Extended Abstract

4
1. ชื่อผลงานสรางสรรค (ภาษาไทย) การออกแบบตัวอักษรของสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา 2. ชื่อผลงานสรางสรรค (ภาษาอังกฤษ) Princess Galyani Vadhana Institute of Music Typeface Design 3. ชื่อผูสรางสรรค (ภาษาไทย) ผูชวยศาสตราจารยอาวิน อินทรังษี 4. ชื่อผูสรางสรรค (ภาษาอังกฤษ) Asst. Prof. Arwin Intrungsi 5. ที่มาและความสำคัญของการสรางสรรคผลงาน การจัดตั้งสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ( สกว .) เปนความรวมมือของกระทรวงวัฒนธรรมและ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร ในฐานะองคอุปถัมภวงการดนตรีคลาสสิกของประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคหลักที่สำคัญคือ ให เปนสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะดานดนตรีคลาสสิกสำหรับผูมีความสามารถพิเศษและ บุคคลทั่วไปในระดับปริญญา รวมทั้งทำหนาที่เผยแพรดนตรีคลาสสิกแกสาธารณชนในลักษณะของการแสดง ดนตรี การฝกอบรม และกิจกรรมเสริมทักษะอื่นๆ เพื่อการบริการทางวิชาการแกสังคมและการทำนุบำรุงศิลปะ และวัฒนธรรม นอกจากนี้สถาบันฯ ยังทำหนาที่ในการพัฒนามาตรฐานและกำหนดเกณฑการประเมินมาตรฐาน ความรูความสามารถและทักษะดานดนตรีคลาสสิกของนักดนตรีในประเทศเพื่อเทียบเคียงมาตรฐานสากล สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ทรงพระกรุณาโปรด เกลาฯ พระราชทานชื่อสถาบันดนตรีแหงนี้วา สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนาเมื่อวันที31 ตุลาคม 2550 ทั้งนีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเปนองคที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของคณะกรรมการจัดตั้ง สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา แรกเริ่มในระยะการจัดตั้งสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ศาสตราจารย คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ นายกสภา มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดมอบหมายใหขาพเจาทำการออกแบบตราสัญลักษณประจำสถาบันฯ ซึ่งขาพเจาไดทำ แบบรางทูลเกลาถวาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัย และได ทรงเลือกแบบตราสัญลักษณแบบที่ใชอยูในปจจุบัน ตราสัญลักษณนี้มีลักษณะที่เรียกวา Combination Mark คือประกอบดวยสัญลักษณภาพ (Symbol) และ สัญลักษณตัวอักษร (Logo Type) ดังภาพประกอบที1 ภาพประกอบที1 ตราสัญลักษณสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

description

The Example of Extended Abstract for describe creative works method.

Transcript of Extended Abstract

Page 1: Extended Abstract

1. ชื่อผลงานสรางสรรค (ภาษาไทย)! การออกแบบตัวอักษรของสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา 2. ชื่อผลงานสรางสรรค (ภาษาอังกฤษ)! Princess Galyani Vadhana Institute of Music Typeface Design3. ชื่อผูสรางสรรค (ภาษาไทย)! ผูชวยศาสตราจารยอาวิน อินทรังษี4. ชื่อผูสรางสรรค (ภาษาอังกฤษ) ! Asst. Prof. Arwin Intrungsi5. ที่มาและความสำคัญของการสรางสรรคผลงาน! การจัดตั ้งสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา (สกว.) เปนความรวมมือของกระทรวงวัฒนธรรมและมหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ในฐานะองคอุปถัมภวงการดนตรีคลาสสิกของประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคหลักที่สำคัญคือ ใหเปนสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะดานดนตรีคลาสสิกสำหรับผูมีความสามารถพิเศษและบุคคลทั่วไปในระดับปริญญา รวมทั้งทำหนาที่เผยแพรดนตรีคลาสสิกแกสาธารณชนในลักษณะของการแสดงดนตร ีการฝกอบรม และกิจกรรมเสริมทักษะอื่น ๆเพื่อการบริการทางวิชาการแกสังคมและการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม นอกจากน้ีสถาบันฯ ยังทำหนาท่ีในการพัฒนามาตรฐานและกำหนดเกณฑการประเมินมาตรฐาน ความรูความสามารถและทักษะดานดนตรีคลาสสิกของนักดนตรีในประเทศเพื่อเทียบเคียงมาตรฐานสากล! สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อสถาบันดนตรีแหงนี้วา “สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา” เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2550 ทั้งนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเปนองคที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของคณะกรรมการจัดตั้งสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ! แรกเริ่มในระยะการจัดตั้งสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ศาสตราจารย คุณหญิงไขศร ีศรีอรุณ นายกสภา มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดมอบหมายใหขาพเจาทำการออกแบบตราสัญลักษณประจำสถาบันฯ ซึ่งขาพเจาไดทำแบบรางทูลเกลาถวาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี เพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัย และไดทรงเลือกแบบตราสัญลักษณแบบที่ใชอยูในปจจุบัน ตราสัญลักษณนี้มีลักษณะที่เรียกวา Combination Mark คือประกอบดวยสัญลักษณภาพ (Symbol) และ สัญลักษณตัวอักษร (Logo Type) ดังภาพประกอบที่ 1

ภาพประกอบที่ 1 ตราสัญลักษณสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

Page 2: Extended Abstract

! สัญลักษณภาพนี้เปนรูปทรงลายใบเทศสีฟาซึ่งเปนสีประจำพระองค สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนาฯ ภายในประกอบดวยตัวอักษรยอ “สกว” ประกอบกับสัญลักษณทางดนตรี คือ กุญแจซอล กุญแจประจำหลัก G ดานลางเปนสัญลักษณตัวอักษรสีทอง แสดงถึงความรูสึกสูงคา ความสรางสรรค ความเจริญรุงเรือง ความคลาสสิก ตัวอักษรชื่อภาษาไทย "สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา" ขาพเจาไดทำการออกแบบขึ้นใหมเปนเฉพาะโดยไดแรงบันดาลใจจากตัวอักษรภาษาอังกฤษชื่อ "Timeless1" ซึ่งเปนตัวอักษรที่ใชเปนชื่อภาษาอังกฤษ "PRINCESS GALYANI VADHANA INSTITUTE OF MUSIC" ดวย ดังภาพประกอบที่ 2

ภาพประกอบที่ 2 ตัวอักษรชื่อสถาบันฯ ภาษาไทย และตัวอักษร “Timeless” ที่ใชเปนชื่อภาษาอังกฤษ

! หลังจากที่ขาพเจาไดทำการออกแบบตราสัญลักษณ รวมทั้งสิ่งพิมพอื่นๆ อาท ิ นามบัตร กระดาษจดหมาย ซองจดหมาย และแฟมเอกสาร ใหกับทางสถาบันฯ เพื่อใชประโยชนแลว ขาพเจามีแนวคิดวาจะทำการออกแบบชุดตัวอักษรภาษาไทยที่เปนอัตลักษณของสถาบันฯ เพื่อใชประโยชนในงานตางๆ ของสถาบันฯ ตอไป ซึ่งจะทำใหการออกแบบอัตลักษณองคกรมีความสมบูรณมากขึ้น โดยจะทำการตอยอดจากแบบตัวอักษรที่ขาพเจาไดออกแบบไวในตราสัญลักษณเปนตัวตั้งตนในการออกแบบ โดยมีความมุงหวังวาจะไดตัวอักษรที่มีเอกลักษณ มีความงาม และสะทอนบุคลิกภาพของสถาบันฯ ไดดี 6. วัตถุประสงคของการสรางสรรคผลงาน! เพื่อออกแบบชุดตัวอักษรภาษาไทยที่มีเอกลักษณ มีความงาม และสะทอนบุคลิกภาพของสถาบันฯ ได7. แนวความคิด! ความงดงามของดนตรีคลาสสิคที่ถายทอดลงในการการออกแบบตัวอักษรไทยรวมสมัย8. กระบวนการของการสรางสรรคผลงาน! 1. เลือกแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษที่แสดงบุคลิกภาพของสถาบันฯ คือ ความสงางาม ความคลาสสิค ความนาเชื่อถือ ทั้งนี้อาศัยคำสำคัญ (Key words) จากการวิเคราะหภาพรวมขององคกร ไดแก Princess, Classic, Institute ในที่นี้ไดเลือกแบบตัวอักษร "Timeless" ซึ่งเปนตัวอักษรมีเชิง (Serif) มีเสนโคงออนชอย คลายเครื่องดนตรีคลาสสิค มีสัดสวนงดงาม และยังใหความรูสึกที่นาเชื่อถือ

1 ฟอนต Timeless ออกแบบโดย Manfred Klein เกิดในกรุงเบอรลิน ประเทศเยอรมัน ในป ค.ศ. 1932. เขาศึกษาดานธุรกิจโฆษณา และการออกแบบตัวอักษร (Typography) ที่ Meisterschule fuer Graphik und Buchgewerbe ในกรุงเบอรลิน หลังจากนั้นเขาไดทำงานเปนนักเขียนขอความโฆษณา และผูกำกับความคิดสรางสรรค ที่บริษัท โอกิลวี่ และบริษัทตัวแทนโฆษณาของตนเองในภายหลัง หลังจากประสบอุบัติเหตุรายแรง เขาไดออกจากธุรกิจโฆษณา และเริ่มออกแบบตัวอักษรมากมาย แบบตัวอักษรที่เปนที่รูจักไดแก FF Spontan, FF JohannesG, และฟอนตที่ไมคิดคาใชจายอีกนับรอย (ที่มา: http://www.identifont.com/show?166)

Page 3: Extended Abstract

! 2. ศึกษาลักษณะเฉพาะของตัวอักษรตนแบบภาษาอังกฤษ เชน ลักษณะของเสนที่มีความหนาบางไมเทากัน เชิง (Serif) ของตัวอักษร ปลายหางของเสน ดังภาพประกอบที่ 3

ภาพประกอบที่ 3 ลักษณะเฉพาะของตัวอักษร

! 2. ทำการรางแบบตัวอักษรภาษาไทยในโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยรางแบบพยัญชนะที่มีลักษณะรวมกันในโครงสรางทีละชุด เชน ก ถ ภ ฎ ฏ ฤ ฦ ญ ณ ฌ ดังภาพประกอบที ่4 สำหรับชุดอื่นๆ ที่มีลักษณะรวมกันกันในโครงสราง ไดแก บ ป ษ / ผ ฝ พ ฟ ฬ / ร ธ ฐ จ / ข ฃ ช ซ / ล ส / ด ต ค ฅ ศ ฒ / ฆ ม น / อ ฮ รวมทั้งตัวที่ไมคอยมีลักษณะรวมกับตัวอักษรอื่นๆ เชน ห ว ง ย

ภาพประกอบที่ 4 การรางแบบพยัญชนะที่มีความสัมพันธกันในโครงสราง

! 4. รางแบบวรรณยุกต สระ ตัวอักษรไทย และเครื่องหมายพิเศษตางๆ! 5. นำแบบตัวอักษรที่เปนเวคเตอรกราฟกส (Vector Graphics2) ที่ปรับแกไขแลว เขาไปสรางตัวอักษรในโปรแกรมออกแบบตัวอักษร! 6. ทำการทดสอบการใชงาน! 7. สรางเปนฟอนต (Font) สำหรับใชในโปรแกรมคอมพิวเตอร9. วัสดุและอุปกรณในการสรางสรรคผลงาน ! เครื่องคอมพิวเตอร10. เทคนิคในการสรางสรรคผลงาน! คอมพิวเตอรกราฟก โปรแกรมคอมพิวเตอร Adobe Illustrator และ Fontographer

2 ภาพกราฟกสเวกเตอร (อังกฤษ: vector graphics) โดยทั่วไปคือคอมพิวเตอรกราฟกสที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณคาบนระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอรในทางคณิตศาสตร ในการกอใหเกิดเปน เสน หรือรูปภาพ ขอดีคือ สามารถยอขยายได โดยคุณภาพไมเปลี่ยนแปลง ขอเสียคือภาพไมเหมือนภาพจริงเปนไดเพียงภาพวาด หรือใกลเคียงภาพถายเทานั้น ขอมูลภาพพวกนี้ไดแกไฟลสกุล svg, ps, eps, ai (adobe illustrator) และฟอนตแบบ TrueType ตางๆเปนตน โปรแกรมที่ใชสรางขอมูลภาพประเภทนี้เชน Adobe Illustrator, InkScape ในบางครั้ง ภาพกราฟกสเวกเตอรยังอาจหมายถึงกราฟกสสามมิติอีกดวย (ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/ภาพกราฟกสเวกเตอร)

Page 4: Extended Abstract

11. ขนาดหรือความยาวของผลงานสรางสรรค! ตัวอักษรภาษาไทยประกอบดวย พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ตัวเลข และเครื่องหมายพิเศษอื่นๆ 1 ชุด12. ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ

ภาพประกอบที่ 5 ชุดตัวอักษรที่เสร็จสมบูรณและแพนแกรม3

13. องคความรูที่ไดจากการปฏิบัติงานสรางสรรค หรือผลลัพธที่ไดจากการสรางสรรค! จากการปฏิบัติงานออกแบบขาพเจาไดพบปญหาและแนวทางในการออกแบบที่เปนประเด็นสำคัญคือ การออกแบบตัวอักษรแตละตัว จะตองคำนึงถึงความสวยงามและความเหมาะสมของระยะหางระหวางตัวอักษรแตละตัว (ชองไฟ) เชน การออกแบบหางของตัวอักษร หากออกแบบใหมีความยาว หรือชี้ไปดานหลังมากเกินไปอาจเกิดปญหาวาหางของตัวอักษรจะไปชนกับตัวอักษรอื่นๆ เชน ช ซ ฐ ศ ส ซึ่งขาพเจาออกแบบใหมวนไปดานหลัง ซึ่งเมื่อทดสอบการใชงานแลวพบวาหางที่มวนไปดานหลังจะไปชนกับตัวสระที่มีความสูง เชน ไ ใ โ อีกทั้งตัวสระเหลานี้ก็ตองมีความสูงพอสมควร และไมมีสวนที่ยื่นออกมาดานหนามากนัก เพื่อไมใหชนกับตัวอักษรตัวหนาที่มีสระอ ิสระอ ี ไมเอก ไมโท ไมตรี ไมจัตวา เชนคำวา “ชี้ไป” และจากการศึกษาแบบตัวอักษรมาตรฐานอื่นๆ พบวาสวนใหญมีการออกแบบหางใหคอนขางสั้น และไมชี้หรือยื่นออกไปจากเสนหลังของตัวอักษรมากนัก ซึ่งจะแกปญหาดังที่กลาวไวไดดี แตถือก็เปนขอจำกัดอยางหนึ่งที่อาจปดกั้นแนวทางการออกแบบตัวอักษรที่มีลักษณะพิเศษได อยางไรก็ตามแมการออกแบบหางของตัวอักษรใหมีลักษณะเชนนี้จะกอใหเกิดปญหาในการใชงานในเบื้องตน แตก็เปนลักษณะพิเศษที่สรางเอกลักษณใหตัวชุดตัวอักษรชุดนี้ไดดี อีกทั้งยังมีรูปแบบที่สอดคลองกับตัวอักษรที่เปนตราสัญลักษณของสถาบันฯ ที่ไดออกแบบไวเดิม จึงยังตองการเก็บลักษณะพิเศษนี้ไว โดยมีแนวทางแกปญหาดวยการเพิ่มระยะหางระหวางตัวอักษรใหมากขึ้น และปรับสวนที่มวนใหเลื่อนมาดานหนาเล็กนอย ก็จะชวยแกปญหาไดพอสมควร

3 แพนแกรม (อังกฤษ: pangram, กรีก: pan gramma หมายถึง ทุกตัวอักษร) คือ ขอความซึ่งใชตัวอักษรทุกตัวในภาษานั้นๆ แพนแกรมที่นาสนใจที่สุดมักจะเปนแพนแกรมที่สั้นที่สุด เพราะการสรางขอความใหมีตัวอักษรครบทุกตัวโดยใชตัวอักษรซ้ำกันนอยที่สุดเปนสิ่งทาทาย แพนแกรมทั่วๆ ไปมักจะมีจำนวนตัวอักษรมากกวาจำนวนตัวอักษรทั้งหมดในภาษานั้นๆ เล็กนอย แตมักจะแฝงความรู อารมณขัน หรือความแปลก ใหมีคาควรแกการจดจำ ในปจจุบัน แพนแกรม มักจะนำมาใชในการแสดงรูปแบบของตัวพิมพอักษร (ฟอนต) (ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/แพนแกรม)