวินัยแมบท คือวินัยแมบทของชุมชน

เปนธรรมดาวาชุมชนแตละชุมชนจะตองมีกติกา มีขอปฏิบัติในการอยูรวมกัน ท่ีจะคุมชุมชนใหอยูในแบบแผนเดียวกันอยางประณีตงดงาม และกํ ากับความเปนอยูใหสอดคลองกับวัตถุประสงคในการมีชีวิตแบบนั้น เชน ชีวิตครอบครัวของเรา ควรมีวัตถุประสงคอยางไร ? เราควรอยูกันอยางไรจึงจะไดผลตามวัตถุประสงคน้ัน ? ก็วางขอปฏิบัติข้ึนมา จะเรียกวากติกา หรืออะไรก็ตาม ก็ตกลงกันไว

สํ าหรับคฤหัสถท่ัวไป หรือสังคมใหญ เราเอาศีล ๕ นี่แหละเปนศีลปาฏิโมกข คือเปนศีลแมบทสํ าหรับคุมใหสังคมอยูกันดวยดีจะไดเปนฐานใหชีวิตของแตละคนกาวไปสูจุดหมายที่สูงขึ้นไปได

๒. อินทรียสังวรศีล เปนศีลอีกประเภทหนึ่งที่สํ าคัญ คือการใชอินทรีย ต้ังแตตา หู นี่เปนเรื่องใหญที่สุด อินทรียเปนเรื่องใหญมาก คือเรื่อง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ น่ีแหละ โดยเฉพาะจะตองใชตาเปน ใชหูเปน ตองดูเปน ฟงเปน

Page 109: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๐๒

เรื่องนี้เปนปญหามากของยุคปจจุบันนี้ โดยเฉพาะในยุคที่มีความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี เกิดปญหามากมาย เพราะคนใชเทคโนโลยีไมเปน และการที่เราใชเทคโนโลยีไมเปน ก็เพราะไมมีศีลดานนี้ เมื่อศีลดานอินทรียสังวรไมมี เราก็ใชเทคโนโลยีไมเปน ดูทีวีไมเปน ใชเครื่องเสียง ใชและเสพอะไรตออะไร แมแตคอมพิวเตอรโดยไมรูและไมตรงตามวัตถุประสงคท่ีแทจริงเลย

ถาใชอินทรียเปน ก็ใชดวยสติ และใหเกิดปญญา ใหเขาหลักสติปฎฐานในชีวิตประจํ าวัน ซ่ึงมีหลักสํ าคัญอยูท่ีวา จะดู จะฟงอะไรก็ใหได ๒ อยาง คือ ไดญาณ คือไดความรูความเขาใจ เขาถึงความจริงของสิ่งนั้นๆ จับสาระได และ ไดสติ คอืไดขอมูลไวสํ าหรับระลึกใชประโยชน ได ๒ อยาง คือ ไดความรูความเขาใจและไดขอมูล ไมไปตามชอบใจไมชอบใจ ไมติดอยูแคถูกใจเพลิดเพลิน

ถาเราใช สตปิฏฐาน ตัง้แตเดก็ๆ กส็งัเกตวาเขาดอูะไรฟงอะไรแลวเขาไดไหม ๒ อยางนี้ คือ ไดความรูความเขาใจและไดขอมูลไวใช ไดสองอยางนี้ก็เขาสติปฎฐานแลว คือจิตไมไปตามชอบใจ-ไมชอบใจ มันก็ไมไปหลงวุนวายอะไรแลว พอใชตาดู หูฟง เปนแลว ก็เปนอินทรียสังวร แตถาตาดู หูฟง แคเด็กดูทีวี ถาแกไมมีหลักไมมีอินทรียสังวร ก็ไปแลว แกก็ดูแคลุมหลง ชอบใจ-ไมชอบใจเพลิดเพลิน หลงมัวเมา ไมไดประโยชนอะไรที่ควรจะได

เอาละ ... ไมวาอะไร เรื่องบันเทิง สนุกสนาน ก็วาไป แตอยาใหมันกลายเปนหลักนะ ความสนุกสนานบันเทิงนั้นเปนตัวประกอบ ตองถามวาตัวแทท่ีเราตองการหรือประโยชนท่ีแทน้ันเรา

Page 110: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๐๓

ไดหรือเปลา ตองใหเรื่องบันเทิงเปนตัวประกอบ และใหไดตัวแทคือไดความรูเขาใจ และไดขอมูลไวระลึกใช

ทํ าไม ในการศึกษาขั้นพื้นฐานทานเริม่ตนโดยเอาศลี เปนทีบ่รูณาการไตรสกิขา

ในเวลาดูตองใหเกิดความรูความเขาใจ มองหาหรือมองเห็นเหตุปจจัย อาจจะถามวา น้ีคืออะไร มันเปนอยางไร มันเปนมาอยางไร มันเปนเพราะอะไร เขาทํ ามันมาทํ าไม มันมีคุณมีโทษอยางไร ควรจะใชอยางไร ฯลฯ อยางนี้ถามเขาไปเถอะ ใหมันไดญาณ ไดความรู และไดสติ เพิ่มขอมูลไวใชตอไป

น่ีถาเด็กดู-ฟงอะไร โดยใชหลักอินทรียสังวร และเอาสติ-ปฏฐานมาใช แกก็สบาย ชีวิตแกก็ดี ไมเกิดโทษแกตัวเอง ตัวเองก็พัฒนา และไมเกิดโทษแกพอแมครอบครัว

แตน่ีเวลานี้ไมมีหลักเลย เอาแตชอบใจ-ไมชอบใจ อยางที่ทางพระทานเรียกวา ตาดู หูฟง ไดแคยินดี-ยินราย อยูแคยินดียินราย พอยินดี-ยินราย ก็ชอบ-ชัง พอชอบ-ชัง ก็ปรุงแตงตามชอบ-ชัง ทุกขโทมนัส ความสุขโสมนัสอะไรก็ไปตามนี้ ความลุมหลง มัวเมา โลภะ โทสะ โมหะ มากันเปนกระบวนเลย

แบบของเราวา ญาณมัตตายะ สติมัตตายะ (พูดเต็มวาญาณมัตตายะ ปฏิสสติมัตตายะ) เอานี่เปนหลักเลยนะ ถามวาไดความรูไหม ไดคติและขอมูลไวใชประโยชนไหม ถาไดอยางนี้ยิ่งดูยิ่งฟงเทาไรก็กลายเปนดี แตศีลแคน้ีเราก็ไมเอามาใชกันเลย

Page 111: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๐๔

ถาเด็กไทยมีศีลแคน้ีเราสูไดเลย เทคโนโลยีอะไรมา จะมาเทาไร เรามีอินทรียสังวรปบกอ็ยูมอืเราเลย เราใชไดประโยชนหมดเลย มนัจะมาทาไหนเราใชเปนหมด พอใชเปนกเ็ปนศลี

พอใชตาดู หูฟงเปนแลว ทีน้ีฝร่ัง–ญี่ปุนจะสรางความเจริญมาอยางไรเรารับมือไดทันทีเลย คือเอามาทํ าใหเกิดประโยชน ไมกลายเปนการสรางความเสื่อมโทรมใหแกชีวิตและสังคม

แตเวลานี้ คนไทย ขอใชศัพทวา ถูกกระแสความเจริญไหลมาทวมทนและจมตายอยูใตกระแสความเจริญนั้น หมายความวาปญญาก็ไมใช ใจก็ไมดี ศีลก็ไมมี ใชไมเปน ไดแตติดจมอยูใตความเจริญ แทนที่วา ฝร่ัง-ญี่ปุน สรางความเจริญมาเทาไร เราข้ึนไปยืนบนความเจริญนั้นเลย อยางนี้จึงจะเกงจริง การศึกษาถึงจะไดประโยชน

เออ…เอาละ ความเจริญอยางนี้ เทคโนโลยีเหลานี้เขาสรางมาแลวนี่ และเราตองสัมพันธเกี่ยวของ เราก็เอามาทํ าประโยชนใชใหเปน ใหไดคุณคาจากมันเต็มท่ี ใหเกิดผลดีแกชีวิตและสังคมของเรา ก็เทานั้นแหละ ความเจริญมีมาเทาไร ก็เทากับวาเราทุนเวลาที่จะสรางที่จะคิดทํ าสิ่งนั้น เราก็ข้ึนไปยืนเหนือความเจริญนั้นแลวเอามันเปนฐานที่จะกาวตอไปเลย

ท่ีน้ีทํ าอยางไรจะใหคนของเราไดหลกัการนี ้ คอืเอาความเจรญิของเขามาเปนฐานเพือ่เราจะยนืขึน้และกาวตอไป แทนทีจ่ะไปตดิจมอยูใตความเจริญนั้น ไดแควายวนหมุนจมลงไปเลย การอยูเหนือความเจริญ หรือเอาความเจริญมาใชประโยชนแคน้ีเราก็ทํ าไมไดแตถาเราปฏิบัติตามศีล แคอินทรียสังวรก็อยูเราแลว เราไดหลัก

Page 112: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๐๕

เลย และเราก็ใชความเจริญที่เขาสรางมาเปนฐานใหเรากาวตอไป

ไดแคศีล เพียงขั้นกินอยูดูฟงเปนเทานั้นเดก็ไทย สังคมไทย มีหรือจะไมพัฒนา

๓. ศีลหมวดที่ ๓ ขอสลับนิด ขอเอาเรื่องปจจยปฏิเสวนาท่ีเปนขอ ๔ ของทาน ข้ึนมากอน เพราะพูดเกี่ยวกับเด็ก

เรื่องการเสพปจจัย ๔ ก็เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องกินเครื่องใชคือการกินอยู บริโภคนี่ ท่ีวากินเปน บริโภคเปน ใชของเปน ซ่ึงไดพูดมาครั้งหนึ่งแลว พอจะกินอะไร จะใชเสื้อผาอะไร ก็เขาใจความมุงหมายวาเพือ่อะไร มองเหน็คณุคาประโยชนท่ีแทของมนัวาอยูท่ีไหน

แมแตจะใชคอมพิวเตอรก็ตองมองตองคิดวา คอมพิวเตอรมีไวเพื่อประโยชนอะไร ถาเรากินอยูเปน เวลาจะใชคอมพิวเตอรเราก็คิดแลว เรามีนิสัยคิดเปนแลว ไมวาจะกินอยูบริโภคอะไรความคิดก็มาทันทีเลย ความคิดเปนก็มาประยุกตเขากับเรื่องการกินอยูทุกอยาง ฉะนั้นเวลาจะใชคอมพิวเตอรเราก็คิดวาคอม-พิวเตอรน่ีประโยชนท่ีแทของมันคืออะไร ไมใชนึกไดแคเลนเกมแลวก็จบกัน ถาใชศีลขอน้ีมันก็มีทางที่จะเกิดการศึกษาและสรางสรรค

เด็กมาวัดเคยถามเด็กวา “หนู ดูทีวีวันละกี่ช่ัวโมง ดูรวมแลวสัปดาหละเทาไร แลวก็ใชคอมพิวเตอรเพื่ออะไร”

ถามไปวา “หนดูทีูวเีพือ่เสพกีเ่ปอรเซน็ต เพือ่ศกึษากีเ่ปอรเซน็ต”เด็กไมเคยแยกเลย ตอนตนก็อาจจะงงหนอย พอเด็กแยกไดแลวแกบอกวาหนูดูเพื่อเสพ ๙๙ เปอรเซ็นต อยางนี้ก็แยแลว ก็เลย

Page 113: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๐๖

ถามวา “หนู…แลวที่หนูทํ าอยางนั้นถูกตองไหม ดูเพื่อเสพ ๙๙เปอรเซ็นต ดูเพื่อศึกษาแทบไมมีเลย” เด็กบอกวาไมถูก “อาว!แลวจะทํ าอยางไรดีละ ใหหนูคิดเองนะ พระไมวินิจฉัย” เด็กก็บอกวา “ตองแกไข…”

เด็กวาอยางนั้น พอบอกวา จะแกไข การศึกษาก็มาแลว ทีน้ีก็ถามตอไปอีกวา “เอา…แกไข หนูจะทํ าอยางไรละ” “ก็ตองดูเพื่อศกึษามากขึน้” “แลวหนจูะเอาเทาไรละ” เดก็บอกวา “หาสบิ หาสบิดูเพื่อเสพหาสิบ ดูเพื่อศึกษาหาสิบ”

บอกวา “โอย ! หนู…เห็นใจ ไมตองมากขนาดนั้นละ การศึกษานะ จาก ๑ เปอรเซ็นต มาเปน ๕๐ เปอรเซ็นต น่ีมันหนักมาก” เลยบอกวาหนูคอยๆ คิดเถอะ พระเห็นใจ หนูอยูในยุคนี้กระแสสังคมเขาเปนอยางนี้ ก็ใหคอยๆ คิด

ในที่สุดเด็กบอกวา “เอาดูเพื่อศึกษา ๓๐ เปอรเซ็นต ดูเพื่อเสพ ๗๐ เปอรเซ็นต” เอาละ แคน้ีเริ่มตนไดแลว

อยางนี้เปนการศึกษาพุทธศาสนาในชีวิตประจํ าวันเลยใชไหม ไตรสิกขามาเสร็จเลย กินอยูดูฟงเปน คิดเปน จิตใจดีงามมีความสุขกับการทํ าสิ่งที่ถูกตอง ถาเราทํ าถูกทางนี่มันมาเปนกระบวนเลย

รวมความวาศีล ดานปจจยปฏิเสวนา คือการกินใชเสพบริโภคปจจัย วัตถุสิ่งของ เครื่องใช เทคโนโลยี โดยรูจักคิดพิจารณา อยางนอยใหรูวามันมีเพื่ออะไร ประโยชนมันอยูท่ีไหนคุณคาแทคืออะไร

Page 114: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๐๗

อาชวีะเปนแดนใหญ ทัง้โดยกจิกรรม และโดยกาลเวลาในการที่จะเอาไตรสิกขามาพัฒนาชีวิตคน

๔. ตอไป อาชีวปาริสุทธิศีล เปน ศีลดานอาชีวะ เรื่องของอาชีพการงานการเลี้ยงชีพ คือการที่จะไดจะมีปจจัย ๔ มาเสพบริโภค ท่ีจริงทานเอาปจจยปฏิเสวนา ไปไวขอสุดทาย เพราะอะไรเพราะวาเรามีอาชีพกอน เราตองรูจักหาเลี้ยงชีพ จึงไดปจจัย ๔ มาบริโภค แลวก็บริโภคใหเปน แตเด็กไดของบริโภคจากพอแมหามาให สํ าหรับเด็กก็เลยเนนศีลดานเสพบริโภค

อยางไรก็ตาม เด็กๆ ก็ตองเปนอยูประพฤติตัวและทํ าหนาที่ตางๆ ใหสมกับการที่จะไดของกินของใชน้ันมาเสพบริโภค เพราะฉะนั้นเด็กก็ตองมีอาชีวะที่ถูกตอง เรียกวา อาชีวปาริสุทธิศีล แปลตามตัววาศีลท่ีเปนความบริสุทธิ์แหงอาชีวะ ซ่ึงเปนศีลอีกหมวดหนึ่ง อยางในมรรค ศีลประเภทนี้ก็คือสัมมาอาชีวะ ซ่ึงเปนเรื่องใหญมาก คนมักมองขามเรื่องอาชีพ อยาลืมวาในมรรค สัมมาอาชีวะเปนศีลขอสํ าคัญ

บางทีศีล ๘ ทานแสดงไวสองชุด ศีล ๘ ท่ีเราเรียกกันวาอุโบสถศีลน้ีแบบหนึ่ง แลวก็อาชีวัฏฐมกศีล ศีลมีอาชีวะเปนที่ ๘อีกชุดหนึ่ง ชุดหลังนี้จะเนนเรื่องอาชีวะ คือการประกอบอาชีพใหถูกตอง

ในการประกอบอาชีพนั้น ก็ตองดูวาอาชีพตางๆ ท่ีมนุษยตั้งกันขึ้นมานี้ ทุกอยาง เขามีวัตถุประสงคเพื่อจะแกปญหาชีวิต หรือแกปญหาสังคม หรือเพื่อการสรางสรรคอะไรสักอยางหนึ่งทั้งนั้น

Page 115: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๐๘

ดังนั้นเมื่อเราทํ าอาชีพอะไร เราก็ตองทํ าใหไดผลสมตามวัตถุประสงคน้ัน

ยกตัวอยางงายที่สุดก็คือ อาชีพแพทยมีเพื่ออะไร อาว ! ก็เพื่อไวชวยบํ าบัดโรค ชวยคนไขใหหายปวย ใหเขามีสุขภาพดีเพราะฉะนั้นคนประกอบอาชีพที่ถูกตองตามความมุงหมายของอาชีพนี้ ก็คิดวาฉันจะทํ าอาชีพนี้ใหดีท่ีสุด ก็คือฉันจะชวยใหคนไขหายโรค ใหเขามีสุขภาพดี สวนเงินทองก็ไดมาประกอบ

เหมือนเปนครูอาจารยน้ี อาชีพของเราก็คือเพื่อจะชวยใหเด็กมีการศึกษาดี มีชีวิตเจริญงอกงาม ถาเราคํ านึงถึงวัตถุประสงคท่ีแทของอาชีพแลว ศีลและผลดีก็แทบจะมาทันทีเลย และเราก็จะรักวัตถุประสงคน้ัน และทํ าอาชีพดวยความสุข ทุกอยางจะสอดคลองกัน แลวชีวิตของเราก็สอดคลองกับความเปนจริง ไมเกิดความขัดแยง แมแตในใจตัวเอง ก็กลมกลืน ราบรื่น มีความสุขและทํ าไดผลดีดวย

จากนั้นก็หมายถึงวาอาชีวะนี่ทํ าแลวไมเกิดโทษ ไมกอการเบียดเบียนแกใคร ซ่ึงก็เสร็จไปแลวในตัว

แงตอไปก็ใหอาชีพซึ่งใชเวลาสวนใหญของชีวิตของเรา วันหนึ่งตั้ง ๘ ช่ัวโมง ๑๐ ช่ัวโมงนี้ ใหเปนแดนพัฒนาชีวิตของตัวเองคนเราจะพัฒนาตัวเองได ก็ตองอาศัยเวลา และอาศัยกิจกรรมในชีวิต เออ…อาชีพนี่เปนงาน เปนกิจกรรม เปนเรื่องที่กินเวลาสวนใหญของชีวิต ถาเราพลาดมันไปเสียแลว เราจะเสียเวลาไปเยอะแยะเลย เพราะฉะนั้นเราก็เอาอาชีพนี่แหละเปนแดน เปนเวที

Page 116: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๐๙

พัฒนาชีวิตของเรา เราก็พัฒนาไตรสิกขาไปเลยดวยอาชีพนี่แหละอยางนี้เปนตน

อยางนอยที่สุด อาชีวปาริสุทธิศีล ก็คือไมใหอาชีพของเราไปกอการเบียดเบียนเกิดโทษ ทํ าใหเกิดความเดือดรอนแกผูใด หรือทํ าใหสังคมเสื่อมเสีย (และไมทํ าใหตัวเองสูญเสียหรือเสื่อมจากการพัฒนา)

ถามีวินัยชาวพุทธ ก็มีวิถีชีวิตที่เอ้ือตอการศึกษาศีล ๔ แดนนี้นาจะเอามายํ้ ากันในหมูชาวพุทธ ไมใชอยูแค

ศีล ๕ ตองรูวาศีล ๕ น้ี แมจะสํ าคัญยิ่งนัก แตมันเปนเพียงสวนหนึ่งของ “วินัยชาวพุทธ” ซ่ึงมันเปนเพียงพื้นฐานสวนเริ่มตนเทานั้นเพียงแควาเปนเกณฑอยางตํ่ าที่ใหมนุษยอยูกันไดในสังคมนี้ ทํ าใหสังคมนี้ไมถึงกับลุกเปนไฟ แตถาคุณจะพัฒนาตอไป จะมีชีวิตดีงาม มีความสุขแลว คุณจะอยูแคศีล ๕ นะไมพอหรอก ทานจึงใหศีล ๕ น้ันเปนฐานรักษาสังคม หรือเปนหลักประกันพื้นฐาน อยางท่ีบอกเมื่อกี้วาไมใหสังคมลุกเปนไฟ ใหคนพออยูกันได

จะเปนชาวพุทธจริง และจะใหชีวิตและสังคมพัฒนา ก็ตองเขาสูวินัยชาวพุทธกันจริงๆ อยางที่บอกแลววาคฤหัสถก็มีวินัย ไมใชพระเทานั้นที่มีวินัย ตอนนี้คิดวาตองพื้นฟูวินัยชาวพุทธ ท่ีภาษาคัมภีรทานเรียกวา "คิหิวินัย" แปลวาวินัยของคฤหัสถ ไดแกสิงคาลกสูตร ท่ีพระพุทธเจาตรัสแสดงแกสิงคาลกมาณพ

ตอนนี้ไดเอามาทํ าเปนหนังสือเล็กๆ เลมหนึ่งเลย ถาเปนพระสูตรโดยตรง เวลาไปอานบางทีบางคนก็จับยาก เพราะทานวาไป

Page 117: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๑๐

เรื่อยๆ ถาไมจับมาตั้งเปนหัวขอจัดรูปแบบก็ดูยาก ก็เลยนํ ามาจัดเรียงตั้งหัวขอ ลํ าดับจัดหมวดหมูใหเห็นชัดๆ ไป เรียกวา วินัยชาวพุทธ

เมื่อไดพิมพเปนหนังสือแลว ก็เลยจะไมอธิบาย ขอพูดสั้นๆวา…ถาชาวพุทธเรามีวินัยแบบนี้ ก็จะเปนวิถีชีวิตที่เอื้อใหการศึกษาเดินหนาไปได ถาเราไมมีวิถีชีวิตที่เอื้อแลวการศึกษาก็เขามายาก

การศกึษา ออกผลมาเปนชวีติทีเ่ปนอยูอยางดีมวีถิชีวีติดงีามทีพ่ฒันาไปในมรรค จนเปนภาวติ ๔

ไตรสิกขากับมรรคตองไปดวยกัน เมื่อเราดํ าเนินชีวิตไป เราจะฝกใหชีวิตพัฒนา ก็เอาไตรสิกขาใสเขาไปในชีวิต ชีวิตก็กลายเปนมรรคไป ท่ีน้ีพอชีวิตเปนมรรคแลว มันก็เอื้อตอไตรสิกขาที่จะเดินหนาตอไปอีก มรรคกับไตรสิกขาก็เจริญคูกันไป

ฉะนั้น เมื่อสรุปประมวลทั้งหมด ก็มาบรรจบกัน ท้ังไตรสิกขากเ็ปน ศลี สมาธ ิปญญา และมรรคกส็รุปยอไดเปน ศลี สมาธ ิ ปญญา

แตทางฝายไตรสิกขา ทานเรียกเต็มวา อธิศีลสิกขา อธิจิตต-สิกขา อธิปญญาสิกขา (ธรรมหมวดสมาธิน้ันเวลาเรียกชื่อเต็มจริงๆทานไมเรียกวาสมาธิ ท่ีเราเรียกกันวาสมาธิน้ันเปนการเรยีกกนัแบบงายๆ สัน้ๆ วา ศลี สมาธ ิปญญา แตเวลาเรยีกเปนทางการ ทานเรยีกวา อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา ซ่ึงเปนเรื่องจิตใจทั้งหมดรวมทั้งสมาธิดวย และอธิปญญาสิกขา)

Page 118: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๑๑

สวนทางฝายมรรคมีองค ๘ ประการ ทานจัดเปนขันธ เรียกวา ศีลขันธ หมวดศีล สมาธิขันธ หมวดสมาธิ และปญญาขันธหมวดปญญา

เมื่อพระพุทธเจาปรินิพพานแลว เคยมีผูมาสนทนากับพระอานนท เขาถามวาพระพุทธเจาตรัสสอนเรื่องอะไรมากที่สุด พระอานนทก็ตอบเขาวา เรื่องที่พระพุทธเจาตรัสมาก หรือธรรมที่ทรงสอนอยูเสมอก็คือ เรื่อง ศีลขันธ สมาธิขันธ ปญญาขันธ ซ่ึงครอบคลุมหลักปฏิบัติทั้งหมด

ท่ีน้ีเมื่อเราปฏิบัติไปตามนี้ก็จะเกิดภาวนาขึ้นมา เปนการพัฒนาชีวิต ๔ ดาน อยางที่เคยบอกแลววา เวลาปฏิบัติหรือในการฝกนั้น เปนสิกขา ๓ แตเมื่อดูผล แยกออกเปนภาวนา ๔ เพราะวาสิกขาขอท่ี ๑ แยกไปเปนภาวนา ๒ คือเปนการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดานวัตถุอยางหนึ่ง (กายภาวนา) และการสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางสังคมอยางหนึ่ง (ศีลภาวนา)

ในแตละขณะจิต มีไตรสิกขาครบทั้ง ๓ และก็มีไดพรอมกันครั้งละ ๓ เทานั้น ไมเปน ๔ เพราะอะไร เพราะวาความสัมพันธกับวัตถุหรือกับสังคมนั้น ในขณะจิตหนึ่งสัมพันธไดอยางเดียว ตองอยางใดอยางหนึ่ง

ของพระนั้นทานแยกเปนขณะจิตเลย ในเมื่อขณะจิตหนึ่งสัมพันธกับสิ่งแวดลอมไดอยางใดอยางหนึ่งอันเดียว เพราะฉะนั้นในการฝกศึกษาหรือสิกขาจึงตองเปน ๓ แตในเวลาวัดผล เราตองการดูรายละเอียดใหกระจางแจง ก็ดูใหชัดไปเปนอยางๆ ไมตองดูพรอมกันทีเดียว เลยแยกเปน ๔ ก็เปนภาวนา ๔

Page 119: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๑๒

เพราะฉะนั้น เมื่อจะดูวา…เออ…คุณไดศึกษามีไตรสิกขามา ประสบความสํ าเร็จงอกงามดีแคไหน ก็วัดดวยภาวนา ๔ เมื่อวัดดวยภาวนา ๔ ถาไดจบภาวนา ๔ ก็เปนภาวิต ๔

ภาวนา เปนตัวการกระทํ าหรือกิจกรรมของการพัฒนา ทีน้ีเมื่อเปนคนที่พัฒนาดานนั้นๆ แลว ก็เรียกวาเปนภาวิตดานน้ันๆ รวมทั้งหมดก็เปน ภาวิต ๔ คือ ภาวิตกาย ภาวิตศีลภาวิตจิต และภาวิตปญญา แปลวา เปนผูมีกายที่พัฒนาแลวหรือภาวนาแลว มีศีลท่ีภาวนาแลว มีจิตที่ภาวนาแลว แลวก็มีปญญาที่ภาวนาแลว

ภาวนานี้ ถาพูดตามสํ านวนโบราณเรียกวา เจริญแลว คือเจริญกายแลว เจริญศีลแลว เจริญจิตแลว เจริญปญญาแลวเพราะภาวนาภาษาเกาแปลวาเจริญ เชน วิปสสนาภาวนา - เจริญวปิสสนา, สมถภาวนา - เจรญิสมถะ, เมตตาภาวนา - เจรญิเมตตา

ภาวนา แปลวาเจริญ ภาวิต แปลวาไดเจริญแลว รวมทั้งหมดก็เปนภาวิต ๔ คนไหนเปนภาวิต ๔ พระพุทธเจาตรัสวาคนนั้นคือพระอรหันต

จุดมุงหมายของการศึกษา คือ การเปนพระอรหันต ผูท่ีมีภาวิต ๔ ก็คือภาวนาครบ ๔ ดาน และภาวนา ๔ น้ันวัดผลไดเลย ใครมีภาวนา ๔ แคไหน ก็พัฒนาเจริญไปไดรับผลการศึกษาเทานั้น หรือมีชีวิตที่อยูดีไดเทานั้น จนในที่สุดก็เปนภาวิต ๔ท่ีสมบูรณ จบหลักสูตรพระพุทธศาสนา งายๆ ใชไหม ? ดูก็มีนิดเดียว นี่ละพุทธศาสนา…

Page 120: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๑๓

มอง Child-Centered Education อยางไรจงึจะเอามาใชหรือไมใช อยางเทาทัน

อีกอยางหนึ่งที่อยากพูดไว คือ เราอยูทามกลางความเปนจริงของกระแสสังคม เมื่อสงัคมโดยเฉพาะในดานการศกึษามคีวามเคลือ่นไหวอยางไร วาโดยเชงิประวตัเิปนมาอยางไร มนัเสื่อมลงและเจริญขึ้นอยางไร Child-Centered Education แขงกับ Teacher-and Subject-Centered Education อยางไร มันชนะกันตอนไหนดวยเหตุผลอะไร เราก็ตองรู ตองทันดวย

ในเชิงประวัติศาสตร การศึกษาแบบที่เรียกวา "มีเด็กเปนศูนยกลาง" น้ี เราเอามาจากอเมริกา

• Child-Centered Education ออกมาสูการปฏิบัติตั้งแตป ๑๘๗๕ ซ่ึงถือเปนปแรกที่ใช แลวก็มาพัฒนามากในยุคของ จอหน ดิวอี้ ซ่ึงเปนผูท่ีควรเรียกวา เปนหัวหอก หรือเปนผูนํ าในเรื่อง Progressive Education

• ตอมาหลังป ๑๙๐๐ Child-Centered Education ก็แยลง โดยเฉพาะพอรัสเซียสงดาวเทียมสปุตนิกขึ้นไป เมื่อป ๑๙๕๗ Child-Centered Education ก็ตกวูบเลย คนอเมริกันพากันติเตียนวา Child-Centered Educationทํ าใหเด็กออนวิชา บุคลิกภาพก็ออนแอ ไมเขมแข็งเรียกงายๆ วาไมสูสิ่งยาก ตามใจเด็กมากเกินไป เนนที่การสนองความตองการของเด็ก ถึงตอนนี้ Teacher-

Page 121: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๑๔

and Subject-Centered Education ก็เฟองฟูข้ึนมาอีกต้ังแตป ๑๙๕๗ เปนตนมา

• แตมาถึงระยะ ๑๙๘๐ เอาอีกแลว คนอเมริกันบอกวาเด็กมี alienation มีความแปลกแยก มีจิตใจที่ไมสบายมีความทุกข เครียด อะไรพวกนี้ Teacher- andSubject-Centered Education ไมดีแลว ก็เลยหันกลับมา Child-Centered Education อีก ฝร่ังก็เลยแกวงเปนลูกตุม แกวงไป แกวงมา แกวงซาย แกวงขวา ใครจะแกวงตามอยางไร ก็แกวงไป

นาพิจารณาวาเรื่องนี้บางทีมันกลายเปนสุดโตงทั้ง ๒ อยางทางที่ถูกมันนาจะเปนมัชฌิมาไดหรือเปลา มัชฌิมาปฏิปทาก็คือการปฏิบัติจัดดํ าเนินการที่สอดคลองกับความเปนจริงของธรรมดา การศึกษาที่แทก็ตองสอดคลองกับความเปนจริงของธรรมดา

พูดถึงการศึกษาที่สอดคลองกับความเปนจริงของธรรมดา ธรรมดานั้นเราตองรูดวยปญญาใชไหม ? น่ีก็คือสัมมาทิฏฐิ เมื่อรูเขาใจความเปนจริงของธรรมดาแลว ก็จัดใหสอดคลองกับความเปนจริงได เรียกวา มัชฌิมา คือพอดีกับความจริง เมื่อพอดีกับความจริงก็เปนมัชฌิมา

เพราะฉะนั้น การศึกษาในพุทธศาสนาเปนมัชฌิมา ซ่ึงคงไมใช Child-Centered Education ไมใช Teacher- and Subject-Centered Education ท้ังนั้นแหละ (หรือจะบอกวาใช ก็ตองทั้งสองอยางเลย โดยประสานกันอยางพอดี)

Page 122: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๑๕

สองอยางนั้น ดีไมดีจะเปนสุดโตง ๒ ทางอยางที่เขาบอกวาใหคนเอาศักยภาพของเด็กขึ้นมา เราก็

บอกวาใหระวังนะ ศักยภาพของเด็กนะดีแลว แตอยาลืมศักยภาพของชีวิตดวยนะ เรื่องของคนเราไมใชมีแคศักยภาพของเด็ก บางทีเราคิดแคบไป เราตองดูดวยวาศักยภาพของชีวิตหรือศักยภาพของความเปนมนุษยน่ีคืออะไร

อีกตัวอยางหนึ่ง Child-Centered Education จะเนนเรื่องความแตกตางของเด็กในดานความถนัดอะไรพวกนี้ แตอยาลืมวาเด็กตางกัน ไมใชในเรื่องความถนัดอยางเดียว

ทางพุทธศาสนาใหแยก ความแตกตางระหวางบุคคล เปน๒ ดาน คือ

๑. ดานอธมิตุิ คอืเรือ่งความถนดั ความสนใจ ความพอใจและภูมิหลังอะไรตางๆ ตลอดจน ความเคยชินที่ลงตัวอยูตัว ซ่ึงทานเรียกวา “วาสนา” อยางยกตัวอยางเมื่อกี้วาไปหางสรรพสินคา คนหนึ่งเขารานเครื่องบันเทิง คนหนึง่เขารานหนงัสอืเปนตน อยางนีเ้รยีกวาไปตามวาสนา

๒. ดานอินทรีย คือ ระดับการพัฒนา เชนวา มีศรัทธามีสติ มีสมาธิ มีปญญาแคไหน

พระพุทธเจาจะสอนคน ตองทรงรูความแตกตางระหวางบุคคลทั้ง ๒ ดาน คือ

• ดานอธิมุติ เรียกวา นานาธิมุตติกญาณ• ดานอินทรีย เรียกวา อินทริยปโรปริยัตตญาณ

Page 123: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๑๖

แตท่ีไดยนิพดูกนัอยู เวลาพดูถงึความแตกตางของเดก็ มกัจะไปเนนเรือ่งความถนดั เรามกัจะพดูถงึดานเดยีว แตท่ีจริงความแตกตางตองครบ ๒ ดาน ดานอินทรียนี้ตองฝกทุกคน ตองพยายามใหไดมากที่สุดสูงสุด ไมใชไปดูแตดานความถนัดอยางเดียว

ทีน้ีศักยภาพของเด็ก กับศักยภาพของความเปนมนุษยบางทีก็ไมใชอันเดียวกัน เราจะตองพยายามใหเด็กทุกคนเขาถึงสุดยอดแหงศักยภาพของมนุษย ใชไหม ? ไมใชเอาแคศักยภาพของตัวเขาเทานั้น…

เรื่องนี้เปนตัวอยาง แตรวมความก็คือวา เรื่องของยุคสมัยเชนเรื่องของแนวคิดตางๆ ท่ีเขามา เราตองทันและเอามาวิเคราะหกัน ความเทาทันสถานการณน้ีจึงเปนเรื่องใหญเรื่องหนึ่ง

ของที่นํ าเขา ตองรูใหเต็มเทาที่เขาเขาใจของเขาพรองตรงไหน กต็องรูและเตมิใหเต็มจรงิๆ ได

เราอาจจะตองมาคุยกันในเรื่องเหลานี้วา “แนวคิดที่เขามาสมัยใหมนี้ ของตะวันตกวาอยางไร หรือใครวาอยางไร มันมีขอดีขอดอยอยางไร มีจุดออนจุดแข็งอยางไร หรือมีความหมายที่แทอยางไร คลาดเคลื่อนไปอยางไร ?”

อยางเวลานี้ ในเรื่อง Child-Centered Education เมื่อฟงนักการศึกษาพูด ครูอาจารยท่ีอยูโรงเรียนตางๆ ดีไมดีก็เขาใจแความุงสนองความพอใจของเด็ก เด็กเอาอยางไร ก็เอาแคน้ัน เลยไมตองพัฒนาเด็ก

Page 124: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

การศึกษา ฉบับงาย - Education Made Easy ๑๑๗

แคคํ าวา “ความตองการ” ของเด็ก ก็ยุงแลว สับสนกันไปฝร่ังเขาพูดถึง needs แตครูจํ านวนมากนึกถึง desire เอาความอยากเปนความตองการ แลวจะพูดกันรูเรื่องไดอยางไร แคภาษาก็สับสนแลว

ยิ่งกวานั้น การสนองความตองการของเด็ก กับการพัฒนาความตองการของเด็ก ก็ไมเหมือนกัน ใชไหม ? ตามหลักพุทธของเรา เราถือวาความตองการพัฒนาได การศึกษาจึงไมใชแคสนองความตองการ แตตองพัฒนาความตองการดวย

เขาบอกวาท ําใหเด็กเปนสขุ เราบอกวา “พัฒนาเหตุปจจยัของความสุข” แทนที่จะมัวหาทางทํ าใหเด็กเปนสุข เราทํ าเหตุปจจัยแหงความสุขสิ เราชวยใหเด็กสรางเหตุปจจัยของความสุขขึ้นมาเด็กก็มีความสุขไดดวยตัวเอง และพัฒนาเปลี่ยนความสุขไดดวย

ไมใชจะมัวติด concept วาความสุขคืออยางนี้ แลวก็พยายามทํ าใหเด็กเปนสุขอยางนั้น ซ่ึงเปนการสนองทิฏฐิอันหนึ่งที่ยึดไววา ความสุข คืออยางนี้ แลวก็ทํ าใหเด็กเปนสุขไดแคอยางนั้นโดยไมรูวา ความสุขนั้นมีหลายแบบ พัฒนาไดหลายขั้น ซ่ึงเราควรจะสรางเหตุปจจัยแหงความสุขที่พัฒนาขึ้นไป พรอมทั้งกํ าจัดเหตุปจจัยแหงความทุกข อันนี้สิท่ีสํ าคัญ

แทนที่จะมัวมาดูวา สุข - ไมสุข ทุกข - ไมทุกข โดยที่ตัวเองมี concept ความเขาใจ คือทิฏฐิในเรื่องความสุข-ความทุกขท่ีตายตัวไปแลว ซ่ึงทํ าใหเด็กเสียประโยชนท่ีเขาควรจะได และการศึกษาก็ไมทํ าใหคนพัฒนาเนื้อตัวที่แทของเขาขึ้นมา

Page 125: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๑๘

น้ีก็เปนเรื่องที่จะตองมาคิดมาพูดกันอีกมาก เอาละ ! วันนี้เวลาหมด อันที่จริง ครูอาจารยมีปญหาจะมาถาม เลยไมรูจะถามอยางไร เอาไวโอกาสหนา

ขออนุโมทนา ทางโรงเรียน ครูอาจารย ผูบริหาร โยมที่เปนบุพการีของโรงเรียน ทุกทานที่ไดมีจิตใจเปนกุศล มาเยี่ยมเยียนวัดเยี่ยมเยียนพระสงฆ และมาเยี่ยมเยียนอาตมภาพดวย ในโอกาสวันครู ซ่ึงเปนวันของโรงเรียน และของคุณครูทุกทาน

ถาถือตามคติพุทธศาสนา จิตใจที่เปนบุญ เปนกุศล น้ีแหละคือตัวมงคลละ มงคลจึงเกิดขึ้นแลว เมื่อมงคลเกิดขึ้น มีจิตใจที่สดใส เบิกบาน มีความสุข มีปติ มีความอิ่มใจ เปนตน ก็เปนปจจัยที่จะทํ าใหเกิด ความสุข ความเจริญ งอกงามตอไป

อาตมภาพขอถือโอกาสนี้ ตั้งจิตเปนบุญ เปนกุศล รวมดวยและขออาราธนาคุณพระรัตนตรัย อวยชัย ใหพร อภิบาลรักษาใหทานผูใหญ โยมบุพการีของโรงเรียน และคุณครู อาจารย ผูบริหารครอบครัว พอแมท้ังหลาย ผูปกครอง เปนตน โดยเฉพาะเด็กๆ ท้ังหลาย จงเจริญงอกงามดวยจตุรพิธพรชัย รมเย็นในธรรม มีความสขุยิ่งๆ ข้ึนไปทุกเมื่อ เทอญ..... สาธุ...สาธุ...

Page 126: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
Page 127: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ∗

เรื่องโรงเรียนแนวพุทธ** ท่ีคิดจัดคิดทํ ากันนี้ เทาที่ไดรับฟงมองไดเปน ๒ แง หรือ ๒ ระดับ

๑. ขอปรารภที่เดน คือการที่มองเห็นวา คนไทยที่เปนชาวพุทธ เชนเด็กนักเรียนที่ช่ือวาชาวพุทธ มีช่ืออยางนั้น แตไมรูเรื่องพระพุทธศาสนา และประพฤติปฏิบัติตนไมสมกับความเปนชาวพุทธ ทํ าอยางไรจะใหเด็กนักเรียนเหลานี้ไดเรียนรูเรื่องพระพุทธศาสนา และประพฤติตนเปนชาวพุทธที่ดี หรือสมกับความเปนชาวพุทธได อันนี้เปนแงหนึ่ง

๒. มองกวางออกไป โรงเรียนแนวพุทธ เปนเรื่องของการจัดการศึกษาแนวพุทธ ซ่ึงหมายถึงตัวแนวคิดหรือหลักการในการจัดการศกึษา ท่ีสมัพนัธกบัการมองชวีติมนษุยและธรรมชาตท้ัิงหมดเปนการพูดถึงตัวหลักการ เหมือนกับเราพูดถึงการจัดการศึกษาตามแนวคิดของจอหน ดิวอี้ (John Dewey) หรือเปสตาลอซซี(Pestalozzi) หรือรุสโซ (Rousseau) หรืออะไรก็วาไป ∗ ขอคิดความเห็นของ พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ในโอกาสที่รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ดร.สิริกร มณีรินทร นํ าคณะเจาหนาที่ผูรับผิดชอบในการจัดการศึกษารูปแบบใหม ไปนมัสการปรึกษา ที่วัดญาณเวศกวัน เม่ือ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๖

**”โรงเรียนแนวพุทธ” เปนคํ าที่ใชพลางกอนในระยะเริ่มการ ตอมา ทาง ศธ. ไดยุติใหใชคํ าวา “โรงเรียนวิถีพุทธ”

Page 128: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๒๒

ที่เรียกวา “การศึกษาแนวพุทธ” คอืรูความจริงของธรรมดา แลวพัฒนาคนบนฐานของธรรมชาติ

ในแงท่ี ๒ น้ี เราดูวา การจัดการศึกษาแนวไหนจึงจะถูกตองตามความเปนจริง คือเอาความจริงเปนที่ตั้ง การที่อาตมาเขียนอะไรตออะไร น่ีหมายถึงตัวเอง อาตมาก็มองวาแนวคิดของพุทธศาสนานี่ มองตรงตามความเปนจริงที่สุด คือเริ่มจากมองเห็นชีวิตของมนุษยวาเปนอยางไรๆ แลวจากการรูเขาใจความเปนจริงก็มาจัดการศึกษาใหสอดคลองกับความจริงนั้น ไมใชเปนเรื่องของบัญญัติหรือคํ าสั่ง

เรื่องนี้ ท่ีวาเปนการจัดการศึกษาตามหลักของพระพุทธศาสนา ท่ีเราเรียกวาแนวพุทธ ก็คือแนวของคนที่มีปญญารูความจริงเทานั้นเอง

พระพุทธเจาก็ตรัสแลววา พระพุทธเจาจะอุบัติข้ึนหรือไมความจริงก็มีอยูตามธรรมดาของมัน พระพุทธเจาทรงคนพบความจริงนั้นแลวนํ ามาเปดเผยแสดง การจัดการศึกษาที่เรียกวาแนวพุทธก็คือการจัดตรงตามความเปนจริงของธรรมชาติเทานั้นเอง คือทางพระพุทธศาสนาเราถือวาพระพุทธเจาไมไดมาทรงบัญญัติอะไรขึ้นเอง ไมไดมาสั่งการอะไร แตพระองคทรงคนพบความจริงของธรรมชาติแลวก็มาสอนตามนั้น เพราะฉะนั้นเรื่องของพระพุทธศาสนาจึงเปนเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ

ถึงตอนนี้ เรื่องจึงขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง คือไมมีการแบงแยกวาเปนศาสนาไหนๆ เวลานี้คนมีปญหามาก มนุษยน้ียังขามไมพน

Page 129: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๒๓

ความคับแคบ ท้ังที่เรียกตัวเองวาเจริญมากี่พันปแลว ก็ยังมาติดอยูกับการแบงแยกวาศาสนานั้นศาสนานี้

อยางเชนบอกวา การศึกษานี้ ใชหลักพุทธ บางคนก็สะดุดวา อาว! ทํ าไมเปนชื่อศาสนานั้นศาสนานี้ เริ่มกลัวเสียแลวแลวเราไมเคารพหรือ วาเรื่องนั้นๆ หลักการนั้นๆ เปนความคิดของใคร ใครเปนผูแสดงหลักการนั้น ก็พูดไปตามตรง

ทํ าไมเราพูดไดวา จอหน ดิวอี้ (John Dewey), เปสตา-ลอซซี (Pestalozzi), รุสโซ (Rousseau) ทํ าไมพูดได แลวทํ าไมเวลาจะพูดถึงหลักการของพระพุทธเจา คนไทยพูดไมได ตองรอใหฝร่ังยกขึ้นมาพูด ทํ าไมไมยอมรับความเปนจริงอันนี้ ใครแสดงมาก็วาไปตามนั้น ขอสํ าคัญอยูท่ีวา หลักการนั้นตรงตามความเปนจริงหรือไม พูดอยางภาษาสมัยนี้วาเปนเรื่องทางวิชาการ ก็วาไปตามหลัก ไมมาเกี่ยงมากลัวอยางนั้นอยางนี้

พระพุทธศาสนาบอกวาสอนหรืออธิบายไปตามธรรมชาติ ถาใครเห็นวาไมเปนจริง เราก็เถียง ทานก็เปดโอกาสใหเถียงอยูแลว ไมไดบังคับใคร

น่ีเราก็ดูวาชีวิตคนเปนอยางไร มันอยูในทามกลางธรรมชาติแวดลอมอยางไร มีความเปนไปที่เรียกวาธรรมดาของมันอยางไร และเพื่อใหชีวิตมนุษยพัฒนาอยูไดดีในทามกลางสิ่งแวดลอมตางๆ เหลานี้ เขาควรจะดํ าเนินชีวิตอยางไร เราก็ดูไปตามความเปนจริงนั้น ท้ังของโลกและชีวิต แลวก็มาจัดระบบพัฒนาคนใหอยูไดอยางดีทามกลางความเปนจริงอยางนั้น ก็เทานี้แหละมันก็เลยเกิดเปนการศึกษาแนวพุทธ อยางที่พูดกัน เทานั้นเอง

Page 130: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๒๔

ทีน้ี เมือ่เปนการศกึษาแนวพทุธอยางนี ้มนักจ็ะม ี๒ ระดบัระดับท่ี ๑ คือ ระดับรูปแบบ หมายความวา เปนธรรมดา

ของมนุษยท่ีอยูในสังคมหรือชุมชนอันใดอันหนึ่ง ยอมมีวิถีชีวิตที่สืบทอดกันมาโดยวัฒนธรรม โดยสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอะไรตางๆ ซ่ึงลงตัวตามที่สังคมนั้นเขาถือวาดี เหมือนอยางชาวพุทธไทยเราก็พัฒนาวิถีความเปนอยูท่ีเปนวัฒนธรรมแบบพุทธไทยขึ้นมา ลังกาเขาก็มีพุทธแบบลังกา อะไรอยางนี้ ซ่ึงเปนรูปแบบที่ถือกันหรือตกลงกันวาดีแลว

เราก็อาจจะเนนวา การที่จะเปนคนไทย ซ่ึงไดช่ือวาเปนชาวพทุธ จะตองใหไดความหมายและมรูีปแบบอยางนี ้ แลวกจ็ะมีภาพหรอืรูปแบบของชวีติที่มวีฒันธรรม เชนการกราบการไหวอะไรตออะไร อันนี้ถือวาเปนรูปแบบเทานั้น แตเรายอมรับกันแลววาเปนรปูแบบทีด่ ีคอืเหมาะสมกบัคนทีเ่รยีกวาเปนชาวพทุธแบบไทย

ระดับท่ี ๒ คือตัวแทตัวจริง ไดแกความเปนจริงตามธรรมดาของธรรมชาติ ท่ีอยูลึกลงไปอีกทีหนึ่ง ซ่ึงอันนั้นเปนของกลาง ไมข้ึนตอประเทศชาติหรือวัฒนธรรมไหนทั้งสิ้น ใครจะไปปรับไปจัดระบบวัฒนธรรมอยางไร ใหมีวิถีชีวิตอยางไร ก็จัดไปฉะนั้นในแงน้ีจะไมมีปญหา

รวมความวา จะตองพูดกันเปนระดับๆ ตั้งแตระดับกวางท่ีสุด คือตัวหลักการที่สอดคลองกับความเปนจริงตามธรรมดาของธรรมชาติ ในขั้นนี้เราจะจัดการศึกษากันอยางไร ในความหมายแงน้ีเราก็ใชช่ือวา “แนวพุทธ” คือเปนแนวพุทธในความหมายที่วารูเขาใจถึงความจริงของธรรมชาติตามธรรมดา แลวจัดกระบวนการของการศึกษาใหไดผลตามธรรมดาของความจริงนั้น

Page 131: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๒๕

จากนั้น แคบเขามา คือในแงของรูปแบบ ท่ีวาเราจะจัดใหสอดคลองกับวัฒนธรรมไทย ใหคนที่มีช่ือวาชาวพุทธเปนอยางน้ีๆ เราอาจจะเห็นวารูปแบบอยางนั้นๆ เมื่อดีแลว ยอมรับแลว ก็มาทํ าใหแนนแฟนยิ่งขึ้น แลวอันไหนที่ควรจะปรับปรุงเพิ่มเติม ก็พัฒนาตอไป

เรื่องวัฒนธรรมนี้ก็ควรจะแกไขปรับปรุงใหมีความเจริญกาวหนา ไมอยางนั้นจะเปนวัฒนธรรมประเภทปกปองตัว

วัฒนธรรมสวนที่ตัวมีอยูกค็วรจะรูเขาใจใหถึงรากถึงฐาน

เคยพูดบอยๆ วา การรักษาวัฒนธรรมนั้น ตองระวังนะถาเปนวฒันธรรมแบบปกปองตวัเมือ่ไร กแ็สดงวาเปนฝายตัง้รบัแลวแยเลย ไมเจริญกาวหนา

วัฒนธรรมที่ดีงามตองมีความเจริญกาวหนา พัฒนาตัวเองตอไป และกาวไปในสังคมโลกไดอยางดี สามารถเปนผูนํ าแกผูอื่น ใหเขาอยากทํ าตาม ไมใชคอยหวาดกลัวฝายอื่นจะบุกเขามา ตองคอยปกปองตัวเอง ถาอยางนั้นก็แสดงวาแยแลว

ขณะนี้ เรารักษาวัฒนธรรมแบบปกปองตัวเสียมาก คลายๆ วาเราแยแลว สูเขาไมไดแลว เขาบุกเขามา แสดงวาเราไมมีความเปนผูนํ า ถาเราเกงจริง วัฒนธรรมของเราจะตองนาชื่นชมจนคนอื่นเขาอยากจะรับอยากจะตาม ขอสํ าคัญอยูท่ีวาเรามีอะไรบางที่เปนสาระซึ่งจะทํ าใหเราภูมิใจ แลวเขาอยากจะตามเรา น่ันก็คือเราตองมีอะไรที่จะใหแกเขา จะเปนเรื่องภูมิธรรมหรือภูมิปญญาก็ตาม โดยเฉพาะสิ่งที่เหนือกวาเขาทางภูมิปญญา

Page 132: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๒๖

ตอนนี้สังคมของเรามันหนักในแงท่ีมองไมเห็นวามีดีอะไรของตัวที่จะใหแกคนอื่น มีแตมองวาคนอื่นเขามีดีอยางนั้นๆ แลวก็อยากจะไปรับของเขามา ก็เลยตองดอยอยูเรื่อยไป

เมื่อมองในแงการศึกษาแนวพุทธที่พูดมา ก็ถือวาพระพุทธศาสนาสอนความจริงตามธรรมดาธรรมชาติ แลวเราก็มาดูวาหลักการที่มีช่ือวาศีล สมาธิ ปญญา น้ี วางขึ้นตามความจริงตามธรรมดาของธรรมชาติ แตพอมาอยูในวัฒนธรรมไทยแลว มันก็วิวัฒนาการเปนรูปแบบขึ้นมา เปนวัฒนธรรมเฉพาะเทศะ เมื่อเราไมรูตัว ไมรูจักแยก เราก็ชักจะมองแคบ ความหมายของศีลสมาธิ ปญญา ก็เหลือแคเปนรูปแบบตางๆ ไป

อันนี้เปนเรื่องที่เราจะตองแยกใหชัดวา ศีล สมาธิ ปญญาท่ีเปนรปูแบบ ซ่ึงอาจจะแคบลง แลวกรั็ดตวั แลวบางทกีเ็พีย้น กบัศลี สมาธ ิ ปญญาทีแ่ทจริงสอดคลองกบัความเปนจรงิของธรรมชาติท่ีพระพุทธเจาสอนแทๆ น้ัน คืออะไร ตอนนี้ตองแยกใหได

อยางเวลาพูดถึงศีล เราก็อาจจะมองไปตามความหมายของเรา เชน ศีล ๕ บางทีพูดกันไปวาเปนขอหาม วาหามอยางน้ันๆ ซ่ึงที่จริงถาวากันโดยเครงครัด พระพุทธศาสนาไมมีศีลท่ีเปนขอหาม

จะตองรูกันใหชัดวา ถาพูดกันโดยเครงครัด ศีลอยางศีล๕ ไมใชเปนขอหาม เปนธรรมดาวาในศาสนาอื่นทั่วๆ ไป ศีลเปนขอหาม ท่ีจริงเขาก็ไมไดเรียกของเขาวาเปนศีล แตชัดเจนวาของเขาเปนบัญญัติ หรือเปนโองการบัญชา เปน commandmentตามธรรมดาของหลักการที่วามีพระผูเปนเจา เปนผูสราง เปนผูบันดาล เมื่อเปนผูสราง ผูบันดาล ทานก็ตองวางบัญญัติวาเธอ

Page 133: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๒๗

ตองทํ าตามนี้ เธอตองไมทํ าอันนี้ ทานก็หามก็สั่ง แลวเมื่อคนทํ าหรือไมทํ าตามนั้น ทานก็ใหรางวัลหรือลงโทษไปตามที่บัญญัติ

ในทางตรงขาม พระพุทธเจาตรัสวา พระพุทธเจาจะเกิดหรือไมเกิด ความจริงก็เปนอยางนี้ แตพระองคคนพบแลวก็มาเปดเผยแสดง เมื่อความจริงเปนอยางนี้ ความจริงมันก็เรียกรองเราวา เราจะตองดํ าเนินชีวิตอยางนี้ๆ จึงจะไดผล เหมือนอยางไฟความจริงมันรอน ถาคุณไมอยากใหตัวคุณเปนอันตราย คุณก็อยาเอาไฟมาเผาตัว หรือถาคุณตองการใหไดประโยชนจากไฟคุณก็เรียนใหรูวาจะเอาไปใชไดอยางนั้นๆ ยิ่งรูเทาไรก็ยิ่งดี

ธรรมทีพ่ระพทุธเจาสอนกเ็ปนอยางนี ้คอืบอกความจรงิ แลวกส็อนขอเรยีกรองจากความจรงินัน้ตอเราวา ถาเราตองการด ําเนนิชีวิตใหดีเราจะตองทํ าอยางไร ก็เทานั้นเอง

เมื่อเปนอยางนี้ ระบบแหงธรรมของพระพุทธศาสนา เมื่อพูดอยางเครงครัดจึงไมมีคํ าสั่งหรือคํ าหาม แลวก็ไมมีการลงโทษหรือใหรางวัล แตคนทํ าอะไร เขาก็ไดรับผลเองตามกฎธรรมดาของธรรมชาติ กฎแหงกรรมอะไรๆ ก็เปนเรื่องของเหตุของผลหมายความวาทํ าเหตุอยางนี้ ผลจึงเกิดขึ้นอยางนั้น เปนไปตามเหตุปจจัย ไมมีใครมาตัดสินลงโทษ

หลักพระพุทธศาสนาที่เปนเหตุผลอยางนี้ คนจะตองเรียนรูเขาใจจึงจะเอามาใชหรือปฏิบัติไดถูกตอง เพราะฉะนั้น ในสิ่งที่พระพุทธเจาสอน เมื่อเราพูดกันตอๆ ตามๆ กันมา โดยไมไดทบทวนศึกษา จึงเคลื่อนคลาดเลือนลางไดงาย ดังที่ทุกอยางมีแงคิดท้ังนั้น เชน เวลาใหศีล ในตัวศีลท่ีเรารับ ไมมีคํ าวาหามวาสั่ง เราเองเปนผูตัดสินการกระทํ าของตนวา

Page 134: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๒๘

ปาณาติปาตา เวรมณี-สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ = ขาพเจาขอรับถือปฏิบัติขอศึกษาในการงดเวนจากการฆาสัตว

ศึกษากันใหชัดวา ศีลท่ีแทคืออะไร พระพุทธเจาทรงสอนวา น่ีนะ เปนความจริงวาสัตวทุกตน ท้ังคนทั้งสัตวอื่น ลวนรักสุขเกลียดทุกขดวยกันทั้งนั้น เราฉันใด เขาก็ฉันนั้น เพราะฉะนั้นจึงไมควรเบียดเบียนกัน จริงไหม เราก็เห็นดวยวา เออ จริงนี่ ก็ยอมรับ ถาอยางนั้นเราไมควรเบียดเบียนกันใชไหม ใช

ถาอยางนัน้ ตกลงเราจะไมทํ ารายใคร แตฉนัยงัใจไมเขมแขง็ยังมีโลภ มีโกรธมาก เพราะฉะนั้นก็เลยคลายๆ มาสัญญากับพระหนอย ขอใหขาพเจาไดปฏิญาณตอทานวา ขาพเจาขอถือขอปฏิบัติท่ีจะฝกตนใหงดเวนจากการฆาสัตว น่ีเห็นไหม ไมมีคํ าสั่งของใครทั้งนั้น แตเราเองเปนผูท่ีตกลงยอมรับปฏิบัติอยางนั้น

เมื่อเรารับแลวปฏิบัติอยางนั้น ผลก็เกิดขึ้นตามเหตุปจจัยและเมื่อเราปฏิบัติไปตามนั้น ก็เกิดเปนศีล คือเปนความประพฤติปกติประจํ าตัวของเรา อาตมาลอพระบอยๆ วา น่ี โยมมาขอศีลพระไมเคยใหศีล พระจะบอกวาศีลอาตมาใหไมได

โยมมาบอกวา ขาพเจาขอศีล ๕ “มยํ ภนฺเต ติสรเณน สหปฺจ สีลานิ ยาจาม” แปลวา ขาพเจาขอศีล ๕ พรอมท้ังไตรสรณะ แตพระไมใหศีล ใหดูเถอะ พระบอกเปนนัยวา เออ คุณขอศีล แตฉันใหไมไดนะ ใครปฏิบัติ คนนั้นก็มีศีลเอง คุณตองการมีศีล คุณก็เอาขอฝกหัดเหลานี้ไปปฏิบัติ เมื่อคุณปฏิบัติตาม คุณก็เปนผูมีศีล

Page 135: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๒๙

ดังนั้น แทนที่จะใหศีล พระก็บอกขอปฏิบัติ เรียกวาสิกขาบท ใหญาติโยมเอาไปฝกตัว พูดสั้นๆ วา ชาวบานขอศีลพระบอกสิกขาบท

สิกขาบท = สิกขา (ศึกษา) + บท (บท, ขอ) แปลวาขอฝกขอศึกษา ขอเรียนรู ขอฝกตัวเอง หรือบทเรียน ภาษาพระขั้นหลักแทๆ เรียกวาสิกขาบท ๕ ไมเรียกศีล ๕ เพราะศีลเปนคุณสมบัติท่ีเกิดในตัวคน เมื่อคุณปฏิบัติถูกตองแลวคุณมีความประพฤติอยางนั้น ก็เปนศีลของคุณ

แตขอปฏบัิตอิะไรทีจ่ะท ําใหคณุมศีลี พระกบ็อกวา สกิขาบทขอฝกนี่ ถาคุณปฏิบัติตามแลวคุณก็จะมีศีล เชน ปาณาติปาตาเวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ขาพเจาขอถือขอปฏิบัติในการฝกตนท่ีจะงดเวนจากการทํ าลายชีวิต ทุกขอมีแตสิกขาบทเหมือนกันหมด พระบอกสิกขาบท ชาวบานก็รับไปปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติแลวก็เกิดเปนศีล พระไมเรียกศีล ๕ แตเรียกสิกขาบท ๕ คือ เปนขอฝกหรือขอศึกษาเพื่อใหมีศีล

ทุกอยาง ท้ังศีล สมาธิ ปญญา ใหไมไดท้ังนั้น แตทุกคนจะตองไปพัฒนาโดยฝกใหเกิดขึ้นในตัว

ชาวบานขอวา ฉันอยากมีสมาธิ พระบอกวา ฉันเอาสมาธิใหคุณไมได คุณเอากรรมฐานไปฝก

ขอศีล พระบอกสิกขาบทใหไปฝก แลวก็มีศีลเองขอสมาธิ พระใหกรรมฐานไปทํ าเอา แลวเกิดสมาธิขอปญญา พระใหขอมูลความรู ทางพระเรียกวาใหสุตะ ก็

บอกสุตะให

Page 136: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๓๐

สุตะ คือสิ่งที่เลาเรียนสดับฟง พระหรือครูอาจารยบอกสิ่งท่ีเลาเรียนสดับฟง ถายทอดใหไป คุณเอาไปคิดไปพิจารณาปญญาก็เกิดขึ้น

ฉะนั้น ศีล สมาธิ ปญญา เราตองฝกฝนพัฒนาขึ้นในตัวเอง อันนี้ก็เปนเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ

สามแดนของชีวิต ก็เปนสามดานของการศึกษาตามธรรมดาของธรรมชาติน้ัน ชีวิตของเรามี ๓ ดาน คือ๑. เรามีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม โดยการรับรู ดู ฟง

ฯลฯ ทางอินทรีย คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เปนทวาร คือประตูฝายเปดรับ ๖ และโดยการแสดงออกสื่อสารสัมพันธทํ าการตางๆทางกาย วาจา ใจ ท่ีเรียกวากรรม เปนทวาร คือประตูฝายเปดออก ๓ หมายความวามีความสัมพันธกับโลกภายนอกทางการรับรู และทางดานการกระทํ า น้ีคือแดนของศีลท้ังหมด รวมอยูในการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม

ถามองอยางนี้เราจะรูเลยวา คํ าวา ศีล ไมใชแคศีล ๕ แตหมายถงึการสมัพนัธกบัสิง่แวดลอมท้ังทางกายภาพ และทางสงัคมดวย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ วาจา เปนดานที่ติดตอกับขางนอก

๒. ทีน้ีลึกลงไป พฤติกรรมการสัมพันธกับโลกภายนอกของเราจะเปนไปอยางไร ก็เกิดจากเจตจํ านง มีความตั้งใจ แลวเบื้องหลังของเจตจํ านง หรือความตั้งใจนั้น ก็มีแรงจูงใจ และคุณสมบัติตางๆ ในจิตใจ ท้ังฝายดีและฝายราย เชน ความรัก ความโกรธ ความเชื่อ ฯลฯ เปนตัวปรุงแตงใหแสดงออกมาที่พฤติกรรมตลอดจนการรับรูทางอินทรียตางๆ สวนนี้ก็เปนแดนของจิตใจ

Page 137: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๓๑

๓. เหนือจากนั้นอีกแดนหนึ่งก็คือ มนุษยจะสื่อสารมีพฤติกรรมสัมพันธกับโลกภายนอกไดมากนอย ตื้นเขินหรือซับซอนเทาไหน จะมีจิตใจที่อึดอัดโลงโปรงแคบกวางเพียงใด จะมีความรูสึกไดแคไหน จะมีสภาพจิตใจเปนอยางไร ก็อยูท่ีความรู

ถาเรารูวาสิ่งนี้เปนอันตรายตอเรา จิตใจของเราจะมีปฏิกิริยาอยางหนึ่ง ถาเรารูวาสิ่งนี้เราจะจัดการอยางไร เราก็จะมีความรูสึกสบายโปรงโลงเปนอิสระ แตถาเราไปเจออะไรแลว ไมรูวาจะทํ าอยางไร ปญญาไมมี ความรูไมมี เราจะอึดอัดเปนทุกขทันที ฉะนั้นความรูจึงเปนตัวการที่ทํ าใหสภาพจิตเปลี่ยนแปลงไปและเปนตัวจํ ากัดและขยายขอบเขตของพฤติกรรม เราจะทํ าอะไรตออะไรไดแคไหน ก็อยูท่ีความรูแหงปญญา เปนแดนที่สาม

พระพุทธศาสนาบอกวา ชีวิตคนก็มี ๓ แดนนี้แหละ คือแดนติดตอสัมพันธกับโลกภายนอก แดนของจิตใจที่ออกทางเจตจํ านง แลวก็แดนของความรูเขาใจ ชีวิตทั้ง ๓ แดนนี่ทํ างานตลอดเวลา ฉะนั้นมนุษยจะตองพัฒนา ๓ แดนนี้ เพื่อจะดํ ารงและดํ าเนินชีวิตใหอยูไปไดดี

การพัฒนาแดนที่สัมพันธกับสิ่งแวดลอม เรียกวา ศีลเพียงแคพัฒนาศีลข้ันตนๆ ถาทํ าอยางถูกตอง การศึกษาก็ชัดขึ้นมาทันที

เริ่มดวยอินทรียสังวร การรูจักใชอินทรีย ดู ฟง เปนตน ศีลแคน้ี ในเมืองไทยนี่ เราก็ไมรูจักแลว ท้ังๆ ท่ีในพระพุทธศาสนาถือเปนเรื่องสํ าคัญมากวา ตองดูเปน ฟงเปน คุณดูอยางมีสติไหมคุณดูไดความรูไหม ถาดูแลวลุมหลง ไดแตชอบใจ-ไมชอบใจ

Page 138: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๓๒

แสดงวาอยูแคความรูสึก ท้ังๆ ท่ีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ของเรานี่มันทํ าหนาที่ ๒ อยางพรอมกัน แตเราไมรู เราก็พูดแควารับรู

ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ของเรานี่ในเวลาเดียวกัน มันมีความรูสึก กับ รู ใชไหม ตาดู เราก็รูสึกวาสวยงาม สบายตา ไมสบายตา แลวก็ชอบใจไมชอบใจ น้ีดานรูสึก สวนดานรูก็คือรูวาเขียวขาวดํ าแดง ยาวใหญ แคบกวาง เปนแมว เปนหมู เปนตนไมฯลฯ หูฟง ดานรูสึกก็วาไพเราะไมไพเราะ สบายหูไหม แลวก็ชอบใจไมชอบใจ สวนดานรูก็วาเปนเสียงอะไรๆ

สองดานนี่ การศึกษาของเรา ขออภัยตามแบบตะวันตกไมชัดออกมาเลย แตในพระพุทธศาสนา เราบอกวาอินทรียทํ าหนาที่ ๒ ดาน คือ ดานรู กับ ดานรูสึก เมื่อรูสึกแลวคุณไปตามชอบใจ-ไมชอบใจ รับรูดวยยินดี-ยินราย ชอบ-ชัง ถาติดอยูแคน้ีถาไมไปทางความรู ก็ตันเลย การศึกษาไมมี การพัฒนาไมมี การเรียนรูไมมี การศึกษาจึงตองไปทางอินทรียเพื่อรู

พอรูปบ ตั้งแตรูวาเขียวขาวดํ าแดงไป แลวทีน้ีถาโยนิโส-มนสิการเขามา ก็กาวหนาไปกันไดไกล เชน สืบสาวหาเหตุปจจัยแยกวิเคราะหองคประกอบ ไปไดหมด ฉะนั้น การใชอินทรียจึงเปนจุดเริ่มท่ีมนุษยจะไดเรียนรู การศึกษาก็อยูท่ีน่ี

น่ีแหละจึงวาการศึกษาอยูท่ีเรื่องธรรมดา การศึกษาไมมีอะไรมาก รวมความวา การศึกษาตอง

๑. เปนเรื่องของธรรมดา ตามความจริงของธรรมชาติ๒. เปนเรื่องงายๆ อยูกับชีวิตประจํ าวัน ตั้งแตเกิดเพราะฉะนั้นการศึกษาจึงตองเริ่มท่ีบาน ในครอบครัว ตั้ง

แตการกินอยู การสัมพันธกับสิ่งแวดลอม การใชตาดู หูฟง ดูทีวี ดู

Page 139: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๓๓

สิ่งทั้งหลาย ใชหูฟงอะไรตางๆ วาไดความรู หรือไดความลุมหลงติดอยูแคความชอบใจไมชอบใจเทานั้น หรือไปถึงความคิดพิจารณาดวยเปนตน ก็แคน้ีแหละ

พอเริ่มการศึกษาเพียงแคขั้นศีลชวิีตและสังคมก็มีหลักประกันความมั่นคงขึ้นมาทันที

ทีน้ี การสัมพันธกับสิ่งแวดลอมมีอะไรบาง พระพุทธศาสนาก็แยกศีลออกเปนหมวดๆ

๑. อินทรียสังวร การรูจักใชอินทรีย เชน ตาดู หูฟง ใหดูเปน ฟงเปน ดูใหไดความรู มีสติ ไมไหลไปตามความยินดียินรายชอบชังเทานั้น

๒. ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอีกดานหนึ่งก็คือ การเสพบริโภค ชีวิตจะเปนอยูไดดวยอาศัยอาหาร เครื่องนุงหม ท่ีอยูอาศัย ปจจัยเครื่องใชสอยตางๆ รวมไปถึงพวกอุปกรณเทคโนโลยีท้ังหลาย ซ่ึงจะมาสัมพันธกับปญญาทันทีเลย

ถาเสพไดแคอรอยเปนตน ก็ไมปลอดภัย เพราะเปนแครูสึก ตองมีปญญารูดวย พอรูวา ออ ท่ีเรากินนี่กินเพื่ออะไร ในการสัมพันธกับอาหารนั้น พระพุทธศาสนาสอนทันทีเลยวา ปฏิสังขาโยนิโส ปณฑะปาตัง บอกใหพิจารณาเขาใจแลววา เรารับประทานอาหารมิใชเพียงเพื่อแคน้ีๆ มิใชเพียงเพื่อเอร็ดอรอย เพื่อโกเก เพื่อสนุกสนานมัวเมา แตรับประทานเพื่อใหชีวิตนี้เปนอยูเปนไปโดยมีสุขภาพดีแข็งแรง และเอาชีวิตนี้ไปใชทํ าประโยชนไดแคน้ีก็ช่ือวาศีลแลว ศีลน้ีเรียกวา ปจจยปฏิเสวนา หรือ ปจจัย-สันนิสิตศีล

Page 140: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๓๔

ศีลอยางที่วานี้เปนศีลเบื้องตนยิ่งกวาศีล ๕ อีก แตคนไทยไมรูจัก น่ีศีลหมวดใหญๆ สองแลว คือ การใชอินทรีย ตา หูจมูก ลิ้น กาย สัมพันธกับสิ่งแวดลอมตางๆ และการเสพบริโภคสิ่งทั้งหลายดวยปญญารูเขาใจ ใหไดประโยชนท่ีแทแกชีวิต ไมใชเพียงเพื่อสนุกสนานโกเกเทานั้น จะเห็นไดงายวา เพียงแครูจักกินอาหารเทานั้น นอกจากชีวิตของตัวเองจะเปนอยูดี เชนมีสุขภาพแลว ยังลดการละเมิดศีล ๕ ตลอดจนอบายมุขตางๆ ไปมากมาย

๓. ศีลดานตอไปเปนเรื่องของอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพฉะนั้นอาชีวะ ท่ีเปนสัมมาอาชีวะ จึงเปนศีลสํ าคัญในมรรคมีองค๘ ดวย ซ่ึงเห็นกันอยูชัดๆ แตคนไทยมองแคศีล ๕ จึงไมรูจักศีลดานอาชีวะ ถาเราเอาศีลท่ีเปนองคมรรคออกมา เราจะเห็นชัด

การเลี้ยงชีพ หรือการทํ ามาหาเลี้ยงชีพนี้เปนเรื่องใหญมากในสังคมมนุษย อยางที่วา โลกมนุษยเปนไปตามกรรม กรรมใหญก็คือการเลี้ยงชีพของมนุษย อยางที่แยกเปนเกษตรกรรมพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม หัตถกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ การประกอบอาชีพตางๆ น่ีแหละ ทํ าใหโลกเปนไป อารยธรรมจะมีความเจริญในแนวไหน ก็เปนไปตามอาชีวะ

ถาเปนเด็กๆ อาชีวะที่ถูกตองก็หมายความวา ตองปฏิบัติหนาที่ของตัวเองใหสมกับการเลี้ยงดูของพอแม เรียกวามีสัมมาอาชีวะ หรืออยางพระก็ตองอยูในธรรมวินัย ทํ าหนาที่สืบตอพระศาสนาแลว ญาติโยมเขามีศรัทธา เห็นวาธรรมจํ าเปนสํ าหรับสังคม ก็เลยมาอุปถัมภบํ ารุงใหพระสามารถอยูไดเพื่อจะไดรักษาธรรมไวใหแกสังคม อยางนี้ก็เปนสัมมาอาชีวะของพระ ถาพระไป

Page 141: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๓๕

ขอชาวบานเมื่อไรก็มีหวังผิดทันที เปนมิจฉาอาชีวะ เพราะเขาไมไดถวายดวยศรัทธา

เรื่องสัมมาชีพนี่เปนเรื่องใหญของสังคมมนุษย อาชีพทุกอยางมีข้ึนเพื่อจุดหมายในการแกปญหาชีวิตสังคมและเพื่อการสรางสรรคอยางใดอยางหนึ่ง ถาทํ าถูกตองตามวัตถุประสงคน้ันเชน อาชีพแพทยมีเพื่ออะไร เพื่อบํ าบัดโรค และชวยใหคนมีสุขภาพดี ถาทํ าเพื่อการนี้ ก็เปนสัมมาอาชีวะ แตถาทํ าเพียงเพื่อเงินก็แสดงวาเขวแลว ฉะนั้น จึงตองประกอบอาชีพที่ไมเบียดเบียนเพื่อนมนุษย ไมกอความเดือดรอนแกใครๆ สัมมาอาชีวะจึงเปนศีลอีกหมวดใหญ

๔. อีกหมวดหนึ่งที่สํ าคัญก็คือ ศีลท่ีเปนหลักกํ ากับชุมชนหมายความวา ชุมชนแตละชุมชน ตลอดจนสังคมประเทศชาติตองมีระบบระเบียบในการเปนอยู มีหลักการ มีกฎ มีกติกา

หลักการ กฎ กติกาที่คุมใหชุมชนอยูกันดี เปนศีลประเภทท่ีเรียกวาปาฏิโมกข ชาวบานมีศีล ๕ พระมีศีล ๒๒๗ ก็คือศีลประเภทนี ้(วาโดยเครงครดั จะเปนปาฏโิมกข ตองมรีะบบสงัฆะชดัเจน)

หมายความวา อยางนอยสํ าหรับชาวบานนี่ สังคมจะอยูไดไมลุกเปนไฟก็ตอเมื่อคนยังพอรักษาศีล ๕ กันไดโดยเฉลี่ย คือไมทํ ารายรางกายทํ าลายชีวิตกัน ไมลักขโมยละเมิดกรรมสิทธกันไมลวงละเมิดทางเพศกัน ไมทํ าลายผลประโยชนกันดวยการกลาวเท็จหลอกลวง แลวก็ไมคุกคามสรางความรูสึกพรั่นพรึงใหประชาชนสูญเสียความรูสึกมั่นคงปลอดภัยดวยการเสพยาเสพติด จะเห็นวาพอมีใครเสพยาเสพติด คนอื่นก็จะสูญเสียความมั่นคงปลอดภัยทันที

Page 142: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๓๖

หลักศีล ๕ จึงเปนการชวยใหสังคมนี้ปลอดภัย พออยูกันได เพราะฉะนั้นศีล ๕ จึงเปนฐานของระเบียบสังคม ดังที่ปรากฏวา จากศีล ๕ น่ีก็พัฒนาเปนกฎหมาย เปนระเบียบกฎเกณฑอะไรตออะไรขึ้นไปอีกทีหนึ่ง

โดยมากกฎหมายของเราก็อาศัยศีล ๕ น่ีแหละเปนฐานขยายออกไปจากเรื่องศีลน้ีแหละ เปนเรื่องชีวิตรางกาย เรื่องทรัพยสิน เรื่องครอบครัว เรื่องทางเพศ เรื่องของการใชวาจา และเรื่องสิ่งเสพติดมัวเมา ซ่ึงเปนหลักใหญในการสรางกฎหมาย

ตกลงวาศีลก็แคน้ีแหละ ๔ หมวดนี่ เปนการศึกษาที่เริ่มตั้งแตในบาน พอเด็กเกิดมาก็ตองรูจักเปนอยู ตั้งแตรูจักอยูรวมกับพอแมพี่นอง ตองรูวากินอาหารเพื่ออะไร นุมหมเสื้อผาเพื่ออะไร ความหมายและคุณคาที่แทของมันอยูท่ีไหน ตลอดจนดูโทรทัศนเปน ฟงวิทยุเปน แคน้ีก็มีศีล

ศีลประเภทนี้เราไมคอยเอาใจใส ท้ังที่มันเปนเรื่องของธรรมชาติตามธรรมดา

ศึกษาไปพรอมดวยกันทั้ง ๓ ดานแลววัดผลโดยดูพัฒนาการที่แยกเปน ๔

ท่ีวาแนวพุทธก็น่ีแหละ คือพัฒนาคนใหรูจักเปนอยูไดอยางดี โดยสอดคลองกับความจริงของชีวิตที่เปนไปตามธรรมดาน่ีเอง

เราเอาความจริงของธรรมดานี่แหละมาใชประโยชนในการพัฒนามนุษย ก็เรียกวา การศึกษา

Page 143: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๓๗

การศึกษานั้นเปนระบบที่การพัฒนาดานความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม แลวก็ดานจิตใจเจตจํ านง และดานปญญาความรูเขาใจ ดํ าเนินประสานไปดวยกัน และสงผลตอกัน โดยเจตจํ านงของจิตใจแสดงตัวออกมาสูพฤติกรรมและการสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ปญญาที่รูเขาใจก็มาพัฒนาพฤติกรรมใหทํ าไดผลดียิ่งขึ้นและทํ าใหจิตใจมีขอบเขตขยายออกไปแลวมีสภาพที่ดีข้ึน เชนเมื่อรูเขาใจเหตุผล รูวาคนอื่นเขาก็รักชีวิตของเขาเหมือนกันเพราะฉะนั้นจึงไมควรไปทํ ารายเขา แตควรจะมีเมตตากรุณา การพัฒนาเมตตากรุณาจึงตองอาศัยปญญาความรูเขาใจ ถาไมอยางนั้น ก็ไดแคความเคยชิน เปนการพัฒนาแคระดับศีล

เมื่อท้ังสามสวนนี้ประสานกันไป ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมก็จะเปนดานที่สนองและปอนเลี้ยงดานจิตและดานปญญา สงผลหนุนกันไป

๑. การพัฒนาในดานความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม เรียกวาศีล

๒. การพัฒนาดานเจตจํ านง ลงไปถึงคุณสมบัติในจิตใจก็เปนสมาธิ ซ่ึงรวมถึงเรื่องของคุณธรรมความดี เรื่องของสมรรถภาพและประสิทธิภาพของจิตใจ เชนความเขมแข็ง หนักแนนเพียรพยายาม สติ สมาธิ แลวก็เรื่องความสุข ความราเริงเบิกบานผองใส ฯลฯ ท่ีเปนคุณสมบัติสํ าคัญของจิตใจ

๓. การพัฒนาดานปญญา ความรูความเขาใจ การรูจักมองสิ่งทั้งหลายตามที่มันเปน และความสามารถแยกแยะวิเคราะหสืบสาวหาเหตุปจจัยอะไรตางๆ

Page 144: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๓๘

สามแดนนี้จะตองพัฒนาไปดวยกัน เปนระบบ ท่ีเราเรียกวาบูรณาการก็มาในระบบที่เรียกวาไตรสิกขานี้แหละ และเมื่อไตรสิกขาพัฒนาคนไปอยางนี้แลว ก็วัดผลดวยภาวนา ๔ ดังที่โรงเรียนทอสี กับโรงอนุบาลหนูนอย ทดลองคนหากันไปมาก็บอกวาตกลงใชหลักนี้แหละ

ในตอนที่พัฒนาคน เพราะวามันเปนองครวม ท้ังสามอยางนี้ตองไปดวยกันในแตละเรื่อง คือตองใชท้ัง ๓ เพราะฉะนั้นทานจึงถือหลัก ๓ ไมวาในเรื่องใด ทุกเรื่องเรามีท้ังสาม คือ ศีลสมาธิ ปญญา ตองสืบเนื่องกันมา คือในขณะที่เรามีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม เราก็มีเจตจํ านงตอสิ่งนั้น มีทาทีความตั้งใจตอมันอยางใดอยางหนึ่ง พรอมกันนั้นเราก็ทํ าไดในขอบเขตของความรู และเราตองเรียนรูมันไปตลอดเวลา

แลวในการที่เราเรียนรูเพิ่มข้ึน เราก็จะพัฒนาได สภาพจิตของเราก็เปลี่ยนไป การมีพฤติกรรมสัมพันธกับสิ่งแวดลอมก็จะเปลี่ยนจะพัฒนาไปดวย ก็ไปดวยกันทั้งหมด ฉะนั้นจึงมี ๓ อยาง

แตพอวัดผล ทานแยกเปน ๔ คือ แยกเปน ภาวนา ๔เพราะตอนแยกนี่ ไมใชตอนทํ างานแลว แตตองการความชัดเจนวาดานไหนไปไดแคไหน จึงแยกเปน

๑. กายภาวนา การพัฒนาดานความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมท่ีเปนกายภาพ หรือทางวัตถุ

๒. ศีลภาวนา การพัฒนาความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางสังคม ดานเพื่อนมนุษย รวมทั้งสัตวท้ังหลายอื่นดวย

อันนี้แยกไดชัด กายภาวนาสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เชนพวกธรรมชาติ พวกวัตถุ พวกสิ่งเสพบริโภค สิ่งที่ตา

Page 145: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๓๙

ดู หูฟง อะไรตาง สวน ศีลภาวนา เปนการสัมพันธกับเพื่อนมนุษยคือทางสังคม

๓. จิตตภาวนา การพัฒนาดานจิตใจ ท่ีอาศัยสมาธิเปนตัวแกนในการฝก และมีบทบาทออกมาทางเจตจํ านง

๔. ปญญาภาวนา การพัฒนาดานปญญา ความรูความเขาใจ คิดได หยั่งเห็น

เรื่องนี้แปลกมากที่เรามาเจอภายหลังวา ของฝรั่งมีphysical development, mental development, emotionaldevelopment, social development อาว ของพระพุทธศาสนาก็มี ๔ และวามาตั้งสองพันกวาปแลว พอมาเจอก็ตรงกันเลย แตขอบเขตไมเทากัน

ของฝรั่ง physical development เนนเรื่องการใหสุขภาพรางกายแข็งแรง สวนของพระพุทธศาสนา กายภาวนา หมายถึงการพัฒนาความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดานกายภาพทั้งหมด วาสัมพันธเปนไหม ไดผลดีไหม เสพบริโภคเปนไหม กินอาหารเปนไหม เปนตน เชนเมื่อกินเปน สุขภาพดีก็มาดวย

ศีลภาวนา ก็คือดาน social development แลวจิตตภาวนา ก็ emotional development แตเราไปแปล mentaldevelopment เปนพัฒนาจิตใจ ขออภัย พลาดมาก

mental development น่ีของฝรั่งเขาใชเปน alternativeterm กับ intellectual development ลองไปดูเถอะ ฝร่ังจะใชmental development บาง intellectual development บาง สองตัวนี้ใชแทนกัน หมายถึงดานปญญา สวน emotionaldevelopment คือดานจิตใจ

Page 146: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๔๐

รวมแลวก็มีพัฒนาดานกาย พัฒนาดานสังคม ซ่ึงของเราเรียงไมตรงกับฝร่ัง คือของเราเรียง social development กอนถือวามองจากขางนอกเขามา แลวก็พัฒนาดาน emotionaldevelopment คือดานจิตใจ แลวจบดวย intellectualdevelopment หรือ mental development แตอันนี้เราไมนิยมใชเราจะใชวา wisdom development การพัฒนาปญญา

ตอนนี้ใชในการวัดผล จึงเปนภาวนา ๔ แตในเวลาศึกษาคือขณะปฏิบัติในชีวิตจริงเปนไตรสิกขา การที่มาแยกเปนภาวนา๔ ก็เพื่อใชในการที่จะดูใหชัด แยกดูได ๔ ดาน แตในเวลาปฏิบัติจริง กายภาวนา และศีลภาวนา เปนขอเดียวกัน คือในเรื่องหนึ่งหรือในขณะหนึ่งนี่ เราสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางใดอยางหนึ่งคือทางกายภาพหรือทางสังคม ตองเอาอยางเดียว

ฉะนั้น ๒ ขอแรกในภาวนา ๔ น้ี เวลาเปนไตรสิกขาจึงรวมกันเปนขอเดียว เพราะเอาตามที่เปนจริงในชีวิต ซ่ึงเปนองครวมอันนี้ก็คือเรื่องของระบบงายๆ

ท่ีวามานี้เปนการพูดในแงใหเห็นวา อันนี้คือความเปนจริงตามธรรมดาของธรรมชาติ การศึกษาก็มาจากธรรมดานี่แหละเพราะมนุษยมีชีวิตที่แบงไดเปนสามแดน ท่ีไปดวยกันอยางนี้ฉะนั้นการจัดการศึกษาก็จึงเปนศีล สมาธิ ปญญาขึ้นมาตามธรรมดา ก็เทานั้นเอง

Page 147: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๔๑

ถาไมระวังไว ศีลก็จะไมครบ สมาธิก็จะไดแครูปแบบทีน้ี ขอพูดตอไป อยางที่มีคํ าถามเมื่อกี้วา การสอนและ

จัดกิจกรรมในเรื่องศีล ก็พอจะเห็น แตในขั้นสมาธิยังไมคอยเห็นวาจะจัดอยางไรดี

ขอยอนหนอยวา ท่ีวาศีลก็พอจะเห็นนั้น ถาดูกันจริงๆ ก็ยังไมคอยครบนะ อยางเรื่องการรับประทานอาหารดวยความรูเขาใจวา เรารับประทานเพื่ออะไร ก็ไมเคยถามกันเลย

จึงอยากเสนอวา บางแหงใหเอาอยางพระไปใชเลย เวลาพระฉันนี่ บางวัดก็วาในใจ จนกระทั่งไมรูไมเขาใจ นึกวาเสกขาวคือทานใหพิจารณาตามบทปฏิสังขา-โย วาขาพเจาพิจารณาแลวโดยแยบคาย จึงรับประทานอาหารนี้วา มิใชเพียงเพื่อเอร็ดอรอยสนุกสนาน โกเก มัวเมา แตเพื่อใหชีวิตนี้ดํ ารงอยูได เพื่อใหอาหารน้ีเปนเครื่องชวยเกื้อหนุนแกการดํ าเนินชีวิตที่ดีงาม เพื่อการดํ ารงอยูโดยไมมีความหิวความเดือดรอนทางกายของตน และไมกอใหเกิดความเสียหายเบียดเบียนใครอื่น

หมายความวา การรับประทานของเรานี่จะไมใหเกิดผลเสียตอตนเอง ตอผูอื่น ตอสังคม ตอสิ่งแวดลอม ไมเกิดโทษทั้งแกตนเองและผูอื่น แลวก็ใหการรับประทานของเรานี้ เปนไปเพื่อชีวิตที่เปนอยูผาสุก

คํ าพิจารณาอาหารขางตนนั้น อยางที่วัดนี่ เดี๋ยวนี้ เวลาจะฉันก็สวดออกมาดังๆ เลย แตวาเปนภาษาบาลี ทํ าใหนึกถึงวาฝร่ังก็มีการสวดกอนรับประทานอาหาร แตเขาสวดออนวอนพระเจา เขาขอบคุณพระเจา แลวก็รับประทานอาหาร แตของชาว

Page 148: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๔๒

พุทธเรามีมานานแลว คือใหพิจารณากอนวาเรารับประทานเพื่ออะไร ใหเปนการรับประทานดวยปญญา

ตอนนี้ก็เลยเสนอบางแหงที่จัดกิจกรรมอบรมเด็ก บอกวาเราไมลองสวดแบบพระหรือ อาจจะแปลเปนภาษาไทยก็ได พอเด็กจะรับประทานก็บอกวา อาว พรอมกันนะ กลาวคํ าพิจารณานี้เลย วาเรารับประทานอาหารเพื่ออยางนี้ๆ

ของพระนั้นทานใหวาหมด เปนประเพณีมาแตโบราณคนที่จะบวชตองทองบทปฏิสังขา-โย เวลาจะฉันพระจะตักขาวเปลาขึ้นมาชอนหนึ่ง แลวก็วาในใจ เวลาเย็นคํ่ าก็จะสวดบทนี้เปนการยอนอดีตอีกทีหนึ่ง

อันนี้ก็เปนเรื่องที่วา ศีลจะมาชวยโยงกับสมาธิโดยมีปญญามานํ ามาหนุนดวย แตตอนนี้จะตองมองศีลใหกวางขึ้นคือหมายถึงกิจกรรมในความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทุกอยาง ท้ังกายภาพ วัตถุ ธรรมชาติ และก็ท้ังเพื่อนมนุษย

ทีน้ีก็มาถึงสมาธิ คือดานจิตใจ ในที่น้ีสมาธิเปนตัวแทนของคุณสมบัติทางจิตใจทั้งหมด ไมใชหมายถึงสมาธิอยางเดียวเรื่องสมาธิน่ี สํ าหรับเด็กๆ ควรจะเนนกิจกรรม เพราะเด็กตองการเคลื่อนไหว ไมอยากใหเนนมากในแงไปใหเด็กนั่งเฉยๆ การนั่งนิ่งก็เอาบาง แตใหนอยๆ หนอย อยาไปเนน แตใหมุงไปทางกิจกรรม

เรื่องนี้โบราณทํ ามาดีแลว โบราณเนนสวดมนต เพราะอะไร เพราะสวดมนตเปนการโยงไปถึงพฤติกรรมชวยใหเรียบรอยดวย แตในเวลาเดียวกันการสวดมนตก็ชวยทํ าใหจิตสงบ

อยางผูเขากรรมฐาน เขาใหมีการสวดมนตเพื่อเตรียมจิตเพราะจิตใจของคนทั่วไปมันวุนวาย เนื่องจากพบอารมณขางนอก

Page 149: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๔๓

มาเยอะแยะ ก็เลยใหมานั่งสวดมนตกันกอน จิตก็จะสํ ารวมอยูคํ าสวดนั้นก็เปนถอยคํ าดีงาม และโนมจิตใจใหไปอยูกับสิ่งที่ดีงาม ก็สงบมั่นคงขึ้น จิตก็เริ่มเขาสูแนวของสมาธิ

เพราะฉะนั้นสํ าหรับเด็กการสวดมนตน่ีจะเหมาะกวา เราก็เลือกเอาบทสวดมนตท่ีมีความหมาย ใหสัมพันธกับสภาพแวดลอมของโลกปจจุบันในการดํ าเนินชีวิตของเขา เอาพุทธภาษิตที่ดีๆ แลวมาเลือกกัน

เคยใหตัวอยางแกบางทาน แตทํ าเปนบทสวดมนตงายๆเปนพุทธภาษิตที่แปลใหดวย เด็กจะสวดดวยกันกับคุณครูหรือกบัคณุพอคณุแมกไ็ด พอสวดจบ จิตใจสงบสบายด ี คณุพอคณุแมหรือคุณครูก็อธิบาย บอกวาเรามาคุยกันเรื่องบทสวดมนตวันนี้นะ

ในค ําสวดนัน้มสีาระทัง้นัน้ วาเราจะด ําเนนิชวีติกนัอยางไรเชน บทสวดที่เรียกวา วัฒนมุข ซ่ึงตรงขามกับอบายมุขที่เปนฝายไมดี วัฒนมุข คือปากทางแหงความเจริญ มี ๖ อยาง คือ

๑. รักษาสุขภาพดี๒. มีระเบียบวินัย๓. ไดคนดีเปนแบบอยาง๔. ตั้งใจเรียนใหรูจริง๕. ทํ าแตสิ่งที่ถูกตองดีงาม๖. มีความขยันหมั่นเพียรเราเอามาเปนบทสวด เสร็จแลวคุณพอคุณแมหรือคุณครู

ก็อาศัยบทสวดนี้เปนขอปรารภในการคุยกับเด็ก แลวก็อธิบายพรอมท้ังยกตัวอยางหรือเลานิทานใหฟง เด็กก็ไดมีสวนรวม เปน

Page 150: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๔๔

กิจกรรมที่เปนเรื่องสมาธิดวย และเปนเรื่องศีลดวย แลวยังไดความรู เปนเรื่องปญญา ไปดวยกันหมดเลย

สมาธิแบบนี้แหละนาจะเนนกัน แลวก็อาจจะนั่งสงบสักตอนหนึ่งดวย สมาธิรูปแบบนั้นสักกี่นาทีก็ได แลวแตตกลง ก็ไดดวย เปนสวนหนึ่ง แตอยาลืมในสวนที่จะไดแทน้ัน โบราณเนนที่น่ี

อาตมายังจํ าได ตัวเองเมื่อยังเด็กๆ พอรับประทานอาหารเย็นเสร็จเรียบรอย ลางถวยลางชามแลว โยมก็ชวนมาตั้งวงคุยกัน

ในการคุยกันนั้น โยมก็จะเลานิทาน เชนชาดกใหฟง พวกเราเด็กๆ ก็สนุกสนาน เปนเรื่องตลกก็มี บางทีลุกขึ้นเตนเลยอยางนี้แทบจะเปนประจํ าวัน ในครอบครัว ถามีอยางนี้ก็เปนการศึกษาดวย และไดความคุนเคยสนิทสนม ความสัมพันธท่ีดี ความรักความผูกพันก็เกิดขึ้น

แตเดี๋ยวนี้กิจกรรมอยางนี้เลือนลางหายไป เด็กไปอยูกับทีวี ไปอยูกับอะไรอยางอื่นหมดเลย ความสัมพันธในครอบครัวไมมี จะตองฟนขึ้นมาใหได น่ีคือการศึกษาที่เปนชีวิตจริง

เพราะฉะนั้น สวดมนตน่ีจะตองเนนในแงกิจกรรม แลวใหไปเชื่อมกับสมาธิ คือเรื่องจิตใจ แลวโยงไปใหถึงปญญา

ศีลก็เนนในแงความสัมพันธในครอบครัว เพราะวาความสัมพันธในครอบครัวก็เปนเรื่องความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ซ่ึงเปนศีลน่ันเอง และในครอบครัวนี้เรื่องศีลก็คลุมไปถึงการมีวินัยการตั้งกติกาอะไรตางๆ ข้ึนมา ซ่ึงก็เปนเรื่องของศีลในหมวดที่เรียกวาขอปฏิบัติหรือกฎกติกากํ ากับชุมชน เราก็หัดกันตั้งแตวินัยในบาน ในครอบครัว วินัยในโรงเรียนอะไรตางๆ แลวก็ใหไปโยงไปองิกบัเรือ่งสมาธท่ีิอยากจะใหเนนในแงเคลือ่นไหว เปนกจิกรรม

Page 151: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๔๕

ใจทีส่งบมัน่มุงแนวไปในการสรางสรรคทํ าความดีนีค้อืสมาธิที่ชีวิตและสังคมกํ าลังตองการ

สาระของสมาธิอีกอยางหนึ่งหมายถึงการไมติดในรูปแบบดวย บางคนกไ็ปตดิในรปูแบบนัง่ ความจรงิการนัง่เปนรปูแบบ เปนเพียงวิธีท่ีชวยในการฝกจิต จุดมุงหมายอยูท่ีการพัฒนาในจิตใจ

ทีน้ีรูปแบบกม็เียอะ แตอยาลมืวาสมาธใินพระพทุธศาสนาเปนสมาธิในไตรสิกขา และในมรรค ซ่ึงเปน dynamic เปนการคืบเคลื่อนเดินหนา และเปนการประสานกับองคประกอบอื่น สมาธิจะเกิดผลจริงก็ตอเมื่อไปเชื่อมประสานกับปญญา แลวไดศีลมาเปนตัวคอยคํ้ าจุน ไมใชอยูโดดเดี่ยวลํ าพัง

สมาธิเปนเรื่องของการพัฒนาชีวิตใหกาวไปในมรรค ซ่ึงประสานกับองคประกอบทุกดานในมรรคนั้น

เราตองการใหเด็กทํ าความดี การกาวหนาไปในความดีและในการสรางสรรคสิ่งที่ดี แนนอนละยอมเปนสิ่งที่เราตองการเราตองการใหเด็กมีความมุงมั่นแนวแน และมีจิตใจที่ไมฟุงซานไมพลุงพลาน ไมกระวนกระวาย ในการที่จะเดินหนาไปในทางแหงความดีงาม ถาเขามีความมั่นใจ มีความสงบมั่นคงในการทํ าความดีแลว เขาจะไปไดดี สภาพจิตนี้เราตองการ ทํ าอยางไรจะไดผลน้ี

ครูอาจชวยใหเด็กรูเขาใจโดยแนะนํ าชี้แจงแกเขาวา ออสิ่งที่เราจะสรางสรรคน้ี มันดี มันมีคุณคามีประโยชนแกชีวิตแกสังคมอยางนั้น มีเหตุผลอยางนั้น ควรทํ า เมื่อเด็กทํ าดวยความรูความเขาใจ เด็กก็มีความมั่นใจขึ้นในสิ่งที่จะทํ า จิตใจก็มีความ

Page 152: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๔๖

สุขที่จะทํ า มีศรัทธาเชื่อมั่นในสิ่งที่จะทํ า มีความเพียรพยายามที่จะทํ า แลวจิตก็สงบมุงมั่น แนวไป น่ีคือสมาธิ ซ่ึงมีวิริยะและสติประกอบอยูดวย ตามหลักของสมาธิในมรรค

สมาธิในการทํ าความดี ไมใชหมายความวาจะตองมานั่งแลวใจแนวนิ่งอยูเฉยๆ อยางนั้นเปนการฝกสมถะเอาแคใหจิตอยูกับอารมณหนึ่งเดียว แตในกรณีน้ี เปนสมาธิท่ีจิตมุงแนวสงบไปในสิ่งที่ทํ า สมาธิน้ีเปนสมาธิท่ี dynamic ซ่ึงจะพัฒนาไปเรื่อยและประสานกับองคประกอบอื่น สมาธิแบบนี้เราก็ตองการมาก

เราตองการใหเด็กของเรามีความแนวแนมั่นใจในการทํ าความดีและในการสรางสรรค ถาเขาเกิดสมาธิแบบนี้ก็สบายใจไดเลย แตทํ าอยางไรเด็กจะมีสมาธิอยางนี้ไดละ เด็กตอนนี้พลุงพลาน กระวนกระวาย ใชไหม เขาฟุงซาน นึกถึงโนนนี่ ใจไมแนวแน ไมมั่นใจในสิ่งที่ทํ า เพราะปญญาก็ไมมี เลยไมรูวาสิ่งที่ตนทํ ามีเหตุผลอยางไร ดีตอชีวิตดีตอสังคมอยางไร

ถาเด็กเกิดความรู และมีความมั่นใจทางปญญาแลว จะเปนความมั่นใจที่แท เพราะปญญาเปนตัวปรับเปลี่ยนสภาพจิตถาคนเรามีความรูอะไรชัดเจนแนใจแลว ความมั่นใจจะเกิดเต็มท่ีแตถาเขาไมรูชัดวาอันนี้ดีหรือไมดี เขาก็ตองไหวไปตามเสียงบอกบาง ตามกระแสคานิยมบาง อะไรบาง

เด็กไทยเดี๋ยวนี้ไมคอยมีความรูเขาใจอะไรชัดเจน จึงหวั่นไหวไปตามกระแสคานิยม ใครวาดีก็ดีตามไป ไมมีหลักของตัวขาดความมั่นใจที่แท อยางนี้ก็หมดแลว สมาธิไมมี เด็กไดแคหวั่นไหวไป วอกแวกไป ไดแตตาม คอยตื่นเตน คอยดูกระแสวาจะเปนอยางไร ถาเปนอยางนี้ ก็พัฒนายาก

Page 153: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๔๗

เมื่อพัฒนาเด็กยาก ก็พัฒนาสังคมไดยาก แตถาเด็กของเรามีความรูความเขาใจมั่นใจในสิ่งที่ทํ า มองเห็นเหตุผลชัดเจน รูวาความจรงิเปนอยางนี ้ เราจงึควรท ําอยางนี ้ แลวใจกจ็ะสงบมัน่แนวเปนสมาธิ ซ่ึงไปพรอมกับปญญา และพฤติกรรมก็จะดีอยางแนนแฟนดวย ถงึขัน้นีศ้ลี สมาธ ิปญญา กม็าดวยกนั พฒันาไดแน

จะเห็นไดวาสมาธิอยางนี้แหละที่เราตองการมาก ลองนึกดู ท่ีเปนหวงวาเรื่องสมาธิยังมองไมคอยเห็นนั้น อยางนี้เอาไหมสมาธิแบบนี้ ท่ีเชื่อมโยงชีวิตทั้งหมด คือเราจะตองมองศีล สมาธิปญญา ใหเห็นในการดํ าเนินชีวิตแตละขณะนี้ไปเลย

ลองแยกดูวา สวนไหนเปนศีล สวนไหนเปนสมาธิ สวนไหนเปนปญญา แลวเราจะเห็นไตรสิกขาในทุกกิจกรรม ซ่ึงสอดคลองกับความเปนจริงที่เปนอยางนั้น คือการดํ าเนินชีวิตของเราน้ี มันสัมพันธกับสิ่งแวดลอม มันตองมีเจตจํ านง โดยประกอบดวยคุณสมบัติทางจิตใจ เชนแรงจูงใจเปนตน แลวก็ตองมีความรูความเขาใจ รวม ๓ แดนนี้สัมพันธไปดวยกัน

เพราะฉะนั้น เราจึงตองศึกษาโดยฝกฝนพัฒนาชีวิต ๓แดนนี้ แดนแหงความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมก็เรียกวา ศีล แดนที่เปนดานจิตใจ ออกมาทางเจตจํ านง ก็เรียกวา สมาธิ แดนที่เปนความรูความเขาใจก็เรียกวา ปญญา เราก็เอา ๓ แดนนี้มาประสานกันเขาไป การพัฒนามนุษยก็จะเปนไปดวยดี

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจาจึงไมใชใหเราปฏิบัติแตลํ าพังศีลเฉยๆ ถาศีลเฉยๆ เดี๋ยวก็ไปเขาระบบบังคับ แตศีลท่ีตรัสไวน้ีเชนใหมีศีลในการเสพบริโภคใชปจจัยสี่ จะรับประทานอาหารก็

Page 154: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๔๘

ใหพิจารณา การพิจารณาก็คือการใชปญญา กลายเปนวาเอาปญญามาชวยทํ าใหเกิดศีล

จึงเริ่มมีศีลดวยหลักที่วาขาพเจาพิจารณาแลวโดยแยบคาย จึงรับประทานอาหารนี้วา มิใชรับประทานเพียงเพื่อเอร็ดอรอย สนุกสนาน โกเก มัวเมา แตรับประทานเพื่อจะเกื้อหนุนชีวิตที่ดีงาม เพื่ออยางนั้นๆ อะไรก็วาไป น่ีคือปญญามา

เมื่อปญญามาก็ทํ าใหเรารับประทานอาหารอยางไดคุณคา เมื่อมองเห็นคุณคาแลวเราก็รูสึกพอใจ มีความสุขในการรับประทานอาหารที่มีคุณคาเปนประโยชน แมมันจะไมอรอยมากนัก ปญญาทํ าใหเราพนจากการครอบงํ าของการติดหลงในการเสพ และเกิดสภาพจิตที่มีความสุขอีกแบบหนึ่ง เปนความสุขซึ่งไมจํ าเปนตองเกิดจากการเสพรสอรอยอยางเดียว แตเกิดจากความรูความเขาใจ เห็นคุณคาประโยชนท่ีแทจริง

พอเห็นคุณคาประโยชนท่ีแทจริง เราอาจจะรับประทานอาหารมื้อน้ันที่แมจะไมอรอยเทาไร แตเรารูสึกวาเปนประโยชนตอสุขภาพของเรา เราก็มีความสุขได ปญญาก็มาปรับสภาพจิตแมแตสรางความสุข เปลื้องความทุกข แลวเราก็จะดํ าเนินพฤติกรรมที่ถูกตองดีงามไปไดอยางมั่นคงและมั่นใจ

อยางนี้จึงจะเปนบูรณาการที่แท คือบูรณาการของไตรสิกขา ในระบบองครวมที่เปนเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ

แมแตคนทีเ่จอความทกุข พอมโียนโิสมนสกิารเกดิความคดิในทางปญญาวา โอ เราเจอความทุกขแลว คนที่เจอความทุกขน่ี

๑. เทากับไดบททดสอบตัวเองวา เราจะเขมแข็งสามารถผานความทุกขยากไปไดไหม

Page 155: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๔๙

๒. คนเราจะเจริญพัฒนาดวยการเจอความยากและรูจักทํ าแบบฝกหัด คนที่เจอแตความสุขสะดวกสบาย ไมไดทํ าแบบฝกหัด จะพัฒนายาก เราเจอทุกขน่ีดีแท เราจะไดฝกตัวเองในการแกปญหา เราจะเขมแข็งดวยปญญา และจะพัฒนาความสามารถในการแกปญหาตอไป ชีวิตจะดี จะพัฒนามาก

พอปญญามา ทุกขก็กลายเปนสุขไป ฉะนั้นคนที่ฉลาดจึงสามารถหาสุขจากทุกขได อันนี้คือระบบแหงการพัฒนามนุษยท่ีไปดวยกันพรอมทีเดียวหมด ท้ังศีล สมาธิ ปญญา อิงอาศัยเกื้อหนุนกันไป

สมาธิแบบของพุทธศาสนา เปนสมาธิในระบบแหงไตรสิกขาจงึตองใหชัดวาอิงอาศัยไปดวยกันกับพฤติกรรมและปญญา

ตองมองวา การศึกษาแนวพุทธในที่น้ีเปนเรื่องเนื้อหาสาระและหลักการ ไมมีการแบงแยกเปนศาสนาอะไรทั้งนั้น แต

หนึ่ง เปนเรื่องของความจริงตามธรรมดา เมื่อไดความรูน้ีมา เราก็มองเห็นวา เออ มันโยงไปหาความจริง เราก็เอามาใชจัดสภาพชีวิต ใหเปนการพัฒนามนุษยท่ีสอดคลองกับความเปนจริงของธรรมชาติ

สอง เมื่อเปนเรื่องธรรมดา มันก็เปนเรื่องงายๆ เปนเรื่องที่อยูกับชีวิตทุกขณะ ตั้งแตเกิดมา การศึกษาจึงตองเริ่มท่ีบาน และดํ าเนินไปกับกิจกรรมของชีวิตทุกขณะ ตั้งแตการกินอยู รับประทานอาหาร ใชเสื้อผาเครื่องนุงหม เสพบริโภคสิ่งตางๆ

เด็กจะซื้ออะไร คุณพอคุณแมก็อาจจะถามสักหนอยวาเออ ท่ีลูกจะซื้อน่ี ประโยชนของสิ่งนี้อยูตรงไหน มันมีประโยชนตอ

Page 156: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๕๐

ชีวิตของเราอยางไร ความมุงหมายแทจริงในการที่จะซื้อมันมาน้ันคืออะไร ทํ านองนี้ ใหเขารูจักใชปญญาคิด เพื่อจะฝกศีล ซ่ึงจะเปนเรื่องงายๆ เปนเรื่องที่มีอยูในชีวิตตามธรรมดาตลอดเวลา

แคน้ีก็คงมองเห็นการฝกสมาธิใหเปนเรื่องที่สัมพันธกับกิจกรรมการเคลื่อนไหว ซ่ึงเหมาะสํ าหรับเด็ก แลวก็ประสานกับองคประกอบอื่นในระบบของมรรคหรือไตรสิกขา ใหเปนเรื่องที่คืบเคลื่อน หรือ dynamic ไมใชเอาแตจะมานั่งนิ่ง

ตองระวังกันหนอยดวยวา ถาเปนสมาธิน่ิงอยูอยางเดียวอาจจะกลายเปนสมาธิแบบโยคีในอินเดีย โยคีในอินเดียนั้นเขาทํ าสมาธิเพื่อทํ าใหจิตนิ่งดื่มดํ่ า แลวจิตของเขาจะไดไปรวมกับอะไรอยางหนึ่ง แลวเขาก็ดูดดื่มลงไปในนั้น แลวเขาก็ทํ าฌานกีฬา คือเลนฌาน แลวเขาก็ไมไปไหน ไมยุงไมเกี่ยวกับเพื่อนมนุษย เรียกวาตัดขาดจากสังคมไปเลย

แตสมาธิในพระพุทธศาสนานี่ตางจากสมาธิของโยคีน้ัน เพราะวาพระพุทธเจาทรงไดบทเรียนจากสมาธิของโยคีวามันไมถูก จึงไดมาตรัสสอนสมาธิท่ีประสานโยงในระบบไตรสิกขา คือศีล สมาธิ ปญญา สมาธิน้ันจะตองเกื้อหนุนปญญา โดยสรางสภาพจิตที่เหมาะแกการใชงาน พอจิตเหมาะกับการใชงาน โดยเฉพาะงานใชปญญา ก็พัฒนาปญญากาวไป แลวก็โยงกันไปทั้งระบบ ไตรสิกขาก็จึงเปนระบบ แลวก็เปนองครวมในตัว มันก็บูรณาการกันเสร็จไปในตัวอยางนี้แหละ

Page 157: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๕๑

สงัคมไทยมีดีคือวฒันธรรมแหงเมตตาแตตองกาวไปในวฒันธรรมแสวงปญญา

ขอท่ีอยากจะยํ้ าอยางหนึ่งก็คือ สังคมไทยเรานี้ สํ าหรับอาตมภาพมองวา เรารับพระพุทธศาสนาเขามา แตเรานั้น น่ีวาโดยรวมนะ คือถาวาโดยบุคคลอาจจะมีบางทานที่เขาถึงบางในบางชวงบางเวลา แตเมื่อวาโดยสังคมสวนรวม เราพยายามกาวเขาไปในพระพุทธศาสนา และเราก็กาวไปไดระดับหนึ่ง

ดานหนึ่งที่เรากาวไปไดดีพอสมควร ก็คือดานจิตใจ โดยเฉพาะดานเมตตากรุณานี่ เรากาวไปไดดี จนกระทั่งเปนสังคมที่มีน้ํ าใจ เปนสังคมที่เดนในเรื่องของการชวยเหลือเกื้อกูลกัน ขอใชคํ าวามีวัฒนธรรมแหงเมตตาสูง

แตอีกดานหนึ่งที่พระพุทธศาสนาเนนมากและเปนตัวจริงของพระพุทธศาสนา ซ่ึงเลยขั้นจิตใจ และเปนองคประกอบที่จะมาทํ าใหจิตใจพัฒนาอีกขั้นหนึ่ง ไปจนถึงอิสรภาพ ก็คือดานปญญา ในดานนี้สังคมไทยยังกาวไมคอยถึง

หมายความวา เมื่อพูดโดยรวม สังคมไทยรับพระพุทธศาสนาเขามา แลวเราก็พยายามนํ าสังคมไปในวิถีแหงพระพุทธศาสนา แตเรามาไดแคระดับจิตใจ ไดวัฒนธรรมแหงเมตตา ซ่ึงเราก็ควรจะภูมิใจ แตในดานวัฒนธรรมทางปญญา แมแตความใฝรูใฝแสวงปญญานั้น เราออนเหลือเกิน

ทํ าไมนะ ท้ังๆ ท่ีพระพุทธศาสนาเนนเรื่องปญญา แตทํ าไมสังคมไทยจึงออนนักในเรื่องการแสวงปญญา ตองถามตัวเองแลว

Page 158: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๕๒

วัฒนธรรมน้ันเหมือนกับเปนทุนเดิมท่ีสังคมไดสะสมมาจนอยูตัวในระดับหนึ่ง ซ่ึงจะชวยเปนฐานใหบุคคลทั้งหลายในสังคมอาศัยเปนเครื่องเอื้อโอกาสใหสามารถกาวไปสูจุดหมายที่สูงขึ้นไป และเมื่อบุคคลกาวหนาไป ก็เทากับเพิ่มทุนใหแกสังคม พาสังคมใหเขยิบฐานสูงขึ้นไปดวย

ฉะนั้น เราจะตองเดินหนาตอไป ถาจะใชการศึกษาแนวพุทธ ก็ตองกาวไปสูวัฒนธรรมระดับปญญาใหได แตก็อยาทิ้งวัฒนธรรมแหงเมตตา เวลานี้เรากํ าลังจะสูญเสียอันเกาที่ไดแลวและอันที่ยังไมไดทํ าก็ไมเดินหนาดวย

ท่ีวานี้หมายความวา วัฒนธรรมแหงเมตตาที่เคยทํ าไดดีมาแลวก็กํ าลังจะสูญเสียหมดไป คนไทยกํ าลังจะโหดราย กํ าลังจะไมมีเมตตากรุณา แมแตในครอบครัวก็ท้ิงกันได แมท้ิงลูก ลูกฆาแม ฆาพอ ความเปนพี่เปนนองก็กํ าลังจะหมดไป ในขณะที่วัฒนธรรมแหงปญญาก็ไมพัฒนาดวย

ถาอยางนี้ก็เสียสอง คือ ดีท่ีมีอยูก็รักษาไวไมได ดีท่ียังไมไดก็ไมพยายามทํ าใหมีข้ึนมา ฉะนั้นตองกาวไปใหไดท้ัง

๑. รักษาวัฒนธรรมแหงเมตตาไวใหดี๒. กาวไปในวฒันธรรมแหงปญญาที่ยังไปไมถึงใหไดขอพูดในแงสวนตัว สํ าหรับอาตมามั่นใจวา ถาเราพัฒนา

ใหดี ดานปญญานี้เราจะไปไดดีกวาฝรั่ง เรื่องนี้มั่นใจมาก คือในวัฒนธรรมฝรั่งนั้น ดานวัฒนธรรมแหงปญญาเขาเนนมาก แตวัฒนธรรมแหงเมตตานี่เขาไมคอยได วัฒนธรรมแหงปญญาที่วาน้ัน คือวัฒนธรรมแสวงปญญา เขาไปไดเกง

Page 159: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๕๓

แตการแสวงปญญาของฝรั่งมาจากเหตุบีบคั้นในภูมิหลัง เปนเรื่องของภูมิหลังทางสังคม และสิ่งแวดลอม หรือธรรมชาติซ่ึงบีบคั้นเขามาก ทํ าใหเขาตองคิดหาทางแกปญหา แลวก็ทํ าใหเขาเกิดความใฝรู แลวพัฒนาระบบแหงการแสวงปญญาขึ้นมา

อยางไรก็ตาม ฝร่ังนั้นมุงโดงไปพัฒนาวัฒนธรรมแสวงปญญาทางวัตถุ ก็เจริญทางวิทยาศาสตร แตเปนการพัฒนาปญญาที่ไมเปนองครวม ปญญาของเขา เปนปญญาแยกเปนเสี่ยงๆ เปนปญญาแยกสวน ไมใชปญญาองครวม แตถาเราเขาตามแนวไตรสิกขานี้ ก็จะเปนปญญาในระบบองครวม

คนไทยจะตองรักษาสิ่งดีท่ีตัวมีไวใหได พรอมท้ังกาวไปเอาสิ่งดีท่ียังไมมีใหสํ าเร็จดวย

เปนเรื่องที่ชัดเจนอยูแลววา ในพระพุทธศาสนานี้ ตัวตัดสินอยูท่ีปญญา ถาไมพัฒนาปญญา โพธิก็ไมเกิด การตรัสรูก็ไมมา พระพุทธเจาตรัสรูดวยปญญา ไมใชตรัสรูดวยเมตตา

ยิ่งกวานั้น เมื่อมีปญญาถึงที่สุดแลวจะกลับมาทํ าใหเปนเมตตากรุณาที่แท ถาเราไมมีปญญาเต็มท่ี ยังไมเขาถึงสัจธรรมเมตตากรุณาของเราก็จะเปนเพียงการสรางสภาพจิตดวยความเคยชนิเปนตน และเปนความโนมเอยีงเทานัน้ แตยงัไมเปนเมตตากรุณาที่แท ฉะนั้นจึงตองทํ าจิตใหมีคุณสมบัติสมบูรณ และเขาถึงอิสรภาพดวยปญญา คนไทยจะตองกาวตอไปใหถึงขั้นนี้ใหได

Page 160: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๕๔

การน ําสงัคมเปนงานหลักของการศึกษาแตมใิชไมนํ าพางานรองที่ตามสนองสังคม

คํ าวาโรงเรียนแนวพุทธนี้ เราจะใชดวยความรูสึกมั่นใจและสบายใจ ถาเขาใจความหมายและหลกัการตางๆ อยางชดัเจน

เมือ่เราชดัเจนและมัน่ใจในหลกัการทีเ่ปนสาระของความจรงิท่ียืนตัวแลว ก็ตองมาปฏิบัติในระดับกาลเทศะใหเห็นผลจริงดวย

ในระดับกาลเทศะนี้เราก็ดูสภาพสังคม สิ่งแวดลอม และโลกทั้งหมดวา ในบริบททั้งหมดนั้นสังคมไทยเปนอยางไร มีความตองการในระดับไหนดานไหนมาก จะตองเนนวิชาการแงไหนเปนตน เพื่อใหเปนการศึกษาที่ชวยใหชีวิตดีสังคมดีกันอยางเห็นๆ

ในขั้นนี้ ความรูหลักการพื้นฐาน คือการศึกษาระยะยาวเปนหลักเปนพื้นฐานอยูแลว การศึกษาเพื่อกาลเทศะก็เขามา เพือ่สนองความตองการของสงัคมเปนตน ถาอยางนีก้จ็ะไดท้ังสอง คือเปนทั้งการศึกษาที่นํ าสังคม และการศึกษาที่ตามสนองสังคม

เวลานี้ เราเนนกันแตในแงการศึกษาเพื่อสนองความตองการของสังคม ซ่ึงเปนการศึกษาแบบตามสังคม ถาอยางนี้การศึกษาก็ชวยสังคมไมไดมาก

สังคมมีความตองการแรงงานดานนี้เทานี้ ตองการผูเชี่ยวชาญดานนี้เทานี้ สถาบันการศึกษาก็ไปจัดการศึกษาพัฒนาคนใหมีความรูเชี่ยวชาญดานนั้นขึ้นมา ถาสังคมเดินทางผิด การศึกษาก็ชวยอะไรไมไดเลย เพราะเปนการศึกษาแบบตามสังคมไดแตสนองเขาเทานั้น และก็อาจจะซํ้ าเติมสังคมดวย

Page 161: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๕๕

การศึกษาที่ดีจะตองนํ าสังคม เปนตัวปรับตัวแก ตรวจสอบ และใหสติวาสังคมอยางนี้ใชไมไดนะ เดินทางผิดแลว การศึกษาตองนํ าสังคม

เพราะฉะนั้น การศึกษาจะตองทํ าสองอยางนี้ไปดวยกันควบคูกัน การศึกษาที่นํ าสังคมจะตองเปนตัวยืน สวนการศึกษาที่ตามสนองความตองการของสังคม ก็เปนเรื่องเฉพาะกิจเฉพาะหนา คือตอนนี้เราพูดถึงหลักการใหญของการศึกษาในแงท่ีจะนํ าสังคมแลว ก็มาพูดถึงบทบาทเฉพาะกาลเทศะเพื่อสนองความตองการเฉพาะหนาวา เวลานี้เราอยูทามกลางโลกที่เปนอยางนี้ประเทศที่พัฒนาแลวเขาไปอยางนี้ กระแสของโลกเปนอยางนี้ประเทศของเรามีความขาดแคลนดานนี้ บกพรองดานนี้ จะตองเนนจุดหมายในชวงเวลาเทานั้นๆ อยางนี้ๆ

การสนองสังคมอยางนี้ก็ตองเอา ท้ิงไมไดเหมือนกัน ตรงน้ีก็เปนจุดที่เราจะตองมาสรางความชัดเจนเหมือนกันวา สังคมไทยขณะนี้ โดยเปรียบเทียบกับสังคมอื่น มีจุดออนจุดบกพรองอะไร เรากต็องสรางความแนนหนา และความเขมแขง็ดานนัน้ๆข้ึน แตความเขมแข็งทางปญญาตองเปนอันดับหนึ่ง เมื่อความเขมแข็งทางปญญาที่แทเกิดแลว ความเขมแข็งทางจิตใจและความมั่นใจก็จะมาจริงๆ

ถึงแมเราจะเรงเราใหคนเขมแข็งทางจิตใจ แตถาปญญามันงอนแงน ก็ไปไมรอด และจะใหเขมแข็งทางพฤติกรรม ก็ไปไมไหว จิตใจก็ไมอาจจะเขมแข็งไดจริง เมื่อปญญาไมรูชัด ไมเขมแข็ง ถึงจะทํ าอะไรๆ ไป ในที่สุดพฤติกรรมก็งอนแงน

Page 162: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๕๖

การศึกษาเริ่มตนตั้งแตการกินอยูที่บานร.ร.ตองประสานกับอาจารยคนแรก คือ พอแม

สวนที่มีขอสงสัยวา เรานับถือพระพุทธศาสนากันมาตั้งแตเกิด เปนชาวพุทธตั้งเกาสิบกวาเปอรเซนต แตทํ าไมเวลาพูดถึงโรงเรียนแนวพุทธ จึงยกตัวอยางไดแคสองโรงเรียน ความจริงอาจจะมีอยูแลวหลายโรงเรียน แตเรายังไมไดระบุข้ึนมา ใชหรือไม?

ก็ใชอยู กลาวคือ เมื่อพูดอยางกวางๆ ก็บอกไดวาโรงเรียนแนวพุทธมี ๒ แบบ อยางที่พูดมาแตตน คือ แบบที่โรงเรียนหลายแหงจัดกันมา ตามวัฒนธรรมเอื้อ คือ ตามที่ถือกันมา สืบกันมา รูตามกันมาวาอยางนี้แหละเปนชาวพุทธ ก็เลยทํ าอยางนั้น อันนี้เปนเรื่องของวัฒนธรรมเอื้อ และอีกแบบหนึ่ง คือ การจัดอยางโรงเรียนที่ออกชื่อมานั้น หมายความวาเขาไดศึกษาในแงหลักการวาสาระของพระพุทธศาสนาเปนอยางนี้ เขาก็ไปถึงขั้นจัดใหเปนไปตามหลักการ

เรือ่งหลกัการนัน้ โรงเรยีนทัง้หลายสามารถน ําไปจดัปรบัใหเหมาะกบัตนเองและทองถิน่ หมายความวา ตวัหลกัการ กอ็นัเดยีวกนั แตเมือ่ลงสูรายละเอยีด จะไปสมัพนัธกบักาลเทศะ ซ่ึงถารูเขาใจทัง้ ๒ ดาน (ท้ังหลกัการ และกาลเทศะ) และฉลาดในวธิีการ กจั็ดไดสบายเลย ขอส ําคญั ขอใหเขาใจหลกัการพืน้ฐานก็แลวกนั

เพราะฉะนัน้ สิง่ทีต่องท ําคอื๑. พูดถึงความเปนจริงของโลกและชีวิต ใหรูเขาใจธรรมดาของธรรมชาติ

Page 163: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๕๗

๒. พูดถึงหลักการพื้นฐานใหรูเขาใจพรอมไวกอน๓. จัดวางจุดเนนสํ าหรับสังคมไทย และสํ าหรับแตละถิ่นแตละชุมชน ท่ีเปนเรื่องของกาลเทศะ ซ่ึงก็ขาดไมได

สวนที่มีคํ าถามวา สมมุติวามีโรงเรียนที่ผูบริหารเอาใจใสมาตั้งแตตน มีรากฐานของโรงเรียนที่ดี และมีเมตตากรุณาดูแลเด็กอยางดี ไมท้ิงภาระหนาที่ อันนั้นจะจัดวาเปนโรงเรียนแนวพุทธหรือไม

อยางนี้แหละ คือท่ีวาเปนแนวพุทธแบบวัฒนธรรมเอื้อ คืออยางนอยก็ไดในแงวิถีชีวิต หรือวัฒนธรรมทั่วไป รวมทัง้คณุคาในระดบัจิตใจ (ระดบัจิตตภาวนาหรอืสมาธ)ิ ซ่ึงหมายถงึวาความดงีามในจิตใจก็จะพาศีลมาดวย เพราะคนที่มีจิตใจดีงามตามปกติก็จะรักษาความประพฤติและความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมไดดีดวย

อยางไรก็ตาม ในกรณีอยางนี้ พฤติกรรมดีงามหรือศีลของเขาอาจจะเปนเรื่องของจริยธรรมทางสังคม สวนศีลในการปฏิบัติตอวัตถุเสพบริโภคนี่เขาอาจจะยังหยอน

เวลานี้ในสังคมไทย ศีลดานปฏิเสวนาคือการเสพบริโภคน้ีหยอนมาก คนไทยจึงไหลไปตามกระแสคานิยมไดงาย ทํ าใหตองเนนตอนนี้วา การศึกษาเริ่มตนเมื่อคนกินอยูเปน

จะตองรูจักแยกระหวางการกินดวยความรูเขาใจอยางมีปญญา กับการกินที่เปนเพียงการเสพรสของตัณหา ถาเด็กหลงไหลไปตามกระแสคานิยม เขาก็กินเพียงเพื่อเอร็ดอรอย กินตามคานิยมโกเก อวดมั่งมี แสดงฐานะแขงกัน โดยไมไดคํ านึงวาจะไดคุณภาพหรือไม ไมใชปญญา ไมรูความมุงหมายที่แทของการกิน

Page 164: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๕๘

ถาเขามีศีลดานนี้ ก็จะรูตัวอยูวากินเพื่ออะไร และมุงใหไดคุณคาที่แท คือการไดคุณภาพและปริมาณอาหารซึ่งพอดีท่ีจะใหมีสุขภาพ คนกินที่มีศีล ก็คือกินดวยความรูเขาใจความมุงหมายของการกิน แลวก็กินพอดี จึงหมดปญหา สวนเรื่องการที่จะทํ าตามคานิยม ก็เปนเพียงการรูเทาทัน วาเราอยูในสังคมนี้ เขานิยมกันอยางนี้ ก็อยาใหเขาเสียความรูสึก แลวก็ปฏิบัติใหพอเหมาะพอสม เขาสังคมหรือชุมชนได แตรูเทาทัน ไมหลงใหลตามเขาไปอยางนี้เรียกวาเด็กมีหลัก ก็คือมีศีลน่ันเอง

แตเวลานี้ เด็กไมมีหลัก มีแตโดนเขาหลอก เขาลอจูง เราใจ ยั่วยุ ในทางที่จะไปเสพบริโภค ก็ไปตามกระแสคานิยม เลยไมไดอะไรขึ้นมา เพราะฉะนั้น ศีลขอเสพบริโภคนี้ จะตองเนนใหมากในยุคปจจุบัน ถาเด็กไทยไดศีลแคกินอยูดูฟงเปนเทานั้นแหละสังคมไทยจะเขมแข็งและกาวไปไดไกล

ถาเด็กไทยกินอยู เสพบริโภค ดูฟงเปน ก็มีศีลอินทรีย-สังวร เขาจะปฏิบัติตอสิ่งแวดลอมอยางไดผล จะดูโทรทัศนเปนใชสื่อพวกอินเทอรเนตเปน เด็กไทยไดศีลเทานี้แหละ สังคมไทยก็เดินหนา เพราะรูจักบริโภคดวยปญญา และเพื่อปญญา แลววัฒนธรรมทางปญญาก็มาไดแน

จึงถามเด็กบอยๆ วา หนูดูทีวีเพื่อเสพกี่เปอรเซ็นต ดูทีวีเพื่อศึกษากี่เปอรเซ็นต

แคน้ีแหละ เด็กไมเคยคิด แตพอถาม ปบเดียวเด็กเขาใจเด็กประถมบอกวา หนูดูเพื่อเสพ ๙๙% ดูเพื่อศึกษาไมถึงหนึ่งเปอรเซ็นต

Page 165: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๕๙

ถามตอไปวาแลวหนูทํ าอยางนั้นถูกไหม เด็กบอกวาไมถูกถามวาเมื่อไมถูกแลวจะทํ าอยางไร เด็กบอกวาหนูจะตองแกไขอาว ถาอยางนั้น หนูลองคิดดูซิวาจะแกอยางไร

เด็กบอกวา ตอไปนี้หนูจะดูเพื่อเสพ ๕๐% ดูเพื่อศึกษา๕๐% บอกวามากไปๆ สังคมไทยเวลานี้ เขานิยมไปทางเสพมากตอนนี้ยอมใหหนูเสพมากๆ ก็ได

ตกลง หนูเสนอวา เอาเสพ ๗๐% ศึกษา ๓๐% บอกวาไมเปนไร เริ่มแคน้ีก็ได แลวก็คอยๆ แกไขปรับปรุงกันตอไป

สวนทีบ่างทานยงัอาจจะมขีอวติกวา การศกึษาทีเ่ตรยีมจะทํ าอยางนี ้มคีวามเปนไปไดหรอืไมน้ัน เรือ่งนีไ้มนากลวัเลย เพราะมันสอดคลองกับความเปนจริงของธรรมชาติ ชีวิตตองเปนอยางนี้น่ีคอืการศกึษาทีอ่ยูกบัชีวติความเปนจรงิ เพราะการกนิอยูดฟูง การสัมพันธกับสิ่งแวดลอมตางๆ การมีเจตจํ านง มีความรูสึก มีความดีความชั่วในจิตใจ มีสุขมีทุกข มีปญญาความรูเขาใจ ท้ังหมดนี้เปนเรื่องของชีวิตประจํ าวัน ทุกขณะ เปนแตเพียงวา เราปฏิบัติตอมันถูกตองหรือไม เอามันมาใชใหเปนประโยชนไดแคไหน

ขอพูดตอไปถึงความคิดอยางหนึ่งวา เพราะเหตุท่ีการศึกษาเปนเรื่องของชีวิตที่มีความเปนจริงอยางนี้ มันก็เริ่มตั้งแตเด็กเกิด ดังนั้น บุคคลผูใหการศึกษาที่สํ าคัญ ก็อยางที่พระพุทธศาสนาบอกแลววา พอแมเปนบูรพาจารย คือเปนครูตน ฉะนั้นการศึกษาจึงตองเริ่มตนที่บาน

ทีน้ีกม็านกึวาในแงน้ี ทํ าอยางไรจะใหโรงเรยีนชวยโยงการศึกษาไปถึงบาน โดยเปนตัวกลางที่กระตุนใหบานทํ าหนาที่ทางการศกึษาอนันี ้ถาท ําอนันีไ้ด คดิวาสงัคมไทยจะประสบความส ําเรจ็

Page 166: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๖๐

มาก คือ โรงเรียนจะตองไมจํ ากัดบทบาทอยูเฉพาะที่โรงเรียนโรงเรียนจะตองทํ าหนาที่เปนตัวกระตุน หรือจะเรียกวานํ า

หรืออะไรก็แลวแต ใหการศึกษาที่บานดํ าเนินไปดวย และชวยเปนพี่เลี้ยงของพอแมดวย ในเรื่องการจัดการศึกษาใหแกลูก

เมื่อใครมีลูก ก็ใหตระหนักในบทบาทของพอแมในฐานะเปนครูตน ท่ีพระเรียกวาเปนบูรพาจารย คือเปนอาจารยคนแรกแลวก็ชวยเด็กใหพัฒนาชีวิตไปอยางมีการศึกษา เชน กินอยูเปนดูเปน ฟงเปน ฯลฯ อยางที่พูดมาแลว

ถาโรงเรียนทํ าหนาที่น้ีได ไปประสานกับบาน จะเปนกาวใหญกาวหนึ่งของการศึกษา ซ่ึงเปนกาวที่นาจะเปนเนื้อแทดวยคิดวาอยางนั้น

เมือ่การศึกษาไดผล ในตัวคนก็มีใจราเริงเบิกบานและประสานกับคนอื่นโดยแผขยายความรักใครไมตรี

ขอเติมอีกนิด คือดานการพัฒนาจิตใจที่เปนเรื่องในกลุมสมาธน่ีินะ เรามกัจะไมคอยเนนกนั ในเรือ่งคณุสมบตัท่ีิคูกบัสมาธิ

สมาธิท่ีเราพูดนี่ เรียกเต็มวาจิตตสมาธิ เปนสมาธิของจิตคือ อาการที่จิตใจแนวแนมั่นคง อยูกับสิ่งที่ทํ า ไมวอกแวก ไมฟุงซานไป แตในการทีจิ่ตตสมาธจิะเกดินัน้ มนัมีธรรมสมาธิเปนตวัน ํา

ขอใหสงัเกต หลกัทีพ่ระพทุธเจาตรสัไวในเรือ่งนีส้ ําคญัมากเมือ่คนปฏบัิตติามหลกัพระพทุธศาสนา เจรญิไปในไตรสกิขา จะมีธรรมสมาธเิกดิขึน้ และเมือ่ธรรมสมาธเิกดิแลว กจ็ะเกดิจติตสมาธิ

ธรรมสมาธิ ก็คือ การประสานแนวของธรรม คือคุณสมบัติตางๆ ของจิตใจมั่นแนวลงสูสมาธิ ซ่ึงมี ๕ ประการ ถาเด็กหรือ

Page 167: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๖๑

ใครกต็ามมคีณุสมบตัเิหลานี ้ จะเปนสขุภาพจติทีด่อียางยิง่ จึงเปนคุณสมบัติท่ีควรสรางขึ้นใหได พระพุทธเจาทรงเนนไวบอย ไดแก

๑. ปราโมทย ความราเริงเบิกบานแจมใส ขอน้ีเปนคุณสมบัติพื้นฐานของจิตใจ คือสภาพจิตสามัญ เด็กจะตองเปนอยางน้ี คือมีปราโมทย เปนคนที่มีจิตใจราเริงเบิกบาน พระพุทธเจาตรัสวา ผูท่ีมากดวยปราโมทย จักทํ าทุกขใหหมดสิ้น คือจะบรรลุนิพพาน ใครมีปราโมทยอยูเสมอ ก็เรียกไดวาอยูใกลนิพพาน

๒. ปติ ความอิ่มใจ ปลาบปลื้มใจ ถาเราทํ าอะไรดวยใจรักพอทํ าไดกาวไป คืบหนาไป ก็จะมีปติ อิ่มใจ ปลื้มใจ

แมแตกวาดบาน ถาเราทํ าดวยใจรัก อยากใหมันสะอาดพอกวาดไป ไดเห็นความสะอาดเพิ่มข้ึนๆ ทีละนอย ก็ปติ อิ่มใจปลื้มใจ ไปเรื่อยเลย เราจะไมทํ างานดวยความเครียด จะไมทํ างานดวยความเหนื่อยหนาย ทอแท แตจะมีกํ าลังใจ ทํ าดวยความสุข ทํ าอะไรก็ปติ อิ่มใจไดเรื่อย จึงมีสุขภาพจิตดี

๓. ปสสัทธิ ความสงบเย็นผอนคลาย เปนคุณสมบัติท่ีคูตรงขามกับสภาพจิตของคนปจจุบัน คือความเครียด อันนี้ผอนคลาย พอมีปราโมทย มีปติ แลวปสสัทธิก็มา ก็ผอนคลายสบาย

๔. สุข ความฉํ่ าชื่นรื่นใจ คลองใจ ไมมีอะไรบีบคั้น๕. สมาธิ ความมีใจมั่นแนว คือใจอยูกับสิ่งที่ทํ า แนวแน

ไมฟุงซาน ไมวอกแวก มั่นคงยิ่งถามีปญญามาชวยโดยมองเห็นเหตุผล เห็นคุณคา

เห็นประโยชนของสิ่งที่ทํ า ก็จะยิ่งมั่นใจใหญ สมาธิจะยิ่งแนว แลวสมาธิน้ีก็จะมาทํ าใหพฤติกรรมหนักแนนมั่นคงไดผลดียิ่งขึ้น

ท่ีเราพูดกันวา การพัฒนาดาน emotion คือ emotional

Page 168: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๖๒

development น้ัน ก็น่ีแหละจะเห็น emotion ดีๆ ท่ีสํ าคัญ โดยเฉพาะปติ ปราโมทย และสวนนี้เปนการพัฒนาจิตใจดานภายในเปนสภาพจิตที่ตองการ หรือเปน emotion ท่ีพึงประสงค

พรอมกันนั้น คูกับ emotion ดีๆ ฝายภายใน ก็คือemotion หรือสภาพจิตดีๆ ฝายที่แผออกไปภายนอก โดยเฉพาะชุดพรหมวิหาร เริ่มดวยเมตตากรุณา

ขางในก็มีใจราเริงเบิกบานแจมใส ขางนอกก็อยูกับคนอื่นดวยความรูสึกรักใครมีไมตรี

สองดาน สองชุดนี้เปน emotion หรือสภาพจิตที่พึงประสงคอยางแทจริง ท่ีควรจะพัฒนาใหเกิดขึ้น เรียกวาเปนemotional development คือการพัฒนาดานจิตใจ หรือจิตต-ภาวนา ซ่ึงจะประสานรวมเปนธรรมสมาธิ และเกิดจิตตสมาธิ

จึงตองตัง้จดุหมายใหเดก็มปีราโมทย ปต ิปสสทัธิ สขุ สมาธิเปนคุณสมบัติประจํ าใจ พระพุทธเจาทรงเนนอยูเรื่อย ถาเรากาวหนาไปในหลักปฏิบัติของพระองค ก็จะมีภาวะจิตที่ดี ๕ อยางนี้

น่ีคือสภาพจิตที่พึงประสงคขางใน ๕ ประการ เอาไปประสานกบัสภาพจติทีพ่งึประสงคดานแผออกขางนอก คอื เมตตาไมตรีเปนตน อกี ๔ กจ็ะเปน emotional development อยางยอดเยีย่ม ถาไดอยางนีก้จ็ะไมตองมาหวงเรือ่ง EQ กนัใหวุนวายไป

สภาพจติ ๒ ดาน ๒ ชุดนี ้จํ าเปนหลกัไวไดเลย ยํ ้าอกีทีชุดที ่๑ เจรญิขึน้ขางใน ๕ อยาง คอื ปราโมทย ปติ ปสสทัธิ

สขุ สมาธิชุดที ่ ๒ แผออกไปขางนอก ๔ อยาง คอื เมตตา กรณุา

มุทติา อเุบกขา

Page 169: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๖๓

สองชดุนี ้เปน positive emotions ระดบัแกนของจริยธรรมและทัง้สองชดุสามารถเปนปจจัยเกือ้หนนุกนั ประสานไปดวยกนั

ถามีฉนัทะ กเ็ปนจดุเริม่ใหกาวไปทัง้สองดาน ใหไดท้ังสองชดุฉันทะ เปนธรรมหรือคุณสมบัติท่ีสํ าคัญยวดยิ่ง ควรเอามา

พูดกันใหมาก ในที่น้ีก็จะพูดไวสักหนอย

พทุธศาสนา คือคํ าสอนวาดวยการพัฒนาความสุขการศกึษา คือการพัฒนาความสุข

ขอเติมอีกนิดเดียว คือ เรื่องความสุข อันนี้เปนเรื่องใหญเรามักลืมมองแงหรือดานนี้ของพระพุทธศาสนา ถาเปดดูพระไตรปฎกและสังเกตใหดีจะเห็นวา ความสุขเปนเรื่องใหญท่ีพระพุทธเจาตรัสไวมาก เชนที่พูดไปแลววา ผูปฏิบัติในพระพุทธศาสนาจะเจริญกาวหนาในความสุข ซ่ึงกลาวไวในชุดคุณสมบัติ ๕ อยางคือ ปราโมทย ปติ ปสสัทธิ สุข สมาธิ

พระพุทธเจาตรัสวา ผูใดเห็นนิพพานเปนทุกข ผูน้ันไมมีทางจะไดบรรลุนิพพาน ผูใดมองเห็นนิพพานวาเปนสุข ก็มีทางที่จะบรรลุได ทานผูบรรลุธรรมเปนพระอรหันต มีความสุขอยางยิ่งอยางที่บางทานอุทานอยูเสมอวา “สุขจริงหนอๆ” พระพุทธเจาเองก็ทรงยืนยันพระองควาทรงเปนสุข

มีผูถามเทียบวา พระองคเที่ยวจาริกไป ไมมีท่ีอยูท่ีสบายเดินทางไปโปรดคน เขาลักษณะที่วานอนกลางดิน กินกลางทรายอยางนี้จะมีความสุขอะไร

พระพุทธเจาก็ตรัสถามวา แลวคุณวาใครมีความสุข เขาคงนึกไมออก ไมรูวาจะเอาใครดี ก็เลยนึกถึงพระเจาแผนดิน

Page 170: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๖๔

แควนนั้น ซ่ึงมีทุกอยาง บอกวาพระเจาพิมพิสารเปนสุขที่สุด พระพุทธเจาก็ตรัสถามวา พระเจาพิมพิสารจะประทับน่ังเสวยสุขทั้งวันไดไหม เขาคิดไปคิดมาบอกวาทํ าไมได

พระพุทธเจาตรัสวา เราสุขตลอดเวลาเลย จะไมดู ไมฟงน่ังเฉยๆ ใหเปนสุขตลอดทั้งวันก็ได

พระพทุธศาสนาเนนมากในเรือ่งความสขุ จนกระทัง่วา พดูในแงหนึง่ พระพทุธศาสนากค็อืหลกัค ําสอนวาดวย การพฒันาความสขุ

คนทัว่ไป เมือ่พดูถงึความสขุ มกันกึไดแคความสขุจากการเสพบริโภค ท่ีเปนสุขอยางหยาบของปุถุชน แตถาคนมีการพัฒนาเริ่มเขาสูการศึกษา เขาจะมีความสุขเพิ่มข้ึน เริ่มดวยความสุขจากการกระทํ า ความสุขขอน้ีสํ าคัญมาก สํ าหรับเด็กไทยตองทํ าใหได

เด็กไทยตองไมใชเปนเพียงแคนักบริโภค แตตองเปนนักผลิต และเปนนักสรางสรรค ทีน้ี ในการที่จะกาวไปสูข้ันเปนนักสรางสรรคน้ัน เขาจะตองมีความสุขจากการกระทํ าดวย

แตเวลานี้เด็กไทยกํ าลังขาดความสุขขั้นนี้อยางหนัก เด็กไทยทั่วไปไมมีความสุขจากการกระทํ า ไดแคหาความสุขจากการเสพบริโภค และถึงกับเห็นการกระทํ าเปนเรื่องทุกข ถาอยางนี้ก็ใกลอวสาน สังคมไทยจะไปไมรอด

การศึกษาจะตองชวยเด็กไทย ใหพัฒนาถึงขั้นมีความสุขจากการกระทํ าใหได

พอเด็กมีปญญา รูเขาใจ มองเห็นคุณคาของสิ่งที่ดีงามสมบูรณ ฉันทะ คือความชื่นชมอยากเห็นสิ่งนั้นๆ มันดี ก็เกิดขึ้น

ขอแทรกหนอยวา เดี๋ยวนี้คนไทยมีความเขาใจคลาดเคลื่อน และแคบมาก เวลาพูดถึงความอยาก ก็จะมองเหมาไป

Page 171: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๖๕

เลยวาความอยากไมดีท่ีจริงในทางธรรมทานแยกไวชัดวา ความอยากมี ๒

อยาง คือ ความอยากที่เปนกุศล กับ ความอยากที่เปนอกุศลอยางเราไปเห็นกระรอก ถาคิดอยากขึ้นมาในแบบที่วา

ทํ าอยางไรจะไดกระรอกตัวนี้มาลงหมอแกง จะไดกินใหอรอยอยางนี้เรียกวาเปนความอยากแบบอกุศล เปนพวกตัณหา

แตถาเห็นกระรอกแลว ช่ืนชมในความงามความนารักของมัน ดูมันวิ่งไปวิ่งมา มันทํ าทาอยางนั้นอยางนี้ นาดู แลวก็อยูในธรรมชาติแวดลอมท่ีร่ืนรมย ความชื่นชมตอสภาพที่ดีอยางนี้แลวอยากใหมันมีสุขภาพดีสวยงามอยางนั้นตอไป ความอยากอยางนี้ไมเกี่ยวกับตัวเราที่จะไดจะเอา ความอยากตอสิ่งนั้น ช่ืนชมอยากใหมันดีงามสุขสมบูรณอยางนี้แหละ เรียกวา ฉันทะ

ความอยากที่เรียกวา ฉันทะ ตัวนี้มาเมื่อไร พระพุทธเจาตรัสวาเปนรุงอรุณของการศึกษา เปนความอยากที่ถูกตอง

แตถาเห็นอะไร มีแตอยากจะเสพ อยางนี้ไปไมรอด เพราะความสุขทุกขจะเวียนวนขึ้นอยูกับความชอบใจ-ไมชอบใจเทานั้น

ในทางตรงขาม พออยาก ชอบ ช่ืนชมในสิ่งที่ดี หรืออยากใหมันดีตอไป หรือดียิ่งขึ้น อยางนี้แหละ ฉันทะมาแลว เปนความอยากตอสิ่งนั้นๆ โดยไมเกี่ยวกับตัวตน ไมใชอยากจะไดอยากจะเอา น่ีคือเขาสูทางของการศึกษา

พอไปเห็นหญาเรียบ เขียวขจี สวยงาม ก็ช่ืนชม อยากใหมันเรียบรอยงดงามดีอยางนั้นตอไป พอความชื่นชมอยากอยางน้ันมาแลว ถามันรก มีอะไรเกะกะ ก็อยากจะรีบไปหยิบเอาไปทิ้ง อยากจะจัดใหเรียบรอย อยางนี้แหละเรียกวาฉันทะเกิด คืออยาก

Page 172: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๖๖

ทํ าใหมันดี อยากทํ าใหมันสมบูรณเห็นตนไม สวยงาม เขียว รมร่ืน ใบดก ดอกก็สวย เกิด

ความชื่นชม มีฉันทะ อยากใหมันเปนของมันอยางนั้น แตหันไปเห็นตนไมอีกตนหนึ่งเหี่ยว เฉา รวงโรย ก็อยากทํ าใหมันดี คือใหมันสวยงามสมบูรณข้ึนมา ก็เลยตองรีบไปรดนํ้ ามัน ไปแตงมันอยางนี้ฉันทะมา มีแตดี ทํ าใหสรางสรรค แลวก็สุขจากการสรางสรรคน้ัน

เด็กที่มีฉันทะอยางนี้จึงอยากทํ า ตรงกับท่ีทานแปลฉันทะวาอยากทํ า เพราะชื่นชมที่มันดี อยากใหมันดีของมัน ถามันไมอยูในภาวะที่ดี ก็อยากทํ าใหมันดี แลวเมื่ออยากทํ าใหมันดี ก็ไปทํ าใหมันดี พอทํ าใหมันดี ก็สนองความตองการของตัวเอง แลวก็มีความสุขจากการกระทํ า(ใหมันดี)น้ัน

ฉะนั้น คนไหนมีฉันทะ ก็จะมีความสุขจากการกระทํ าทันที ถาเด็กไทยมีฉันทะนี้ ก็จะกาวหนาในการสรางสรรคอยางแนนอน ไมมีปญหาเลย น่ีจึงเปนรุงอรุณของการศึกษา

ถาคนไทยยังเขาใจและเขาสูฉันทะไมได ก็อยาหวังเลยวาจะมีการศึกษาที่กาวหนานํ าใครได

พระพุทธเจาตรัสวา เมื่ออาทิตยจะอุทัย มีแสงเงินแสงทอง เปนบุพนิมิตมากอน ฉันใด เมื่อภิกษุจะกาวไปในมรรคมีองค๘ ประการ ก็มีฉันทะ เปนบุพนิมิตมากอน ฉันนั้น

ขอใหจํ ากันไวใหแมนทีเดียววา พระคุณสมบัติของพระพุทธเจาอยางหนึ่งใน ๑๘ ประการ ท่ีเรียกวา พุทธธรรม ๑๘ คือพระพุทธเจาทรงมีฉันทะไมลดถอยเลย (นตฺถิ ฉนฺทสฺส หานิ) จึงทรงเพียรพยายามเที่ยวจาริกไปโปรดผูคนมากมาย เพื่อชวยใหเขา

Page 173: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๖๗

พนทุกข เปนคนดี มีความสุข อยางไมทรงเห็นแกความเหน็ดเหนื่อยยากลํ าบาก และก็ทรงมีความสุขในการทรงบํ าเพ็ญฉันทะดวยกํ าลังแหงมหากรุณานั้น

เมื่อเปนชาวพุทธ ถานึกหลักพุทธศาสนาขอไหนๆ ก็ไมออก ยังไมคอยรูเขาใจอะไร ก็ปฏิบัติตัวตามอยางพระพุทธเจาในหลักแหงความมีฉันทะนี้ ก็นับวาเปนชาวพุทธได

ตองเนนเรื่องสรางฉันทะใหได ถาฉันทะไมมา คิดวาไมไหวแลว การแกปญหาสังคม เรื่องอบายมุข และเรื่องเลวรายอะไรตออะไร จะหนักหนาใหสังคมไปไมรอด เพราะตอนนี้เอาแตหาความสุขจากการเสพบริโภคกันหมด คนที่มีความสุขจากการกระทํ าแทบไมมี

เมื่อใดเด็กมีความสุขจากการทํ าแลว เขาก็จะมีความสุขจากการหาความรูดวย เปนเรื่องตามมาเอง เพราะเปนธรรมดาวาคนที่จะทํ าอะไรใหไดผลน้ัน การทํ าใหสํ าเร็จยอมเรียกรองการหาความรู พออยากใหสิ่งนั้นๆ มันดี ก็ตองคิดตองหาทางวา ทํ าอยางไรจะใหมันดี ตนไมตนนี้เฉา จะทํ าใหมันงามเหมือนตนนั้นไดอยางไร ก็ตองไปหาความรู เดี๋ยวก็ไปสอบถามคนหาความรูแลวก็มาทํ า แลวทั้งหาความรู ท้ังทํ า ก็จะเปนความสุขไปหมด

เมื่อใดคนหาความสุขจากการเรียนรูและจากการทํ า เขาจะพัฒนาตลอดเวลา และจะเขมแข็งดวย

ท้ังนี้ รวมทั้งฉันทะของผูท่ีจะจัดการศึกษาแนวพุทธ หรือดํ าเนินการโรงเรียนแนวพุทธดวย ฉันทะตัวนี้จะเกิดไดจากการรูเขาใจจริง ถารูเขาใจชัดเจนวามันเปนความจริงอยางนั้น มันมีคุณคาเปนประโยชนแท อยางนี้ละก็ ฉันทะมาได

Page 174: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๖๘

แลวก็ไปบวกกับเมตตาความรักความปรารถนาดีตอเด็กๆ ตอนักเรียน ตอสังคมไทย ถานํ้ าใจอยางนี้เกิดขึ้น น่ีละคือฉันทะท่ีพรอมจะผลกัดนัใหการศกึษาไทยสมัฤทธิผ์ลสมหมายอยางแนนอน

หลังจากนี้คอยคุณกันอีกก็ไดในเรื่องการพัฒนาความสุข เพราะความสุขมีวิธีพัฒนาเยอะ แตเวลานี้คนมองความสุขในมิติเดียว จากการเสพ ก็เลยตัน ก็จบกัน

ตอจากความสุขในการเสพ ก็กาวไปสูความสุขจากการทํ า ความสุขจากการหาความรู ความสุขจากการให และการทํ าใหคนอื่นเปนสุข น่ีเปนตัวอยางของความสุขในขั้นตางๆ ซ่ึงเปนท้ังการพัฒนากาวหนาของชีวิตตนเองที่มีความสุขขยายขอบเขตออกไป มีมิติมากขึ้น พรอมกับเปนการเกื้อหนุนสังคมไปดวยเพราะความสุขที่พัฒนาเหลานี้ ไมมีพิษมีภัยเลย มีแตเปนประโยชนอยางเดียว

คนบางคนมีความสุขในการทํ าใหผูอื่นเปนสุข เชนอยางพระโพธิสัตว เมื่อทํ าใหผูอื่นเปนสุขไดตนเองจึงจะชื่นใจ มีความสุข ท้ังนี้ก็เพราะอยากใหเขาเปนสุข

ตัวอยางในชีวิตจริงที่เห็นงายๆ ก็เริ่มจากพอแม พอแมเปนสุขเมื่อเห็นลูกเปนสุข พอแมอยากใหลูกเปนสุข แลวก็อยากทํ าใหลูกเปนสุข เมื่อทํ าใหลูกเปนสุขแลว ตัวเองก็เปนสุขดวย

ทํ าอยางไรเราจะใหมีความสุขอยางนี้ข้ึนมา แลวก็ความสุขในการอยูกับธรรมชาติ ตลอดไปถึงความสุขจากการเห็นความจริงของธรรมชาติ โลก ชีวิต ความสุขอะไรตางๆ เหลานี้ มีเยอะเหลือเกิน ลวนแตมีจุดเริ่มจากฉันทะ และเปนความสุขที่จะตองพัฒนาขึ้นมา จึงมาถึงหลักที่วา การพัฒนาความสุข ก็คือการศึกษา

Page 175: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ภาคผนวก

ขอเสนอแนะ∗สํ าหรับ

หนวยการเรียนรูพระพุทธศาสนา

แมวาการจดัท ําหนวยการเรยีนรูนีจ้ะถงึขัน้ใกลเสร็จส้ิน คงจะยากตอการจดัปรับแทรกเสรมิ แตถายงัมชีองทาง ขอเสนอแนะขอคิดบางอยางไวสุดแตจะพิจารณาเห็นสมควร๑. ความสัมพันธระหวางเนื้อหากับจุดหมาย โดยเฉพาะควรเนนจุด

หมายวา ตองการใหเด็กเปนคนที่มีคุณภาพอยางไรบาง และจดัท ําเนือ้หาสาระใหสนองจดุหมายนัน้ (ไมเผลอมองแตในแงวาจะใหเดก็เรยีนและรูอะไรบาง แตใหชัดวาตองการคุณภาพอะไร)

๒. นาจะมีจุดเนนเจาะจงสิ่งที่มุงมั่นวาจะตองทํ าใหได คือในบรรดาเนือ้หาสาระดีๆ ที่สรรมาใหเรียนรูนัน้ อาจจะมกีารเจาะจงจ ําเพาะบางอยางวา ส่ิงนีข้อนีจ้ะตองใหรูเขาใจ และหรอืท ําใหได

∗ บันทึกที่พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ไดเขียนข้ึน ในโอกาสที่คณะอนุกรรมการจัดทํ ารายละเอียดสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ฝากขอคํ าปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทํ ารายละเอียดสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนาในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เม่ือวัน ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๕

Page 176: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๗๐

๓. การเรยีนการสอนจะตองมั่นใจวาใหผูเรียนเกิดมีฉันทะทีจ่ะนํ าไปประพฤติปฏิบัติหรือใชประโยชนและศึกษายิ่งขึ้นไป โดยมองเหน็ความจริงและซาบซึ้งในคุณคา พรอมทั้งเกิดมีจิตสํ านึกตอสวนรวม เกิดความใฝปรารถนาจะรวมแกปญหาและสรางสรรคพฒันาสังคม

๔. ความสัมพันธระหวางหลักการที่เปนมาตรฐานกลาง กับการประยุกตเขากับกาลเทศะ คือ ยดึหลักการที่เปนมาตรฐานกลางของพระพทุธศาสนาไวใหไดแลว ก็มีชองทางหรือแนวทางที่จะใหชมุชนหรือทองถิ่น มีโอกาสนํ าหลักการกลางนั้นไปทํ าความเขาใจและปรับใชกับชุมชนหรือทองถิ่นของตน เชนหาความรูเกี่ยวกับวัด ปูชนยีวตัถ ุ บุคคล ตํ านาน เร่ืองราวในชุมชน/ทองถิน่/จงัหวดั เปนตนของตน ซึ่งเปนเหมือนสวนขยายหรือดานประยกุตของหลักการกลางนั้นๆ และเนนการเรียนรูใหเห็นวาเร่ืองราวเหตุการณของชุมชนหรือทองถิ่นอันนั้นๆ เปนไปตามหลกัการ ชวยนํ าหลักการออกสูการปฏิบัติ หรือเชิดชูหลักการอยางไร

๕. ความสมดุลระหวางการรูจดรูจํ า กับการรูคิดรูทํ า ไมควรไปสุดโตงขางเดียว แบบเอาแตจํ าเปนนกแกวนกขุนทอง หรือแบบมแีตความคิดเห็นที่เลื่อนลอยโดยไมมีฐานขอมูล ตองใหสองดานนัน้เกื้อหนุนกันและไดประโยชนจากกันและกัน

๖. การบูรณาการวิชาพุทธศาสนา จะเปนจริง ตองถึงขั้นบูรณาการพระพทุธศาสนา และการบูรณาการพระพุทธศาสนานั้น หมายถึงบูรณาการเขาไปในชีวิตหรือการดํ าเนินชีวิตที่เปนอยูจริง ซึ่งควรเนนวิธีการสํ าคัญ ๓ อยาง คือ

Page 177: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๗๑

ก) บูรณาการในการเรียนการสอน ดวยการเรียนการสอนที่ถึงข้ันใหเขาใจมองเห็นธรรมวาเปนความจริง ที่มีอยูตามธรรมดาในธรรมชาติ เชน ความเปนไปตามเหตุปจจัยของส่ิงทัง้หลาย ซึ่งทุกคนจะตองรูเขาใจ และปฏิบัติใหถูกตองจงึจะเปนอยูดีได เมื่อเขาใจธรรมตามความหมายที่แทอยางนีแ้ลว ก็พูดไดวาธรรมในธรรมชาติจะเรียกรองเอง ใหคนเรียกหาธรรมที่จะตองปฏิบัติในชีวิต แลวการสอนพุทธศาสนากจ็ะเปนการสนองความตองการของชีวิตของผูเรียน

ข) บูรณาการในวิถีชีวิต ดวยการสรางระบบวิถีชีวิตที่ดีงาม ที่เรียกวาวถิชีวีิตแบบพุทธ หรือวินัยของคฤหัสถ หรือวินัยชาวพทุธขึน้มา เมื่อมีวิถีชีวิตที่สอดคลองรองรับแลว หลักธรรมคํ าสอนตางๆ ก็สามารถเขาไปกลมกลืนในวิถีชีวิตนั้นได

ค) บูรณาการไตรสิกขาเขาในชีวิตประจํ าวัน หรือ ทํ าชีวิตใหเปนการศึกษา ดวยการดํ าเนินชีวิตตามปกติธรรมดาทัง้ ๓ดานใหมีการพัฒนาครบไตรสิกขา เมื่อจะทํ ากิจกรรมใดๆ ก็ตาม ทุกครั้ง ใหมีการเตรียมและตรวจสอบวามีสิกขา ๓ดาน ครบหรือไม คือ๑)ดานพฤติกรรมกาย-วาจา และการใชอินทรีย วากิจ

กรรมที่จะทํ าหรือไดทํ านั้นไมเปนไปเพื่อการเบียดเบียนกอความเสียหาย แตเปนไปในทางเกื้อกูลสรางสรรค ศีล

๒)ดานจิตใจ วาท ํากิจกรรมนั้นโดยมีแรงจูงใจที่ดี ไมทํ าดวยโลภ โกรธ หลง แตมีเมตตากรุณา ไมออนแอ ระยอทอแท แตแกลวกลาเขมแข็ง มีฉันทะ ไมทุกขเศราขุนมัวเศราหมอง แตผองใสเบิกบานมีความสุข จิต

Page 178: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๗๒

๓)ดานปญญา วาท ํากจิกรรมนั้นๆ ดวยความรูความเขาใจมองเหน็เหตุผล รูจักคาดหมายผลดีผลเสียที่จะเกิดสืบเนือ่งตอไป พรอมทัง้แนวทางแกไขปรับปรุง ปญญา

๗. การนั่งสมาธินั้น สํ าหรับเด็กนาจะใหนํ าดวยการสวดมนต หรือเนนการสวดมนต อยางนอยใหสมดุลกับการสวดมนต เพราะเด็กยังตองการเคลื่อนไหวมาก การสวดมนตเปนการนํ าสมาธิอยางหนึ่ง โดยเอาการเคลื่อนไหวทางวาจามาชวยใหเกิดความสงบนิ่งทางกาย และความสงบเย็นเขมแข็งแนวแนทางจิตใจพรอมทั้งสามารถโยงไปสูปญญาดวย

อนึ่ง บทสวดมนตนั้นสามารถจัดใหเหมาะกับวัยและยุคสมัย เชนเลือกบทสวดมนตที่มีเนื้อหาความหมายเหมาะกับเด็กยุคปจจุบัน และใหส้ันลงตามขอบเขตเวลาเทาที่มีหรือเทาที่เหมาะ เชน อาจยาวหนอยอยางมงคลสูตร หรือส้ันๆ พรอมทั้งคํ าแปล ดังตัวอยางนะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)

อาโรคยะมิจเฉ ปะระมัญจะ ลาภังสลีัญจะ พุทธานุมะตัง สุตัญจะธัมมานุวัตตี จะ อะลีนะตา จะอัตถัสสะ ทวารา ปะมุขา ฉะเฬเต-ติ

(แปล) มาเถดินะ รักษาสุขภาพดี ที่เปนลาภอันประเสริฐมวีนิยั ใฝคนดีเลิศเปนแบบอยางต้ังใจเรียนใหรูเชี่ยวชาญ ประพฤติการอันถูกตองดีงาม

Page 179: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

สู การศึกษาแนวพุทธ ๑๗๓

มคีวามเพียรขยันหมั่นเรื่อยไปไมระยอหกขอจํ าไว เปนประตูชัยสูความเจริญงอกงาม

อาจจะสวดบทสั้นๆ อยางนี้ และจัดเตรียมไวหลายบทเพื่อเปลีย่นไปเปนบทสวดประจํ าสํ าหรับแตละวัน

นอกจากนัน้ ใหการสวดมนตโยงไปสูกิจกรรมการเรียนอยางอ่ืนไดดวย เชน สวดมนตจบแลว แตละครั้งครูยกเอาเนื้อหาจุดหนึง่แงหนึง่ในบทสวดที่แปลนั้นมาคุยกับเด็ก อธิบาย ชักชวนเลานทิานประกอบ เปนตน จบกิจกรรมแลว จึงนั่งสมาธิปดทายไมตองนานนัก

พรอมกนันัน้ ควรใหการสวดมนตนี้ประสานกับวิถีชีวิตในครอบครวัหรือที่บานดวย โดยจัดบทสวดมนตนั้นใหพอแมมีไวดวย และใหพอแมนํ าเด็กสวดประจํ าวัน บางทีถาทางฝายโรงเรียนมเีวลาจ ํากัด อาจใหทางพอแมทํ าบทบาทคุย อธิบายเนื้อหา เลานทิาน เชนชาดกประกอบบทสวดมนตนั้นแกเด็กที่บานหรือท ําคูเคียงกันไปทั้งสองแหง ทั้งที่บานและโรงเรียน

๘. การสังเกตพัฒนาการของเด็ก แทนที่จะใชระบบพุทธิพิสัย –ทักษะพิสัย – จิตพิสัย ถาใชระบบ ศีล – สมาธิ – ปญญา นาจะกวางขวางครอบคลุมกวา และตรงกวา เพราะเทากับดูตามดานที่ฝก คือ

- ศีล: พฤติกรรมดีงามทั้งกาย-วาจา และอินทรียท้ัง ๖ เคยชินแคลวคลอง อยูตัว เปนวินัย เขาสูวิถีชีวิต

- สมาธิ: จิตใจมีคุณธรรม มีประสิทธิภาพ และมีความสุข

Page 180: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๗๔

- ปญญา: ความรูคิด เขาใจ การมองเห็นความจริง เทาทัน ท้ังระบบความสัมพันธ ถึงเหตุถึงผล เชื่อมโยงประยุกตใชสรางความรูใหมได

อาจขยายตามระบบ ภาวนา ๔ คือ กายภาวนา – ศีลภาวนา –จิตตภาวนา – ปญญาภาวนา ก็ได๙. อาจจะเสริมการประเมินผลอีกระดับหนึ่ง โดยดูอัตราการ

พัฒนาวุฒิภาวะทางธรรมจริยา ตามหลักอริยวัฒิ ๕ คือ๑) ศรัทธา วามีความเชื่อที่ไมงมงาย มีเหตุผล ประกอบดวย

ปญญา ซึ่งไมเบียดเบียนชีวิตและสังคม๒) ศีล วามีความประพฤติและวิถีชีวิตไมเบียดเบียน แต

เกื้อกูล มีวินัย เอื้อตอวัฒนธรรม๓) สุตะ วามีความรูขาวสารขอมูล ทันตอเหตุการณสถาน

การณ และมีความรูเหมาะพอแกการดํ าเนินชีวิตกิจการของตน

๔) จาคะ วามีจิตใจกวางขวาง ไมคับแคบเห็นแกตัว รูจักสละให บํ าเพ็ญประโยชน

๕) ปญญา วารูคิดเขาใจ ทํ าการตางๆ ดวยปญญา รูจักแยกแยะดี-ชั่ว คุณ-โทษ ประโยชน-มิใชประโยชน มองส่ิงทั้งหลายตามความเปนจริง หยั่งถึงเหตุปจจัยและความสัมพันธระหวางสิ่งทั้งหลาย

พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๕

Page 181: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
Page 182: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน∗

พระนามอยางหนึ่งของพระพุทธเจา ท่ีปราชญไดขนานถวายและพุทธศาสนิกชนนิยมกลาวเรียกเสมอ คือคํ าวา พระบรมศาสดา หรือ พระบรมครู ซ่ึงแปลวา พระศาสดาผูยอดเยี่ยม หรือ ผูเปนยอดของครู

ในภาษาบาลีก็มีบทพุทธคุณถวายพระเกียรติวา สตฺถาเทวมนุสฺสานํ แปลวา พระศาสดาของทวยเทพและมนุษยท้ังหลายและมีคํ าเสริมพระคุณวา อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ แปลวา เปนสารถีฝกคนไดไมมีใครยิ่งกวา

พระนามเหลานี้ แสดงความหมายอยูในตัววา ปราชญและพุทธศาสนิกชนทั้งหลายเคารพบูชาและยกยองเทอดทูนพระองค ในฐานะทรงเปนนกัการสอนทีย่ิง่ใหญท่ีสดุ ทรงมพีระปรชีาสามารถอยางยอดเยี่ยมในการอบรมสัง่สอน และไดทรงประสบความส ําเรจ็ในงานนีเ้ปนอยางดี

ความยิ่งใหญและพระปรีชาสามารถของพระพุทธเจาในดานการสอนนั้น ถาจะพูดใหเห็นดวยอาศัยประจักษพยานภายนอกก็ ∗ บรรยายสรปุ ณ วทิยาลยัครธูนบรีุ เมือ่ ๑ ตลุาคม ๒๕๑๓ ครัง้ด ํารงสมณศกัดิท์ีพ่ระศรวีสิทุธโิมลีหมายเหตุ: เขียนในเวลากระชั้นชิด การศึกษาความหมายและตีความหลักธรรมบางขอตอง

กระท ําในเวลาเรงรัดเกินไป จึงขอใหถือเปนเพียงขั้นริเริ่ม เผื่อถามีโอกาสก็จะไดทํ าใหชัดเจนถองแทตอไป หลักบางขอยังหาตัวอยางประกอบไวนอยและบางตัวอยางเพยีงอางไว ยังมิไดคนหลักฐานนํ ามาแสดงใหเต็มที่

Page 183: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๗๘

เปนเรื่องไมยาก เพราะเพียงพิจารณาเผินๆ จากเหตุผลงายๆ ตอไปน้ี ก็จะนึกไดทันที คือ:-

๑ . พระพุทธเจาเสด็จอุบัติในยุคที่ชมพูทวีปเปนถิ่นนักปราชญ เต็มไปดวยศาสดาจารยเจาลัทธิตางๆ เปนอันมาก แตละทานลวนมีช่ือเสียงและมีความสามารถ ผูท่ีมาเผชิญพระองคน้ัน มีท้ังมาดีและมาราย มีท้ังที่แสวงหาความรู มาลองภูมิ และที่ตองการมาขมมาปราบ แตพระองคสามารถประสบชัยชนะในการสอน จนมีพระนามนํ าเดนมาถึงปจจุบัน

๒. คํ าสอนของพระองค ขัดแยงกับคํ าสอนในศาสนาเดิมและแยงกับความเชื่อถือความประพฤติปฏิบัติท่ีแพรหลายอยูในสังคมสมัยนั้น เชน การทํ าลายความเชื่อถือเรื่องวรรณะ เปนตน ทรงจัดตั้งระบบคํ าสอนและความเชื่อถืออยางใหมใหแกสังคม การกระทํ าเชนนี้ใหเปนที่ยอมรับอยางกวางขวาง ยอมเปนงานยากอยางยิ่ง

๓. ขอบเขตงานสอนของพระองคกวางขวางมาก ท้ังโดยเทศะและระดับชนในสังคม ตองเสด็จไปสั่งสอนในหลายถิ่นแควน พบคนทุกชั้นในสังคม ซ่ึงมีระดับความเปนอยู ความเชื่อถือ การศึกษาอบรม นิสัยใจคอ และสติปญญาแตกตางกัน ทุกแบบทุกชนิด ทรงสามารถสอนคนเหลานั้นใหเขาใจได และยอมเปนศิษยของพระองค นับแตพระมหากษัตริยลงมาทีเดียว

Page 184: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๗๙

๔. พระพุทธศาสนาที่เจริญมาไดตลอดเวลานับพันๆ ปแพรหลายเปนที่นับถืออยูในประเทศตางๆ และคณะสงฆผูสืบตอพระศาสนา ซ่ึงเปนสถาบันใหญและสํ าคัญในสังคมดังที่ปรากฏอยูในปจจุบัน เปนผลงานยิ่งใหญของพระองค ยืนยันถึงพระปรีชาสามารถอยางประจักษชัดโดยไมตองอธิบาย

ในเมื่อประจักษพยานภายนอกแสดงใหเห็นแลวเชนนี้ ยอมชวนใหพิจารณาสืบคนตอไปถึงเนื้อธรรมคํ าสอน หลักการสอนและวิธีการสอนของพระองควาเปนอยางไร ยิ่งใหญและประเสริฐสมจริงเพียงใด

เนื้อพระธรรมคํ าสอน หลักการสอน และวิธีการสอนของพระพุทธองคน้ัน ปรากฏอยูแลวในพระไตรปฎก และคัมภีรอธิบายมีอรรถกถาเปนตนแลว แตคัมภีรเหลานั้นมีเนื้อหามากมาย มีขนาดใหญโต๑ เกินกวาจะสํ ารวจเนื้อหา รวบรวมความ นํ ามาสรุปแสดงใหครอบคลุมท้ังหมดในเวลาอันสั้น ในที่น้ีจึงขอนํ ามาแสดงเพียงใหเห็นรูปลักษณะทั่วไปเทานั้น.

๑. ปรัชญาพื้นฐานกอนจะพูดถึงหลักการสอนและวิธีสอน สมควรกลาวถึง

ปรัชญาที่เปนพื้นฐานเสียกอน เพราะหลักการสอนยอมดํ าเนินไป ๑ พระไตรปฎกบาลีอักษรไทย จํ านวน ๒๒,๓๗๙ หนา อรรถกถาและคัมภีรเฉพาะที่พิมพเปนเลมแลว ๒๘,๓๑๘ หนา

Page 185: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๘๐

จากจุดเริ่ม ตามแนวทาง และสูจุดหมายตามที่ปรัชญากํ าหนดใหอยางไรก็ดี เมื่อมองในแงปรัชญาการศึกษา พุทธธรรมก็เปนเรื่องกวางขวางมากอีก เพราะพุทธธรรมทั้งหมด เปนเรื่องของระบบการศึกษาระบบหนึ่งนั่นเอง ในที่น้ี จึงขอนํ ามากลาวเฉพาะที่เกี่ยวกับการสอนแตสั้นๆ

ตามหลักพระพุทธศาสนาถือวา ในการดํ ารงชีวิตของมนุษยน้ัน ความขัดของปรวนแปร ความเดือดรอนลํ าบาก ความเจ็บปวดความสูญเสีย ความพลัดพราก และปญหาชีวิตตางๆ ซ่ึงทางพุทธศาสนาเรียกรวมวาความทุกขน้ัน เปนสิ่งที่มีอยู มนุษยจะตองเขาไปเกี่ยวของและไดประสบแนนอน ไมวามนุษยจะตองการหรือไมตองการ จะยอมรับวามันมีอยูหรือไมยอมรับ หรือแมจะเบือนหนาหนีอยางไรก็ตาม เมื่อเปนเชนนี้ หากมนุษยตองการมีชีวิตอยูอยางดีท่ีสุด มนุษยจะตองยอมรับความจริงอันนี้ จะรับรูสูหนา และพรอมท่ีจะจัดการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นใหดีท่ีสุด

ชีวิตที่เปนอยูอยางดีและมีความสุขที่สุด คือ ชีวิตที่กลารับรูตอปญหาทุกอยาง ตั้งทัศนคติท่ีถูกตองตอปญหาเหลานั้น และจัดการแกไขดวยวิธีท่ีถูกตอง การหลีกเลี่ยงที่จะรับรูก็ดี การนึกวาดภาพใหเปนอยางที่ตนชอบก็ดี เปนการปดตาหรือหลอกตนเอง ไมชวยใหพนจากความทุกข ไมเปนการแกปญหา และใหไดพบความสุขอยางแทจริง อยางนอยก็เปนการฝงเอาความกลัว ซ่ึงเปนเชื้อแหงความทุกขเขาไวในจิตใจอยางลึกซึ้ง

ดวยเหตุน้ี สิ่งที่พระพุทธศาสนาสอนเปนขอแรก ก็คือ ความทุกข อันเปนปญหาที่มนุษยพึงรับรูและจัดการแกไขโดยถูกตอง

Page 186: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๘๑

และถือวาภารกิจของพระพุทธศาสนาและระบบการศึกษาของพระพุทธศาสนา ก็คือ การชวยมนุษยใหแกปญหาของตนได

ความทุกข ความเดือดรอน และปญหาชีวิตนานาประการของมนุษยน้ัน เกิดจากตัณหา คือ ความอยาก ความตองการความเห็นแกตัว ซ่ึงทํ าใหมนุษยมีทัศนคติตอสิ่งตางๆ เคลื่อนคลาดจากที่มันเปนจริง และเปนไปในรูปตางๆ กันตามระดับความอยากและความยึดของตนตอสิ่งนั้นๆ เมื่อมีทัศนคติท่ีเคลื่อนคลาดไป ก็ทํ าใหเกิดความขัดแยงขึ้นในตนเอง และความขัดแยงระหวางตนกับผูอื่น แลวปฏิบัติหรือจัดการกับสิ่งนั้นๆ ดวยอํ านาจความอยากและความยึดของตน คือ ไมจัดการตามที่มันควรจะเปนโดยเหตุผลแทๆ เมื่อเปนเชนนี้ ก็ยอมเปนการสรางปญหาใหเกิดขึ้น เกิดความขัดของขัดแยง และความทุกข ท้ังแกตนและผูอื่น ตามระดับของตัณหา และขอบเขตของเรื่องที่ปฏิบัติ

ตัณหานั้น เกิดจากความไมรู ไมเขาใจ ไมมองเห็นสิ่งทั้งหลายตามที่มันเปน มีทัศนคติตอสิ่งทั้งหลายอยางไมถูกตอง ซ่ึงเรียกวา อวิชชา จึงเปนเหตุใหไมจัดการกับสิ่งนั้นๆ ตามที่มันควรจะเปนโดยเหตุผลบริสุทธิ์ การที่จะแกปญหาหรือแกความทุกข จึงตองกํ าจัดอวิชชา สรางวิชชาใหเกิดขึ้น

โดยนัยนี้ ภารกิจสํ าคัญของการศึกษาก็คือ การฝกอบรมบุคคลใหพัฒนาปญญา ใหเกิดความรูความเขาใจในขอเท็จจริงและสภาวะของสิ่งทั้งหลาย มีทัศนคติตอสิ่งทั้งหลายอยางถูกตองปฏิบัติและจัดการกับสิ่งทั้งหลายตามที่ควรจะเปน เพื่อใหเกิดเปนประโยชนตน คือ ความมีชีวิตอยูอยางสํ าเร็จผลดีท่ีสุด มีจิตใจเปน

Page 187: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๘๒

อิสระ มีสุขภาพจิตสมบูรณ และประโยชนผูอื่น คือ สามารถชวยสรางสรรคประโยชนสุขแกชนทั้งหลายที่อยูรวมกันเปนสังคมได

จากขอความที่กลาวมา มีขอท่ีควรกํ าหนด คือ:-๑. ภารกิจสํ าคัญของการศึกษา ไดแก การชวยใหบุคคล

เกิดทัศนคติท่ีถูกตอง คือ รูจักมองสิ่งทั้งหลายตามที่มันเปน และสามารถจัดการกับสิ่งเหลานั้นตามที่ควรจะเปน ใหเกิดเปนประโยชนท้ังแกตนและสังคม ไมใหมองเห็นและจัดการสิ่งทั้งหลายตามอํ านาจกิเลสตัณหา

๒. ทัศนคติท่ีถูกตอง และความสามารถจัดการดังกลาวนั้นเกิดขึ้นไดดวยการพัฒนาปญญา และปญญาเปนความรูความเขาใจที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลนั้นเองเทานั้น ผูอื่นจะนํ ามายัดเยียดใหหรือบังคับใหรับเขาไวไมได

๓. ในเมื่อปญญาตองเกิดจากความรูความเขาใจที่พัฒนาข้ึนในตัวบุคคลเอง ภารกิจของผูสอนและใหการศึกษาท้ังหลาย จึงเปนเพียงผูช้ีนํ าทางหรืออํ านวยโอกาส ชวยใหผูเรียนหรือผูรับการศึกษาอบรม ดํ าเนินเขาสูปญญาสิ่งที่ดีท่ีสุดที่ผูสอนที่ดีจะทํ าไดก็คือ ตั้งใจชวยเหลือพยายามสรรหาอุบาย กลวิธี และอุปกรณตางๆ ท่ีจะมาชวยผูเรียนใหเขาถึงปญญาอยางไดผลดีท่ีสุด อยางที่สํ านวนบาลีเรียกวา เปนกัลยาณมิตร

๔. โดยเหตุผลเดียวกัน ในระบบการศึกษาเชนนี้ ผูเรียนเปนผู มีบทบาทสํ าคัญในฐานะเปนผูสรางปญญาใหเกิดแกตน จึงตองเปนผูมีสวนรวมและเปนผูไดลงมือ

Page 188: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๘๓

กระทํ าใหมากที่สุดเทาที่จะชวยใหตัวเขาเกิดปญญานั้นข้ึนได และโดยนัยนี้ ความสามารถ ความถนัด อุปนิสัยตางๆ ของผูเรียน จึงเปนสิ่งที่ผูสอนจะตองคํ านึงอยางสํ าคัญ เพื่อจัดสภาพการเรียนและกลวิธีสอนตางๆเปนตน ใหผูเรียนเรียนอยางไดผลดีท่ีสุด

๕ . ในเมื่อปญญาเปนของยัดเยียดบังคับใหรับเอาไมได การเรียนการสอนจึงตองใชวิธีการแหงปญญา คือ ผูเรียนตองเปนอิสระในการใชความคิด และในการที่จะซักถามโตตอบสืบเสาะคนหาความจริงตางๆ ใหไดรับความรูความเขาใจขึ้นในตน ในระบบการศึกษาแบบนี้จึงมีการปฏิบัติอยาง กาลามสูตร ไมมีการบังคับใหเชื่อความเชื่อหรือศรัทธาในระบบการศึกษานี้ หมายเพียงความเชื่อมั่นในหลักการ วิธีการและสมมติฐานตางๆ ท่ีตนไดตั้งขึ้น โดยมีเหตุผลเปนฐานรองรับอยางเพียงพอแลววาจะนํ าใหดํ าเนินไปสูจุดหมายไดอยางแทจริง และเปนสิ่งที่จะพิสูจนไดตอไปตามลํ าดับในระหวางดํ าเนินไปสูเปาหมายนั้น

วางเปนขอสรุปท่ีเกี่ยวกับการสอน ดังนี้:-๑. ปญญาเปนสิ่งสรางสรรคข้ึนภายในตัวผูเรียนเอง๒. ผูสอนทํ าหนาที่เปนกัลยาณมิตร ชวยชี้นํ าทางการเรียน๓. วิธีสอน อุบาย และกลวิธีตางๆ เปนสื่อหรือเปนเครื่อง

ผอนแรงการเรียนการสอน

Page 189: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๘๔

๔. อิสรภาพในทางความคิด เปนอุปกรณสํ าคัญในการสรางปญญา

อน่ึง โดยที่ปญญาเปนสวนสํ าคัญยิ่งในระบบการศึกษานี้เชนที่กลาวมาแลว จึงสมควรทํ าความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องปญญาท่ีมักแปลกันวา ความรู ไวเพื่อกันความสับสนสักเล็กนอย

ความรูในที่น้ี ควรแยกเปน ๒ ประเภท คือ:-๑. สุตะ คือ ความรูจากการสดับตรับฟง หรือ เลาเรียน

อาน รับถายทอดจากแหลงความรูอื่น การสั่งสมความรูประเภทนี้ไวไดมาก เรียกวา พาหุสัจจะ แปลวา ความเปนพหูสูต คือ ความเปนผูคงแกเรียน หรือไดเรียนรูมาก เปนความรูประเภทประมวลหรือรวบรวมสิ่งอันจะพึงรู ทํ าตนใหเปนคลังเก็บความรู ซ่ึงถือวาเปนคุณสมบัติท่ีดีของบุคคลอยางหนึ่ง เปนอุปกรณสํ าหรับนํ าไปใชทํ าประโยชนตางๆ ไดมาก แตไมถือเปนองคธรรมแกนในระบบการศึกษา

๒. ปญญา คือ ความรูประเภทเขาใจสภาวะ รูคิด รูเลือกคัดวินิจฉัย และรูท่ีจะจัดการ เปนความรูประเภทที่มุงหมายและเปนสวนสํ าคัญในระบบการศึกษานี้ ปญญาน้ีมีไวพจนมากมาย เชน ญาณ วิชชา ปริญญาปฏิสัมภิทา วิปสสนา สัมมาทิฏฐิ เปนตน ซ่ึงแสดงถึงความหมายในแงตางๆ และขัน้ตางๆ ของปญญานัน่เอง

สิ่งที่ควรทํ าความเขาใจอีกอยางหนึ่ง ไดแกลักษณะงานสอนซ่ึงแตกตางกันตามประเภทวิชา อาจแยกไดเปน ๒ ประเภท คือ

Page 190: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๘๕

วิชาประเภทชี้แจงขอเท็จจริง เชน ภูมิศาสตร และประวัติศาสตรเปนตน การสอนวิชาประเภทนี้ หลักสํ าคัญอยูท่ีทํ าใหเกิดความเขาใจในขอเท็จจริง การสอนจึงมุงเพียงหาวิธีการใหผูเรียนเขาใจตามท่ีสอนใหเกิดพาหุสัจจะเปนใหญ

สวนวิชาอีกประเภทหนึ่ง ซ่ึงเกี่ยวดวยคุณคาในทางความประพฤติปฏิบัติ โดยเฉพาะวิชาศีลธรรม และจริยธรรมทั่วไป การสอนที่จะไดผลดี นอกจากใหเกิดความเขาใจแลว จะตองใหเกิดความรูสึกมองเห็นคุณคาและความสํ าคัญ จนมีความเลื่อมใสศรัทธาที่จะนํ าไปประพฤติปฏิบัติดวย

สํ าหรับวิชาประเภทนี้ ผลสํ าเร็จอยางหลังเปนสิ่งสํ าคัญมากและมักทํ าไดยากกวาผลสํ าเร็จอยางแรก เพราะตองการคุณสมบัติขององคประกอบในการสอนทุกสวน นับแตคุณสมบัติสวนตัวของผูสอนไปทีเดียว

ยิ่งในงานประดิษฐานพระศาสนาที่จะใหคนจํ านวนมากยอมรับดวยวิธีการแหงปญญาดวยแลว ก็ยิ่งเปนเรื่องสํ าคัญมาก

ฉะนั้น การพิจารณาหลักการสอนของพระพุทธเจา จึงจะเริ่มแตคุณสมบัติของผูสอนไปทีเดียว.

Page 191: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

๒. คุณสมบัติของผูสอนในที่น้ีจะแสดงตามแนวพุทธคุณ และเห็นควรแยกเปน ๒

สวน คือ เปนคุณสมบัติท่ีปรากฏออกมาภายนอก อันไดแกบุคลิก-ภาพอยางหนึ่ง และคุณสมบัติภายใน อันไดแกคุณธรรมตางๆอยางหนึ่ง

ก. บุคลิกภาพในดานบุคลิกภาพ จะเห็นวา พระพุทธเจาทรงมีพระลักษณะ

ท้ังทางดานความสงางามแหงพระวรกาย พระสรุเสยีงทีโ่นมนํ าจติใจและพระบุคลิกลักษณะอันควรแกศรัทธาปสาทะทุกประการ ดังจะเหน็จากตวัอยางทีท่ราบกนัทัว่ไป และทีบั่นทกึไวในคมัภรีตางๆ เชน:-

๑. ทรงมีพระมหาบุรุษลักษณะ ๓๒ ประการ และอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ มีพระวรกายสงางามอยางที่มีผูชมวา

“พระสมณโคดม มีพระรูปงาม นาดู นาเลื่อมใส มีพระฉวีวรรณผุดผองยิ่งนัก วรรณะและพระสรีระดุจดังพรหม นาดูนาชมนักหนา”๑๒. ทรงมีพระสุรเสียงไพเราะ และตรัสพระวาจาสุภาพสละ

สลวย อยางคํ าชมของจังกีพราหมณท่ีวา“พระสมณโคดม มีพระวาจาไพเราะ รูจักตรัสถอย

คํ าไดงดงาม มีพระวาจาสุภาพ สละสลวย ไมมีโทษ ยังผู

๑ จังกีสูตร, ม.ม.๑๓/๖๕๐

Page 192: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๘๗

ฟงใหเขาใจเนื้อความไดชัดแจง”๑และคํ าของอุตรมาณพที่วา

“พระสุร เสียงที่ เปล งก องจากพระโอษฐ นั้นประกอบดวยคุณลักษณะ ๘ ประการ คือ แจมใส ๑ชัดเจน ๑ นุมนวล ๑ ชวนฟง ๑ กลมกลอม ๑ ไมพรา๑ ซึ้ง ๑ กังวาน ๑”๒หรือตามมหาบุรุษลักษณะขอท่ี ๒๙ วา

“มีพระสุรเสียงดุจพรหม ตรัสมีสํ าเนียงใสไพเราะดุจนกการเวก”๓๓ . ทรงมีพระอากัปกิริยามารยาททุกอยางที่งดงามนา

เลื่อมใส เริ่มแตสมบัติผูดี และมารยาทอันเปนที่ยอมรับของสังคมตลอดจนพระบุคลิกลักษณะที่เปนเสนหทุกประการ พรอมไปดวยความองอาจ ความสงางาม ความสงบเยือกเย็น การแสดงธรรมของพระองค นอกจากแจมแจงดวยสัจธรรมแลว ยังกอใหเกิดความรูสึกเพลิดเพลินสุขใจ ชวนใหอยากฟงอยากใกลชิดพระองคอยูไมวาย อยางคํ าชมของบุคคลตางๆ เชน:-

“นี่ ทานปงคิยานี มองเห็นสารประโยชนอันใด จึงเลื่อมใสในพระสมณโคดมถึงเพียงนี้”

“ทานผูเจริญ เปรียบเหมือนบุรุษผูอ่ิมในรสอันเลิศแลว ยอมไมปรารถนารสอื่นๆ ที่เลว ฉันใด บุคคลฟง

๑ จังกีสูตร, ม.ม.๑๓/๖๕๐๒ พรหมายุสูตร, ม.ม. ๑๓/๕๘๙; ที.ม. ๑๐/๑๙๘, ๒๑๘๓ ที.ม. ๑๐/๒๙; ฯลฯ

Page 193: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๘๘

ธรรมของพระสมณโคดมพระองคนั้น โดยลักษณะใดๆจะโดยสุตตะ โดยเคยยะ โดยไวยากรณ หรือโดยอัพภูตธรรมก็ดี ยอมไมปรารถนาวาทะของสมณะเปนอันมากเหลาอ่ืน โดยลักษณะนั้นๆ เลย ฉันนั้น

เปรียบเหมือนบุรุษผูหิวและออนเพลีย มาไดรวงผ้ึง ก็พึงลิ้มรส ยอมไดรสแทแสนชุมชื่น ฉันใดบุคคลฟงธรรมของทานพระโคดมพระองคนั้น...ยอมไดรับความดีใจ ปลาบปลื้มใจ ฉันนั้น

เปรียบเหมือนบุรุษ ไดไมจันทน เปนจันทนเหลืองหรือจันทนแดง จะสูดกลิ่นตรงที่ใด จะเปนราก ลํ าตนหรือที่ยอด ก็ยอมไดกลิ่นหอมสนิทเปนกลิ่นแท ฉันใดบุคคลฟงธรรมของทานพระโคดมพระองคนั้น...ก็ยอมไดปราโมทย ไดความโสมนัส ฉันนั้น

เปรียบเหมือนบุรุษอาพาธ เจ็บปวด เปนไขหนักนายแพทยผูฉลาดพึงบํ าบัดอาพาธเขาไดฉับไว ฉันใดบุคคลฟงธรรมของทานพระโคดมพระองคนั้นแลว...ความโศกเศรา ปริเทวนาการ ความทุกขโทมนัส และความคับแคนใจของเขา ยอมหมดไป ฉันนั้น

เปรียบเหมือน สระใหญมีนํ้ าใส เย็น จืดสนิท นาเจริญใจ มีทาราบเรียบนารื่นรมย บุรุษผูรอนดวยแสงแดด ถูกแดดแผดเผา เหน็ดเหนื่อย หิวกระหาย เดินมาถึง เขาลงไปอาบ ด่ืม ในสระนํ้ านั้น พึงระงับความกระวนกระวาย ความเหน็ดเหนื่อย และความเรารอนทั้ง

Page 194: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๘๙

ปวงได ฉันใด บุคคลฟงธรรมของทานพระโคดมพระองคนั้นแลว...ความกระวนกระวาย ความเหน็ดเหนื่อย และความเรารอนของเขา ก็ยอมระงับไปไดหมดสิ้น ฉันนั้น”๑

“ชนทั้งหลาย ที่ทานพระโคดมทรงชี้แจงใหเห็นแจง ใหสมาทาน ใหอาจหาญ ใหราเริงดวยธรรมีกถาแลว เมื่อลุกไปจากที่นั่งก็ยังเหลียวหลังกลับมามองดวยไมอยากจะละจากไป”๒

ข.คุณธรรมพระพุทธคุณในแงคุณธรรมมีมาก ไมอาจแสดงไดครบทุก

นัย จึงขอเลือกแสดงตามแนวพระคุณ ๓ คือ:-๑. พระปญญาคุณ พระปญญาคุณที่เกี่ยวกับงานสอน ขอ

ยกมาแสดง ๒ อยาง คือ ทศพลญาณ และปฏิสัมภิทา๑) ทศพลญาณ คือ พระญาณอันเปนกํ าลังของพระตถาคต

ท่ีทํ าใหพระองคสามารถบันลือสีหนาท ประกาศพระศาสนาไดมั่นคง จะแสดงความหมายที่เปนพุทธคุณแท กับความหมายที่ผูสอนท่ัวไปพึงนํ ามาใชไดดังนี้:-

๑ การณปาลีสูตร, องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๙๓๒ พรหมายุสูตร, ม.ม. ๑๓/๕๘๙

Page 195: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๙๐

ทศพลญาณ๑

๑. ฐานาฐานญาณ ปรีชาหยั่งรูฐานะ และอฐานะ คือรูกฎธรรมชาติ ที่เกี่ยวกับขอบเขตและขีดขั้นของสิ่งทั้งหลายวา อะไรเปนไปได อะไรเปนไปไมไดและแคไหนเพียงไร โดยเฉพาะในแงความสมัพนัธระหวางเหตุกบัผล และกฎเกณฑทางจริยธรรมเกี่ยวกับสมรรถวิสัยของบุคคลซึ่งจะไดรับผลกรรมที่ดีและชั่วตางๆ กัน

๒. กรรมวิปากญาณ ปรีชาหยั่งรูผลของกรรม สามารถกํ าหนดแยกการใหผลอยางสลับซับซอนระหวางกรรมดีกับกรรมชั่วที่สัมพันธกับปจจัยแวดลอมตางๆ มองเหน็รายละเอยีดและความสัมพันธภายในกระบวนการกอผลของกรรมอยางชัดเจน.

ความหมายสวนที่ผูสอนทั่วไปพอจะปฏิบัติได

๑. มคีวามรูเขาใจในเนื้อหา และขอบเขตของกฎเกณฑ และหลกัการตางๆ ที่เกี่ยวของและที่จะนํ ามาใชในการสอนอยางชัดเจน ตลอดจนรูขีดข้ันความสามารถของบุคคลที่มีพัฒนาการอยู ในระดับตางๆ

๒. มีความรูความเขาใจในกระ-บวนพฤติกรรมตางๆ ของมนษุยเปนอยางดี.

๑ ม.มู. ๑๒/๑๖๖; องฺ.ทสก. ๒๔/๒๑; อภิ.วิ. ๓๕/๘๓๙–๘๔๘; วิภงฺค.อ. ๕๒๐, ๕๕๐–๖๐๗ การศึกษาเปรียบเทียบนี้เปนครั้งแรก จึงยังอาจไดความหมายไมครอบคลุมครบถวน ขอใหถือเปนจุดเริ่มตนไวกอน

Page 196: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๙๑

๓ . สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ ปรีชาหยั่งรู ขอปฏิบัติที่จะนํ าไปสูคติทั้งปวง (คือสูสุคติทุคติหรือพนจากคติ) หรือปรีชาหยั่ง รู ข อปฏิบัติที่จะนํ าไปสู อรรถประโยชนทั้งปวง (จะเปนทฏิฐธัมมิกัตถะ หรือสัมปรายิ-กตัถะ หรือปรมัตถะ ก็ตาม) รูวาเมือ่ตองการเขาสูจดุหมายใดจะตองทํ าอะไรบาง มีรายละเอียดวธิปีฏิบัติอยางไร.

๔. นานาธาตุญาณ ปรีชาหยั่งรูสภาวะของโลกอันประกอบ ดวยธาตุตางๆ เปนเอนก รูสภาวะของธรรมชาติทั้งฝาย อุปาทินนกสังขาร และอนุ-ปาทนินกสังขาร เชนในเรื่องชวีติ ก็ทราบองคประกอบตางๆสภาวะขององคประกอบ เหลานัน้ พรอมทั้งหนาที่ของมนั เชน การปฏิบัติหนาที่ของขันธ อายตนะและธาตุตางๆในกระบวนการรับรู เปนตนและรูเหตุแหงความแตกตางกนัของสิง่ทั้งหลายเหลานั้น.

๓ . รู วิ ธีการและกลวิธีปฏิบั ติตางๆ ที่จะนํ าเขาสูเปาหมายทีต่องการ.

๔ มีความรู ในวิชาสรีรวิทยา และจติวิทยา อยางนอยใหทราบองคประกอบตางๆ และการปฏิบัติหน าที่ขององค ประกอบเหลานั้นในกระบวนการเรียนรูของบุคคล และถาเปนไปได ควรมีความรูทั่วไปอยางกวางขวาง โดยเฉพาะในทางวิทยาศาสตร เพื่อรูจักสภาวะของสิ่งทั้งหลาย และมทีศันคตทิีถ่กูตองตอส่ิงเหลานัน้ อันจะเปนเครื่องเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการสอนใหไดผลดียิ่งขึ้น.

Page 197: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๙๒

๕. นานาธิมุตติกญาณ ปรีชาหยั่งรูอธิมุติ (คือรูอัธยาศัย ความโนมเอียง แนวความสนใจฯลฯ) ของสัตวทั้งหลาย ที่เปนไปตางๆ กัน

๖ . อิ นท ริ ยป โ รปริ ยั ตตญาณ ปรีชาหยั่งรูความยิ่งและหยอนแหงอินทรียของสัตวทั้งหลาย รูวา สัตวนั้นๆ มีแนวความคิดความรู ความเขาใจ แคไหนเพยีงใด มกีเิลสมาก กเิลสนอยมอิีนทรียออนหรือแกกลา สอนงายหรอืสอนยาก มคีวามพรอมทีจ่ะเขาสูการตรัสรูหรือไม.

๗. ฌานาทสัิงกเิลสาทญิาณ ปรีชาหยั่ง รู เหตุที่จะทํ าใหฌาน วโิมกข และสมาบัติเสื่อม หรือเจริญ คลองแคลวจัดเจน หรือกาวหนายิ่งขึ้นไป.

๘ . ปุพ เพนิ วาสานุสส ติญาณปรีชาหยั่งรูระลึกชาติภพในหนหลังได

๕ . รู ความแตกต างระหว างบุคคล ในดานความโนมเอียงแนวความสนใจ และความถนัดโดยธรรมชาติ

๖ . รู ความแตกต างระหว างบุคคลในดานระดบัสติปญญาความสามารถ พัฒนาการดานตางๆ และความพรอมที่จะเรียนรู.

๗. รูปจจัยตางๆ ที่เปนอุปสรรคถวง หรือสงเสริมเพิ่มพูนผลสํ าเร็จของการเรียนรูและการฝกอบรมในระดับตางๆ กับรูจักใชเทคนิคตางๆเขาแกไข หรือสงเสริม นํ าการเรียนรูและการฝกอบรมใหดํ าเนินกาวหนาไปดวยดี.

๘. รูประวัติพื้นเพเดิม และประสบการณในอดีตของผู เรียน.

Page 198: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๙๓

๙. จุตูปปาตญาณ ปรีชาหยั่งรูจติุ และอุบัติของสัตวทั้งหลายอันเปนไปตามกรรม.

๑๐. อาสวักขยญาณ ปรีชาหยั่งรูความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลาย

๙. พจิารณาสังเกตดูผูเรียน ในขณะที่ เขามีบทบาทอยู ในชวีติจริง ภายในกลุมชนหรือสังคม สามารถรูเทาทัน และเขาใจพฤติกรรมตางๆ ที่เขาแสดงออกในขณะนั้นๆ วาเปนผูมีปญหาหรือไมอยางไร มองเห็นสาเหตุแหงปญหานัน้ และพรอมที่จะเขาชวยเหลือแกไขไดทันที.

๑๐. รูชัดเขาใจแจมแจง และแนใจวา ผลสัมฤทธิ์ที่เปนจุดหมายนัน้ คืออะไร เปนอยางไรและตนเองสามารถกระทํ าผลสัมฤทธิ์นั้นใหเกิดขึ้นไดจริงดวย.

๒) ปฏิสัมภิทา คือ ปญญาแตกฉานในดานตางๆ ซ่ึงมีท่ัวไปแกพระมหาสาวกทั้งหลายดวย ดังนี้:-

๑. อรรถปฏิสัมภิทา ความเขาใจแจมแจงในความหมายของถอยคํ า ขอความหรือขอธรรมตางๆ สามารถขยายความแยกแยะออกไปไดโดยพิสดาร แมนไดเห็นเหตุใดๆ ก็สามารถคิดเชื่อมโยงแยกแยะกระจายความคิด

Page 199: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๙๔

ออกไปลวงรูถึงผลตางๆ ท่ีจะเกิดขึ้นได แปลสั้นๆ วาปญญาแตกฉานในอรรถ

๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ความเขาใจแจมแจงในหลักหรือขอธรรมตางๆ สามารถจับใจความของคํ าอธิบายที่กวางขวางพิสดาร มาตั้งเปนกระทูหรือหัวขอได เมื่อมองเห็นผลตางๆ ท่ีปรากฏ ก็สามารถสืบสาวกลับไปหาเหตุไดแปลสั้นๆ วา ปญญาแตกฉานในธรรม

๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ความรูแตกฉานในภาษา รูภาษาตางๆ และรูจักใชถอยคํ าชี้แจงแสดงอรรถและธรรมใหคนอื่นเขาใจ และเห็นตามได แปลสั้นๆ วา ปญญาแตกฉานในนิรุกติ

๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ความมีไหวพริบ สามารถเขาใจคดิเหตผุลไดเหมาะสมทนัการ และมคีวามรูความเขาใจชัดในความรูตางๆ วามีแหลงที่มา มีประโยชนอยางไรสามารถเชื่อมโยงความรูท้ังหลายเขาดวยกัน สรางความคิดและเหตุผลข้ึนใหมได แปลสั้นๆ วา ปญญาแตกฉานในปฏิภาณ

๒. พระวิสุทธิคุณ ความบริสุทธิ์เปนพระคุณสํ าคัญยิ่งเชนกันที่จะทํ าใหประชาชนเชื่อถือและเลื่อมใสในพระพุทธเจา ความบริสุทธิ์น้ีอาจมองไดจากลักษณะตางๆ ดังนี้:-

ก. พระองคเองเปนผู บริสุทธิ์หลุดพนจากอาสวกิเลสทั้งปวง ไมกระทํ าความชั่วทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ ไมมีเหตุท่ีใครจะยกขึ้นตํ าหนิได

Page 200: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๙๕

ข. ทรงทํ าไดอยางที่สอน คือ สอนเขาอยางไร พระองคเองก็ทรงประพฤติปฏิบัติอยางนั้นดวย อยางพุทธพจนท่ีวาตถาคตพูดอยางใดทํ าอยางนั้น จึงเปนตัวอยางที่ดี และใหประชาชนเกิดความเชื่อมั่นในคุณคาของคํ าสอนได

ค. ทรงมีความบริสุทธิ์พระทัยในการสอน ทรงสอนผูอื่นดวยมุงหวังประโยชนแกเขาอยางเดียว ไมมีพระทัยเคลือบแฝงดวยความหวังผลประโยชนสวนตน หรืออามิสตอบแทนใดๆ

พระวิสุทธิคุณเหลานี้ จะเห็นไดจากคํ าสรรเสริญของบุคคลตางๆ ในสมัยพุทธกาล เชน:-

“ดูกรนาคิตะ ขออยาใหเราตองของเกี่ยวกับยศเลย และขออยาใหยศมาของเกี่ยวกับเราดวย บุคคลผูใดไมไดโดยงายซึ่งความสุขอันเกิดจากเนกขัมมะ ความสุขอันเกิดจากวิเวก ความสุขอันเกิดจากความสงบ ความสุขอันเกิดจากความตรัสรู เหมือนอยางที่เราได บุคคลผูนั้นจึงจะยินดีความสุขแบบอาจม ความสุขที่เกิดจากการหลับ และความสุขที่เกิดจากลาภ สักการะ สรรเสริญ”๑จากคํ ากลาวของพระสารีบุตรวา:-

“ทานทัง้หลาย พระตถาคตมกีายสมาจาร วจีสมา-จาร มโนสมาจารบริสุทธิ์ พระตถาคตมิไดมีความประพฤติชั่วทางกาย ทางวาจา ทางใจ ที่พระองคจะตอง

๑ นาคิตสูตร, องฺ.ฉกฺก. ๒๒/๓๑๓

Page 201: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๙๖

ปกปดรักษาไว โดยตั้งพระทัยวา ขอคนอื่นๆ อยาไดรูถึงความประพฤติชั่วทางกาย ทางวาจา ทางใจของเราเลย”๑

“ดูกรโมคคัลลานะ เราเปนผูมีศีลบริสุทธิ์ จึงปฏิญาณไดวาเปนผูมีศีลบริสุทธิ์ ศีลของเราบริสุทธิ์ ผองแผว ไมเศราหมอง บรรดาสาวกไมตองคอยรักษาเราโดยศีล และเราก็ไมตองคิดหวังใหสาวกชวยรักษาเราโดยศีลเรามีอาชีวะบริสุทธิ์ มีธรรมเทศนาบริสุทธิ์ มีไวยากรณบริสุทธิ์ มีญาณทัศนะบริสุทธิ์...ไมตองคิดหวังใหสาวกชวยรักษา (คือชวยระมัดระวังปกปดความเสียหายในเรื่องเหลานั้น)”๒ภิกษุท้ังหลายเคยแสดงความรู สึกของตนตอพระผู มีพระ

ภาคในเรื่องการทรงสั่งสอนธรรมวา:-“ขาแตพระองคผูเจริญ พวกขาพระองคไมมีความ

ดํ าริในพระผูมีพระภาคเลยวา พระสมณโคดมทรงแสดงธรรมเพราะเหตุ(ปรารถนา)จีวร บิณฑบาต เสนาสนะหรือเพราะเหตุหวังสุขในการไดเปนอยางนั้นอยางนี้”

“พวกขาพระองคมีความดํ าริในพระผูมีพระภาคอยางนี้วา พระผูมีพระภาคผูทรงอนุเคราะห ทรง

๑ สังคีติสูตร, ที.ปา. ๑๑/๒๒๘๒ กกุธสูตร, องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๐๐

Page 202: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๙๗

ปรารถนาประโยชนเกื้อกูล อาศัยความกรุณา จึงทรงแสดงธรรม”พระผูมีพระภาคจึงตรัสวา

“ภิกษุทั้งหลาย เพราะการที่เธอทั้งหลายมีความดํ าริตอเราอยางนี้ ฉะนั้น ธรรมเหลาใดที่เราแสดงแลวแกเธอทั้งหลาย เพ่ือความรูยิ่ง...เธอทั้งปวงพึงพรอมเพรียงกัน บันเทิงใจ ไมวิวาท ศึกษาอยูในธรรมเหลานั้นเถิด”๑ในอุทุมพริกสูตร พระพุทธเจาตรัสวา

“พระผูมีพระภาคนั้น เปนพุทธะ (คือตรัสรู) เองแลว จึงทรงแสดงธรรมเพื่อความตรัสรู, พระองคเปนผูฝกเองแลว จึงทรงแสดงธรรมเพื่อความฝก, พระองคเปนผูสงบระงับแลว จึงทรงแสดงธรรมเพื่อความสงบ,พระองคเปนผูขามพนไปไดแลว จึงทรงแสดงธรรมเพื่อความขามพน, ทรงเปนผูดับเย็นแลว จึงทรงแสดงธรรมเพ่ือความดับเย็น”

“เรากลาวดังนี้วา บุรุษผูเปนวิญูชน ไมโออวดไมมีมารยา เปนคนตรง จงมาเถิด เราจะสั่งสอน เราจะแสดงธรรม เขาปฏิบัติอยางที่ไดรับคํ าสั่งสอนแลว จักกระทํ าใหสํ าเร็จซึ่งประโยชนอันยอดเยี่ยม อันเปนที่ปรารถนาของกุลบุตรผูออกบวช อันเปนจุดหมายแหงพรหมจรรยได ดวยปญญาอันยิ่งดวยตนเอง ในปจจุบัน

๑ ม.อุ. ๑๔/๔๒-๔๔

Page 203: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๑๙๘

ชาตินี้เอง โดยใชเวลา ๗ ป... ๖ ป... ๕ ป... ๔ ป... ๓ป... ๒ ป... ปเดียว... ๗ เดือน...๖ เดือน... ๕ เดือน...-๔ -๓ - ๒ - ๑ เดือน... กึ่งเดือน... ๗ วัน เทานั้น”

“บางทีทานอาจคิดวา พระสมณโคดมตรัสอยางนี้เพราะใครไดศิษย ขอนั้นทานไมพึงเห็นอยางนั้น อาจารยผูใดของทานเปนอยางนี้ ขอใหผูนั้นแหละคงเปนอาจารยของทาน... เรากลาวอยางนี้ เพราะใครไดศิษยก็หาไมตองการใหทานถอนตัวจากอุเทศของตนก็หาไม ตองการใหทานถอนตัวจากอาชีวะของทานก็หาไม ตองการใหทานเขาไปติดอยูในธรรมที่จัดวาเปนอกุศลตามลัทธิฝายอาจารยของตนก็หาไม ตองการใหทานเคลื่อนคลาดไปจากธรรมที่จัดวาเปนกุศลตามลัทธิฝายอาจารยของตนก็หาไม

“หากแตวา อกุศลธรรมที่ทํ าใหเกิดความเศราหมองที่สรางชาติสรางภพ มีแตความเรารอนกระวนกระวาย ใหผลเปนทุกข ชักนํ าชาติชรามรณะมาใหเรื่อยไป ซึ่งทานยังละไมไดนั้นมีอยู เราแสดงธรรมก็เพ่ือใหกํ าจัดอกุศลเหลานี้ได เมื่อทานปฏิบัติตาม สิ่งที่เปนเหตุกอความเสื่อมเสียทั้งหลายก็จะถูกกํ าจัดหมดไป และสิ่งที่เสริมสรางความถูกตองผองแผวก็จะพัฒนายิ่งๆ ขึ้นทานก็จักไดรูยิ่งเห็นจริง ไดบรรลุความบริสุทธิ์แหง

Page 204: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๑๙๙

ปญญา และความไพบูลยดวยตนเอง ตั้งแตในปจจุบันทีเดียว”๑เมื่อครั้งทานสีหะ เสนาบดีแหงแควนเวสาลี ผูเปนศิษย

นิครนถนาฏบุตร มาเฝาทูลถามปญหาพระพุทธเจา และบังเกิดความเลื่อมใส กลาวคํ าปฏิญาณตนเปนอุบาสก พระพุทธเจาไดตรัสเตือนวา

“ทานจงใครครวญใหดีเสียกอน การใครครวญเสียกอนแลวจึงทํ า เปนความดีสํ าหรับคนผูมีชื่อเสียงอยางทาน”ครั้นทานเสนาบดียืนยันวา เขาเลื่อมใสขอเปนอุบาสกแน

นอนแลว พระองคไดตรัสอีกวา“ทานสีหะ ตระกูลของทานเปนเสมือนบอนํ้ าของ

นิครนถทั้งหลายมาชานาน (ตอไปนี้) เมื่อนิครนถมาหาทานก็พึงใสใจในเรื่องที่จะถวายบิณฑบาตดวย”๒

เหตุการณคลายคลึงกันนี้ ไดเกิดแกอุบาลีคฤหบดีผูเปนศิษยนิครนถนาฏบุตรเชนเดียวกัน๓

อีกแหงหนึ่งวา“ภิกษุทั้งหลาย ถาวาบุคคลเหลาอ่ืนจะดาบริภาษ

โกรธ เบียดเบียน กระทบกระเทียบตถาคตในการประกาศจตุราริยสัจนั้น ตถาคตก็ไมมีความอาฆาต ไมมี

๑ ที.ปา. ๑๑/๓๐–๓๑๒ วินย. ๕/๗๘; องฺ.อฏก. ๒๓/๑๐๒๓ ม.มู. ๑๓/๗๒–๗๓

Page 205: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๐๐

ความโทมนัส ไมมีจิตยินราย; ถาวาชนเหลาอ่ืนจะสักการะ เคารพ นับถือ บูชาตถาคตในการประกาศจตุราริยสัจนั้น ตถาคตก็ไมดีใจ ไมเกิดโสมนัส ไมมีใจเยอหยิ่งในสักการะเปนตนเหลานั้น”๑นอกจากทรงพระคณุนีเ้องแลว ยงัทรงสอนภกิษุสาวกไวดวยวา

“ภิกษุทั้งหลาย...ธรรมเทศนาของภิกษุเชนไร ไมบริสุทธิ์ ธรรมเทศนาของภิกษุเชนไร บริสุทธิ์?

“ภิกษุรูปใดมีความคิดวา ‘ขอใหชนทั้งหลายฟงธรรมของเรา ครั้นฟงแลว พึงเลื่อมใสธรรม ขอใหคนทั้งหลายที่เลื่อมใสแลว แสดงอาการของผูเลื่อมใสแกเรา’ธรรมเทศนาของภิกษุเชนนี้ ไมบริสุทธิ์;

“สวนภิกษุรูปใด มีความคิดวา ‘พระธรรมนี้เปนของตรสัไวดีแลว เปนสนัทฏิฐกิะ เปนอกาลกิะ เปนโอปนยกิะวิญูชนพึงรูประจักษจํ าเพาะตน ขอใหชนทั้งหลายฟงธรรมของเรา ครั้นฟงแลว ขอใหเขาเขาใจธรรม ครั้นเขาใจชัดแลว ขอใหปฏิบัติใหไดอยางนั้น’ ดังนี้ แลวแสดงธรรมแกคนอ่ืน โดยเหตุที่ธรรมนั้นเปนของดีของถูกตองโดยเหตุที่มีความการุณย โดยเหตุที่มีความเอ้ือเอ็นดูแสดงดวยอาศัยความอนุเคราะห ธรรมเทศนาของภิกษุทั้งหลายเชนนี้ ชื่อวาบริสุทธิ์”๒

๑ ม.มู. ๑๒/๒๘๖๒ สํ.นิ. ๑๖/๔๗๒-๓

Page 206: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๐๑

๓. พระกรุณาคุณ อาศัยพระมหากรุณาธิคุณ พระพุทธเจาจึงไดเสด็จออกประกาศพระศาสนา โปรดสรรพสัตว ทํ าใหพระคุณ๒ อยางแรก คือ พระปญญาคุณ และพระวิสุทธิคุณ เปนที่ปรากฏและเปนประโยชนแกชาวโลกอยางแทจริง เสด็จไปชวยเหลือแนะนํ าสั่งสอนมนุษยท้ังที่เปนกลุมชนและที่เปนรายบุคคล โดยไมเห็นแกความเหนื่อยยากลํ าบากของพระองคเอง พระมหากรุณาธิคุณเหลานี้ พึงเห็นตามคํ าสรรเสริญและคุณธรรมอื่นๆ ท่ีแสดงออกเชน:-

“(พระสมณโคดม) ไมทรงดํ าริเพ่ือเบียดเบียนพระองคเอง ไมทรงดํ าริเพ่ือเบียดเบียนผูอ่ืน ไมทรงดํ าริเพ่ือเบียดเบียนทั้งสองฝาย ทรงดํ าริแตสิ่งที่เปนประโยชนแกพระองค สิ่งที่เปนประโยชนแกผูอ่ืน สิ่งที่เปนประโยชนทั้งสองฝาย และสิ่งที่เปนประโยชนแกชาวโลกทั้งปวง”๑

“พึงทราบการวางสติ ๓ ประการที่พระอริยเจาปฏิบัติ ซึ่งเมื่อปฏิบัติแลว จึงควรเปนศาสดาสั่งสอนหมูชน...

๑. ภิกษุทั้งหลาย ศาสดาเปนผูอนุเคราะห แสวงประโยชนเกื้อกูล อาศัยเมตตา จึงแสดงธรรมแกสาวกทั้งหลายวา สิ่งนี้จะใหประโยชนเกื้อกูลแกพวกเธอ สิ่งนี้จะใหความสุขแกพวกเธอ แตเหลาสาวกของศาสดานั้น

๑ พรหมายุสูตร, ม.ม. ๑๓/๕๘๙

Page 207: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๐๒

ยอมไมตั้งใจฟง ไมเงี่ยโสตลงสดับ ไมตั้งจิตรับรู และประพฤติหลีกเลี่ยงคํ าสอนของศาสดา ในกรณีนั้นตถาคตจะไดมีความยินดีก็หาไม จะไดบังเกิดความพึงพอใจก็หาไม ทั้งจะไดขัดเคืองขุนมัวก็หาไม ยอมมีสติสัมปชัญญะดํ ารงอยู...

๒. อีกประการหนึ่ง... เหลาสาวกของศาสดานั้นบางพวกก็ไมตั้งใจฟง... บางพวกยอมตั้งใจฟง เงี่ยโสตลงสดับ ตั้งจิตรับรู ไมประพฤติเคลื่อนคลาดจากคํ าสอนของศาสดา ในกรณีนั้น ตถาคตจะไดมีความยินดีก็หาไมจะไดบังเกิดความพึงพอใจก็หาไม จะไดมีความไมพอใจก็หาไม จะไดบังเกิดความไมพอใจก็หาไม ตัดไดทั้งความพอใจและความไมพอใจทั้งสองอยาง เปนผูอุเบกขา คงมีสติสัมปชัญญะอยู...

๓. อีกประการหนึ่ง...เหลาสาวกของศาสดานั้น(ทั้งหมด) ยอมตั้งใจฟง เงี่ยโสตลงสดับ ตั้งจิตรับรู ไมประพฤติเคลื่อนคลาดจากคํ าสอนของศาสดา ในกรณีนั้น ตถาคตยอมเปนผูชื่นชม บังเกิดความพึงพอใจ แตก็หากระหยิ่มเหิมใจไม ยังคงมีสติสัมปชัญญะ ดํ ารงอยู”๑จากขอความตอนนี้ พึงสังเกตดวยวา ความกรุณาที่แสดง

ออกอยางไดผลดีน้ัน ตองอาศัยมีอุเบกขา และสติสัมปชัญญะเขา

๑ สฬายตนวิภังคสูตร, ม.อุ. ๑๔/๖๓๖

Page 208: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๐๓

ประกอบดวย ในกรณีตางๆ และในกรณีน้ันๆ จะตองเขาใจความหมายของอุเบกขาใหถูกตองดวย

นอกจากนี้ ความกรุณาที่แสดงออกในการอบรมสั่งสอนยอมเปนสวนประกอบสํ าคัญใหเกิดคุณลักษณะของผูสอนอยางที่เรียกวา องคคุณของกัลยาณมิตร ซ่ึงมี ๗ ประการ ดังตอไปนี้:-

๑. ปโย - นารัก (ในฐานเปนที่วางใจและรูสึกสนิทสนม)๒. ครุ - นาเคารพ (ในฐานใหเกิดความรูสึกอบอุนใจ เปนที่

พึง่ได และปลอดภัย)๓. ภาวนีโย - นายกยอง (ในฐานทรงคุณคือความรูและภูมิ

ปญญาแทจริง)๔. วตฺตา - รูจักพูด (คอยใหคํ าแนะนํ าวากลาวตักเตือน

เปนที่ปรึกษาที่ดี)๕. วจนกฺขโม - อดทนตอถอยคํ า (พรอมท่ีจะรับฟงคํ าซัก

ถามตางๆ อยูเสมอ และสามารถรับฟงไดดวยความอดทนไมเบื่อ)

๖. คมฺภีรฺจ กถํ กตฺตา - (กลาวชี้แจงแถลงเรื่องตางๆ ท่ีลึกซึ้งได)

๗. โน จฏาเน นิโยชเย - (ไมชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย)๑พึงสังเกตไว ณ ท่ีน้ีดวยวา พระพุทธศาสนาถือวา ความ

สัมพันธของผูสอนที่มีตอผูเรียนนั้น อยูในฐานะเปนกัลยาณมิตรคือ เปนผูชวยเหลือแนะนํ าผูเรียนใหดํ าเนินกาวหนาไปในมรรคา

๑ สขสูตร, องฺ.สตฺตก. ๒๓/๓๔

Page 209: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๐๔

แหงการฝกอบรม๑ องคคุณทั้ง ๗ น้ี เปนคุณลักษณะที่ผูสอนหรือครูผูมีความกรุณาโดยทั่วไปจะมีได ไมจํ ากัดเฉพาะพระพุทธเจาเทานั้น

พระมหากรณุาธคิณุของพระพทุธเจา ท่ีพระองคทรงอนเุคราะหชาวโลกนั้น แสดงออกในพุทธกิจประจํ าวันหรือกิจวัตรประจํ าวันของพระองค ซ่ึงเห็นไดชัดวา วันเวลาที่ผานไปแตละวัน เปนไปเพื่อประโยชนของคนอื่นๆ ท้ังนั้น และใหเห็นการรูจักทํ างานเปนเวลาของพระมหาบุรุษ พุทธกิจประจํ าวันนั้น แบงเปน ๕ ดังนี้:-๑. ปุเรภัตตกิจ พุทธกิจภาคเชาหรือภาคกอนอาหาร ไดแก ทรงตื่นบรรทมแตเชา เสด็จออกบิณฑบาต เสวยแลว ทรงแสดงธรรมโปรดประชาชนในที่น้ันๆ เสด็จกลับพระวิหาร รอใหพระสงฆฉันเสร็จแลว เสด็จเขาพระคันธกุฏี

๒. ปจฉาภัตตกิจ พุทธกิจภาคบายหรือหลังอาหาร ระยะที่ ๑ เสด็จออกจากพระคันธกุฏี ทรงโอวาทภิกษุสงฆ เสร็จแลวพระสงฆแยกยายกันไปปฏิบัติธรรมในที่ตางๆ พระองคเสด็จเขาพระคันธกุฏี อาจทรงบรรทมเล็กนอยแลว ถึงระยะที่ ๒ ทรงพิจารณาตรวจดูความเปนไปของชาวโลก ระยะที่ ๓ ประชาชนในถิ่นนั้นมาประชุมในธรรมสภา ทรงแสดงธรรมโปรด

๓. ปุริมยามกิจ พุทธกิจยามที่ ๑ (ของราตรี) หลังจากพุทธกิจภาคกลางวันแลว อาจทรงสนานแลวปลีกพระองคอยูเงียบๆ พัก

๑ พึงระลกึถึงฐานะของผูสอนอนัสัมพันธกับความตอนนี ้ทีพ่ระพุทธเจาตรสัไววา “อกฺขาตาโรตถาคตา - ตถาคตเปนเพียงผูบอกทางให” (ขุ.ธ. ๒๕/๓๐) และเรื่องที่ทรงแจงแกพราหมณวาพระองคเปนเพียงผูช้ีทาง ใน ม.อุ. ๑๔/๑๐๑ ดวย

Page 210: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๐๕

หนึ่ง จากนั้นพระภิกษุสงฆมาเฝา ทูลถามปญหาบาง ขอกรรมฐานบาง ขอใหทรงแสดงธรรมบาง ทรงใชเวลาตลอดยามแรกนี้สนองความประสงคของพระสงฆ

๔. มัชฌิมยามกิจ พุทธกิจในมัชฌิมยาม เมื่อพระสงฆแยกยายไปแลว ทรงใชเวลายามทีส่องตอบปญหาพวกเทพทัง้หลายทีม่าเฝา

๕. ปจฉิมยามกิจ พุทธกิจในปจฉิมยาม ทรงแบงเปน ๓ ระยะระยะแรก เสด็จดํ าเนินจงกรมเพื่อใหพระวรกายไดผอนคลายระยะที่ ๒ เสด็จเขาพระคันธกุฏี ทรงพระบรรทมสีหไสยาสนอยางมีพระสติสัมปชัญญะ ระยะที่ ๓ เสด็จประทับน่ังพิจารณาสอดสองเลือกสรรวา ในวันตอไปมีบุคคลผูใดที่ควรเสด็จไปโปรดโดยเฉพาะเปนพิเศษ เมื่อทรงกํ าหนดพระทัยไวแลว ก็จะเสด็จไปโปรดในภาคพุทธกิจท่ี ๑ คือ ปุเรภัตตกิจ๑การทรงใหความสนพระทัยชวยเหลือโปรดบุคคลผูสมควร

เปนสวนเฉพาะบุคคลๆ เชนนี้ ผูไดรับการโปรดอาจเปนคนชั้นสูงช้ันตํ่ า เปนเด็ก เปนผูใหญ ก็ไดท้ังสิ้น เชน เสด็จไปโปรดสิงคาลก-

๑ ที.อ. ๑/๖๑; สํ.อ. ๑/๒๘๕; องฺ.อ. ๑/๖๖; ใน สุตฺต.อ. ๑/๑๖๖ ทานแบงพุทธกิจไวเพียง๒ อยาง คือ ปุเรภัตตกิจ กับ ปจฉาภัตตกิจ โดยรวมเอาพุทธกิจที่ ๓-๔-๕ เขาไวในปจฉาภัตตกิจดวย; ใน สวดมนตฉบับหลวง ทานแตงเปนคาถาไวเพ่ือจํ างายวา:-

ปุพฺพณฺเห ปณฺฑปาตฺจ สายณฺเห ธมฺมเทสนํปโทเส ภิกฺขุโอวาทํ อฑฺฒรตฺเต เทวปฺหนํปจฺจุสฺเสว คเต กาเล ภพฺพาภพฺเพ วิโลกนํ.

เชาเสด็จไปบิณฑบาต บายทรงแสดงธรรม ค่ํ าประทานโอวาทแกภิกษุ กลางคืนตอบปญหาเทวดา เวลาจวนสวาง ตรวจดูผูที่ควรและยังไมควรตรัสรู

Page 211: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๐๖

มาณพผูไหวทิศ๑ เสด็จไปโปรดเด็กชายมัฏฐกุณฑลีท่ีกํ าลังนอนเจ็บหนัก๒ เปนตน

นอกจากนี้ ยังทรงเอาพระทัยใสในความเปนอยู ทุกข สุขของพระภิกษุสงฆท่ัวไป เชน เสด็จไปเยี่ยมภิกษุปวย๓ และพยาบาลภิกษุปวยไขท่ีไมมีคนพยาบาลดวยพระองคเอง๔

ความกรุณาเชนนี้ เปนเหตุนํ าความเลื่อมใสศรัทธา เปนประโยชนในการสอน ทรงสอนคนไดโดยไมตองใชอํ านาจบังคับ ไมตองใชการลงโทษ และทรงไดรับความเคารพบูชาสูงสุดดวยความจริงใจ

ยกตัวอยางใหเห็นไดชัดจากดํ ารัสของพระเจาปเสนทิโกศล กษัตริยแหงแควนโกศล ท่ีเสด็จมาเฝาแสดงความเลื่อมใสศรัทธาอยางสูงสุดในพระพุทธเจาและทูลไว มีความตอนหนึ่งวา:-

“ขาแตพระองคผูเจริญ อีกประการหนึ่ง หมอมฉันเปนขัตติยราช ไดรับมูรธาภิเษกแลว ยอมสามารถสั่งฆาคนที่ควรฆาได จะใหริบคนที่ควรริบได จะใหเนรเทศคนที่ควรเนรเทศก็ได เมื่อหมอมฉันนั่งอยูในที่วินิจฉัยความ ก็ยังมีคนพูดสอดขึ้นในระหวางบาง...

“แตหมอมฉันไดเห็นภิกษุทั้งหลายในธรรมวินัยนี้ ในสมัยใด พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมแกที่ประชุมคน

๑ สิงคาลกสูตร, ที.ปา. ๑๑/๑๗๒–๒๐๖๒ ธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๑๓ ดู สํ.ข. ๑๗/๒๑๕–๒๑๘; สํ.สฬ. ๑๘/๘๘, ๙๐; องฺ.ฉกฺก. ๒๒/๓๒๗๔ วินย. ๕/๑๖๖

Page 212: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๐๗

หลายรอย ในที่ประชุมนั้น สาวกของพระผูมีพระภาคไมมีเสียงไอเสียงจามเลย...

“หมอมฉันเกิดความคิดขึ้นมาวา นาอัศจรรยจริงไมเคยมีมากอน พระผูมีพระภาคทรงฝกอบรมชุมชนไดดีถึงเพียงนี้โดยไมตองใชอาชญา (อํ านาจบังคับและการลงโทษ) โดยไมตองใชศาสตรา หมอมฉันไมเคยเห็นชุมชนอ่ืนที่ฝกไดดีอยางนี้นอกจากธรรมวินัยนี้ แมขอนี้ก็เปนความเล่ือมใสในธรรม ในพระผูมีพระภาค ของหมอมฉัน...”

“อีกประการหนึง่ ชางไม ๒ คน คนหนึง่ชือ่อสิทินัตะคนหนึ่งชื่อปุราณะ กินอยูของหมอมฉัน ใชยวดยานของหมอมฉัน หมอมฉันใหเครื่องเลี้ยงชีพแกเขา ใหยศแกเขา แตถึงกระนั้น เขาจะไดแสดงความเคารพนบนอบในหมอมฉันเหมือนในพระผูมีพระภาคก็หาไม

“เรื่องเคยมี คราวเม่ือหมอมฉันยกกองทัพออกไปคิดจะทดลองชางไมอิสิทันตะและชางไมปุราณะนี้ดู จึงเขาพักอยูในที่พักอาศัยอันคับแคบแหงหนึ่ง โอ ขาแตพระองคผูเจริญ คราวนั้น นายชางเหลานี้ใชเวลากลาวธรรมกันจนดึก ไดทราบวา พระผูมีพระภาคประทับอยูทิศใด เขาก็ผินศีรษะไปทางทิศนั้น นอนเหยียดเทามาทางหมอมฉัน

“หมอมฉันมีความคิดวา นาอัศจรรยแท ไมเคยมีมากอนเลย นายชางเหลานี้ กินอยูของเรา...ถึงกระนั้น

Page 213: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๐๘

เขาจะไดมีความเคารพนบนอบในเรา เหมือนในพระผูมีพระภาคก็หาไม คนทั้งสองนี้ คงจะไดรูสิ่งที่เปนคุณความดีพิเศษยิ่งกวาเดิม ในศาสนาของพระผูมีพระภาคพระองคนั้น เปนแน แมขอนี้ ก็เปนความเลื่อมใสในธรรม ในพระผูมีพระภาค ของหมอมฉัน”๑

ในที่น้ี จะขอสรุปพระคุณสมบัติท่ีควรสังเกตไวดังนี้:-๑. ทรงสอนสิ่งที่จริง และเปนประโยชนแกผูฟง๒. ทรงรูเขาใจสิ่งที่สอนอยางถองแทสมบูรณ๓. ทรงสอนดวยเมตตา มุงประโยชนแกผูรับคํ าสอนเปนที่ตั้งไมหวังผลตอบแทน

๔. ทรงทํ าไดจริงอยางที่สอน เปนตัวอยางที่ดี๕. ทรงมีบุคลิกภาพโนมนาวจิตใจใหเขาใกลชิดสนิทสนมและพึงพอใจไดความสุข

๖. ทรงมหีลกัการสอนและวธิสีอนยอดเยีย่ม ดงัจะกลาวตอไป

๑ ธรรมเจติยสูตร, ม.ม. ๑๓/๕๖๕, ๕๖๘

Page 214: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

๓. หลักทั่วไปในการสอน

ในเรื่องหลักทั่วไปของการสอนนี้ จะขอแบงเปน ๓ หมวด คือท่ีเปนขอควรคํ านึงตางๆ เกี่ยวกับเนื้อหาหรือเรื่องที่สอนพวกหนึ่งเกี่ยวกับตัวผูเรียนพวกหนึ่ง และที่เกี่ยวกับตัวการสอนเองพวกหนึ่งและจะบรรยายเพียงโดยสรุป เพราะไดกินเนื้อท่ีมามากแลวในสองหัวขอกอน:-

ก. เกี่ยวกับเนื้อหาหรือเรื่องที่สอน๑. สอนจากสิ่งที่รูเห็นเขาใจงายหรือรูเห็นเขาใจอยูแลว ไป

หาสิ่งที่เห็นเขาใจไดยาก หรือยังไมรูไมเห็นไมเขาใจ ตัวอยางที่เห็นชัด คือ อริยสัจจ ซ่ึงทรงเริ่มสอนจากความทุกข ความเดือดรอนปญหาชีวิตที่คนมองเห็นและประสบอยูโดยธรรมดา รูเห็นประจักษกันอยูทุกคนแลว ตอจากนั้นจึงสาวหาเหตุท่ียากลึกซึ้ง และทางแกไขตอไป

๒. สอนเนื้อเรื่องที่คอยลุมลึกยากลงไปตามลํ าดับช้ัน และตอเนื่องกันเปนสายลงไป อยางที่เรียกวา สอนเปนอนุบุพพิกถา ตัวอยางก็คือ อนุบุพพิกถา ไตรสิกขา พุทธโอวาท ๓ เปนตน

๓. ถาสิ่งที่สอนเปนสิ่งที่แสดงได ก็สอนดวยของจริง ใหผูเรียนไดดู ไดเห็น ไดฟงเอง อยางที่เรียกวาประสบการณตรง เชนทรงสอนพระนันทะที่คิดถึงคูรักคนงาม ดวยการทรงพาไปชมนางฟา นางอัปสรเทพธิดา ใหเห็นกับตา เรื่องอาจารยทิศาปาโมกขให

Page 215: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๑๐

หมอชีวกทดสอบตัวเอง๑ เรื่องนามสิทธิชาดก๒ หรืออยางที่ใหพระเพงดูความเปลี่ยนแปลงของดอกบัว เปนตน

๔. สอนตรงเนื้อหา ตรงเรื่อง คุมอยูในเรื่อง มีจุด ไมวกวน ไมไขวเขว ไมออกนอกเรื่อง

๕. สอนมเีหตผุล ตรองตามเหน็จรงิได อยางทีเ่รยีกวา สนิทานํ๖. สอนเทาที่จํ าเปนพอดีสํ าหรับใหเกิดความเขาใจ ใหการ

เรียนรูไดผล ไมใชสอนเทาที่ตนรู หรือสอนแสดงภูมิวาผูสอนมีความรูมาก

เหมือนอยางที่พระพุทธเจา เมื่อประทับอยูในปาประดูลายใกลเมืองโกสัมพี ไดทรงหยิบใบไมประดูลายเล็กนอยใสกํ าพระหัตถ แลวตรัสถามภิกษุท้ังหลายวา ใบประดูลายในพระหัตถ กับในปา ไหนจะมากกวากัน ภิกษุท้ังหลายกราบทูลวา ในปามากกวาจึงตรัสวา สิ่งที่พระองคตรัสรูแตมิไดทรงสอน เหมือนใบประดูลายในปา สวนที่ทรงสั่งสอนนอยเหมือนใบประดูลายในพระหัตถ และตรัสแสดงเหตุผลในการที่มิไดทรงสอนทั้งหมดเทาที่ตรัสรูวา เพราะสิ่งเหลานั้นไมเปนประโยชน มิใชหลักการดํ าเนินชีวิตอันประเสริฐไมชวยใหเกิดความรูถูกตองที่จะนํ าไปสูจุดหมาย คือนิพพานได๓

๗. สอนสิ่งที่มีความหมาย ควรที่เขาจะเรียนรูและเขาใจ เปนประโยชนแกตัวเขาเอง อยางพุทธพจนท่ีวา พระองคทรงมีพระ

๑ วินย. ๕/๑๒๙๒ ชา.อ. ๒/๒๔๘๓ ดู สํ.ม. ๑๙/๑๗๑๒

Page 216: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๑๑

เมตตา หวังประโยชนแกสัตวท้ังหลาย จึงตรัสพระวาจาตามหลัก๖ ประการ คือ:-

๑) คํ าพูดที่ไมจริง ไมถูกตอง, ไมเปนประโยชน, ไมเปนที่รักท่ีชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส

๒) คํ าพูดที่จริง ถูกตอง, แตไมเปนประโยชน, ไมเปนที่รักท่ีชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส

๓) คํ าพูดที่จริง ถูกตอง, เปนประโยชน, ไมเปนที่รักที่ชอบใจของผูอื่น - เลอืกกาลตรัส

๔) คํ าพูดที่ไมจริง ไมถูกตอง, ไมเปนประโยชน, ถึงเปนที่รักท่ีชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส

๕) คํ าพูดที่จริง ถูกตอง, แตไมเปนประโยชน, ถึงเปนที่รักท่ีชอบใจของผูอื่น - ไมตรัส

๖) คํ าพูดที่จริง ถูกตอง, เปนประโยชน, เปนที่รักที่ชอบใจของคนอื่น - เลือกกาลตรัส๑

ลักษณะของพระพุทธเจาในเรื่องนี้ คือ ทรงเปนกาลวาทีสัจจวาที ภูตวาที อัตถวาที ธรรมวาที วินัยวาที

ข. เกี่ยวกับตัวผูเรียน๑. รู คํ านึงถึง และสอนใหเหมาะตามความแตกตางระหวาง

บุคคล อยางในทศพลญาณขอ ๕ และขอ ๖ ท่ีอธิบายมาแลว เชนคํ านึงถึงจริต ๖ อันไดแก ราคจริต โทสจริต โมหจริต ศรัทธาจริต

๑ ม.ม. ๑๓/๙๔; เทียบ ที.ปา. ๑๑/๑๑๙

Page 217: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๑๒

พุทธิจริต และวิตกจริต๑ และรูระดับความสามารถของบุคคลอยางที่พระพุทธเจาไดทรงพิจารณาเมื่อกอนเสด็จออกประกาศพระศาสนาวา

“เหลาสัตวที่มีธุลีในดวงตานอยก็มี ที่มีกิเลสในดวงตามากก็มี ที่มีอินทรียแกกลาก็มี ที่มีอินทรียออนก็มี ที่มีอาการดีก็มี มีอาการทรามก็มี ที่จะสอนใหรูไดงายก็มี ที่จะสอนใหรูไดยากก็มี บางพวกที่ตระหนักถึงโทษภัยในปรโลกอยูก็มี ทั้งนี้อุปมาเหมือนดังในกออุบลกอประทุม หรือกอบุณฑริก”๒ตอจากนั้นไดทรงยกบัว ๓ เหลาขึ้นมาเปรียบ ในที่น้ีจะนํ าไป

เทียบกับบุคคล ๔ ประเภท ท่ีพระองคตรัสไวในที่อื่น ดังนี้:-ก. บุคคลผูรูเขาใจไดฉับพลัน แตพอยกหัวขอข้ึนแสดงเทา

น้ัน เรียกวา อุคฆฏิตัญู เทียบกับบัวพนนํ้ า แตพอรับสัมผัสรัศมีตะวัน ก็จะบาน ณ วันนั้น

ข. บุคคลผูสามารถรูเขาใจได ตอเมื่อทานอธิบายความพิสดารออกไป เรียกวา วิปจิตัญู เทียบกับบัวปริ่มน้ํ าจักบานตอวันรุงขึ้น

ค . บุคคลผู พอจะหาทางคอยชี้แจงแนะนํ าใชวิธีการยักเยื้องใหเขาใจไดตอๆ ไป เรียกวา ไนยยะ เทียบกับบัวงามใตพื้นนํ้ า จักบานในวันตอๆ ไป

๑ ดู วิสุทธิมรรค ปริเฉทที่ ๓๒ วินย. ๔/๙

Page 218: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๑๓

ง. บุคคลผูอับปญญา มีดวงตามืดมิด ยังไมอาจใหบรรลุคุณวิเศษไดในชาติน้ี เรียกวา ปทปรมะ เทียบกับบัวจมใตน้ํ า นาจักเปนภักษาแหงปลาและเตา๑

๒. ปรับวธิสีอนผอนใหเหมาะกบับุคคล แมสอนเรือ่งเดยีวกนัแตตางบุคคล อาจใชตางวิธี ขอน้ีเกี่ยวโยงตอเนื่องมาจากขอท่ี ๑

๓. นอกจากคํ านึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลแลว ผูสอนยังจะตองคํ านึงถึงความพรอม ความสุกงอม ความแกรอบแหงอินทรีย หรือญาณ ท่ีบาลีเรียกวา ปริปากะ ของผูเรียนแตละบุคคลเปนรายๆ ไปดวย วาในแตละคราว หรือเมื่อถึงเวลานั้นๆ เขาควรจะไดเรียนอะไร และเรียนไดแคไหนเพียงไร หรือวาสิ่งที่ตองการใหเขารูน้ัน ควรใหเขาเรียนไดหรือยัง เรื่องนี้จะเห็นไดชัดในพทุธวธิสีอน วาพระพทุธเจาทรงคอยพจิารณาปรปิากะของบคุคล เชน

คราวหนึง่พระพทุธเจาประทบัหลกีเรนอยูในทีส่งดั ทรงด ํารวิา“ธรรมเครื่องบมวิมุตติของราหุลสุกงอมดีแลว ถา

กระไรเราพึงชวยชักนํ าเธอในการกํ าจัดอาสวะใหยิ่งขึ้นไปอีก” ดังนี้

๑ บัว ๓ เหลามาใน วินย. ๔/๙; ม.มู. ๑๒/๓๒๑; ม.ม. ๑๓/๕๐๙ บัว ๔ มาในอรรถกถาคือ ที.อ. ๒/๘๓; ม.อ. ๒/๒๔๒; สํ.อ. ๑/๒๓๔; ๒/๕, ๓/๖๓; ฯลฯ บุคคล ๔ พวก มาใน องฺ.จตุกฺก. ๒๑/๑๓๓

หมายเหตุ พึงสังเกตวา ปทปรมะ น้ัน มิไดหมายความวาสอนไมไดเลยทีเดียว แตหมายถึงบุคคลที่ชวยไดอยางมากเพียงใหรูพยัญชนะ แตไมอาจเขาใจอรรถ เปนผูที่พระพุทธศาสนาไมทอดทิ้ง เพราะถือวา แมเขาไมสามารถบรรลุธรรมไดในชาติน้ี แตก็ยังเปนการส่ังสอนอบรมเพ่ือประโยชนในอนาคตตอไป จึงควรตองชวยใหดีที่สุดเทาที่จะชวยได

Page 219: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๑๔

ครั้นเมื่อเสด็จไปบิณฑบาต เสวยเสร็จแลว จึงตรัสชวนพระราหุลใหโดยเสด็จไปพักผอนกลางวันในปาอันธวัน เมื่อถึงโคนไมแหงหนึ่ง ก็ไดประทับน่ังลงและทรงสอนธรรมดวยวิธีสนทนา วันน้ันพระราหุลก็ไดบรรลุอรหัตตผล๑

อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อคราวประทับอยู ๒ องคกับพระเมฆิยะณ จาลกิบรรพต พระเมฆยิะทลูลาไปบณิฑบาตในหมูบานชนัตคุามในระหวางทางกลับจากบิณฑบาตมาถึงฝงลํ านํ้ ากิมิกาฬา ทานไดเห็นสถานที่ในปาอัมพวันนารื่นรมย เกิดความคิดวาเปนสถานที่เหมาะแกการบํ าเพ็ญเพียร ครั้นกลับถึงจาลิกบรรพต จึงเขาไปเฝาพระพุทธเจา กราบทูลขออนุญาตลาไปบํ าเพ็ญเพียร ณ ปาริมฝงน้ํ านั้น

พระพุทธองคทรงทราบวา ญาณของพระเมฆิยะยังไมสุกงอมพอที่จะไปบํ าเพ็ญเพียรอยูผูเดียวใหเกิดผลสํ าเร็จกาวหนาขึ้นไปได แตก็จะทรงใหพระเมฆิยะไดบทเรียน จึงมิไดทรงหามทีเดียวแตทรงทัดทานวา “รอกอนเถิดเมฆิยะ เราอยูคนเดียว เธอจงรอจนกวาจะมีภิกษุรูปอ่ืนมาเสียกอน”

การที่ตรัสดังนี้ ก็เพื่อใหรูสึกวาพระองคมีพระทัยเยื่อใยเมตตาตอพระเมฆิยะอยู เปนแรงคอยโนมนาว เมื่อพระเมฆิยะมีเหตุขัดของอะไรขึ้น จะไดกลับมาเฝาพระองค ครั้นพระเมฆิยะทูลคะยั้นคะยอ พระองคก็ทรงอนุญาต

๑ สํ.สฬ. ๑๘/๑๘๗-๘

Page 220: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๑๕

ฝายพระเมฆิยะ เมื่อไปอยูท่ีปาอัมพวันผูเดียวแลว ตอมาก็เกิดมีอกุศลวิตกขึ้น เพราะญาณของตนยังไมแกกลาสุกงอม ไมสามารถแกไขได จึงกลับมาเฝาพระพุทธเจา และกราบทูลใหทรงทราบ พระองคจึงตรัสสอนเรื่องธรรม ๕ อยางที่ชวยใหเกิดปริปากะแกเจโตวิมุตติ ท่ียังไมแกกลา

ธรรมเหลานี้คือ ความมีกัลยาณมิตร ๑ ความมีศีล ๑ การมีโอกาสไดยินไดฟง ไดรวมสนทนาอยางสะดวกสบายในเรื่องตางๆท่ีชวยชํ าระจิตใจใหปลอดโปรงผองใส เชน เรื่องความเพียร ศีลสมาธิ ปญญา วิมุตติ เปนตน ๑ การบํ าเพ็ญเพียรสรางกุศลธรรมอยางหนักแนนจริงจัง ๑ และความมีปญญา ๑

โดยเฉพาะทรงเนนวา ความมีกัลยาณมิตรนั้นเปนพื้นเบื้องตนอันสํ าคัญ ท่ีจะชวยใหไดท้ังศีล ใหไดฟงเรื่องที่ดีงาม ใหไดบํ าเพ็ญเพียร และใหไดปญญา๑

เปนอันวา ขณะนั้นพระเมฆิยะยังไมมีปริปากะ ยังไมพรอมท่ีจะออกไปบํ าเพ็ญเพียรผูเดียวอยางที่ตนประสงค ยังตองพึ่งอาศัยกัลยาณมิตรอยู

๔. สอนโดยใหผูเรียนลงมือทํ าดวยตนเอง ซ่ึงจะชวยใหเกิดความรูความเขาใจชัดเจน แมนยํ าและไดผลจริง เชน ทรงสอนพระจูฬปนถกผูโงเขลาดวยการใหนํ าผาขาวไปลูบคลํ า เปนตน

๑ องฺ.นวก. ๒๓/๒๐๗; ขุ.อุ. ๒๕/๘๕–๘๙

Page 221: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๑๖

๕. การสอนดํ าเนินไปในรูปท่ีใหรูสึกวาผูเรียนกับผูสอนมีบทบาทรวมกัน ในการแสวงความจริง ใหมีการแสดงความคิดเห็น โตตอบเสรี

หลกันีเ้ปนขอส ําคญัในวธิกีารแหงปญญา ซ่ึงตองการอสิรภาพในทางความคิด และโดยวิธีน้ี เมื่อเขาถึงความจริง ผูเรียนก็จะรูสึกวาตนไดมองเห็นความจริงดวยตนเอง และมีความชัดเจนมั่นใจ

หลักนี้พระพุทธเจาทรงใชเปนประจํ า และมักมาในรูปการถามตอบ ซ่ึงอาจแยกลักษณะการสอนแบบนี้ไดเปน:-

ก. ลอใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นของตนออกมา ช้ีขอคิดใหแกเขา สงเสริมใหเขาคิด และใหผูเรียนเปนผูวินิจฉัยความรูน้ันเอง ผูสอนเปนเพียงผูนํ าชี้ชองทางเขาสูความรู

ในการนี้ ผูสอนมักกลายเปนผูถามปญหา แทนที่จะเปนผูตอบ

ข. มีการแสดงความคิดเห็น โตตอบอยางเสรี แตมุงหาความรู ไมใชมุงแสดงภูมิ หรือขมกัน

๖. เอาใจใสบุคคลที่ควรไดรับความสนใจพิเศษเปนรายๆ ไปตามควรแกกาละเทศะและเหตุการณ เชน

ชาวนาคนหนึ่งตั้งใจไวแตกลางคืนวาจะไปฟงพุทธเทศนา บังเอิญวัวหาย ไปตามไดแลวรีบมา แตกวาจะไดก็ชามาก คิดวาทันฟงทายหนอยก็ยังดี ไปถึงวัดปรากฏวาพระพุทธเจายังทรงประทับรออยูน่ิงๆ ไมเริ่มแสดง ยิ่งกวานั้นยังใหจัดอาหารใหเขารับประทานจนอิ่มสบาย แลวจึงทรงเริ่มแสดงธรรม หรือ

Page 222: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๑๗

เรื่องเด็กหญิงชาวบานลูกชางหูกคนหนึ่ง อยากฟงธรรม แตมีงานมวนกรอดายเรงอยู เมื่อทํ าเสร็จจึงเดินจากบานเอามวนดายไปสงบิดาที่โรง ผานโรงธรรมก็แวะหนอยหนึ่ง น่ังอยูแถวหลังสุดของที่ประชุม พระพุทธองคก็ยังทรงเอาพระทัยใสหันไปรับสั่งใหเขาไปนั่งใกลๆ ทักทายปราศรัย และสนทนาใหเกียรติใหเด็กนั้นพูดแสดงความเห็นในที่ประชุม และทรงเทศนาใหเด็กนั้นไดรับประโยชนจากการมาฟงธรรม

๗. ชวยเหลือเอาใจใสคนที่ดอย ท่ีมีปญหา เชน เรื่องพระจูฬปนถกที่กลาวแลว เปนตน

ค. เกี่ยวกับตัวการสอน๑. ในการสอนนั้น การเริ่มตนเปนจุดสํ าคัญมากอยางหนึ่ง

การเริ่มตนที่ดีมีสวนชวยใหการสอนสํ าเร็จผลดีเปนอยางมาก อยางนอยก็เปนเครื่องดึงความสนใจ และนํ าเขาสูเนื้อหาได

พระพุทธเจาทรงมีวิธีเริ่มตนที่นาสนใจมาก โดยปกติพระองคจะไมทรงเริ่มสอนดวยการเขาสูเนื้อหาธรรมทีเดียว แตจะทรงเริ่มสนทนากับผูทรงพบหรือผูมาเฝา ดวยเรื่องที่เขารูเขาใจดี หรือสนใจอยู เชน เมื่อทรงสนทนากับควาญชาง ก็ทรงเริ่มสนทนาดวยเรื่องวิธีฝกชาง พบชาวนาก็สนทนาเรื่องการทํ านา พบพราหมณก็สนทนาเรื่องไตรเพท หรือเรื่องธรรมของพราหมณ

บางทีก็ทรงจี้จุดสนใจ หรือเหมือนสะกิดใหสะดุง เปนการปลุกเราความสนใจ เชน เมื่อเทศนโปรดชฎิลผูบูชาไฟ ทรงเริ่มตน

Page 223: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๑๘

ดวยคํ าวา “อะไรๆ รอนลุกเปนไฟหมดแลว” ตอจากนั้นจึงถามและอธิบายตอไปวาอะไรรอน อะไรลุกเปนไฟ นํ าเขาสูธรรม

บางทีก็ใชเรื่องที่เขาสนใจ หรือท่ีเขารูน่ันเอง เปนขอสนทนาไปโดยตลอด แตแทรกความหมายทางธรรมเขาไวให

๒. สรางบรรยากาศในการสอนใหปลอดโปรง เพลิดเพลินไมใหตึงเครียด ไมใหเกิดความอึดอัดใจ และใหเกียรติแกผูเรียน ใหเขามีความภูมิใจในตัว เชน เมื่อพราหมณโสณทัณฑะกับคณะไปเฝา ทานโสณทัณฑะครุนคิดวิตกอยูในใจวา

“ถาเราถามปญหาออกไป หากพระองคตรัสวา‘พราหมณ ปญหาขอนี้ทานไมควรถามอยางนี้’ ที่ประชุมก็จะหมิ่นเราได

“ถาพระสมณโคดมจะพึงตรัสถามปญหาเรา ถาแมเราตอบไมถูกพระทัย หากพระองคตรัสวา ‘พราหมณปญหาขอนี้ ทานไมควรตอบอยางนี้ ที่ถูกควรแกอยางนี้’ที่ประชุมก็จะหมิ่นเราได

“ถากระไร ขอใหพระสมณโคดมถามปญหาเราในเรื่องไตรเพท อันเปนคํ าสอนของอาจารยเราเถดิ เราจะตอบใหถกูพระทยัทเีดียว”พระพุทธเจาทรงทายใจพราหมณได ทรงดํ าริวา

“โสณทัณฑะนี้ลํ าบากใจอยู ถากระไร เราพึงถามปญหาเขาในเรื่องไตรเพท อันเปนคํ าสอนของอาจารยฝายเขาเองเถิด”

Page 224: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๑๙

แลวไดตรัสถามถึงคุณสมบัติของพราหมณ ทํ าใหพราหมณน้ันสบายใจ และรูสึกภูมิใจท่ีจะสนทนาตอไปในเรื่องซึ่งตัวเขาเองถือวาเขารูชํ านาญอยูเปนพิเศษ และพระองคก็ทรงสามารถชักนํ าพราหมณน้ันเขาสูธรรมของพระองคได ดวยการคอยทรงเลือกปอนคํ าถามตางๆ กะพราหมณน้ัน แลวคอยสนับสนุนคํ าตอบของเขาตอนเขาสูแนวที่พระองคทรงพระประสงค๑

ในทํ านองเดียวกัน เมื่อพบนิโครธปริพาชก ก็ทรงเปดโอกาสเชิญใหเขาถามพระองคดวยปญหาเกี่ยวกับลัทธิฝายเขาทีเดียว๒

๓. สอนมุงเนื้อหา มุงใหเกิดความรูความเขาใจในสิ่งที่สอนเปนสํ าคัญ ไมกระทบตนและผูอื่น ไมมุงยกตน ไมมุงเสียดสีใครๆ๓

แมเมื่อมีผูมาทูลถามเรื่องคํ าสอนของเจาลัทธิตางๆ วาของคนใดผิดคนใดถูก พระองคก็จะไมทรงตัดสิน แตจะทรงแสดงหลักธรรมใหเขาฟง คือใหเขาคิดพิจารณาตัดสินเอาดวยตนเอง

ยกตัวอยาง เชน คราวหนึ่ง พราหมณ ๒ คน เขาไปเฝาทูลถามวา ทานปูรณกัสสป เจาลัทธิหนึ่ง กับทานนิครนถนาฏบุตร อีกเจาลัทธิหนึ่ง ตางก็ปฏิญาณวาตนเปนผูท่ีรูท่ีสุดดวยกัน วาทะเปนปฏิปกษกัน ใครจริง ใครเท็จ พระพุทธเจาตรัสตอบวา

“อยาเลยพราหมณ ขอที่ทั้งสองนี้ตางพูดอวดรู มีวาทะเปนปฏิปกษกันนั้น ใครจะจริง ใครจะเท็จ พักไว

๑ ที.สี. ๙/๑๘๔–๑๙๔๒ ที.ปา. ๑๑/๒๒๓ เปนองคคุณอยางหนึ่งของธรรมกถึก องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๙

Page 225: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๒๐

เถิด เราจักแสดงธรรมใหทานทั้งสองฟง ขอใหทานตั้งใจฟงเถิด”๑เรื่องเชนนี้มีปรากฏหลายแหงในพระไตรปฎก๒ แมเมื่อแสดง

ธรรมตามปกติในที่ประชุมสาวก ก็ไมทรงยกยอ และไมทรงรุกรานท่ีประชุม ทรงชี้แจงใหรูเขาใจชัดเจนไปตามธรรม๓

๔. สอนโดยเคารพ คือ ตั้งใจสอน ดวยความรูสึกวา เปนเรื่องจริงจัง มีคุณคา มองเห็นความสํ าคัญของผูเรียนและของงานสั่งสอนนั้น ไมใชสักวาทํ า หรือเห็นผูเรียนโงเขลา หรือเห็นเปนชั้นตํ่ าๆอยางพระพุทธจริยาที่วา

“ภิกษุทั้งหลาย ถาแมตถาคตจะแสดงธรรมแกภิกษุทั้งหลาย ตถาคตยอมแสดงโดยเคารพ ไมแสดงโดยไมเคารพ ถาแมจะแสดงแกภิกษุณี แกอุบาสกอุบาสิกาแกปุถุชนทั้งหลาย โดยที่สุดแมแกคนขอทานและพรานนก ก็ยอมแสดงโดยเคารพ หาแสดงโดยขาดความเคารพไม”๔๕. ใชภาษาสุภาพ นุมนวล ไมหยาบคาย ชวนใหสบายใจ

สละสลวย เขาใจงาย อยางที่วา

๑ องฺ.นวก. ๒๓/๒๔๒๒ เชน ม.มู. ๑๒/๓๕๓๓ ม.ม. ๑๓/๕๘๙๔ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๙๙

Page 226: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๒๑

“พระสมณโคดมมีพระดํ ารัสไพเราะ รูจักตรัสถอยคํ าไดงดงาม มีพระวาจาสุภาพ สละสลวย ไมมีโทษ ยังผูฟงใหเขาใจเนื้อความไดชัดแจง”๑กอนจบตอนนี้ ขอนํ าพุทธพจนแหงหนึ่ง ท่ีตรัสสอนภิกษุผู

แสดงธรรม เรียกกันวา องคแหงพระธรรมกถึก มาแสดงไว ดังนี้:-“อานนท การแสดงธรรมใหคนอ่ืนฟง มิใชสิ่งที่

กระทํ าไดงาย ผูแสดงธรรมแกคนอ่ืน พึงตั้งธรรม ๕อยางไวในใจ คือ:-๑. เราจักกลาวชี้แจงไปตามลํ าดับ๒. เราจักกลาวชี้แจงยกเหตุผลมาแสดงใหเขาใจ๓. เราจักแสดงดวยอาศัยเมตตา๔. เราจักไมแสดงดวยเห็นแกอามิส๕. เราจักแสดงไปโดยไมกระทบตนและผูอื่น” ๒

๑ ม.ม. ๑๓/๖๕๐๒ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๙

Page 227: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

๔. ลีลาการสอน

เมื่อมองกวางๆ การสอนของพระพุทธเจาแตละครั้ง จะดํ าเนินไปจนถึงผลสํ าเร็จ โดยมีคุณลักษณะซึ่งเรียกไดวาเปนลีลาในการสอน ๔ อยาง ดังนี้:-

๑. สันทัสสนา อธบิายใหเหน็ชดัเจนแจมแจง เหมอืนจงูมอืไปดูเห็นกับตา

๒. สมาทปนา จูงใจใหเห็นจริงดวย ชวนใหคลอยตาม จนตองยอมรับและนํ าไปปฏิบัติ

๓. สมุตเตชนา เราใจใหแกลวกลา บังเกิดกํ าลังใจ ปลุกใหมีอุตสาหะแข็งขัน มั่นใจวาจะทํ าใหสํ าเร็จได ไมหวั่นระยอตอความเหนื่อยยาก

๔. สัมปหังสนา ชโลมใจใหแชมช่ืน ราเริง เบิกบาน ฟงไมเบื่อ และเปยมดวยความหวัง เพราะมองเห็นคุณประโยชนท่ีจะไดรับจากการปฏิบัติ

อาจผูกเปนคํ าสั้นๆ วา แจมแจง จูงใจ หาญกลา ราเริง หรือชี้ชัด เชิญชวน คึกคัก เบิกบาน

Page 228: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

๕. วิธีสอนแบบตางๆ

วธิสีอนของพระพทุธเจา มหีลายแบบหลายอยาง ท่ีนาสงัเกตหรือพบบอย คงจะไดแกวิธีตอไปนี้:-

๑. แบบสากัจฉา หรือสนทนา วิธีน้ีนาจะเปนวิธีท่ีทรงใชบอยไมนอยกวาวิธีใดๆ โดยเฉพาะในเมื่อผูมาเฝาหรือทรงพบนั้น ยังไมไดเลื่อมใสศรัทธาในพระศาสนา ยังไมรู ไมเขาใจหลักธรรม

ในการสนทนา พระพทุธเจามกัจะทรงเปนฝายถาม นํ าคูสนทนาเขาสูความเขาใจธรรมและความเลื่อมใสศรัทธาในที่สุด

แมในหมูพระสาวก พระองคก็ทรงใชวิธีน้ีไมนอย และทรงสงเสริมใหสาวกสนทนาธรรมกัน อยางในมงคลสูตรวา “กาเลน ธมฺม-สากจฺฉา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ - การสนทนาธรรมตามกาล เปนมงคลอันอุดม” ดังนี้

๒. แบบบรรยาย วิธีสอนแบบนี้ นาจะทรงใชในที่ประชุมใหญในการแสดงธรรมประจํ าวัน ซ่ึงมีประชาชน หรือพระสงฆจํ านวนมาก และสวนมากเปนผูมีพื้นความรูความเขาใจ กับมีความเลื่อมใสศรัทธาอยูแลว มาฟงเพื่อหาความรูความเขาใจเพิ่มเติมและหาความสงบสุขทางจิตใจ นับไดวาเปนคนประเภทและระดับใกลเคียงกัน พอจะใชวิธีบรรยายอันเปนแบบกวางๆ ได

ลักษณะพิเศษของพุทธวิธีสอนแบบนี้ ท่ีพบในคัมภีรบอกวาทุกคนที่ฟงพระองคแสดงธรรมอยูในที่ประชุมน้ัน แตละคนรูสึกวา

Page 229: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๒๔

พระพุทธเจาตรัสอยูกับตัวเองโดยเฉพาะ ซ่ึงนับวาเปนความสามารถอัศจรรยอีกอยางหนึ่งของพระพุทธเจา

๓. แบบตอบปญหา ผูท่ีมาถามปญหานั้น นอกจากผูท่ีมีความสงสัยของใจในขอธรรมตางๆ แลว โดยมากเปนผูนับถือลัทธิศาสนาอื่น บางก็มาถามเพื่อตองการรูคํ าสอนทางฝายพระพุทธศาสนา หรือเทียบเคียงกับคํ าสอนในลัทธิของตน บางก็มาถามเพื่อลองภูมิ บางก็เตรียมมาถามเพื่อขมปราบใหจน หรือใหไดรับความอับอาย

ในการตอบ พระพุทธองคทรงสอนใหพิจารณาดูลักษณะของปญหา และใชวิธีตอบใหเหมาะกัน

ในสังคีติสูตร๑ ทานแยกประเภทปญหาไวตามลักษณะวิธีตอบเปน ๔ อยาง คือ:-

๑) เอกังสพยากรณียปญหา ปญหาที่พึงตอบตรงไปตรงมาตายตัว พระอรรถกถาจารยยกตัวอยาง เชน ถามวา“จักษุเปนอนิจจังหรือ” พึงตอบตรงไปไดทีเดียววา “ถูกแลว”

๒) ปฏิปุจฉาพยากรณียปญหา ปญหาที่พึงยอนถามแลวจึงแก ทานยกตัวอยาง เชนเขาถามวา “โสตะก็เหมือนจักษุหรือ” พึงยอนถามกอนวา “ท่ีถามนั้นหมายถึงแงใด” ถาเขาวา “ในแงเปนเครื่องมองเห็น” พึงตอบวา “ไมเหมือน” ถาเขาวา “ในแงเปนอนิจจัง” จึงควรตอบรับวา

๑ ที.ปา. ๑๑/๒๕๕

Page 230: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๒๕

“เหมือน”๓) วิภัชชพยากรณียปญหา ปญหาที่จะตองแยกแยะตอบ

เชนเมื่อเขาถามวา “สิ่งที่เปนอนิจจัง ไดแก จักษุใชไหม?” พึงจํ าแนกความออกแยกแยะตอบวา “ไมเฉพาะจักษุเทานั้น ถึงโสตะ ฆานะ ฯลฯ ก็เปนอนิจจัง” หรือปญหาวา “พระตถาคตตรัสวาจาซึ่งไมเปนที่รักที่ชอบใจของคนอื่นไหม?” ก็ตองแยกตอบตามหลักการตรัสวาจา ๖ หรือปญหาวา “พระพุทธเจาทรงติเตียนตบะทั้งหมดจริงหรือ”๑ ก็ตองแยกตอบวาชนิดใดติเตียน ชนิดใดไมติเตียน ดังนี้เปนตน

๔) ฐปนียปญหา ปญหาที่พึงยับยั้งเสีย ไดแก ปญหาที่ถามนอกเรื่อง ไรประโยชน อันจักเปนเหตุใหเขว ยืดเยื้อ สิ้นเปลืองเวลาเปลา พึงยับยั้งเสีย แลวชักนํ าผูถามกลับเขาสูแนวหรือเรื่องที่ประสงคตอไป

ทานยกตัวอยาง เมื่อถามวา “ชีวะอันใด สรีระก็อันน้ันหรือ?” อยางนี้เปนคํ าถามประเภทเก็งความจริง ซ่ึงถึงอธิบายอยางไรผูถามก็ไมอาจเขาใจหรือพบขอยุติ เพราะไมอยูในฐานะที่เขาจะเขาใจได พิสูจนไมได ท้ังไมเกิดประโยชนอะไรแกเขาดวย

๑ องฺ.ทสก. ๒๔/๙๔

Page 231: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๒๖

นอกจากนี้ ทานยังสอนใหคํ านึงถึงเหตุแหงการถามปญหาดวย ในเรื่องนี้ พระสารีบุตร อัครสาวก เคยแสดงเหตุแหงการถามปญหาไววา

“บุคคลผูใดผูหนึ่ง ยอมถามปญหากะผูอ่ืน ดวยเหตุ ๕ อยาง อยางใดอยางหนึ่ง หรือทั้ง ๕ อยาง คือ:-๑) บางคน ยอมถามปญหาเพราะความโงเขลา เพราะ

ความไมเขาใจ๒) บางคน มีความปรารถนาลามก เกิดความอยากได จึง

ถามปญหา๓) บางคน ยอมถามปญหา ดวยตองการอวดเดนขมเขา๔) บางคน ยอมถามปญหาดวยประสงคจะรู๕) บางคน ยอมถามปญหาดวยมีความดํ าริวา เมื่อเราถาม

แลว ถาเขาตอบไดถกูตองกเ็ปนการด ี แตถาเราถามแลวเขาตอบไมถูกตอง เราจะไดชวยแกใหเขาโดยถูกตอง”๑

ในการตอบปญหา นอกจากรูวิธีตอบแลว ถาไดรูซ้ึงถึงจิตใจของผูถามดวยวา เขาถามดวยความประสงคอยางใด ก็จะสามารถ

๑ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๖๕; ในที่น้ีขอใหเทียบพุทธธรรมดา หรือพุทธประเพณีในการตรัสถามคํ าถาม ซึ่งมีดังนี้

“ตถาคตทั้งหลาย ทั้งที่ทรงทราบอยู ยอมตรัสถามก็มี, ทั้งที่ทรงทราบอยู แตไมตรัสถามก็มี, ทรงกํ าหนดทราบกาลอันเหมาะสมแลวจึงตรัสถาม, ทรงกํ าหนดทราบกาล(ไมเหมาะ)แลวจึงไมตรัสถาม, พระองคตรัสถามแตส่ิงที่เปนประโยชน, ไมตรัสถามส่ิงที่ไมเปนประโยชน, ในเรื่องที่ไมเปนประโยชน ทรงปดทางเสียทีเดียว; พระพุทธเจาทั้งหลายยอมทรงสอบถามภิกษุดวยอาการ ๒ แบบ คือ จะทรงแสดงธรรมหรือจะทรงบัญญัติสิกขาบทแกสาวกทั้งหลาย” (ดู วินย. ๕/๔๙ เปนตน)

Page 232: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๒๗

กลาวแกไดเหมาะแกการ และตอบปญหาไดตรงจุด ทํ าใหการสอนไดผลดียิ่งขึ้น

๔. แบบวางกฎขอบังคับ เมื่อเกิดเรื่องมีภิกษุกระทํ าความผิดอยางใดอยางหนึ่งขึ้นเปนครั้งแรก พระสงฆหรือประชาชนเลาลือโพนทนาติเตียนกันอยู มีผูนํ าความมากราบทูลพระพุทธเจา พระองคก็จะทรงเรียกประชุมสงฆ สอบถามพระภิกษุผูกระทํ าความผิด

เมื่อเจาตัวรับไดความเปนสัตยจริงแลว ก็จะทรงตํ าหนิ ช้ีแจงผลเสียหายที่เกิดแกสวนรวม พรรณนาผลรายของความประพฤติไมดี และคุณประโยชนของความประพฤติท่ีดีงาม แลวทรงแสดงธรรมกถาที่สมควรเหมาะสมกันกับเรื่องนั้น

จากนั้นจะตรัสใหสงฆทราบวา จะทรงบัญญัติสิกขาบท โดยทรงแถลงวัตถุประสงคในการบัญญัติใหทราบ แลวทรงบัญญัติสิกขาบทขอน้ันๆ ไว โดยความเห็นชอบพรอมกันของสงฆ ในทามกลางสงฆ และโดยความรับทราบรวมกันของสงฆ

ในการสอนแบบนี ้พงึสงัเกตวาพระพทุธเจาทรงบญัญตัสิกิขา-บทโดยความเห็นชอบของสงฆ ซ่ึงบาลีใชคํ าวา “สงฺฆสุฏุตาย”แปลวา “เพื่อความรับวาดีแหงสงฆ”

ทานอธิบายความหมายวา ทรงบัญญัติ โดยชี้แจงใหเห็นแลววาถาไมรับจะเกิดผลเสียอยางไร เมื่อรับจะมีผลดีอยางไร จนสงฆรับคํ าของพระองควา ดีแลว ไมทรงบังคับเอาโดยพลการ๑

๑ ดู วินย.อ. ๑/๒๖๒

Page 233: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

๖. กลวิธีและอุบายประกอบการสอน

๑. การยกอุทาหรณ และการเลานิทานประกอบ การยกตัวอยางประกอบคํ าอธิบาย และการเลานิทานประกอบการสอน ชวยใหเขาใจความไดงายและชัดเจน ชวยใหจํ าแมน เห็นจริง และเกิดความเพลิดเพลิน ทํ าใหการเรียนการสอนมีรสยิ่งขึ้น

ตัวอยางเชน เมื่อจะอธิบายใหเห็นวา คนมีความปรารถนาดีอยากชวยทํ าประโยชน แตหากขาดปญญา อาจกลับทํ าลายประโยชนเสียก็ได ก็เลานิทานชาดกเรื่อง ลิงเฝาสวน๑ หรือ คนขายเหลา๒ เปนตน

พระพุทธเจาทรงใชอุทาหรณและนิทานประกอบการสอนมากมายเพียงใด จะเห็นไดจากการที่ในคัมภีรตางๆ มีอุทาหรณและนิทานปรากฏอยูท่ัวไป เฉพาะคัมภีรชาดกอยางเดียวก็มีนิทานชาดกถึง ๕๔๗ เรื่อง

๒. การเปรียบเทียบดวยขออุปมา คํ าอุปมาชวยใหเรื่องที่ลึกซึ้งเขาใจยาก ปรากฏความหมายเดนชัดออกมา และเขาใจงายขึ้นโดยเฉพาะมักใชในการอธิบายสิ่งที่เปนนามธรรม เปรียบใหเห็นชัดดวยสิ่งที่เปนรูปธรรม หรือแมเปรียบเรื่องที่เปนรูปธรรมดวยขออุปมาแบบรูปธรรม ก็ชวยใหเนื้อความหนักแนนเขา เชน ๑ ชา.อ. ๒/๒๓๒ ชา.อ. ๒/๒๖

Page 234: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๒๙

“ภูเขาศิลาลวน เปนแทงทึบ ยอมไมหว่ันไหวดวยแรงลม ฉันใด บัณฑิตทั้งหลาย ยอมไมหว่ันไหวเพราะคํ านินทาและสรรเสริญ ฉันนั้น”๑

“คนผูเรียนรูนอย ยอมแกลงเหมือนโคถึก เนื้อของเขาเจริญขึ้น แตปญญาหาเจริญไม”๒

“เมื่อพระอาทิตยจะอุทัย มีแสงเงินแสงทองปรากฏขึ้น เปนนิมิตมากอน ฉันใด ความมีกัลยาณมิตรก็เปนเบ้ืองตน เปนนิมิตหมายแหงการบังเกิดขึ้นของโพชฌงค ๗ ฉันนั้น”๓

ฯลฯการใชอุปมานี้ นาจะเปนกลวิธีประกอบการสอนที่พระพุทธ

องคทรงใชมากที่สุด มากกวากลวิธีอื่นใด๓. การใชอุปกรณการสอน ในสมัยพุทธกาล ยอมไมมี

อุปกรณการสอนชนิดตางๆ ท่ีจัดทํ าขึ้นไวเพื่อการสอนโดยเฉพาะเหมือนสมัยปจจุบัน เพราะยังไมมีการจัดการศึกษาเปนระบบขึ้นมาอยางแพรหลายกวางขวาง หากจะใชอปุกรณบาง กค็งตองอาศยัวัตถุสิ่งของที่มีในธรรมชาติ หรือเครื่องใชตางๆ ท่ีผูคนใชกันอยู

อีกประการหนึ่ง คํ าสอนของพระพุทธเจาที่มีบันทึกไวก็มักเปนคํ าสอนที่ตรัสแกผูใหญ และเปนเรื่องเกี่ยวกับหลักธรรม ท้ังสอนเคลื่อนที่ไปในดินแดนแวนแควนตางๆ อยางอิสระ ชนิดที่ผู ๑ ขุ.ธ. ๒๕/๑๖๒ สํ.ม. ๑๙/๕๑๖๓ ขุ.ธ. ๒๕/๒๑

Page 235: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๓๐

สอนไมมีทรัพยสมบัติติดตัว ดวยเหตุน้ี ความจํ าเปนที่จะใชอุปกรณจึงมีนอย และโอกาสที่จะอาศัยอุปกรณก็เปนไปไดยาก

นอกจากนั้น การใชขออุปมาตางๆ ก็สะดวกกวา และใหความเขาใจชัดเจนอยูแลว แมเมื่อใชของจริงเปนอุปกรณ ก็มักใชในแงอุปมาอีกนั่นเอง จึงปรากฏวาคํ าสอนในแงอุปมามีมากมายแตไมคอยปรากฏการใชอุปกรณการสอน

อยางไรก็ดี มีตัวอยางการที่พระพุทธเจาทรงใชอุปกรณการสอน ในกรณีสอนผูเรียนที่อายุนอยๆ ซ่ึงเขาใจจากวัตถุไดงายกวานามธรรม โดยทรงใชเครื่องใชท่ีมีอยู จึงปรากฏเรื่องที่พระองคทรงสอนสามเณรราหุลเมื่ออายุ ๗ ขวบวา:-

วันหนึ่งพระผูมีพระภาคเสด็จมา ณ ท่ีอยูของสามเณรราหุลสามเณรมองเห็นแลว ก็ปูลาดอาสนะ และจัดนํ้ าลางพระบาทไวพระผูมีพระภาคลางพระบาทแลว ทรงเหลือน้ํ าไวในภาชนะหนอยหนึ่ง เมื่อสามเณรถวายบังคมนั่งเรียบรอยแลว

พระองคไดตรัสถามวา “ราหุล เธอเห็นนํ้ าที่เหลืออยูหนอยหนึ่งในภาชนะนี้หรือไม” สามเณรราหุลทูลวา เห็น จึงตรัสวา “คนที่พูดเท็จท้ังที่รูอยู ก็มีคุณธรรมของสมณะเหลืออยูนอยเหมือนอยางน้ัน”

เสร็จแลวทรงเทนํ้ านั้นเสีย ตรัสถามวา “เธอเห็นเราเทนํ้ าหนอยหนึ่งนั้นทิ้งไปแลวไหม” สามเณรทูลวา เห็น ตรัสวา “คนที่ไมมีความละอายในการกลาวเท็จท้ังที่รูอยู ก็เปนผูเทคุณธรรมของสมณะออกทิ้งเสียเหมือนอยางนั้น”

Page 236: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๓๑

แลวทรงควํ่ าภาชนะลง ตรัสถามวา “เธอเห็นภาชนะนี้ควํ่ าลงแลวไหม” สามเณรทูลวา เห็น ตรัสวา “คนที่ไมมีความละอายในการพูดเท็จท้ังรูอยู คุณธรรมของสมณะของเขาก็ช่ือวาควํ่ าไปแลวเหมือนอยางนั้น”

แลวทรงหงายภาชนะขึ้น ตรัสถามวา “เธอเห็นภาชนะนี้วางเปลาไหม” สามเณรทูลวา เห็น จึงตรัสวา “คนที่ไมมีความละอายในการพูดเท็จ ท้ังที่รูอยู คุณธรรมแหงสมณะของเขาก็วางเปลาเหมือนอยางนั้น”

ตรัสถามวา “ราหุล แวนมีประโยชนอยางไร?”ทูลตอบวา “มีประโยชนสํ าหรับสองดู พระเจาขา”ตรัสวา “อันนั้นเหมือนกัน ราหุล บุคคลควรพิจารณาเสีย

กอน จึงกระทํ ากรรมดวยกาย วาจา และใจ”๑ในการสอนสามเณรนี้ บางทีก็ทรงใชวิธีทายปญหา ซ่ึงคงจะ

ชวยใหเกิดความรูสึกสนุกสํ าหรับเด็ก อยางเรื่องสอนธรรมยากๆดวยสามเณรปญหาวา “อะไรเอย มีอยางเดียว, อะไรเอย มีสองอยาง, อะไรเอย มีสามอยาง” ฯลฯ๒

๔. การทํ าเปนตัวอยาง วิธีสอนที่ดีท่ีสุดอยางหนึ่ง โดยเฉพาะในทางจริยธรรม คือการทํ าเปนตัวอยาง ซ่ึงเปนการสอนแบบไมตองกลาวสอน เปนทํ านองการสาธิตใหดู แตท่ีพระพุทธเจาทรงกระทํ านั้นเปนไปในลักษณะที่ทรงเปนผูนํ าที่ดี

๑ จูฬราหุโลวาทสูตร, ม.ม. ๑๓/๑๒๕–๑๒๙๒ ขุ.ขุ. ๒๕/๔

Page 237: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๓๒

การสอนโดยทํ าเปนตัวอยาง ก็คือพระจริยาวัตรอันดีงามที่เปนอยูตามปกติน่ันเอง แตท่ีทรงปฏิบัติเปนเรื่องราวเฉพาะก็มี เชน

คราวหนึ่ง พระพุทธเจา พรอมดวยพระอานนทตามเสด็จขณะเสด็จไปตามเสนาสนะที่อยูของพระสงฆ ไดทอดพระเนตรเห็นพระภิกษุรูปหนึ่ง อาพาธเปนโรคทองรวง นอนจมกองมูตรและคูถของตน ไมมีผูพยาบาลดูแล จึงเสด็จเขาไปหา จัดการทํ าความสะอาด ใหนอนโดยเรียบรอย เสร็จแลวจึงทรงประชุมสงฆ ทรงสอบถามเรื่องนั้น และตรัสตอนหนึ่งวา

“ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอไมมีมารดา ไมมีบิดา ผูใดเลาจะพยาบาลพวกเธอ ถาพวกเธอไมพยาบาลกันเองใครเลาจักพยาบาล ผูใดจะพึงอุปฐากเรา ขอใหผูนั้นพยาบาลภิกษุอาพาธเถิด”๑๕. การเลนภาษา เลนคํ า และใชคํ าในความหมายใหม การเลน

ภาษาและเลนคํ า เปนเรื่องของความสามารถในการใชภาษาผสมกับปฏิภาณ ขอน้ีก็เปนการแสดงใหเห็นถึงพระปรีชาสามารถของพระพุทธเจาที่มีรอบไปทุกดาน

เมื่อผูใดทูลถามมาเปนคํ ารอยกรอง พระองคก็ทรงตอบเปนคํ ารอยกรองไปทันที ทํ านองกลอนสด

บางทีเขาทูลถามหรือกลาวขอความโดยใชคํ าที่มีความหมายไปในทางไมดีงาม พระองคก็ตรัสตอบไปดวยคํ าพูดเดียวกันน้ันเอง แตเปนคํ าพูดในความหมายที่ตางออกไปเปนฝายดีงาม

๑ วินย. ๕/๑๖๖

Page 238: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๓๓

คํ าสนทนาโตตอบแบบนี้ มีรสอยูแตในภาษาเดิม แปลออกสูภาษาอื่นยอมเสียรสเสียความหมาย ยกตัวอยางใหเห็นงายๆ เชนในภาษาไทยวา “ปากกาหัก” “ฟนตาตกนํ้ า” อาจใชในความหมายตางกันไดในภาษาไทย แตเมื่อแปลเปนภาษาอื่นยอมเสียรส

บางครัง้ ผูมาเฝา บริภาษพระองคดวยค ําพดูตางๆ ท่ีรุนแรงยิง่ พระองคทรงยอมรับคํ าบริภาษเหลานั้นทั้งหมด แลวทรงแปลความหมาย อธิบายเสียใหมใหเปนเรื่องที่ดีงาม เชน กรณีของเวรัญชพราหมณ๑ และสีหเสนาบดีผูรับแผนมาจากนิครนถนาฏ-บุตร๒ เปนตน

แมในดานการสอนหลักธรรมทั่วไป พระองคก็ทรงรับเอาคํ าศัพทท่ีมีใชอยูแตเดิมในลัทธิศาสนาเกามาใช แตทรงกํ าหนดความหมายใหใหม ซ่ึงเปนวิธีการชวยใหผูฟงผูเรียนหันมาสนใจ และกํ าหนดคํ าสอนไดงาย เพียงแตมาทํ าความเขาใจเสียใหมเทานั้นและเปนการชวยใหมีการพิจารณาเปรียบเทียบไปในตัวดวยวาอยางไหนถูก อยางไหนผิดอยางไร

จึงเห็นไดวา คํ าวา พรหม พราหมณ อริยะ ยัญ ตบะ ไฟบูชายัญ ฯลฯ ซ่ึงเปนคํ าในลัทธิศาสนาเดิม ก็มีใชในพระพุทธศาสนาดวยทั้งสิ้น แตมีความหมายตางออกไปเปนอยางใหม

๖. อุบายเลือกคน และการปฏิบัติรายบุคคล การเลือกคนเปนอุบายสํ าคัญในการเผยแพรพระศาสนา ในการประกาศธรรมของพระพุทธเจา เริ่มแตระยะแรกประดิษฐานพระพุทธศาสนา จะเห็น ๑ วินย. ๑/๒; องฺ.อฏก. ๒๓/๑๐๑๒ วินย. ๕/๗๘; องฺ.อฏก. ๒๓/๑๐๒

Page 239: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๓๔

ไดวาพระพุทธเจาทรงดํ าเนินพุทธกิจดวยพระพุทโธบายอยางที่เรียกวา การวางแผนที่ไดผลยิ่ง ทรงพิจารณาวาเมื่อจะเขาไปประกาศพระศาสนาในถิ่นใดถิ่นหนึ่งควรไปโปรดใครกอน

เมื่อตรัสรูใหมๆ ไดเสด็จไปโปรดเบญจวัคคียผูท่ีอยูใกลชิดพระองคเมื่อครั้งออกแสวงธรรมกอน ขอน้ีพิจารณาไดท้ังในแงท่ีเบญจวัคคียเปนผูใฝธรรม มีอุปนิสัยอยูแลว หรือในแงท่ีเปนผูเคยมีอุปการะกันมา หรือในแงท่ีวาเปนการสรางความมั่นใจ ทํ าใหผูเคยเกี่ยวของหมดความคลางแคลงในพระองค ตัดปญหาในการที่ทานเหลานี้อาจไปสรางความคลางแคลงใจขึ้นแกผูอื่นตอไปดวย

ครั้นเสร็จสั่งสอนเบญจวัคคียแลว ก็ไดโปรดยสกุมาร พรอมท้ังเศรษฐีผูบิดา และญาติมิตร และเมื่อจะเสด็จเขาแควนมคธ พระองคก็เสด็จไปโปรดชฎิล ๓ พี่นอง พรอมท้ังบริวารทั้งพัน เริ่มดวยชฎิลคนพี่ใหญเสียกอน แลวนํ าชฎิลเหลานี้ ผูกลายเปนสาวกแลวเขาสูนครราชคฤห ประกาศธรรม ณ พระนครนั้น ไดราชาเปนสาวก

เปนอันวา พอเริ่มตนประกาศพระศาสนา ก็ไดท้ังนักบวชผูใหญ เศรษฐี และราชา ซ่ึงเปนคนชั้นสูงสมัยนั้นเปนสาวก เปนการทํ าทางเสด็จเผยแผใหปลอดโปรงตอไป

ในการทรงสั่งสอนคนแตละถิ่น หรือแตละหมูคณะ ก็มักทรงเริ่มตนที่บุคคลผูเปนประมุข เชนพระมหากษัตริย หรือหัวหนาของชนหมูน้ันๆ ทํ าใหการประกาศพระศาสนาไดผลดีและรวดเร็ว และเปนการยืนยันพระปรีชาสามารถของพระองคดวย

Page 240: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๓๕

ในการบํ าเพ็ญพุทธกิจประจํ าวัน พระองคก็ทรงสอดสองพิจารณาบุคคลผูควรโปรดในวันนั้นตั้งแตเวลาจวนรุงสาง และเสด็จไปโปรดในเวลาเชา เปนการใหความสนพระทัยสงเคราะหบุคคลเปนรายๆ ซ่ึงใหผลดใีนการสอนยิง่กวาการสอนแบบสาดๆ ไป

แมเมื่อแสดงธรรมในที่ประชุม ก็ทรงกํ าหนดบุคคลที่ควรเอาพระทัยใสพิเศษในคราวนั้นๆ ไวดวย กับท้ังแสดงธรรมโดยวิธีการที่จะทํ าใหทุกคนในที่ประชุมไดรับผลประโยชนไปอยางเปนที่นาพอใจ ใหเกิดความรูสึกแกทุกคนวา พระพุทธเจาตรัสอยูกับตน ดังกลาวมาแลว

๗. การรูจักจังหวะและโอกาส ผูสอนตองรูจักใชจังหวะและโอกาสใหเปนประโยชน เมื่อยังไมถึงจังหวะ ไมเปนโอกาส เชน ผูเรียนยังไมพรอม ยังไมเกิดปริปากะแหงญาณหรืออินทรีย ก็ตองมีความอดทน ไมชิงหักหาญหรือดึงดันทํ า แตก็ตองตื่นตัวอยูเสมอเมื่อถึงจังหวะหรือเปนโอกาส ก็ตองมีความฉับไวที่จะจับมาใชใหเปนประโยชน ไมปลอยใหผานเลยไปเสียเปลา

แมในการเผยแพรธรรมแกคนสวนใหญ พระพุทธเจาก็ทรงปฏิบัติตามจังหวะและโอกาสดวย เชน

ในระยะแรกประกาศพระศาสนา ณ วันมาฆบูรณมี หลังตรัสรู ๙ เดือน เมื่อประทับอยู ณ เวฬุวัน พระสงฆสาวกมาชุมนุมพรอมกัน ณ ท่ีน้ัน และเปนโอกาสเหมาะ พระพุทธเจาก็ทรงแสดงโอวาทปาติโมกขสํ าหรับเปนหลักยึดถือรวมกันของสงฆ ท่ีจะแยกยายกันไปบํ าเพ็ญศาสนกิจ

Page 241: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๓๖

เมื่อคราวนิครนถนาฏบุตรสิ้นชีวิต เกิดความแตกแยกในหมูนิครนถ พระสารีบุตรถือเหตุการณน้ันเปนตัวอยาง ช้ีใหภิกษุสงฆเห็นความสํ าคัญในการรอยกรองธรรมวินัย ชักชวนพระสงฆใหพรอมใจกันทํ าสังคายนา และทานไดทํ าสังคายนาเปนตัวอยางโดยแสดงสังคีติสูตรไว๑

๘. ความยดืหยุนในการใชวธิกีาร ถาผูสอนสอนอยางไมมอีตัตาตัดตัณหา มานะ ทิฏฐิเสียได ก็จะมุงไปยังผลสํ าเร็จในการเรียนรูเปนสํ าคัญ สุดแตจะใชกลวิธีใดใหการสอนไดผลดีท่ีสุด ก็จะทํ าในทางนั้น ไมกลัววาจะเสียเกียรติ ไมกลัวจะถูกรูสึกวาแพ บางคราวเมื่อสมควรก็ตองยอมใหผูเรียนรูสึกตัววาเขาเกง บางคราวสมควรขมก็ขม บางคราวสมควรโอนออนผอนตาม ก็ยอมตาม สมควรขัดก็ขัด สมควรคลอยก็คลอย สมควรปลอบก็ปลอบ มีพุทธพจนวา

“เรายอมฝกคนดวยวิธีละมุนละไมบาง ดวยวิธีรุนแรงบาง ดวยวิธีที่ทั้งออนละมุนละไม และทั้งรุนแรงปนกันไปบาง”๒คนบางคน จะใหเขายอมไดดวยการที่ยอมใหเขารูสึกวาตัว

เขามีเกียรติหรือเกง หรือไดสมใจกอน ผูสอนจับจุดไดก็ใชวิธีสนองความตองการแลวดึงเขาสูท่ีหมายไดตามประสงค เชน คราวที่เวรัญชพราหมณบริภาษพระพุทธเจา พระองคก็ทรงรับสมอางตามคํ าบริภาษนั้นใหสมใจพราหมณ แลวจึงคอยชี้แจงแกไข ใหเขายอมรับตามพระองคภายหลัง ๑ ที.ปา. ๑๑/๒๒๑–๓๖๓๒ องฺ.จตุกฺก. ๒๑/๑๑๑

Page 242: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๓๗

เมื่อเผชิญอาฬวกยักษผูดุราย พระองคเสด็จเขาไปในที่อยูของอาฬวกะ อาฬวกะสั่งพระองคใหเสด็จออกไป พระองคก็เสด็จออกตามสั่ง อาฬวกะสั่งพระองคใหเสด็จเขาไปอีก พระองคก็เสด็จเขาอีก อาฬวกะสั่งใหพระองคเสด็จเขาเสด็จออกอยางนี้ ซ่ึงพระองคก็ทรงปฏิบัติตามอยางวางายถึง ๓ วาระ ใหเขารูสึกสมใจในอํ านาจของตนกอน ตอจากนั้นจึงทรงเปลี่ยนกลวิธีและก็ไดโปรดอาฬวกะลงเปนสาวกสํ าเร็จ๑

อีกตัวอยางหนึ่ง พราหมณคนหนึ่งเปนคนมีมานะ นิสัยแข็งกระดาง ไมไหวแมแตมารดา บิดา อาจารย และพี่ชาย วันหนึ่งขณะพระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมอยูในที่ประชุม เขาคิดวาจะลองเขาไปเฝา

“ถาพระสมณโคดมตรัสกะเรา เราก็จะพูดกับทานถาพระสมณโคดม ไมตรัสกะเรา เราก็จะไมพูดกับทาน”แลวเขาไปยืนอยูขางหนึ่ง พระผูมีพระภาคก็ทรงเฉยเสีย ไม

ตรัสดวย พราหมณทํ าทาจะกลับออกไปโดยคิดวา“พระสมณโคดมองคนี้ไมมีความรูอะไร”

พระผูมีพระภาคทราบความในใจของเขาอยู ถึงตอนนี้จึงตรัสคาถาวา

“พราหมณเอย ความถือตัวไมชวยใหใครไดดีอะไรเลย ใครมาเพื่อประโยชนใด ก็ควรเสริมสรางประโยชนนั้นเสีย”

๑ ขุ.สุ. ๒๕/๓๑๐

Page 243: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๓๘

เมื่อตรัสพระดํ ารัสน้ี ในจังหวะนี้ ก็ไดผล ทํ าใหพราหมณชะงักคิดวา “พระสมณโคดมรูใจเรา” ถึงยอมทรุดลงนั่งแสดงคารวะ ทํ าใหท่ีประชุมงงงวยประหลาดใจวา

“นาอัศจรรยจริง พราหมณนี้ไมไหวแมแตมารดาบิดา อาจารย พ่ีชาย แตพระสมณโคดมทรงทํ าใหคนอยางนี้นอบนบไดเปนอยางดี”จากนั้นพระองคจึงไดทรงเชิญใหเขานั่งบนอาสนะแลวตอบ

ปญหาธรรมแกเขา จนลงทายเขาไดประกาศตนเปนอุบาสก๑๙. การลงโทษและใหรางวัล มีคํ าสรรเสริญพระพุทธคุณที่ยก

มาแสดงขางตนแลววา“พระผูมีพระภาคทรงฝกอบรมชุมชนไดดีถึงเพียง

นี้ โดยไมตองใชอาชญา”๒ซ่ึงแสดงวา การใชอํ านาจลงโทษ ไมใชวิธีการฝกคนของพระ

พุทธเจา แมในการแสดงธรรมตามปกติพระองคก็ทรงแสดงไปตามเนื้อหาธรรม ไมกระทบกระทั่งใคร อยางที่วา

“ทรงแสดงธรรมในบริษัท ไมทรงยอบริษัท ไมทรงรุกรานบริษัท ทรงชี้แจงใหบริษัทเห็นแจง ใหสมาทาน ใหอาจหาญ ใหราเริงดวยธรรมิกถา”๓และวา

๑ สํ.ส. ๑๕/๖๙๔–๗๐๐๒ ม.ม. ๑๓/๕๖๕๓ ม.ม. ๑๓/๕๘๙

Page 244: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๓๙

“พึงรูจักการยกยอ และการรุกราน ครั้นรูแลวไมพึงยกยอ ไมพึงรุกราน พึงแสดงแตธรรมเทานั้น”๑ขอน้ี ตีความไปไดถึงวา ไมใชท้ังวิธีลงโทษและใหรางวัล แม

วาพระพุทธเจาจะทรงใชการชมเชยยกยองบาง ก็เปนไปในรูปการยอมรับคุณความดีของผูน้ัน กลาวชมโดยธรรม ใหเขามั่นใจในการกระทํ าความดีของตน แตไมใหเกิดเปนการเปรียบเทียบขมคนอื่นลง

บางทีทรงชมเพื่อใหถือเปนตัวอยาง หรือเพื่อแกความเขาใจผิด ใหตั้งทัศนคติท่ีถูก เชน ทรงชมพระนันทกะ๒ ชมพระนวกะรูปหนึ่ง๓ ชมพระสุชาต๓ ชมพระลกุณฏกภัททิยะ๓ ชมพระวิสาข-ปญจาลบุตร๓ และตํ าหนิเตือนพระนันทะ๓ เปนตน

อยางไรก็ดี การลงโทษนาจะมีอยูแบบหนึ่ง คือ การลงโทษตนเอง ซ่ึงมีท้ังในทางธรรม และทางวินัย

ในทางพระวินัย ถือวามีบทบัญญัติความประพฤติอยูแลวและบทบัญญัติเหลานี้พระพุทธเจาทรงตราไว โดยความเห็นชอบรวมกันของสงฆ พรอมท้ังมีบทกํ าหนดโทษไวเสร็จ เมื่อผูใดลวงละเมิดก็เปนการกระทํ าผิดตอสวนรวม ตองไถถอนความผิดของตน มิฉะนั้นจะเปนผูไมเปนที่ยอมรับของสงฆคือหมูคณะทั้งหมด

สวนในทางธรรม ภิกษุท่ีเหลือขอจริงๆ สอนไมได ก็กลายเปนผูท่ีพระพุทธเจาและเพื่อนพรหมจารีท้ังปวงไมถือวาเปนผูท่ีควร ๑ ม.อุ. ๑๔/๖๕๘๒ องฺ.นวก. ๒๓/๒๐๘๓ สํ.นิ. ๑๖/๖๙๖–๗๑๒

Page 245: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๔๐

จะวากลาวสั่งสอน โดยวิธีน้ี ถือวาเปนการลงโทษอยางรุนแรงที่สุด๑

พิจารณาจากพระพุทธคุณตอนตนของขอน้ี จะเห็นวา การสอนโดยไมตองลงโทษ เปนการแสดงความสามารถของผูสอนดวย

ในระดับสามัญ สํ าหรับผูสอนทั่วไป อาจตองคิดคํ านึงวาการลงโทษ ควรมีหรือไม แคไหน และอยางไร แตผูท่ีสอนคนไดสํ าเร็จผลโดยไมตองใชอาญาโทษเลย ยอมช่ือวาเปนผูมีความสามารถในการสอนมากที่สุด

๑๐. กลวิธีแกปญหาเฉพาะหนา ปญหาเฉพาะหนาที่เกิดข้ึนตางครั้งตางคราว ยอมมีลักษณะแตกตางกันไปไมมีท่ีสุด การแกปญหาเฉพาะหนายอมอาศัยปฏิภาณ คือ ความสามารถในการประยุกตหลัก วิธีการ และกลวิธีตางๆ มาใชใหเหมาะสม เปนเรื่องเฉพาะครั้ง เฉพาะคราวไป

อยางไรก็ดี การไดเห็นตัวอยางการแกปญหาเชนนี้ อาจชวยใหเกิดความเขาใจในแนวทางที่จะนํ าไปใชปฏิบัติไดบาง

ในการประกาศพระศาสนา พระพุทธเจาไดทรงประสบปญหาเฉพาะหนาตลอดเวลา และทรงแกสํ าเร็จไปในรูปตางๆ กันตัวอยางเชน:-

พราหมณคนหนึ่งในเมืองราชคฤห ตนไมไดนับถือพระพุทธศาสนา แตภรรยาเปนผูมีศรัทธาในพระพุทธเจาอยางแรงกลา มักเปลงอุทานวา “นโม ตสฺส”

๑ องฺ.จตุกฺก. ๒๑/๑๑๑

Page 246: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๔๑

คราวหนึ่ง นางพราหมณีผูภรรยา ขณะนํ าอาหารมาใหสามีกาวพลาดลง จึงอุทานวา “นโม ตสฺส”

พราหมณสามีไดยินก็ไมพอใจ จึงวา “นางตัวรายนี่ชอบพูดสรรเสริญแตความดีของพระหัวโลนองคน้ันอยูเรื่อย เดี๋ยวเถอะ นังตัวดี ขาจะไปปราบวาทะศาสดาของแก”

นางพราหมณีตอบวา “แนะ พอพราหมณ ฉันมองไมเห็นวาจะมีใครในโลกไหนๆ มาปราบวาทะของพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาได เอาซิ พอพราหมณ จะไปก็เอา ไปแลวก็จะรูเอง”

ฝายพราหมณ ท้ังโกรธอยูน้ัน ก็ไปเฝาพระพุทธเจา เมื่อน่ังเรียบรอยแลว ก็ทูลถามเปนคํ ารอยกรองวา “ฆาตัวอะไรเสียได จึงจะนอนเปนสุข ฯลฯ”

พระพุทธเจาตรัสตอบวา “ฆาความโกรธเสียได ก็จะนอนเปนสุข ฯลฯ” และทํ าใหพราหมณเลื่อมใสได๑

อีกเรื่องหนึ่ง พราหมณอีกคนหนึ่ง รูขาววาพราหมณตระกูลเดียวกับตนออกบวชอยูกับพระพุทธเจา ก็โกรธ จึงไปเฝาพระพุทธเจา ไปถึงก็บริภาษพระองคดวยคํ าหยาบคายตางๆ พระพุทธเจาทรงปลอยใหพราหมณน้ันบริภาษพระองคเรื่อยไป จนพราหมณหยุดไปเอง

๑ สํ.ส. ๑๕/๖๒๖–๖๓๐

Page 247: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๔๒

เมื่อพราหมณบริภาษจนพอแกใจ หยุดแลว พระองคจึงตรัสถามวา “ขอถามหนอยเถิดทานพราหมณ พวกญาติมิตรแขกเหรื่อท้ังหลายนะ มีมาหาทานบางหรือเปลา?”

พราหมณทูลวา “ก็มีเปนครั้งคราว”พระพทุธเจาตรสัถามวา “แลวทานจดัอาหารของรบัประทาน

มาใหเขาบางหรือเปลา?”พราหมณทูลวา “ก็จัดบาง”พระพุทธเจาตรัสถามวา “ก็ถาคนเหลานั้นเขาไมรับสิ่งของ

เหลานั้นเลา ของจะเปนของใคร?”พราหมณกราบทลูวา “ถาเขาไมรับ มนักเ็ปนของฉนัเองนะซ”ีพระพุทธเจาตรัสตอบ ความวา “เอาละ เรื่องนี้ก็เหมือนกัน

ท่ีทานมาดาเรานะ เราไมขอรับคํ าดาของทานละ ขอใหเปนของทานเองก็แลวกัน” จากนั้น จึงไดทรงสนทนากับพราหมณตอไปจนพราหมณเลื่อมใสยอมเปนสาวก๑

อีกเรื่องหนึ่ง พระพุทธเจาเสด็จไปบิณฑบาตที่บานอุทัยพราหมณ วันแรกพราหมณเอาขาวมาใสบาตรถวายจนเต็ม วันที่สอง พระพุทธเจาเสด็จไปอีก พราหมณก็ถวายอีก

วันที่สาม พระพุทธเจาเสด็จไปอีก พราหมณก็ถวายอีก แตคราวนี้ พอถวายแลว ก็กลาววา “พระสมณโคดมองคน้ีติดใจจึงมาบอยๆ”

๑ สํ.ส. ๑๕/๖๓๑–๖๓๔ (แปลตัดรวบรัดความ)

Page 248: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๔๓

พระพุทธเจาไดตรัสตอบรอยกรองเปนคาถาเลนคํ าโดยปฏิภาณ เปนทํ านองเตือนพราหมณโดยนัยวา ไฉนจะทอถอยเสียการกระทํ าสวนมากจะใหไดผลก็ตองทํ าบอยๆ ดังนี้

“กสิกรก็หวานพืชบอยๆ ฝนก็ตองตกบอยๆชาวนาก็ตองไถนาบอยๆ รัฐจึงมั่งมีธัญญาหารบอยๆคนมาขอบอยๆ คนใหใหไปบอยๆคนใหครั้นใหบอยๆ ก็ไดพบสวรรคบอยๆคนรีดนมก็ยอมรีดบอยๆ ลูกวัวก็หาแมบอยๆยอมตองเหนือ่ยตองดิน้รนบอยๆ (สวน) คนเขลาเขาหาครรภบอยๆแลวก็เกิดก็ตายบอยๆ ตองหามไปปาชาบอยๆมีปญญาพบทางไมเกิดบอย จึงไมตองเกิดบอยๆ(หรอื : คนฉลาดถงึเกดิบอยๆ กเ็พือ่พบทางไมตองเกดิบอย).๑อีกเรื่องหนึ่งคลายๆ กันวา พระพุทธเจาเสด็จไปในบริเวณที่

เขาเตรียมหวานขาวทํ านา ขณะเขากํ าลังเลี้ยงดูกันอยู พระองคไดเสด็จไปประทับยืนอยูดานหนึ่ง พราหมณเจาของนาเห็น ก็คิดวาพระองคมาขอบิณฑบาต จึงกลาววา

“ทานสมณะ ขาพเจายอมไถนา หวานขาว ครั้นแลวจงึไดบริโภค แมทานกจ็งไถนา จงหวานขาว แลวจงบรโิภคเอาเถดิ”

พระพุทธเจาตรัสตอบวา “ดูกอนพราหมณ แมเราก็ไถ ก็หวานเหมือนกัน เมื่อไดไถหวานแลว จึงไดบริโภค”

๑ สํ.ส. ๑๕/๖๗๗–๖๘๑ (คํ าบาลีบางคํ าในที่น้ีตีความอยางอื่นไดดวย คํ าแปลในที่น้ี จึงไมอาจไดอรรถรสบริบูรณ)

Page 249: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๔๔

พราหมณทูลวา “ทานสมณะ ขาพเจาไมเห็นทานมีแอก มีไถมีผาล มีปฏัก หรือโคเลย ไฉนทานจึงมากลาววา ‘แมเราก็ไถก็หวาน เสร็จแลวจึงไดบริโภคเหมือนกัน’” แลวก็สนทนาเปนกลอนสด ซ่ึงพระพุทธเจาก็ไดตรัสตอบเปนคาถาเชนกันวา

“เรามีศรัทธาเปนพืช ความเพียรเปนฝน ปญญาเปนแอกและไถ ฯลฯ เราไถนาอยางนี้แลว ยอมไดอมฤตเปนผล ทํ านาอยางนี้แลว ยอมพนจากทุกขทั้งปวง”๑ขอจบเรื่องนี้ โดยนํ าเอาดํ ารัสของพระเจาปเสนทิโกศล มา

เปนคํ าสรุป ดังนี้:-“ขาแตพระองคผูเจริญ อีกประการหนึ่ง หมอม

ฉันไดเห็นกษัตริยบัณฑิตบางพวก ผูมีปญญาสุขุมสามารถปราบวาทะฝายปรปกษได มีปญญาเฉียบแหลมดุจจะยิงขนทรายได ทานเหลานั้น เหมือนจะเที่ยวไดเอาปญญาไปทํ าลายหลักทฤษฎีทั้งหลายของคนอื่นๆ

“พอไดยินขาววาพระสมณโคดมจักเสด็จมายังบานหรือนิคมโนนๆ กษัตริยเหลานั้นก็พากันเตรียมปญหาไว ดวยตั้งใจวา พวกเราจักพากันเขาไปหาพระสมณโคดมแลวถามปญหา ถาพระสมณโคดมถูกพวกเราถามไปอยางนี้ ตอบแกมาอยางนี้ พวกเราจะปราบวาทะของพระองคอยางนี้ ถาพระสมณโคดมถูกพวกเรา

๑ สํ.ส. ๑๕/๖๗๑–๖๗๕; ขุ.สุ. ๒๕/๒๙๗–๓๐๐

Page 250: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๔๕

ถามอยางนี้ ตอบแกมาอยางนี้ พวกเราก็จะปราบวาทะของพระองคเสียอยางนี้

“ครั้นไดทราบขาววาพระสมณโคดมเสด็จมาถึงบานหรือนิคมโนนแลว ก็พากันไปเฝาพระผูมีพระภาคถึงที่ประทับ พระผูมีพระภาคทรงชี้แจงใหกษัตริยเหลานั้นเขาใจชัด ใหเห็นตาม ใหแข็งขัน ใหบันเทิง ดวยธรรมี-กถาแลว กษัตริยเหลานั้นก็มิไดทูลถามปญหากะพระผูมีพระภาค ที่ไหนเลยจะมาปราบวาทะพระองคไดเลา ที่แทกลับพากันมาสมัครตัวเปนสาวกของพระผูมีพระภาค ขาแตพระองคผูเจริญ แมขอนี้ ก็เปนความเลื่อมใสอันเนื่องดวยธรรมของหมอมฉัน ที่มีตอพระผูมีพระภาค

“ขาแตพระองคผูเจริญ อีกประการหนึ่ง หมอมฉันไดเห็นพราหมณบัณฑิต ฯลฯ คฤหบดีบัณฑิต...สมณบัณฑิตบางพวก ผูมีปญญาสุขุม สามารถปราบวาทะฝายปรปกษได มีปญญาเฉียบแหลม ดุจจะยิงขนทรายได ทานเหลานั้น เหมือนจะเที่ยวไดเอาปญญาไปทํ าลายหลักทฤษฎีทั้งหลายของคนอื่นๆ

“พอไดยินขาววา พระสมณโคดมจักเสด็จมายังบานหรือนิคมโนนๆ สมณะเหลานั้นก็จะพากันเตรียมปญหาไว...พากันไปเฝาพระผูมีพระภาคถึงที่ประทับ พระผูมีพระภาคทรงชี้แจงใหสมณะเหลานั้นเขาใจชัด ใหเห็นตาม ใหแข็งขัน ใหบันเทิงดวยธรรมีกถาแลว สมณะเหลานั้นก็มิไดทูลถามปญหากะพระผูมีพระภาค ที่ไหน

Page 251: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๔๖

เลยจะปราบวาทะของพระองคไดเลา ที่แทก็พากันทูลขอโอกาสกะพระผูมีพระภาคเพ่ือออกบวชเปนบรรพชิต พระผูมีพระภาคก็ทรงบรรพชาให

“ครั้นไดบรรพชาแลวเชนนั้น ทานก็ปลีกตัวออกไปอยูสงัด เปนผูไมประมาท มีความเพียรมุงมั่นเด็ดเดี่ยวไมนานเลยก็ไดรูยิ่งเห็นจริง กระทํ าสํ าเร็จซึ่งประโยชนสูงสุด อันเปนจุดหมายแหงพรหมจรรย อันเปนที่ปรารถนาของกุลบุตรผูออกบวชทั้งหลาย ดวยตนเอง ในปจจุบันชาตินี้เอง

“ทานเหลานั้นพากันกลาววาดังนี้ ‘ทานผูเจริญทั้งหลาย พวกเราไมพินาศแลวสิหนอ แตกอนนี้ พวกเราทั้งที่มิไดเปนสมณะจริงเลย ก็ปฏิญาณวาตนเปนสมณะทั้งที่มิไดเปนพราหมณจริงเลย ก็ปฏิญาณวาตนเปนพราหมณ ทั้งที่มิไดเปนพระอรหันตจริงเลย ก็ปฏิญาณวาตนเปนพระอรหันต บัดนี้พวกเราเปนสมณะจริงแลวเปนพราหมณจริงแลว เปนพระอรหันตจริงแลว’

“แมขอนี้ก็เปนความเลื่อมใสอันเนื่องดวยธรรมของหมอมฉัน ที่มีตอพระผูมีพระภาค...”๑ฯ.

๑ ม.ม. ๑๓/๕๖๗-๘

Page 252: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

“ภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงลุกเปนไฟไปหมดแลว...ลุกเปนไฟเพราะอะไร...เพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ...เพราะชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนัสอุปายาส...”

(วินย. ๔/๕๕/๖๒)

Page 253: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
Page 254: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

นิเทศอาทิตตปริยายสูตร∗

ในการพิจารณาพระสูตรนี้ เพื่อทํ าความเขาใจใหเปนประโยชนในการสอน เห็นควรแยกพิจารณาเปน ๒ ตอน คือ วาดวยเนื้อเรื่องตอนหนึ่ง และคํ าอธิบายเชิงวิจารณตอนหนึ่ง ดังนี้:-

ตอน ๑ เนื้อเรื่องที่มา :

อาทิตตปริยายสูตร เปนพระธรรมเทศนา ซ่ึงพระพุทธเจาทรงแสดงหลังจากตรัสรูแลว เปนพระสูตรที่ ๓ ในพระไตรปฎกบาลีมีท่ีมา ๒ แหง คือ:-

๑. พระวินัยปฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (วินย. ๔/๕๕/๖๒; ตรงกับฉบับภาษาไทย ๖/๕๕/๗๘)

๒. พระสุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (สํ.สฬ.๑๘/๓๑/๒๓; ตรงกับฉบับภาษาไทย ๒๗/๓๑/๒๔)

∗ บรรยายในการประชุมทางวิชาการเรื่อง ธรรมะที่อธิบายยาก ในหลักสูตรวิชาศีลธรรมช้ัน มศ.ปลาย ณ หองศรีคุรุ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ วันที่ ๒๗ ตุลาคม๒๕๑๓

Page 255: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๕๐

ความยอ:เมื่อพระพุทธเจาตรัสรูแลว ณ ควงไมโพธิ์ ใกลฝงแมน้ํ า

เนรัญชรา ตํ าบลอุรุเวลา ในแควนมคธ ในปมีพระชนมายุได ๓๕พรรษา พระองคเสด็จประทับอยู ณ ตํ าบลน้ัน เปนเวลา ๗ สัปดาห

จากนัน้จงึไดเสดจ็ไปยงัปาอสิปิตนมฤคทายวนั แขวงเมอืงพาราณสี ในเขตแควนกาสี ไดทรงแสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัป-ปวัตตนสูตร โปรดภิกษุเบญจวัคคียบรรลุอรหัตตผล

ระหวางที่ประทับจํ าพรรษาแรกอยู ณ ปาอิสิปตนะนี้ พระองคไดโปรดพระยสะ บิดา มารดา ภรรยาเกา และสหายของพระยสะ ท่ีเปนชาวเมอืงพาราณสี ๔ คน ชาวชนบท ๕๐ คน ตามลํ าดับ จนมีภิกษุสาวกจํ านวน ๖๐ รูป

จากนั้น ไดทรงสงพระสาวกทั้ง ๖๐ รูป ออกประกาศพระศาสนา สวนพระองคเอง ไดเสด็จไปยังอุรุเวลาเสนานิคม ในระหวางทางไดโปรดคณะสหายภัททวัคคียจํ านวน ๓๐ รูป

ครั้นเสด็จถึงตํ าบลอุรุเวลาแลว ไดเสด็จไปยังอาศรมของทานอุรุเวลกัสสป ซ่ึงเปนหัวหนาชฎิลผูบูชาไฟ จํ านวน ๕๐๐ คนแลวไดทรงขอพักอาศัยอยู ณ ท่ีน้ัน

ในคราวนั้น ไดทรงโปรดอุรุเวลกัสสป ผูถือตนวาเปนพระอรหันต และเขาใจวาพระพุทธองคไมไดเปนพระอรหันต โดยทรงแสดงปาฏิหาริยตางๆ เปนอันมาก จนในที่สุด อุรุเวลกัสสปชฎิลคลายทิฏฐิมานะ ยอมตนเปนสาวก ละทิ้งการบูชาไฟของตน ขอบรรพชาอุปสมบท กับท้ังชฎิลผูนองชื่อนทีกัสสปะพรอมดวยบริวาร๓๐๐ คน และคยากัสสปะ พรอมดวยบริวาร ๒๐๐ คน ก็ไดทูลขอ

Page 256: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๕๑

บรรพชาอุปสมบทดวยหลังจากนั้น พระพุทธเจาไดทรงนํ าพระภิกษุสงฆคณะใหม

ท้ังพันรูป เสด็จไปยังตํ าบลคยาสีสะ และ ณ ตํ าบลน้ี พระองคไดทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรแกพระภิกษุปุราณชฎิลท้ัง ๑ พันรูปและดวยพระสูตรนี้ พระภิกษุเหลานั้นก็ไดบรรลุอรหัตตผล

ในเรื่องนี้ มีความที่ควรทราบเปนพิเศษ ๒ อยาง คือ การบชูาไฟ อนัเปนลทัธท่ีินับถอือยูเดมิของชฎลิ อยางหนึง่ และใจความในอาทติตปรยิายสตูร ท่ีทํ าใหชฎิลผูยอมละทิ้งลัทธิเดิมของตนมาสมัครเปนสาวกของพระพุทธเจา ไดบรรลุอรหัตตผล อยางหนึ่งการบูชาไฟ

การบูชาไฟ เปนพิธีกรรมสํ าคัญ มีมาแตโบราณ ซ่ึงจะเห็นไดในลัทธิศาสนายุคแรกๆ ท้ังหลาย เชน การบูชายัญของคนปาในถิ่นตางๆ และในศาสนาโซโรอัสเตอร เปนตน

แมศาสนาพราหมณ ซ่ึงเปนศาสนาของชมพูทวีปสมัยที่พระพุทธเจาเสด็จอุบัติข้ึน ก็ถือวาการบูชาไฟ และการบูชายัญ เปนพิธีกรรมที่สํ าคัญอยางยิ่ง

ศาสนาพราหมณถือวา ประชาบดี เปนเทพเจาผูสรางสัตวโลกทั้งหลาย แรกทีเดียวนั้น มีเทพประชาบดีอยูแตพระองคเดียวพระองคไดทรงพระดํ าริท่ีจะกอกํ าเนิดสัตวท้ังหลาย จึงไดทรงบํ าเพ็ญตบะ และไดทรงประทานกํ าเนิดแกเทพอัคนีออกจากพระโอษฐของพระองค

เพราะเหตุท่ีเทพอัคนีเกิดจากพระโอษฐของพระองค อัคนีจึง

Page 257: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๕๒

เปนเทพผูเสวยอาหาร และเพราะเหตุท่ีเปนเทพองคแรกที่ประชาบดีทรงสรางขึ้น จึงไดนามวา อัคนี (อัคร → อัคริม = เกิดกอน มีกอน → อัคนี)๑

บทบัญญัติในศาสนาพราหมณกํ าหนดใหศาสนิกชน โดยเฉพาะพราหมณ ตองประกอบยัญพิธี และการเซนสรวงสังเวยอยูเปนประจํ า โดยเฉพาะการบูชาไฟ คือ อัคคิหุตตะ ในภาษาบาลีหรืออัคนิโหตระ ในภาษาสันสกฤต จะตองบูชาทุกวัน เมื่อเริ่มตนหรือสิ้นสุดวันและคืนหนึ่งๆ และในวันเดือนเพ็ญเดือนดับ เปนตน๒

ไฟ หรือ อัคนี มีบทบาทสํ าคัญยิ่งในยัญพิธีท้ังปวง ในพิธีกรรมตางๆ เมื่อถึงตอนสํ าคัญทุกตอน จะตองมีการถวายเครื่องสังเวย หรือสวดออนวอนแกอัคนีเทพ เพราะถือวาอัคนี เปนทูตของเทพทั้งหลาย หรือเปนสื่อกลางนํ าประดาเครื่องเซนสรวงสังเวยขึ้นไปถึงเทพทั้งหลาย

เมื่อใสเครื่องสังเวยเขาในไฟนั้น ถือวาไดใสลงในโอษฐของอัคนีเทพ เมื่อเปลวและควันไฟพลุงขึ้น ก็หมายความวาองคอัคนีเทพ ทรงนํ าเอาเครื่องเซนสรวงสังเวยขึ้นไปบนสวรรคท่ีตามนุษยมองไมเห็น

เมื่อข้ึนไปถึงสวรรคแลว องคอัคนีเทพก็ทรงปอนเครื่องเซนสรวงสังเวยนั้นแกทวยเทพผูเปนภราดรทั้งหลาย ดวยโอษฐของ

๑ ศตปถพราหมณะ, S.B.E. XLL.322๒ ดู มนูธรรมศาสตร, S.B.E. XXV.132 เปนตน

Page 258: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๕๓

พระองค ดุจดังแมนกปอนเหยื่อแกลูกนก ฉะนั้น๓

ไฟมีบทบาทสํ าคัญอยางนี้ จึงมีคํ าสรรเสริญไวในคัมภีรพราหมณวา

“อัคนิโหตร (การบูชาไฟ) เปนประมุขแหงยัญทั้งหลาย”๑ และวา

“การเซนสรวง (แดอัคนี) เปนกรรมประเสริฐสุดในบรรดายัญทั้งหลาย”๒ผูบูชาไฟยอมไดผลานิสงสเปนอันมาก เชน จะสมบูรณดวย

โภคทรัพย ฝูงปศุสัตว และเพียบพรอมดวยบุตรหลาน เผาพันธุ จนถึงอยางที่คัมภีรพราหมณวา

“ผูใดบูชาอัคนิโหตร ดวยความเขาใจความหมายโดยถองแท บาปทั้งปวงของผูนั้นยอมถูกเผาผลาญหมดไป”๓ชฎิลท้ังพันรูป มีอุรุเวลกัสสปเปนหัวหนา ซ่ึงเปนผูถือลัทธิ

บูชาไฟ ก็คงมุงหวังผลเหลานี้ ดังนั้น หลังจากที่ทานมาบวชเปนพระภิกษุในพระพุทธศาสนาแลว เมื่อพระพุทธเจาตรัสถามในที่ประชุม อันมีพระเจาพิมพิสารเปนประมุข ในเขตพระนครราชคฤหวา

๓ ดู Heinrich Zimmer, Philosophies of India, Meridian Books, New York,1956, p. 71 เปนตน๑ ศตปถพราหมณะ, S.B.E. XLIV.502๒ ภควัทคีตา, S.B.E. VIII.353๓ ฉานโทคยอุปนิษัท, S.B.E. I.91

Page 259: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๕๔

“ทานผูอยูในอุรุเวลามานาน เคยเปนอาจารยสั่งสอนหมูชฎิลผูผอมเพราะกํ าลังพรต ทานเห็นเหตุอันใดจึงละเลิกไฟที่เคยบูชาเสียเลา”ทานจึงตอบวา

“ยัญทั้งหลายยอมกลาวขวัญ ใหฝนใฝถึงแตเรื่องรูป รส เสียง กามสุข และอิสตรีทั้งหลาย ขาพเจาไดทราบแลววา สิ่งเหลานี้เปนมลทินในอุปธิทั้งหลาย จึงมิไดติดใจในการเซนสรวงบูชา”๑

ใจความของพระสูตรความในพระสูตรนี้ อาจสรุปไดเปน ๔ ตอน ดังนี้:-๑. สภาพที่เปนปญหา พระพุทธองคทรงเริ่มพระสูตรดวยพระ

ดํ ารัสวา “สพฺพํ ภิกฺขเว อาทิตฺตํ” แปลวา “ภิกษุท้ังหลาย สิ่งทั้งปวงลุกเปนไฟหมดแลว”

จากนั้น ตรัสขยายความตอไปวา สิ่งทั้งปวงที่วาลุกเปนไฟไปหมดแลวนั้น คืออะไรบาง ซ่ึงเมื่อสรุปแลว สิ่งที่พระองคตรัสวาลุกเปนไฟ มีดังตอไปนี้:-

๑) จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส จักขุสัมผัสสชา-เวทนา

๒) โสตะ (หู) เสียง โสตวิญญาณ โสตสัมผัส โสต-สัมผัสสชาเวทนา

๑ วินย. ๔/๕๗/๖๖

Page 260: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๕๕

๓) ฆานะ (จมูก) กลิ่น ฆานวิญญาณ ฆานสัมผัส ฆาน-สัมผัสสชาเวทนา

๔) ชิวหา (ลิ้น) รส ชิวหาวิญญาณ ชิวหาสัมผัส ชิวหา-สัมผัสสชาเวทนา

๕) กาย โผฏฐัพพะ กายวิญญาณ กายสัมผัส กาย-สัมผัสสชาเวทนา

๖) มนะ (ใจ) ธรรมะ (ความคิดคํ านึงตางๆ) มโนวิญญาณมโนสัมผัส มโนสัมผัสสชาเวทนา๑

พูดใหสั้นลงไปอีกก็วา อายตนะทั้งหลาย คือ ตา หู จมูก ลิ้นกาย ใจ, รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ ตลอดถึงการรับรู ความเกี่ยวของ และความรูสึกทั้งหลายที่เกิดจากอายตนะเหลาน้ัน ไดถูกไฟไหมหมดแลว หรือพูดอีกนัยหนึ่งวา กระบวนการรับรูและความคิดคํ านึงทั้งหมดนั่นเอง ถูกไฟลามติดไปทั่วแลว

๒. สาเหตุ เมื่อกํ าหนดตัวปญหาได และเขาใจสภาพของปญหาแลว ก็คนหาสาเหตุใหเกิดไฟหรือตัวไฟที่เผาผลาญนั้นตอไป ไดความวา สิ่งที่กลาวมานั้น ลุกไหมดวยไฟกิเลส ๓ อยาง คือ:-

๑) ราคะ ความอยากได ความใคร ความติดใจ ความกํ าหนัดยินดี

๑ คํ าที่อาจเขาใจความหมายไมชัดแจงคือ วิญญาณ หมายถึงความรูอารมณที่ผานเขามาทางประสาททั้ง ๕ หรือที่เกิดข้ึนในใจ เชน จักขุวิญญาณ = การเห็น โสตวิญญาณ =การไดยิน เปนตน; สัมผัส หมายถึงการมาบรรจบกันของอายตนะและวิญญาณ เชนจักขุสัมผัส = การบรรจบกันของตา รูป และจักขุวิญญาณ; เวทนา หมายถึงความรูสึกสุข ทุกข หรือเฉยๆ ที่เกิดจากสัมผัสน้ันๆ

Page 261: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๕๖

๒) โทสะ ความโกรธ ความขัดใจ ความเดือดแคนชิงชังไมพอใจตางๆ

๓) โมหะ ความหลง ความไมรู ไมเขาใจสภาพของสิ่งทั้งหลายตามความเปนจริง

และยังถูกเผาลนโหมดวยไฟความทุกขอีกมากมายหลายอยาง เชน ความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย ความโศกเศรา ความครํ่ าครวญรํ่ าไร ความทุกขโทมนัส และความคับแคนใจตางๆ

๓. ขอปฏิบัติเพื่อแกไข พระพุทธองคตรัสตอไปอีกวา อริย-สาวกผูไดเรียนรูแลว เมื่อเห็นอยูอยางนี้ ยอมหนายในอายตนะภายใน ภายนอก ตลอดถึงเวทนาทั้งหมดเหลานั้น เมื่อหนายก็ยอมไมยึดติด

๔. ผล เมือ่ไมยดึตดิ กห็ลดุพน เมือ่หลดุพน กเ็กดิญาณหยัง่รูวาหลดุพนแลว เปนอนัสิน้ชาตภิพ อยูจบพรหมจรรย ทํ าสิง่ทีจ่ะตองทํ าเสร็จสิ้นแลว สิ่งที่จะตองทํ าเพื่อเปนอยางนี้ ไมมีเหลืออีกเลย.

Page 262: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

ตอน ๒ คํ าอธิบายเชิงวิจารณ

ในการอธิบายเพิ่มเติมและวิจารณความในพระสูตรนี้ เห็นควรพิจารณาเปน ๒ แง คือ ในแงวิธีสอน อยางหนึ่ง และในแงสาระสํ าคัญ หรือหลักธรรม อยางหนึ่งในแงวิธีสอน

พระธรรมเทศนาอาทิตตปริยายสูตร ท่ีทรงแสดงแกชฎิล มีขอควรสังเกตในแงการสอน ท่ีเปนขอสํ าคัญ ๒ อยาง คือ:-

๑. ทรงสอนใหตรงกับความถนัดและความสนใจของชฎิล พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจา ไมวาจะทรงแสดงที่ใดและแกใครยอมมีจุดหมายเปนแนวเดียวกัน คือ มุงใหเกิดความรูความเขาใจในสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเปนจริง แลวใหมีทัศนคติและปฏิบัติตอสิ่งเหลานั้นอยางถูกตอง ในทางที่เปนประโยชนท้ังแกตนและบุคคลอื่น แตเนื้อเรื่องและวิธีการสอน ยอมยักเยื้องตางกันไปตามอุปนิสัย ความถนัด และความสนใจของผูฟง สุดแตเรื่องใด วิธีใด จะชวยใหเขาเขาใจธรรมไดดี

ในกรณีของอาทิตตปริยายสูตรนี้ก็เชนเดียวกัน ชฎิลท้ังหลายเปนผูบูชาไฟ มีชีวิตเกี่ยวของกับไฟมาโดยตลอด ประสบการณและความคิดคํ านึงตางๆ ก็พัวพันอยูกับเรื่องไฟบูชายัญ แมเมื่อเลิกบูชาไฟแลว เรื่องพิธีกรรม กิจวัตร ท่ีเกี่ยวกับไฟ ก็ยังคงเต็มอยูในความทรงจํ า เมื่อพระพุทธเจาตรัสเรื่องเกี่ยวกับไฟ เกี่ยวกับการลุกไหมเผาผลาญ ก็เปนที่สนใจ และชักจูงใจของชฎิลใหเพลินคิดเห็นไปตามกระแสพระธรรมเทศนาไดงาย

Page 263: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๕๘

ยิ่งกวานั้น ยังไดทรงเราความสนใจใหมากขึ้น โดยมิไดตรัสเรื่องกองไฟบูชายัญที่ชฎิลจํ าเจอยูและเบื่อหนายทิ้งมาแลว แตทรงกระตุกความรูสึกเหมือนใหสะดุงขึ้นวา

- ไฟนั้นมิไดลุกไหมอยูนอกกายไกลตัวเลย แตไฟนั้นลุกไหมเต็มอยูภายในตัวทั่วกายไปหมดแลว

- เปนไฟที่ลุกลามไหมอยูตลอดเวลา รุนแรงกวาไฟภายนอก ควรหันมาสนใจไฟนี้มากกวา และ

- แทนที่จะใหบํ ารุงบํ าเรอ ใหเติมเชื้อ กลับตรัสใหไมมีเยื่อใยยินดี เปนทํ านองใหดับเสียดวยซํ้ า

โดยนัยนี้ พึงตระหนักวา การทรงแสดงเรื่องไฟ เรื่องการลุกไหม เรื่อง อาทิตต หรือ อาทิตย น้ี เปนวิธีการยักเยื้องพระธรรมเทศนาใหตรงกบัอปุนิสยั ตรงกบัความประพฤตท่ีิไดสัง่สมฝกอบรมมา เพื่อผลในดานความสนใจ และความรูความเขาใจงายเปนสํ าคัญ

สวนสาระสํ าคัญก็คงมุ งที่จะใหรู ใหเขาใจเรื่องของชีวิตนี้ แลวใหมีทัศนคติและปฏิบัติตอมันอยางถูกตอง เชนเดียวกันกับพระธรรมเทศนาเรื่องอื่นๆ

ในขอน้ี หากเทียบกับการทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตรและอันธภูตสูตรดวย ก็จะเขาใจชัดยิ่งขึ้น

ธรรมจักรน้ัน พระพุทธองคทรงแสดงแกพระภิกษุเบญจ-วัคคีย พระภิกษุเบญจวัคคียน้ัน แตเดิมมีใจยึดมั่นอยูกับการบํ าเพ็ญทุกรกิริยาวาคนจะบรรลุธรรมไดตองทรมานกายอยางรุนแรง ยิ่งทํ าไดยิ่งยวดเทาใด ก็ยิ่งนาเลื่อมใสสํ าหรับตนมากเทานั้น

Page 264: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๕๙

และรังเกียจความเปนอยู อยางสะดวกสบายวาเปนสิ่งเสียหายลามก ท่ีละทิ้งพระพุทธเจาเมื่อคราวทุกรกิริยา ก็เพราะไดเห็นพระองคเลิกทรมานพระกาย เมื่อพระพุทธเจาทรงแสดงธรรมจักร จึงทรงเริ่มตนดวยเรื่อง ท่ีสุดสองอยาง และมัชฌิมาปฏิปทา เปนการกระทบตรงความในใจของทานเหลานั้น

สวนในอันธภูตสูตร๑ ผูอานจะไดพบขอความที่เกือบจะตรงขามกับอาทิตตปริยายสูตรทีเดียว คือ เริ่มตนวา:- “สพฺพํ ภิกฺขเวอนฺธภูตํ” แปลวา ภิกษุท้ังหลาย ทุกสิ่งทุกอยางมืดมิดไปหมดแลวแลวตรัสตอไปวา อะไรคือทุกสิ่งที่มืดมิด ก็ไดคํ าตอบวา จักษุ รูปฯลฯ อยางเดียวกับในอาทิตตปริยายสูตรนั่นเอง ท่ีมืดมิดไปหมดแลว ดังนี้เปนตน เปนการยักเยื้องพระธรรมเทศนา ชักนํ าความสนใจและจูงเขาสูธรรมอีกแบบหนึ่ง.

๒. ทรงสอนใหตรงกับระดับสติปญญา และระดับชีวิตของชฎิลขอสํ าคัญยิ่งอยางหนึ่ง ท่ีพระพุทธเจาทรงคํ านึงถึงในการทรงสอนคือ ความยิ่ง และหยอน แหงอินทรียของผูฟง ทรงพิจารณาวา ผูฟงมีสติปญญาอยูในระดับใด ไดรับการศึกษาอบรมมาในทางใดมากนอยเพียงไหน ดํ ารงชีวิตอยูอยางไร จะตองแสดงเรื่องอะไรเขาจึงจะรูเขาใจ สามารถนํ าไปใชเปนคุณประโยชนแกชีวิตของเขาได

ดังนั้น เรื่องราวที่คลายคลึงกัน แตแสดงแกตางคน นอกจากตางวิธีสอนแลว เนื้อหาสาระก็ตางขั้นตางระดับกันดวย

๑ สํ.สฬ. ๑๘/๓๒/๒๕

Page 265: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๖๐

ในกรณีของอาทิตตปริยายสูตร ชฎิลท้ังหลายเปนนักบวชสละโลกียวิสัยออกมาแลว มุงหนาประพฤติปฏิบัติเพื่อเขาถึงจุดหมายสูงสุดของศาสนาอยางเดียว และเปนผูไดศึกษาอบรมทางศาสนามาอยางดี เปนที่เคารพนับถือของประชาชนทั้งหลาย เรียกไดวาเปนปญญาชนระดับสูงสุดในสมัยนั้น และในเวลาที่ฟงพระสูตรนี้ ก็ไดอุปสมบทเปนพระภิกษุในพุทธศาสนาแลวดวย เมื่อพระพุทธเจาทรงแสดงธรรมจึงทรงชี้แจงหลักธรรมที่ลึกซึ้ง ท่ีตองพิจารณาดวยสติปญญาอันละเอียดออน อาศัยพื้นฐานการศึกษาอบรมมาพอสมควร เหมาะสํ าหรับผูดํ ารงชีวิตเปนบรรพชิต และใหเกิดความรูความเขาใจถึงขั้นกํ าจัดกิเลสาสวะไดท้ังหมด

เรื่องนี้ จะเห็นไดชัดเจนยิ่งขึ้น ถาไดเทียบกับพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับเรื่องไฟที่ไดทรงแสดงแกคนอื่นๆ เชน อัคคิสูตร๑ ท่ีทรงแสดงแกอุคคตสรีรพราหมณ เปนตน

ในกรณีของอัคคิสูตร อุคคตสรีรพราหมณ เปนพราหมณครองเรือน คราวหนึ่ง พราหมณผูน้ีตระเตรียมพิธีบูชายัญ ไดสั่งใหจัดโคผู ลูกโคผู ลูกโคเมีย แพะ และแกะ อยางละ ๕๐๐ ตัวมาผูกไวกับเสาหลักบูชายัญ เตรียมพรอมท่ีจะบูชายัญ

พราหมณรูสึกปติยินดีในบุญกุศลที่ตนจะไดจากการบูชายัญตามแบบของพราหมณ จึงไดเขาไปเฝาพระพุทธเจา ทูลวา ตามที่เขาไดเรียนรูมา การกอกองไฟบูชายัญ และการปกเสาหลักบูชา มีผลมีอานิสงสมาก และทูลขอความเห็นจากพระพุทธองคในเรื่องนี้

๑ องฺ.สตฺตก. ๒๓/๔๔

Page 266: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๖๑

พระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจาทรงแสดงครั้งนี้ เปนเรื่องเกี่ยวกับไฟเหมือนกัน แตมีเนื้อหาและระดับคํ าสอนตางออกไปอีกอยางหนึ่งคือ ในอัคคิสูตรนั้น ทรงแสดงหลักธรรมสํ าหรับการครองชีวิตของคนทั่วไปที่ยังครองเรือนอยู เพราะพราหมณผูทูลถามยังเปนคฤหัสถครองชีวิตอยูในโลกียวิสัย

ในพระสูตรนี้ พระพุทธเจาทรงแสดงไฟ ๗ อยาง๑ ท่ีควรไดรับการปฏิบัติเอาใจใสตางๆ กัน โดยยึดเอาความรูสึกและถอยคํ าตางๆ ของพราหมณมาทรงแสดงในแนวใหม ไฟ ๗ อยางนั้น แบงเปน ๓ ประเภท ดังนี้:-

๑. ไฟที่ควรดับ หรือควรหลีกเวน ๓ อยาง คือ๑) ไฟราคะ๒) ไฟโทสะ๓) ไฟโมหะเหตุท่ีควรดับควรเวน เพราะคนถูกราคะ โทสะ โมหะ ครอบ

งํ ายํ่ ายีจิตใจแลว ยอมประพฤติทุจริตทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจได เมื่อประพฤติทุจริตแลวก็เปนเหตุใหไดรับความทุกข ไปเกิดในอบายทุคติ

พึงสังเกตวา ในอาทิตตปริยายสูตร ก็มีไฟ ๓ อยางนี้เหมือนกัน แตในอัคคิสูตร พระพุทธเจาทรงแสดงในแบบงายๆ เทาที่เกี่ยวกับความประพฤติของคนในโลกทั่วๆไป มิใหประพฤติการทุจริต

๑ ตามหลักศาสนาพราหมณวา อัคนีเทพ มีล้ิน ๗ แฉก

Page 267: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๖๒

เทานั้น สวนในอาทิตตปริยายสูตร ทรงแสดงในเงท่ีตองพิจารณาลึกซึ้ง ซ่ึงเหมาะแกการศึกษาของนักปรัชญาและนักจิตวิทยา

๒. ไฟที่ควรบํ ารุง ๓ อยาง สํ าหรับไฟหมวดนี้ พระพุทธเจาทรงนํ าเอาชื่อไฟศักดิ์สิทธิ์ท่ีมีอยูเดิมในศาสนาพราหมณ มาทรงใชในความหมายใหม และเรียงลํ าดับใหม (ตางแตของพราหมณเปนภาษาสันสกฤต ของพุทธเปนภาษาบาลีเทานั้น) ซ่ึงเทากับเปนการลมเลิกคํ าสอนเดิมของศาสนาพราหมณ และทรงประทานคํ าสอนใหมไปดวยพรอมกัน จะใหไวท้ังความหมายเดิมของพราหมณและความหมายใหมของพุทธศาสนาเพื่อเทียบกัน ดังนี้:-

๑) คารหปตยัคนี (ไฟเจาบาน) คือไฟที่เจาบานรับสืบทอดตอจากบิดาของตน และสงทอดตอไปยังบุตรหลาน ไฟน้ีเจาบานตองบํ ารุงไวใหติดไมขาดสาย และสังเวยเปนประจํ า เมื่อจะประกอบพิธีบูชายัญ ก็จุดไฟบูชายัญไปจากไฟนี้; พระพุทธเจาทรงประทานความหมายใหมในช่ือภาษาบาลีและจัดเปนลํ าดับท่ีสองวา

๒) คหปตัคคิ (ไฟเจาบาน) หมายถึง บุตร ภรรยา คนรับใชและคนงาน

๒) อาหวนียัคนี (ไฟอันควรแกของเซนสรวง) คือ ไฟสํ าหรับรับเครื่องสังเวยในยัญพิธี ซ่ึงจุดตอออกมาจากคารห-ปตยัคนี เมื่อจะประกอบพิธีบูชายัญ และตั้งไวทางขวาของคารหปตยัคนี; พระพุทธเจาทรงประทานความหมายใหมในภาษาบาลี และจัดเปนลํ าดับท่ี ๑ วา

Page 268: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๖๓

๑) อาหุไนยัคคิ (ไฟอันควรแกของคํ านับ) หมายถึงมารดาบิดา

๓) ทักษิณาคนี (ไฟดานใต) คือ ไฟที่จุดตอจากคารหปต-ยัคนี และจัดตั้งไวทางทิศใตของแทนบูชายัญ ใชสํ าหรับรับเครื่องสังเวยที่อุทิศใหแกผีปศาจและบุรพบิดา ในยัญพิธี; พระพุทธเจาทรงประทานความหมายใหมในภาษาบาลีวา

๓) ทักขิไณยัคคิ (ไฟที่ควรแกทักษิณา) หมายถึง สมณพราหมณ ผูประพฤติดีประพฤติชอบ

ไฟ ๓ อยางนี้ พระพุทธเจาตรัสวา ควรสักการะ เคารพ นับถือ บูชา จัดการบํ ารุงใหเปนสุขดวยดี

ขอสังเกตสํ าหรับไฟหมวดที่สองนี้ คือ พระพุทธเจาทรงสอนใหเลิกการเซนสรวงบูชายัญ อันเหลวไหลเสีย หันมาเอาใจใสกับพันธะทางสังคม ใหปฏิบัติหนาที่ดูแลทํ านุบํ ารุงบุคคลที่เกี่ยวของกับตนใหดี เพราะบุคคลเหลานี้ก็เทียบไดกับไฟ ซ่ึงตองคอยเอาใจใสเติมเชื้อ บํ ารุงใหดี จึงจะเกิดคุณประโยชนดีงาม แตหากปฏิบัติไมดี ก็ใหโทษ เปนไฟเผาผลาญไดมากเชนเดียวกัน

๓. ไฟที่ควรจุดควรดับควรระวังตามสมควร ๑ ไดแก กัฏฐัคคิ(ไฟเกิดแตไม หรือไฟที่กอข้ึนจากเชื้อสํ าหรับใชหุงตม เปนตน) ไฟอยางนี้ควรกอข้ึน กอแลวควรเอาใจใสระมัดระวัง เสร็จแลวควรดับแลวควรเก็บไวตามกาละที่สมควร

Page 269: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๖๔

จะเห็นไดวา ในอัคคิสูตรน้ี พระพุทธเจาทรงสอนเรื่องไฟในแง คํ าแนะนํ าสั่งสอนสํ าหรับผู ครองชีวิตมีเหยามีเรือนอยู ในฆราวาสวิสัย

ในกรณีอื่นอีก เมื่อตรัสถึงการบูชาไฟ พระพุทธเจาตรัสสอนคติท่ีควรยึดถือปฏิบัติสํ าหรับสังคมทั่วไปวา:-

“ถึงหากบุคคลผูใดจะไปบูชาไฟอยูในปาเปนเวลาตั้งรอยป การบูชาคนที่ฝกอบรมตนแลวชั่วขณะเดียว ก็ยังประเสริฐกวาการบูชาไฟนั้น การบูชาไฟตั้งรอยปจะมีประโยชนอะไร”๑ขอน้ี หมายความวา พระพุทธองคทรงแนะนํ าใหสังคมหันมา

ชวยกันยกยองใหเกียรติคนดี เพราะเปนสิ่งที่ใหคุณประโยชนรักษาคุณธรรมของสังคมไว ดีกวาจะมัวไปหลงใหลในการเซนสรวงสังเวย อันเปนเรื่องไรเหตุผล อันเปนการกระทํ าที่มุงผลประโยชนสวนตัวเปนสํ าคัญ ท้ังยังเปนทางใหเกิดความเสื่อมเสียขึ้นในสังคมได ในเมื่อผูคนมุงประโยชนสวนตน คอยพะเนาพะนอเอาใจเทวดาท่ีชอบเครื่องเซน เปนเหตุใหมีแตเทวดาประเภทนี้มาคอยคุมครองและแสดงอิทธิพลในหมูมนุษย

เมื่อมนุษยคบหาใหกํ าลังแกเทวดาประเภทนักเลง ประเภทชอบลาภสักการะ ก็เปนธรรมดาอยูเอง ท่ีเทวดาผูตั้งอยูในคุณธรรม ผูใหความคุมครองโดยธรรมโดยสงบยอมจะเสื่อมถอยกํ าลัง

๑ ขุ.ธ. ๒๕/๑๘/๒๙

Page 270: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๖๕

และปลีกตนหลบลี้ออกไปอยูโดยสงบ ไมเปนที่ปรากฏ ซ่ึงเปนเรื่องธรรมดาในสังคมมนุษย มองเห็นไดไมยาก

เมื่อเขาใจวิธีสอนธรรมของพระพุทธเจา ท่ีแตกตางกันไดแมในเรื่องคลายกัน โดยสัมพันธกับสติปญญาและการดํ ารงชีวิตของผูฟงเชนนี้แลว จะไดขอเตือนใจวา ในขณะที่อานหรือกลาวถึงอาทิตตปริยายสูตร จะตองรํ าลึกถึงเหตุผลในแงการสอนใหเหมาะสมกับระดับสติปญญาและการศึกษาอบรมไวดวย และจะตองตระหนักในใจเสมอวา ตนกํ าลังอานหรือกลาวถึงหลักธรรมที่โดยปกติเปนขอสํ าหรับถกเถียงและพิจารณาศึกษา ของนักปรัชญาและนักจิตวิทยาทั้งหลาย

นอกจากนี้ เมื่อวาตามเปนจริง ในปจจุบันนี้ นักปรัชญาและนักจิตวิทยาทั้งหลาย ก็กํ าลังศึกษาคนควาถกเถียงวุนวายอยูกับเรื่องเหลานี้น่ีเอง หาพนไปไดไม.ในแงสาระสํ าคัญหรือหลักธรรม

หลักธรรมท่ีเปนสาระสํ าคัญของพระสูตรนี้ เปนเรื่องละเอียดลึกซึ้ง และกวางขวางอยางยิ่ง ในการอธิบาย จะรวบรัดสรุปใหเหลือเล็กนอยเปนขอสั้นๆ ก็ได หรือจะอธิบายใหเชื่อมโยงสัมพันธกับเรื่องอื่นๆ พิสดารออกไป อยางที่แทบจะกลาวไดวา ไมมีท่ีสิ้นสุด ก็ได สุดแตจะใชกลวิธียักเยื้องอธิบายอยางไร

ในที่น้ีจะพยายามอธิบายสักแนวหนึ่ง โดยสัมพันธกับใจความที่ไดสรุปไวขางตน

๑. สภาพที่เปนปญหา สิ่งที่เปนตัวการ หรือเปนทุกสิ่งทุกอยางในพระสูตรนี้ ไดแก อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ

Page 271: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๖๖

ผัสสะ และเวทนาทั้งหลาย ท่ีเกิดสืบเนื่องมาจากผัสสะเหลานั้น สิ่งเหลานี้ก็คือกระบวนการรับรูและการคิดคํ านึงทั้งหมดของบุคคล

ชีวิตทั้งหมดเทาที่บุคคลรูสึกก็ดี โลกทั้งโลกเทาที่ปรากฏแกบุคคลก็ดี ความรูความเขาใจทุกอยางที่เกิดมีข้ึนแกบุคคลโดยปกติก็ดี ยอมอยูในขอบเขตของกระบวนการรับรูและการคิดคํ านึงนี้เมื่อกลาวในแงหนึ่ง สิ่งเหลานี้จึงเปนทุกสิ่งทุกอยางสํ าหรับบุคคล

ขอท่ีวา ถูกไฟลามติดลุกไหมอยู ยอมหมายความวา สิ่งเหลานี้หรือกระบวนการนี้ ตกอยูในภาวะรุมรอน ดิ้นรนกระวนกระวาย มิไดปฏิบัติหนาที่ไปโดยปกติตามสภาพของมัน เพราะมีไฟราคะ โทสะ โมหะ เปนตน ท่ีจะกลาวในตอนสาเหตุ มาเผาลนใหพลาน ใหกระสับกระสาย ใหพราใหสับสน จนปรากฏอาการออกมาเปนปญหาตางๆ ท้ังหยาบทั้งละเอียด ท้ังเบาทั้งรุนแรง ท้ังท่ีเปนเรื่องสวนตัว และปญหารวมกันของสังคม

พูดในมุมกลับวา ปญหาตางๆ ท้ังมวลของมนุษย ท้ังสวนบุคคลและสังคม สืบสาวตนตอลงไปไดถึงการที่ถูกไฟเหลานี้เผาลนอยู กลาวโดยรวบรัดวา:-

ก. ในแงบุคคล ในขั้นรุนแรง คนถูกราคะ โทสะ โมหะ เขาแผดเผา กลุมรุม ผลักดัน จึงกระทํ าการทุจริต หรือแมกรรมชั่วรายแรงตางๆ ท่ีโดยปกติกระทํ าไมได และทํ าใหเกิดความทุกขความเดือดรอนตางๆ แกตนเองติดตามมา และเกี่ยวพันถึงสังคมในขอตอไป

ในขั้นละเอียดออน แมโดยปกติมนุษยปุถุชนยอมถูกไฟเหลาน้ี บังคับบัญชาการกระทํ า คํ าพูด ความคิด ตลอดจนทัศนคติตางๆ

Page 272: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๖๗

อยูแลว ท่ีเห็นไดงายๆ คือ ปกติคนมีความอยากได ก็ถูกความอยากไดดึงไป หรือถาพูดใหเปนไฟก็คือเผาใหทนอยูไมได เที่ยววิ่งพลานทะยานหาสิ่งที่ตองการ เมื่อยังไมได หรือไมได หรือไดไมเทาท่ีหวัง ก็เกิดความขุนมัวอัดอั้น หรือขัดใจ เปนทุกข ไดสมหวังแลวก็ปรารถนาตอๆ ไป ยิ่งๆ ข้ึนไป

ถาเปนไปในกระบวนการนี้โดยไมมีการควบคุมหรือรูเทาทัน คือปลอยสุดแตมันจะเปนไป ก็คือการมีชีวิตอยูอยางคลุมคลั่งกระหายและทุรนทุราย อยางถูกไฟลุกไหมเผาลนอยูตลอดเวลาน่ันเอง

อีกอยางหนึ่ง คนถูกไฟเหลานี้เผาลน ถูกควันไฟรุมใหมัวยอมไมรูไมเขาใจ ไมใช ไมปฏิบัติตอสิ่งทั้งหลายอยางถูกตอง ไมสามารถใชประโยชนจากสิ่งทั้งหลายใหถูกทาง หรือใหเทาคาของมันได

ยกตัวอยางในขั้นหยาบๆ ท่ีเห็นไดงายๆ เชน เกาอี้มีไวสํ าหรับน่ัง เกิดความโกรธขึ้น กลับเอามาใชทํ ารายกัน; เห็นของสวยงาม หรือของมีราคาที่เขานํ ามาเสนอขาย อยากได ความอยากไดรุนแรงทํ าใหไมไดพินิจพิจารณา ถูกเขาหลอกลวงเอาไดงาย; บางทีขัดใจอะไรตอนเชานิดเดียว ไมรูจักพิจารณาปลงใจอารมณเสียไปทั้งวัน; บางทีพบคนที่ไมเคยรูจักมากอน เขาแสดงอะไรผิดพลาดนิดเดียว เกิดทัศนคติผิดพลาด มองเขาไปในทางไมดีตลอด ไมไดพิจารณาใหลึกซึ้ง; หรือมีความลุมหลง ยามีไวใชรักษาโรค กลับนํ ามาพลาชีวิตตนเองเสีย ดังนี้เปนตน

Page 273: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๖๘

ไฟเหลานี้เปนปฏิปกษกับปญญา เมื่อถูกไฟเหลานี้กลุมรุมแผดเผาแลว ก็ทํ าใหเกิดทัศนคติผิด ตัดสินใจผิด และปญญาความรูความเขาใจตามความเปนจริงก็ไมเกิด

พิจารณาใหลึกซึ้ง คนเราถูกไฟเหลานี้บังปญญา ทํ าใหเขาใจผิด เกิดทัศนคติท่ีผิด ตัดสินใจผิดๆ กระทํ าการตางๆ ท่ีปราศจากเหตุผล ท่ีแมแตตนเองนึกขึ้นมาภายหลัง ก็รูสึกละอายหรือเห็นนาขํ าอยูเสมอทั่วๆ กันทุกคนอยูแลว มากนอยตามขนาดของไฟที่แตละคนปลอยใหลุกลามอยูในตัวของตัว

ข. ในแงสังคม ความขัดแยง การแยงชิง การรังแก ขมเหงเอารัดเอาเปรียบ ประทุษรายกันระหวางมนุษย เกิดจากไฟเหลานี้เปนตัวการสํ าคัญ

คนอยากไดของสิ่งเดียวกัน เกิดผิดใจกัน แตกแยกและแยงชิงกัน คนชอบใจทํ าคนละอยาง ก็แตกแยกกัน ไปดวยกันไมได คนเห็นแกตัวอยากไดไมมีท่ีสิ้นสุด ก็หาทางเอาเปรียบ ทํ าลายผูอื่น;บุคคลผูเดียว ในหมูคณะหนึ่ง ไปกระทํ าผิดพลาดตอคนในอีกหมูคณะหนึ่งเปนกรณีสวนบุคคล แรงราคะตอฝายตนและโทสะฝายอื่น ทํ าใหไมพิจารณาสอบสวนใหเห็นความจริง เกิดเปนกรณีขัดแยง รบราฆาฟนระหวางหมูคณะ; พอแมรักและหลงลูก จนเลี้ยงลูกผิดๆ ใหลูกเสียก็มาก ฯลฯ

ในแงความกาวหนาทางปญญา กลุมชนที่มีความเชื่อถือผิดๆ ยึดถือลัทธิทฤษฎีตางๆ โดยโมหะ ก็ทํ าใหไมสามารถพิจารณาสอบสวนคนควาเห็นความจริง หรือเห็นเหตุเห็นผลของธรรมชาติได เปนอุปสรรคตอความเจริญกาวหนาทางสติปญญา

Page 274: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๖๙

แมวิทยาศาสตร วิทยาการ วิธานวิทยาตางๆ ท่ีเจริญกาวหนามากมายทั้งหลาย ถามนุษยนํ ามาใชตามแรงผลักดันของไฟเหลานี้ ก็เปนไปเพื่อหายนะของหมูมนุษยน่ันเอง

สรุปวา อายตนะทั้งหลายที่เปนเครื่องเชื่อมตอระหวางขันธ๕ ท่ีเปนภายใน กับขันธ ๕ ท่ีเปนโลกภายนอก ใหเกิดการรับรู และความรูตางๆ ตามกระบวนของมันนั้น ขณะนี้มิไดปฏิบัติหนาที่ไปตามกระบวนการแทๆ หรือตามสภาวะอาการลวนๆของมัน แตถูกไฟตางๆ เผาลนอยูตลอดเวลา

เมื่อกระบวนการนี้ถูกไฟลุกไหม ก็เกิดความระสํ่ าระสายปฏิบัติหนาที่เคลื่อนคลาดจากปกติ ความรูตางๆ ท่ีไดรับก็บิดเบือนตวับคุคลกไ็มเปนตวัของตวัเอง เกดิความสบัสนวุนวาย ถกูครอบง ําหรือลากจูงใหเอนเอียงไปบาง ถูกรมใหมืดหนามัวตาบาง ไมสามารถกลัน่กรองวนิิจฉยัขอเทจ็จริงโดยถกูตอง เทีย่ววิง่แลนไปตามแหลงของการรับรูท่ีถูกไฟไหม ถูกชักพาไปตามสายของการรับรูน้ันๆ เกิดความยึดติดพัวพัน ตกเปนทาส ไมเปนอิสระ เกิดทัศนคติผิดพลาด ตัดสินผิดพลาด และปฏิบัติผิดพลาดตอสิ่งทั้งหลาย

เมื่อตนเองเดือดรอนวุนวายแลว ก็แผขยายความเดือดรอนวุนวายนั้นไปใหแกผูอื่นดวย บุคคลที่มีปญหาในตัวเอง ก็ยอมเปนเหตุสรางปญหาแกผูอื่นขึ้นดวย คนที่มีแตความรุมรอนกระวนกระวายในตัว แกปญหาในตัวเองไมได จะอยูกับชาวโลกสงบเรียบรอยไมกอปญหาเลยไมได

๒. สาเหตุ ในดานสาเหตุยอมอธิบายไดท้ังในขั้นตื้นๆ และในขั้นลึกซึ้ง

Page 275: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๗๐

เมื่ออธิบายอยางตื้นๆ สาเหตุของปญหานี้ ก็คือการถูกไฟกิเลสเผาลนใหระสํ่ าระสายวุนวาย อยางที่กลาวแลวในตอนสรุปขอ ๑

แตเมื่ออธิบายลึกซึ้งละเอียดลงไป ก็ตองสืบคนถึงพื้นฐานซ่ึงพอจะเห็นแนวทางดังนี้:-

ชีวิตนั้น เปนกระบวนการอันหนึ่ง เกิดจากการรวมตัวกันเขาของสวนประกอบตางๆ ซ่ึงโดยสรุปไดแกนามและรูป หรือขยายออกไปไดแกขันธ ๕

สวนประกอบเหลานี้ แตละอยางมีการเปลี่ยนแปลง ท่ีตอเนื่องและสัมพันธกันเปนกระบวนการ ทํ าใหคุมรูปกันอยูดูเหมือนเปนตัวเปนตน

แตในเมื่อเปนกระบวนและมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดทุกขณะ ก็ยอมไมมีตัวแกนแทท่ีคงที่แนนอน และในกระบวนการอันนี้เองที่มนุษยเขาไปยึดถือวาเปนตัวตนของตน และเขาไปตั้งความปรารถนาไวในทุกขั้นทุกระดับ หวังจะใหเปนอยางนั้นอยางนี้ในรูปท่ีจะใหมีตัวตนใหจงได

การดิ้นรนหวังใหมีตัวตนนี้ ไดปรากฏผลเปนการดิ้นรนไมเฉพาะในชีวิตของคนธรรมดาสามัญ แตปรากฏตลอดประวัติศาสตรวิชาปรัชญาทีเดียว

เมื่อไมมีตัวตน มนุษยก็พยายามที่จะสรางตัวตนใหมีข้ึนในรูปใดรูปหนึ่ง ตั้งแตการทํ ามัมมี่ เพื่อรักษารางกายไวใหชีวภตูกิลบัมาเขารางดงัเดมิของชาวอยีปิตโบราณ จนถงึปรชัญาของนักปรัชญาฝรั่งเศสชื่อเดคารทส แหงคริสตศตวรรษที่ ๑๗ ผูพยายาม

Page 276: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๗๑

พสิจูนใหมตีวัตนใหได อยางวาทะของเขาทีว่า “Cogito, ergo sum”ซ่ึงแปลวา “ฉนัคดิ เพราะฉะนัน้ ฉนัจงึม”ี ซ่ึงไมพนไปจากทฏิฐิท่ีพระพุทธเจาตรัสสอนใหไถถอนมานานกวา ๒๕๐๐ ปแลว

เมื่อมนุษยมีความหลงผิดยึดถือและปรารถนาใหมีตัวตนอยูเชนนี้ ในขณะเดียวกันนั่นเอง กระบวนการแหงชีวิต ก็ตกอยูในกฎแหงไตรลักษณ อันเปนกฎธรรมชาติท่ีแนนอนวา ทุกสิ่งไมคงที่ ไมทนอยูในสภาพเดิม ไมอยูในอํ านาจ และไมมีตัวตนที่แท

กฎนี้แสดงแกชีวิตในรูปแหงชาติ ชรา มรณะ เปนตน ท้ังแบบหยาบตื้น และแบบลึกละเอียด จึงกลายเปนอาการที่ขัดกัน หรือฝนความปรารถนา พูดเปนภาพพจนวา ความยึดถือ กับกฎธรรมชาติเกิดขัดสีกันขึ้น ลุกเปนไฟ

อาการขัดสี หรือฝนนี้ ทํ าใหบุคคลเสริมซ้ํ ายํ้ าความยึดถือและความปรารถนาใหเหนียวแนนและรุนแรงมากยิ่งขึ้น แตเปนความยึดถือดวยความปรารถนาแบบกระวนกระวาย และแสดงออกทั้งในระดับท่ีรูสึกได อันเปนขั้นหยาบ และขั้นที่ไมรูสึก อันเปนข้ันละเอียด ซับซอน อยูในจิตใตสํ านึก

เมื่อสืบคนลงไปในกระบวนการของจิตอยางละเอียด จนถึงจิตไรสํ านึก ก็จะพบเงื่อนงํ าวา ความกลัวตอชาติ ชรา มรณะเปนตนนี้ มีซับซอนแฝงอยูในจิตใจของมนุษย และคอยบัญชาพฤติกรรมตางๆ ของมนุษยอยู โดยที่มนุษยเองไมรูสึกตัว ความกลัวนี้เริ่มจากจุดที่มนุษยไมรูไมเขาใจในสภาพที่แทจริงแหงชีวิตของตน

จากจุดของความไมรูน้ี กระบวนการก็ดํ าเนินไปตามแนวทางแหงหลักปฏิจจสมุปบาท และขั้นตอนที่สํ าคัญก็คือความขัด

Page 277: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๗๒

แยงระหวางความหลงผิดวาเปนตัวตน กับกระแสความเปลี่ยนแปลงตามกฎธรรมชาติหรือไตรลักษณ ผลักดันตัณหาใหแสดงตัวออกในกระบวนการรับรูน้ัน ซ่ึงหมายความเลยไปถึงวา ไฟความทุกข มีชาติ ชรา มรณะ เปนตน เปนตัวผลักดันไฟกิเลส ราคะโทสะ โมหะ ใหออกหนา และแสดงฤทธิ์วุนวาย

พูดอีกอยางหนึ่งวา ไฟทุกขเกิดจากการปะทะระหวางกฎธรรมชาติ (ไตรลักษณ) กับความหลงผิดยึดถือวาเปนตัวตน เมื่อปะทะกันแลว ไฟทุกขขับไฟกิเลส พลุงออกมาแสดงฤทธิ์เผาผลาญจนปรากฏผลเปนปญหาตางๆ ดังกลาวมาขางตน

ตราบใดที่ยังไมรูไมเขาใจ และไมเขาไปจัดการกับกระบวนการและไฟเหลานี้อยางถูกตอง ก็เทากับวามนุษยพาเอากองไฟหรืออาจจะถึงกับเปนไฟนรกขุมหนึ่งติดไปกับตัวดวยตลอดเวลา และเมื่อไฟติดอยูกับตัวประจํ าเชนนี้ ก็ยอมไมสามารถประสบความสุขที่แทจริงยั่งยืนได

๓. การแกไข หนทางแกไขปรากฏชัดอยูแลวในพุทธดํ ารัสน้ีวา “อริยสาวกผูไดเรียนรูแลว เมื่อเห็นอยูอยางนี้” คํ าวาเห็นอยูอยางนี้ หมายถึงการรูการเขาใจตามความเปนจริง ซ่ึงกระบวนการอยางที่เปนอยูเชนนั้น เริ่มแตเขาใจสภาพของปญหา

การเขาใจสภาพของปญหา หรือการมองเห็นตัวปญหานั่นเอง ยอมเปนจุดเริ่มตนที่สํ าคัญอยางยิ่ง

เมื่อมองเห็นปญหาที่ตนเขาประสบอยูแลว ก็สามารถถอนตัวออกมาตั้งหลักได อยางที่ตรัสวา “ยอมหนาย” จากนั้นก็ไมยึดติด หลุดพนเปนอิสระ แตท่ีกลาวนี้เปนขั้นลึกซึ้ง

Page 278: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๗๓

ในที่น้ี จะลองกลาวถึงวิธีแกไขจัดการ ท่ีลึกซึ้งไปตามลํ าดับข้ัน

๑) ข้ันตน เมื่อมองเห็นโทษของไฟเหลานี้แลว ก็ควรควบคุมใหอยูในขอบเขต ไมใหลุกลามรุนแรงถึงขั้นประพฤติทุจริตตางๆ หรือทํ าใหเกิดความทุกขความเดือดรอนแกตนเองและสังคม

๒) ข้ันกลาง รูจักฝกฝนอบรมจิตใจ รูจักวิธีทํ าใหไฟเหลานี้สงบนิ่งอยางนอยเปนครั้งคราว เหมือนอยางไฟที่ไมมีควันกลุมรุม ไมมีเปลวที่แลบโฉบพึ่บพั่บ อยูในสภาพสงบนิ่ง ยอมทํ าใหมองเห็นสิ่งตางๆ ไดชัดเจนขึ้น

การทํ าจิตใหสงบนิ่ง ปราศจากการรบกวนของไฟเหลานี้ไดแมช่ัวคราว ยอมชวยใหมีสมาธิ อันเปนกํ าลังเสริมใหเกิดปญญาและทํ าการตางๆ เชน การศึกษาเลาเรียน เปนตน ใหไดผลสํ าเร็จอยางดี

ถาฝกอบรมใหยิ่งๆ ข้ึนไป ก็สามารถทํ าสิ่งที่คนธรรมดาเห็นเปนสิ่งวิเศษอัศจรรยได ท่ีเห็นไดงายและวิทยาศาสตรปจจุบันก็ทํ ากันไดแลว ก็คือ ในการสะกดจิต เมื่อจิตอยูในสภาพที่แนวแนตออารมณอันเดียวปราศจากสิ่งรบกวน คนที่ถูกสะกดจิต ก็สามารถทํ าสิ่งท่ีตัวเขาไมเคยสามารถทํ าไดในยามปกติ

๓) ข้ันสูงสุด หมายถึงขั้นที่เปนใจความในพระสูตร ไดแกข้ันที่เกิดความรูความเขาใจในสภาพของกระบวนการเหลานั้นอยางถองแทสมบูรณ ทํ าใหสามารถถอนตัว

Page 279: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๗๔

ออกมาตั้งหลักอยูไดเปนอิสระ ไมยึดติดหลงผิดวากระบวนการที่ลุกไหมอยูน้ันเปนตัวตน ไมตกเปนทาสถูกฉุดลากไปตางๆ แตกลับเปนนาย รูจักที่จะปลอยใหกระบวนการนั้นปฏิบัติหนาที่ของมันไปอยางถูกตอง ไดรับความรูท่ีไมบิดเบือน และสามารถเขาไปจัดการใชแตในทางที่จะเปนประโยชน

ขอน้ีเหมือนกับการที่มนุษยจะเปลี่ยนฐานะจากการเปนทาสของธรรมชาติ กลับเปนนายของธรรมชาติได ก็ดวยการรูความจริง รูสภาพ เขาใจกฎเกณฑกระบวนการแหงเหตุผลของมันเสียกอน จากนั้นก็สามารถรวมมือกับธรรมชาติ รูวิธีจัดการควบคุมใหธรรมชาติดํ าเนินไปตามกฎของมันเอง แตเปนไปตามแนวทางที่เรากํ าหนดใหมันได เรียกกันเปนสํ านวนวากลับเปนนายของธรรมชาติ

ในขั้นสุดทายนี้ ความรูความเขาใจตางๆ ท่ีไดรับเขามายอมเปนไปตามสภาพที่มันเปนจริง และการเขาเกี่ยวของจัดการก็ยอมเปนไปตามอํ านาจปญญา หรือตามเหตุผล ไมใชตามอํ านาจตัณหาอยางแตกอน

๔. ผล ผลท่ีไดจากการปฏิบัติตามวิธีแกไข ยอมเปนไปตามลํ าดับของขั้นนั้นๆ

ในขั้นตน เมื่อมนุษยควบคุมไฟใหอยูในขอบเขตที่สมควร ก็ทํ าใหสังคมมีศีลธรรมอยูรมเย็นเปนสุข ตัวบุคคลเองก็มีจิตใจสงบรมเย็นตามควร

Page 280: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๗๕

ในขั้นกลาง ยอมชวยใหมนุษยประสบสัมฤทธิ์ผลในงานตางๆ ดวยดียิ่งขึ้น และมีจิตใจที่เขมแข็งมั่นคงยิ่งขึ้น มีความสุขที่ประณีตขึ้น

ในขั้นสูงสุด ทํ าใหมนุษยหลุดพนจากความเปนทาสของความหลงผิด ทาสของกิเลส ทาสของจิตใจตน เปนอิสระ กลับเปนนาย ในขั้นนี้เรียกตามพุทธดํ ารัสวา อยูจบพรหมจรรย ทํ าสิ่งที่ตองทํ าเสร็จสิ้นแลว หมดกิจท่ีจะตองทํ าเพื่อใหไดเปน(อิสระ)อยางนี้อีกท่ีหมดกิจก็เพราะไดรู ไดเขาใจถูกตองหมดแลว เปนอิสระแลว มีทัศนคติพื้นฐานถูกตองดีแลว

ตอจากนี้ไป กระบวนการรับรูตางๆ ก็จะดํ าเนินไปตามจังหวะหนาที่ตามสภาวะอาการที่แทของมัน ความรูท่ีเกิดขึ้นก็จะถูกตองตรงตามสภาวะที่เปนจริง การปฏิบัติและจัดการกับสิ่งทั้งหลายก็จะเปนไปตามแนวทางของเหตุผลบริสุทธิ์ เปนไปในทางที่กอประโยชนอยางเดียว เปนอันไมตองมาคิดแกไขควบคุมและดับไฟกันอีก

ถาเทยีบตามหลกัโอวาทปาตโิมกข ข้ันตนกค็งเปน สพพฺปาปสสฺอกรณํ - ไมทํ าชั่วทั้งปวง ข้ันกลางคงเปน กุสลสฺสูปสมฺปทา - ทํ าความดีใหพรั่งพรอม และขั้นสุดทายเปน สจิตฺตปริโยทปนํ - ทํ าจิตใจใหบริสุทธิ์

Page 281: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๗๖

สิง่สํ าคัญที่พึงระลึก๑. เรื่องอาทิตตปริยายสูตรน้ี อยูในวิชาพุทธประวัติ หรืออยู

ในวิชาพระพุทธศาสนาสวนที่เปนประวัติของพระพุทธเจาพุทธประวัติสวนที่นอกเหนือจากพระชีวประวัติสวนพระองค

ของพระพทุธเจาแลว กเ็ปนบนัทกึเรือ่งราวเกีย่วกบัการบ ําเพญ็พุทธกิจ หรือประวัติการทรงทํ างานสั่งสอนของพระพุทธเจา บุคคลที่พระพุทธเจาทรงสั่งสอนนั้นมีมากมายทุกชั้นทุกประเภท วาโดยระดับสติปญญาก็มีตั้งแตฉลาดที่สุด ถึงโงท่ีสุด

ตามปกติ พุทธประวัติที่เลาเรียนกัน โดยเฉพาะที่ยอๆ ยอมจะกลาวถึงเฉพาะงานสั่งสอนครั้งสํ าคัญๆ เทานั้น

บุคคลที่พระพุทธเจาทรงผจญในงานสอนครั้งนั้นๆ มักเปนช้ันคณาจารย หรืออยางนอยก็มีประสบการณในการคนคิดทางปรัชญามาก สิ่งที่ทรงสอนก็เปนเรื่องละเอียดออนลึกซึ้ง เหมาะสํ าหรับปญญาและประสบการณของทานเหลานั้น และผลจากการสั่งสอนครั้งนั้นๆ ก็สูงถึงขึ้นบรรลุญาณวิเศษ โดยเฉพาะอรหัตตผล

ผูท่ีอานหรือเรียนพุทธประวัติตอนเหลานี้ จะตองสมมติตนเปนนักปราชญช้ันคณาจารย หรือเปนนักบวชเหลานั้น ขบคิดเนื้อธรรมดวยสตปิญญา และอยูในบรรยากาศแหงการสอนครัง้นัน้ดวยตนเอง จึงจะเขาถึงรสอันเปนแกนธรรม ซ่ึงเปนเรื่องที่ทํ าไดยาก

ถาจะเทียบใหมองเห็นงายๆ อีกแงหนึ่ง เพียงปรัชญาของโสเครตีส พลาโต และอริสโตเติล หากจัดใหนักเรียนชั้น ม.ศ. ๔-๕เรียน เราจะหวังใหเขาเขาใจไดสักเทาใด

Page 282: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

พุทธวิธีในการสอน ๒๗๗

ขอเปรียบเทียบนี้อาจไมตรงกันทีเดียว เพราะคํ าสอนของนักปราชญเหลานั้น เปนเรื่องของนักคิด สวนคํ าสอนของพระพุทธเจาเปนเรื่องราวการประพฤติปฏิบัติในชีวิตจริง แตในแงระดับสติปญญาของผูฟง ก็นาจะพอเทียบไดไมไกลกันนัก

เมื่อเปนอยางที่วามานั้น ถายังเรียนพุทธประวัติกันในลักษณะนี้ ก็จะตองตระหนักถึงความยาก ท้ังแกผูสอน และแกผูเรียน พรอมท้ังชี้แจงใหนักเรียนเขาใจถึงสาเหตุแหงความยากนั้นกบัท้ังควรหาโอกาสน ําเอาเรือ่งราวและค ําสอนในระดบัสามญัทีง่ายๆมาสอนแทรกตามสมควร

๒. ในการสอน ดานประวัติ ควรเลาโยงไปถึงภูมิหลังของสังคมแหงชมพูทวีป ตั้งแตกอนที่พระพุทธศาสนาอุบัติข้ึน ใหเห็นว าคนยุคนั้นมีความเชื่อถือและเปนอยู ตามหลักของศาสนาพราหมณ เชนเรื่องพระพรหม เทพเจา ระบบวรรณะ การบูชายัญเปนตน อยางไร

จากนั้นก็ช้ีใหชัดวาพระพุทธศาสนาสอนตางออกไป และทํ าใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไร โยงมาถึงอาทิตตปริยายสูตรน้ี

ถาผูเรียนมองเห็นแงน้ี เรื่องราวก็จะนาสนใจ นักเรียนก็จะเขาใจชัด และการเรียนก็จะมีชีวิตชีวาขึ้น

สวนในดานเนื้อหา หากอธิบายใหนักเรียนสามารถเขาใจไดเต็มบริบูรณตามความหมายของพระสูตร ก็เปนการดี แตถาไดอธิบายประยุกตในแงท่ีนักเรียนจะนํ าไปใชประโยชนได หรือเลาใหนักเรียนไดทราบคํ าสอนแนวเดียวกัน หรือเกี่ยวกับเรื่องเดียวกันนี้ท่ีพระพุทธเจาตรัสสอนแกคนอื่นๆ ซ่ึงเปนคํ าสอนขั้นเบื้องตน และ

Page 283: First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results

รูหลักกอน แลวศึกษาและสอนใหไดผล๒๗๘

เหมาะสํ าหรับการดํ ารงชีวิตในขั้นตนๆ ไวดวย ก็จะบังเกิดเปนคุณประโยชนแกตัวของนักเรียนมากขึ้น และจะชวยใหเกิดความเขาใจดีข้ึนดวย

๓. อยางไรก็ตาม แมคํ าสอนของพระพุทธเจาจะแตกตางกันเปนหลายระดับ แตสาระสํ าคัญที่เปนแกนกลาง ก็เปนแนวเดียวกัน คือ การดํ ารงชีวิตอยูดวยปญญา หรือมีชีวิตอยูอยางผูรูจักชีวิตรูเทาทันกระแสโลก ไมงมงายปลอยตัวตกเปนทาสของกิเลสและความทุกข แลวถูกฉุดลากจูงไปตามกระแส แตสามารถมีชีวิตจิตใจท่ีเปนอิสระ อยางนอยก็รูจักที่จะกลับไปเปนนายบังคับควบคุมกิเลสของตนไวในแนวทางที่พึงปรารถนาไดบาง โดยระลึกถึงพุทธภาษติทีว่า “ปญฺาชวี ึชีวติมาห ุเสฏฐํ” ซ่ึงแปลวา ปราชญท้ังหลายกลาววา ชีวิตของผูเปนอยูดวยปญญา เปนชีวิตที่ประเสริฐสุด.